SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
บทที่ 3
การประยุกตของจํานวนเต็มและเลขยกกําลัง (8 ชั่วโมง)
3.1 การคิดคํานวณ (5 ชั่วโมง)
3.2 โจทยปญหา (3 ชั่วโมง)
เนื้อหาในบทนี้กลาวถึงการคิดคํานวณและโจทยเกี่ยวกับจํานวนเต็มและเลขยกกําลังที่เปนพื้นฐาน
ในการพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวน หัวขอตางๆ ในบทมีสาระเกี่ยวกับการคิดคํานวณโดยใชวงเล็บ
เทคนิคการคํานวณแบบตางๆ การหาคําตอบโดยใชความรูสึกเชิงจํานวน และการแกปญหาเพื่อเสริม
ความรูและความสามารถในดานทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ตลอดจนวิธีการเรียนรูที่ตองอาศัย
การคิดเชิงวิเคราะหและการใชเหตุผลชวยในการตัดสินใจ
บทเรียนนี้มีรูปแบบการนําเสนอเนื้อหาสาระหลายรูปแบบ ทั้งที่อยูในรูปกิจกรรมและนําเสนอ
เนื้อหาโดยตรง ลักษณะของกิจกรรมมีหลากหลาย มีทั้งกิจกรรมที่เนนการฝกทักษะการคํานวณ และ
กิจกรรมที่เนนทักษะกระบวนการ ครูจึงควรใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง ใหมีการอภิปรายภายในกลุม
และนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียนเพื่อใหมีการเสริม เพิ่มเติม ปรับปรุงและหาขอสรุปรวมกัน
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. ใชความรูเกี่ยวกับจํานวนเต็มและเลขยกกําลังในการแกปญหาได
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
68
แนวทางในการจัดการเรียนรู
3.1 การคิดคํานวณ (5 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. คํานวณโจทยบวก ลบ คูณ หารที่มีวงเล็บได
2. ใชสมบัติของจํานวนเต็มและเลขยกกําลังในการคํานวณได
3. หาคําตอบโดยอาศัยความรูสึกเชิงจํานวนและบอกเหตุผลประกอบได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูนําเขาสูบทเรียนดวยการสนทนาและอาจใหนักเรียนยกตัวอยางแสดงการใชคณิตศาสตร
ในชีวิตประจําวัน
2. ครูอาจยกตัวอยางสถานการณอื่นในทํานองเดียวกันกับปญหาซื้อผักของพัชรี ใหนักเรียน
สังเกตลําดับขั้นตอนการคํานวณตามที่นักเรียนคิดในชีวิตจริงแลวโยงเขาสูประโยคคณิตศาสตร
3. สําหรับวิธีการเขาวงเล็บและถอดวงเล็บ ในที่นี้ใหนักเรียนจําหลักการโดยฝกเขาและถอด
วงเล็บกลับไป – กลับมาในโจทยขอเดียวกัน เพื่อตรวจสอบและยืนยันวาไดผลที่ถูกตอง เชน 18 – 9 + 21
เมื่อเขาวงเล็บได 18 – (9 – 21) แลวตรวจสอบกลับจาก 18 – (9 – 21) โดยถอดวงเล็บวาไดเทากับ
18 – 9 + 21 หรือไม การทําเชนนี้จะชวยใหนักเรียนเกิดนิสัยที่ตองตรวจสอบกระบวนการคํานวณและ
คําตอบอยูเสมอ ทางคณิตศาสตรถือวาขั้นตอนการตรวจสอบเปนขั้นตอนที่สําคัญตอนหนึ่งในกระบวน
การเรียนรู
4. ในหัวขอนี้นอกจากมีสาระเกี่ยวกับการคํานวณจํานวนเต็มและเลขยกกําลังซึ่งเสนอไวเพื่อฝก
ทักษะการคํานวณแลว ยังมีเจตนาใหนักเรียนเห็นวิธีการบางวิธีหรือเทคนิคการคํานวณบางอยางที่เอื้อ
ใหหาคําตอบไดเร็วและงายขึ้น โจทยบางขออาจชวยพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวนเกี่ยวกับการคํานวณ
ดวย ดังตัวอยาง
การหาผลบวกของจํานวนเต็มสองจํานวนที่มีผลลัพธเปนจํานวนเต็มสิบ หรือศูนยในตัวอยาง
หนา 82 ใชการโยงเสนเพื่อใหนักเรียนเห็นการจับคู เชน 32 + 15 + 18 + 9 + 45
การหาคําตอบของจํานวนเต็มที่มีเลขโดดในหลักหนวยเปน 1 หรือ 9 เชน คํานวณเงินที่
ซื้อเสื้อ 1 ตัวราคา 199 บาท และกางเกง 1 ตัวราคา 289 บาท ซึ่งมีวิธีคิดโดยใชสมบัติการแจกแจง
นักเรียนสามารถนําวิธีคิดไปใชในชีวิตจริงได
การหาผลบวกในโจทยบางขอที่มีแบบรูปพิเศษที่ใชหลักการบวกของเกาส เชน 11 + 12
+ 13 + … + 20 จะสังเกตเห็นวา จํานวนที่นํามาบวกกันเปนจํานวนเต็มบวกที่เพิ่มขึ้นทีละ 1
69
คารล ฟรีดริช เกาส (Carl Friedrich Gauss) นักคณิตศาสตรชาวเยอรมัน สามารถหาผลบวก
1 + 2 + 3 + 4 + … + 100 ไดอยางรวดเร็วตั้งแตอยูในวัยเด็ก โดยเขาสังเกตเห็นวา 100 + 1 = 101,
99 + 2 = 101, 98 + 3 = 101, …, 55 + 56 = 101 และผลบวกที่เทากับ 101 มี 50 คู เขาจึงหา
ผลบวกของ 1 + 2 + 3 + 4 + … + 100 ได เทากับ 50 × 101 = 5050
5. ในการทําแบบฝกหัด 3.1 ก ครูควรสังเกตแนวคิดของนักเรียนวาใชวิธีการอยางไร มีการ
นําวิธีคํานวณดังที่เสนอไวมาใชหรือไม ถานักเรียนไมใช นักเรียนมีเหตุผลอยางไร และถานักเรียนมีวิธี
ที่ดีและแตกตาง ควรใหนําเสนอหนาชั้นดวย
6. การสอนเกี่ยวกับโจทยคํานวณที่ไมมีวงเล็บกําหนดขั้นตอน เปนโจทยที่ทําใหเกิดปญหาวา
จะดําเนินการระหวางสองจํานวนใดกอน ครูควรใหนักเรียนทํากิจกรรมหาคําตอบ 9 + 3 × 5 – 8 ÷ 4
กอน หลังจากที่นักเรียนตรวจสอบคําตอบกับเพื่อน ๆ แลวควรใหนําเสนอหนาชั้นเรียน ซึ่งอาจจะพบคําตอบ
ที่ไมเทากัน ครูควรใชคําถามเพื่อใหนักเรียนเห็นวา ลําดับการคํานวณที่แตกตางกันทําใหไดผลลัพธ
ไมตรงกันแมวาจะเปนโจทยเดียวกัน ในการแตงโจทยครูตองใชวงเล็บกําหนดลําดับขั้นตอนไวเสมอ
แตถานักเรียนพบโจทยที่มีการดําเนินการหลายๆ อยางที่ไมมีวงเล็บกําหนดไว ถาจําเปนตองหาคําตอบ
ใหยึดหลักการคํานวณดังที่กลาวไวในกรอบ “รูไวใชวา” ในหนังสือเรียน หนา 88
7. กิจกรรม “ทําไดหรือไม” เปนกิจกรรมที่ตองการฝกทักษะเกี่ยวกับการคํานวณโดยใชวงเล็บ
กิจกรรมนี้ยังชวยพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวนและความคิดริเริ่มสรางสรรค ดังนั้นวิธีคิดและคําตอบของ
นักเรียนอาจมีไดหลากหลาย ครูจึงควรพิจารณาคําตอบของนักเรียนอยางละเอียด อาจมีคะแนนเพิ่ม
เปนโบนัสสําหรับนักเรียนที่มีความคิดถูกตองและเฉียบคมไปจากวิธีคิดของคนอื่นๆ
สําหรับกิจกรรม “ใครทําไดมากที่สุด” มีแนวคิดและคําตอบหลายคําตอบ อาจตองใช
เวลานาน ครูอาจใหนักเรียนทําเปนกรณีพิเศษนอกเวลา แลวนําเสนอที่ปายนิเทศก็ได
8. ในการทําแบบฝกหัด 3.1 ข ครูควรสังเกตวิธีคิดของนักเรียนวาใชวิธีการตั้งคูณหรือใชวิธีคิด
ที่นําเสนอในบทเรียน ถานักเรียนยังคงใชวิธีตั้งคูณแบบเดิม ครูควรชี้แนะใหใชวิธีคิดใหม ครูอาจให
คิดโจทยเพิ่มเติมโดยคิดในใจหรือคิดเร็ว เพื่อพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวน
70
3.2 โจทยปญหา (3 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. ใชความรูเกี่ยวกับจํานวนเต็มและเลขยกกําลังในการแกปญหาได
2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. โจทยปญหาในหัวขอนี้ตองการพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวน ในเรื่องการคํานวณและการ
ตัดสินใจ ครูควรใหความสําคัญตอเหตุผลที่นักเรียนนําไปใชในการหาคําตอบ เพราะจะชวยทําใหครู
สามารถตรวจสอบไดวานักเรียนมีความรูและมีความสามารถในการแกปญหาอยางถูกวิธีหรือไม ควรให
นักเรียนมีโอกาสแสดงความคิดและใหเหตุผลตอเพื่อนๆ เพื่อใหเกิดการอภิปรายและขยายความคิดไดอีก
ตัวอยางคําถามหนา 96 ในหนังสือเรียนเปนคําถามเพื่อกระตุนใหนักเรียนแสดงแนวคิด
และเหตุผล ครูควรใชการสนทนา อภิปราย นักเรียนควรบอกคําตอบโดยใชความรูสึกเชิงจํานวนและ
อธิบายเหตุผลอยางสมเหตุสมผล คําตอบของนักเรียนอาจแตกตางไปจากที่เฉลยไว
2. กิจกรรม “เวลากรีนิช” และ “เม็ดเลือด” เสนอไวเพื่อใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยง
คณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ ในการจัดกิจกรรมครูอาจเชิญผูที่มีความรูดานภูมิศาสตรและดานชีววิทยามา
ใหความรูเพิ่มเติม
3. แบบฝกหัด 3.2 เปนโจทยปญหาที่ใชความรูเกี่ยวกับจํานวนเต็มและเลขยกกําลัง ครูอาจ
เลือกใหนักเรียนทําเปนบางขอตามความเหมาะสม
4. สําหรับกิจกรรม “มานะทําไดอยางไร” ครูอาจใชเปนกิจกรรมเสริมและใหนักเรียนได
ลงมือปฏิบัติเปนกลุม ครูควรสังเกตแนวคิดของนักเรียนกอน อาจชี้แนะใหนักเรียนวิเคราะหจํานวนที่
กําหนดให -12 ถึง 12 ซึ่งมี 25 จํานวน เมื่อจับคูจํานวนตรงขามกันจะเห็นวาผลบวกของจํานวนแตละ
คูจะเทากับ 0 ในการเติมจํานวนลงในชองวางของกระดาษ 5 ชิ้นนี้ แตละชิ้นจะตองมีผลบวกเทากับ 0
เนื่องจากรูปแบบของคําตอบมีไดหลากหลาย ครูอาจใหนักเรียนนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน
เพื่อใหทราบแนวคิดของนักเรียนแตละกลุม เพื่อเปนการฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรและ
เพิ่มพูนความรูใหแกนักเรียนดวย
ในกิจกรรมนี้ครูควรใหความสนใจกับการวิเคราะหในการเลือกจํานวนที่นํามาเขียนใน
กระดาษแตละชิ้น และไมตองการใหครูนําวิธีสรางจัตุรัสกล (magic square) มาอธิบาย
71
ตัวอยางการวิเคราะหแนวคิดในการเลือกจํานวนลงในตารางตามลําดับขั้นโดยเริ่มจากจํานวนที่
มีคาสัมบูรณมากไปหาจํานวนที่มีคาสัมบูรณนอยกวาเปนคูๆ ไปตามลําดับ ดังนี้
ขั้นที่ 1 เขียนจํานวนสองจํานวนซึ่งเปนจํานวนตรงขามกันในหลักที่ 1 และหลักที่ 2 ตามลําดับ
ขั้นที่ 2 เขียนจํานวนสามจํานวนโดยมีผลบวกของสองจํานวนเทากับจํานวนที่สาม
ขั้นที่ 3 เขียน 0 กับอีกสองจํานวนที่เปนจํานวนตรงขามกัน
หลังจากที่จัดกลุมจํานวนทั้งหากลุมครบแลวจะไดจํานวนในแตละแถวมีผลบวกเทากับ 0
อาจนําจํานวนเหลานั้นมาเขียนใหมลงในชองที่มีรูปแบบดังตอไปนี้ก็ได
12 -12 7 -3 -4
11 -11 -7 3 4
10 -10 6 -1 -5
9 -9 -6 1 5
8 -8 0 2 -2
ขั้นที่ 2
ขั้นที่ 3
ขั้นที่ 1
-5 -1 10
6 -10
12 -12
7 -3
-4
9
-6 -9 1
5
11
-11 -7
3 4
8 2
-8 0 -2
72
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบหาผลลัพธ หนา 82
1. 8
แนวคิด 11 + (12 – 13) + (14 – 15) + (16 – 17) = 11 + (-1) + (-1) + (-1)
= 11 – 3
= 8
หรือ (11 + 12 + 14 + 16) – (13 + 15 + 17) = 53 – 45
= 8
2. 31
แนวคิด (18 + 14 + 40) – (20 + 12 + 9) = 72 – 41
= 31
3. -23
แนวคิด
(17 + 60) – (35 + 22 + 43) = 77 – 100
= -23
4. 43
5. 47
6. 23
คําตอบของคําถามหนา 84
1) จํานวนเต็มที่บวกกันเปนจํานวนที่เรียงตอกันสองจํานวนที่อยูติดกันมีคาตางกัน 1
2) 135
แนวคิด 11 + 12 + 13 + 14 + 15 + 16 + 17 + 18 + 19 = (4 × 30) + 15
= 120 + 15
= 135
3) มี เชน
แนวคิด เนื่องจากจํานวนนับ 11 ถึง 19 แตละจํานวนสามารถเขียนอยูในรูปการบวกของ (10 + a)
เมื่อ a แทน 1 ถึง 9 นักเรียนอาจใชสมบัติการเปลี่ยนหมูไดดังนี้
30
30
30
30
73
(10 + 1) + (10 + 2) + … + (10 + 9) = (9 ×10) + (1 + 2 + 3 + … + 9)
= (9 ×10) + {(4 × 10) + 5}
= 90 + 45
= 135
4. 3,775
แนวคิด 51 + 52 + 53 + … + 100 มีจํานวนบวกกัน 50 จํานวน
จับคูผลบวกที่เทากับ 51 + 100 = 151 ได 25 คู
จะได 25 × 151 = 3775
คําตอบแบบฝกหัด 3.1 ก
1.
1) 45 2) 600
3) 287 4) 306
2.
1) 2,550
แนวคิด จํานวนคูตั้งแต 2 ถึง 100 มี 50 จํานวนซึ่งจับคูได 25 คู แตละคูมีผลบวก
เทากับ 2 + 100 = 102
จะได 25 × 102 = 2,550
2) 2,500
แนวคิด จํานวนคูตั้งแต 2 ถึง 99 มี 50 จํานวนซึ่งจับคูได 25 คู แตละคูมีผลบวก
เทากับ 1 + 99 = 100
จะได 25 × 100 = 2500
3) 1,050
แนวคิด 5 + 10 + 15 + 20 + … + 100 = 5(1 + 2 + 3 + … + 20) มีจํานวนที่
นํามาบวกกัน 20 จํานวนซึ่งจับคูได10คู แตละคูมีผลบวก
เทากับ 5 + 100 = 105
จะได 10 × 105 = 1050
(การเขียน 5 + 10 + 15 + 20 + … + 100 = 5(1 + 2 + 3 + … + 20)
เพื่อเปนแนวในการสังเกตวามีจํานวน 20 จํานวนมาบวกกัน)
มี 10 อยู 9 จํานวน
74
4) -513
แนวคิด -3 – 6 – 9 – … – 54 = 3(-1 – 2 – 3 – … – 18) มีจํานวนที่นํามาบวกกัน
18 จํานวนซึ่งจับคูได 9 คู แตละคูมีผลบวกเทากับ (-3) + (-54) = -57
จะได 9 × (-57) = -513
หรือ -3 – 6 – 9 … -54 = (-1) (3 + 6 + 9 + … + 54)
= (-1) {9 × (3 + 54)}
= -(9 × 57)
= -513
3. 916 บาท
4. 950 บาท
แนวคิด หาจํานวนเงินที่ซื้อของทั้งหมดได 320 + 280 + 172 + 300 + 353
= 600 + 300 + 525
= 1425 บาท
หาจํานวนเงินที่ขายของไดทั้งหมด
280 + 275 + 200 + 360 + 220 + 385 + 280 + 375 = 555 + 560 + 500 + 760
= 555 + 1820
= 2375
กําไร 2375 – 1425 = 950 บาท
คําตอบหาผลลัพธ หนา 87
1.
1. -38 2. 132
3. 12 4. 8
5. 11
คําตอบกิจกรรม “ทําไดหรือไม”
ตัวอยางคําตอบ
1. {(20 – 12) ÷ (-8)}× (4 – 3) = -1
วิธีทํา {(20 – 12) ÷ (-8)}× (4 – 3) = {8 ÷(-8)}× 1
= (-1) × 1
= -1
75
2. {(24
– 10) × 2}÷ (9 – 5) = 3
วิธีทํา {(24
– 10) × 2}÷ (9 – 5) = (6 × 2) ÷ 4
= 12 ÷ 4
= 3
3. {11 × (3 + 7)} – (2 × 5) = 100
วิธีทํา {11 × (3 + 7)} – (2 × 5) = (11 × 10) – 10
= 110 ×10
= 100
4.
1) (3 × 3 × 3) – 3 = 24
วิธีทํา (3 × 3 × 3) – 3 = 27 – 3
= 24
2) 4
44)(4 +× = 5
วิธีทํา 4
44)(4 +× = 4
416+
= 4
20
= 5
3) ( ) 9
99
9
9 + = 10
วิธีทํา ( ) 9
99
9
9 + = 1 + 9
= 10
4) (6 × 6) – 6 = 30
วิธีคิด (6 × 6) – 6 = 36 – 6
= 30
5.
1) 23
× (4 – 1) = 24
2) {(1 + 2) × 5}+ 9 = 24
3) (3 × 4) × (8 – 6) = 24
4) (3 × 7) + (9 – 6) = 24
76
คําตอบกิจกรรม “ใครทําไดมากที่สุด”
ตัวอยาง คําตอบ 1 ถึง 10 โดยใชเลขโดดของป พ.ศ. 2546
(5 + 4) – (2 + 6) = 1
(6 ÷ 2) + (4 – 5) = 2
(5 + 6) – (2 × 4) = 3
(5 – 4) + (6 ÷ 2) = 4
(5 – 2) + (6 – 4) = 5
(5 – 2) × (6 – 4) = 6
6 + {(4 + 2) – 5} = 7
(4 × 5) – (6 × 2) = 8
{(4 × 2) – 5}+ 6 = 9
{(4 × 2) – 6}× 5 = 10
คําตอบแบบฝกหัด 3.1 ข
1.
1) 3,960 2) 2,121
3) 3,564 4) 6,120
5) 9,000 6) 5,400
2.
1) 10,699 2) 187
3) 6,649 4) 425
3. 57,420 บาท
4. 210 บาท
คําตอบแบบฝกหัด 3.1 ค
1.
1) 9.5 × 1041
2) 1 × 1026
3) 4 × 102
4) 2 × 102
77
2. ประมาณ 25.12 ตารางเมตร
แนวคิด π (3)2
– π (1)2
= π (32
– 12
)
= π (9 – 1)
= 8π
≈ 8 × 3.14
≈ 25.12
3. เฉลี่ยตันละ 9,000 บาท
แนวคิด
)10(2)10(2.5
)10(1.75)10(2.3
66
77
×+×
×+× = 6
7
102)(2.5
101.75)(2.3
×
×+
+
พันบาท
= 4.5
104.05× พันบาท
= 9 พันบาท
= 9,000 บาท
คําตอบกิจกรรม หนา 96
1.
1) เปนไปได เพราะจํานวนลูกแกวสีแดงมีมากกวาสีอื่นๆ จึงมีโอกาสหยิบไดมากกวา
2) เปนไปไมได เพราะ 65% เปนคะแนนที่ตองคิดจากคะแนนเต็ม 100 คะแนนไมใชคิดจาก
80 คะแนน
3) เปนไปไมได เพราะวาในเวลา 15 วินาที ถาเราวิ่งอยางเร็วอาจไดเพียง 100 เมตรเทานั้น
ขอมูลนี้นาจะคลาดเคลื่อน ควรเปน 15 นาทีมากกวา ครูอาจใหนักเรียนประมาณเวลาที่วิ่ง
โดยใหนักเรียนนับหนึ่งถึงยี่สิบซึ่งใชเวลานับประมาณ 15 วินาทีเปนตัวเทียบเวลา)
4) เปนไปได เพราะวาทุกจํานวนตางก็เพิ่มขึ้นเทาๆ กัน ( ครูอาจเปรียบเทียบกับการยืน
เขาแถวซื้อตั๋วแบบแถวตอน แลวใหทุกคนกาวเทาไปขางหนา 4 กาวแตละคนก็ยังคงเรียง
ลําดับเชนเดิมอยู )
5) เปนไปได เพราะวาถาไมมีการเปลี่ยนแปลงยอดเงินมากอน เมื่อไดเงินเพิ่มเทากันคนละ
200 บาท แตละคนก็ยังมีเงินฝากตางกันเทาเดิม
2.
1) มีหลายคําตอบ เชน ถามีเงินพอและตองการประหยัดเงินก็ควรซื้อขนาด 1,200 กรัม
โดยประมาณราคาเทียบกับปริมาณที่เทากัน
78
นักเรียนอาจบอกเหตุผลเปนอยางอื่น เชน ซื้อขนาด 800 กรัมจะไดจายเงินนอยกวา
และมีเงินเหลือไปซื้อของอยางอื่นไดอีก
2) นักเรียนควรตอบวา “ไมทัน” เพราะวามีเวลา 30 นาที สําหรับระยะทาง 15 กิโลเมตร
ถาใช อัตราเร็วเฉลี่ยปกติในการขี่รถจักรยานยนต 20 กิโลเมตรตอชั่วโมงในเวลา 30 นาที
จะไดทางเพียง 10 กิโลเมตรเทานั้น
3) นักเรียนควรตอบวา “พอ”เพราะคํานวณพื้นที่หองครัวไดนอยกวา 3×3=9 ตารางเมตร
4) นักเรียนควรตอบวา “พอ” ในกรณีที่เดือนนั้นมีจํานวนวันไมเกิน 30 วัน เพราะวาขาวสาร
3 ถุงคิดเปน 3 × 5 = 15 กิโลกรัม ตวงเปนกระปองได 15 × 6 = 90 กระปองหุงขาว
วันละ 3 กระปองจะพอดี 30 วัน แตถาเดือนนั้นมี 31 วัน จะไมพอหุงกิน
คําตอบกิจกรรม “เวลากรีนิช”
1. เวลา 20.00 น. วันเดียวกัน (เวลาที่กรุงเทพฯ เร็วกวาเวลากรีนิช 7 ชั่วโมง)
2. เวลา 17.00 น. วันเดียวกัน (เวลาที่ญี่ปุนเร็วกวาเวลากรีนิช 9 ชั่วโมง)
3. เวลา 16.00 น. วันเดียวกัน (เวลาที่บราซิลชากวาเวลากรีนิช 4 ชั่วโมง)
4. เวลา 21.00 น. วันเสาร (เวลาที่นิวยอรกชากวาเวลาของประเทศไทย 12 ชั่วโมง)
5. เวลา 14.00 น. วันเดียวกัน (เวลาที่อิตาลีชากวากรุงเทพฯ 6 ชั่วโมง)
คําตอบแบบฝกหัด 3.2
1. 34 องศา
2. 13.00 วันเสาร
แนวคิด เวลาที่เมืองซิดนียเร็วกวาเวลากรีนิช 10 ชั่วโมง
เวลาที่เมืองเดนเวอรชากวาเวลากรีนิช 7 ชั่วโมง
ดังนั้นทั้งสองเมืองจึงมีเวลาตางกัน 17 ชั่วโมง
ถาที่เมืองซิดนียเปนวันอาทิตยเวลา 6.00 น. ที่เมืองเดนเวอรจะเปนเวลาที่ชากวา
เมืองซิดนีย 17 ชั่วโมง ซึ่งจะตรงกับวันเสารเวลา 13.00 น.
นับยอนเวลาโดยหมุนทวนเข็มนาฬิกาไป 17 ชั่วโมง
79
3. 576 ตารางเมตร
4. นอยที่สุด 65 บาท
มากที่สุด 191 บาท
แนวคิด จํานวนเงินที่จะแบงจะตองหารดวย 7 และ 9 แลวเหลือเศษ 2
ค.ร.น. ของ 7 และ 9 คือ 63
ดังนั้นจํานวนเงินที่แบงอยางนอยที่สุดคือ 63 + 2 = 65 บาท
และจํานวนที่แบงอยางมากที่สุดที่นอยกวา 200 บาท ซึ่งหาไดจากพหุคูณของ 63
จะได 63 × 3 = 189
ดังนั้น จํานวนเงินที่จะแบงอยางมากที่สุดคือ 189 + 2 = 191 บาท
5. สมศักดิ์เหลือเงินมากที่สุด 22,690 บาท
แนวคิด ถาตองการเงินเหลือมากที่สุดจะตองจายคาสีใหนอยที่สุด เพราะคาแรงของชางเปน
จํานวนเงินคงที่ 5,700 บาท ขนาดของสีที่ควรเลือกซื้อที่จะประหยัดมากที่สุดมีดังนี้
ขนาด 1 ลิตร 1 หนวย ราคา 300 บาท
ขนาด 2 ลิตร 1 หนวย ราคา 550 บาท
ขนาด 4 ลิตร 6 หนวย ราคา 960 × 6 = 5760 บาท
รวมเปนเงินคาสีทั้งหมด 6,610 บาท
สมศักดิ์จะเหลือเงินมากที่สุด 35000 – 5700 – 6610 = 22690 บาท
6. จายไปแลว 72,790 ลานบาท
ยังตองจายเพิ่มอีก 2,082 ลานบาท
7. ดาวพุธอยูหางจากโลกประมาณ 9.2 × 107
กิโลเมตร
ดาวพลูโตอยูหางจากโลกประมาณ 5.75 × 109
กิโลเมตร
8. 1.2 ลิตร
เริ่มนับจาก 6.00 น. วันอาทิตย
80
แนวคิด น้ํา 1 ลูกบาศกเมตรเทากับ 1000 ลิตร = 103
ลิตร
น้ํา 600 ลูกบาศกเมตร = 600 × 1000 ลิตร
= 6 × 102
× 103
ลิตร
= 6 × 105
ลิตร
น้ํา 105
ลิตร ใชคลอรีน 200 ลูกบาศกเซนติเมตร
น้ํา 6 × 105
ลิตร ใชคลอรีน 5
52
10
106102 ××× = 1200 ลูกบาศกเซนติเมตร
= 1.2 ลิตร.
9. 1.08 × 107
ลูกบาศกเมตร
10. 35.28 มิลลิกรัม
คําตอบกิจกรรม “มานะทําไดอยางไร”
1. มานะรูวาผลบวกของจํานวนในกระดาษแตละชิ้นจะเทากับ 0 จึงใชการจับคูของจํานวนตรงขามใส
ในชองตารางของกระดาษแตละชิ้นกอน สวนชองที่เหลืออยูใหเติมจํานวนที่จะทําใหมีผลบวก
เทากับ 0
2. ตัวอยางคําตอบตามรูปแบบที่อธิบายไวในขอ 1
7 -11 12
-12 4
5 0 -5
1
-1
9
10
-6
-3
-10
2 3
-26 -9 11
-4
-8
8
-7

More Related Content

What's hot

เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1pandachar
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ.2560ครู กรุณา
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังFern Baa
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannkru_ann
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6Jirathorn Buenglee
 

What's hot (20)

Pat1 53-10+key
Pat1 53-10+keyPat1 53-10+key
Pat1 53-10+key
 
60 real
60 real60 real
60 real
 
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เผยแพร่ผลงาน เรื่องสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
Pat1 59-03+key.
Pat1 59-03+key.Pat1 59-03+key.
Pat1 59-03+key.
 
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ.2560เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ.2560
เฉลยละเอียด ONET คณิตศาสตร์ ม.6 ปกศ.2560
 
E-book
E-bookE-book
E-book
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 
ชมพู9
ชมพู9ชมพู9
ชมพู9
 
Pat1 54-10+key
Pat1 54-10+keyPat1 54-10+key
Pat1 54-10+key
 
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลังหน่วยที่3 เลขยกกำลัง
หน่วยที่3 เลขยกกำลัง
 
Pat1 57-04+key
Pat1 57-04+keyPat1 57-04+key
Pat1 57-04+key
 
Pat1 57-03+key
Pat1 57-03+keyPat1 57-03+key
Pat1 57-03+key
 
Pat1 52-07+key
Pat1 52-07+keyPat1 52-07+key
Pat1 52-07+key
 
Pat1 56-03+key
Pat1 56-03+keyPat1 56-03+key
Pat1 56-03+key
 
Pat1 58-10+key
Pat1 58-10+keyPat1 58-10+key
Pat1 58-10+key
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน6
 
60 matrix-021060
60 matrix-02106060 matrix-021060
60 matrix-021060
 
60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full
 
Pat1 55-10+key
Pat1 55-10+keyPat1 55-10+key
Pat1 55-10+key
 

Similar to Add m1-1-chapter3

คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3Jirathorn Buenglee
 
เลขโรมัน
เลขโรมันเลขโรมัน
เลขโรมันPreecha Yeednoi
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตaoynattaya
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3 วรรณิภา ไกรสุข
 
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)Washirasak Poosit
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 

Similar to Add m1-1-chapter3 (20)

Add m3-1-chapter1
Add m3-1-chapter1Add m3-1-chapter1
Add m3-1-chapter1
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน3
 
เลขโรมัน
เลขโรมันเลขโรมัน
เลขโรมัน
 
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
ติวสอบครูผู้ช่วย (บ้านสอบครู อ.บวร)เอกสารบรรยายความรู้ความสามารถทั่วไป (ตัวเลข)
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิตอนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
 
E book math
E book mathE book math
E book math
 
E book math
E book mathE book math
E book math
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Headpon1
Headpon1Headpon1
Headpon1
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)
เสริมปัญญาอนุบาลจ๋าจ้า (2)
 
การบวก
การบวกการบวก
การบวก
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
Add m2-1-chapter1
Add m2-1-chapter1Add m2-1-chapter1
Add m2-1-chapter1
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 

Add m1-1-chapter3

  • 1. บทที่ 3 การประยุกตของจํานวนเต็มและเลขยกกําลัง (8 ชั่วโมง) 3.1 การคิดคํานวณ (5 ชั่วโมง) 3.2 โจทยปญหา (3 ชั่วโมง) เนื้อหาในบทนี้กลาวถึงการคิดคํานวณและโจทยเกี่ยวกับจํานวนเต็มและเลขยกกําลังที่เปนพื้นฐาน ในการพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวน หัวขอตางๆ ในบทมีสาระเกี่ยวกับการคิดคํานวณโดยใชวงเล็บ เทคนิคการคํานวณแบบตางๆ การหาคําตอบโดยใชความรูสึกเชิงจํานวน และการแกปญหาเพื่อเสริม ความรูและความสามารถในดานทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ตลอดจนวิธีการเรียนรูที่ตองอาศัย การคิดเชิงวิเคราะหและการใชเหตุผลชวยในการตัดสินใจ บทเรียนนี้มีรูปแบบการนําเสนอเนื้อหาสาระหลายรูปแบบ ทั้งที่อยูในรูปกิจกรรมและนําเสนอ เนื้อหาโดยตรง ลักษณะของกิจกรรมมีหลากหลาย มีทั้งกิจกรรมที่เนนการฝกทักษะการคํานวณ และ กิจกรรมที่เนนทักษะกระบวนการ ครูจึงควรใหนักเรียนไดลงมือปฏิบัติจริง ใหมีการอภิปรายภายในกลุม และนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียนเพื่อใหมีการเสริม เพิ่มเติม ปรับปรุงและหาขอสรุปรวมกัน ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. ใชความรูเกี่ยวกับจํานวนเต็มและเลขยกกําลังในการแกปญหาได 2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
  • 2. 68 แนวทางในการจัดการเรียนรู 3.1 การคิดคํานวณ (5 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. คํานวณโจทยบวก ลบ คูณ หารที่มีวงเล็บได 2. ใชสมบัติของจํานวนเต็มและเลขยกกําลังในการคํานวณได 3. หาคําตอบโดยอาศัยความรูสึกเชิงจํานวนและบอกเหตุผลประกอบได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูนําเขาสูบทเรียนดวยการสนทนาและอาจใหนักเรียนยกตัวอยางแสดงการใชคณิตศาสตร ในชีวิตประจําวัน 2. ครูอาจยกตัวอยางสถานการณอื่นในทํานองเดียวกันกับปญหาซื้อผักของพัชรี ใหนักเรียน สังเกตลําดับขั้นตอนการคํานวณตามที่นักเรียนคิดในชีวิตจริงแลวโยงเขาสูประโยคคณิตศาสตร 3. สําหรับวิธีการเขาวงเล็บและถอดวงเล็บ ในที่นี้ใหนักเรียนจําหลักการโดยฝกเขาและถอด วงเล็บกลับไป – กลับมาในโจทยขอเดียวกัน เพื่อตรวจสอบและยืนยันวาไดผลที่ถูกตอง เชน 18 – 9 + 21 เมื่อเขาวงเล็บได 18 – (9 – 21) แลวตรวจสอบกลับจาก 18 – (9 – 21) โดยถอดวงเล็บวาไดเทากับ 18 – 9 + 21 หรือไม การทําเชนนี้จะชวยใหนักเรียนเกิดนิสัยที่ตองตรวจสอบกระบวนการคํานวณและ คําตอบอยูเสมอ ทางคณิตศาสตรถือวาขั้นตอนการตรวจสอบเปนขั้นตอนที่สําคัญตอนหนึ่งในกระบวน การเรียนรู 4. ในหัวขอนี้นอกจากมีสาระเกี่ยวกับการคํานวณจํานวนเต็มและเลขยกกําลังซึ่งเสนอไวเพื่อฝก ทักษะการคํานวณแลว ยังมีเจตนาใหนักเรียนเห็นวิธีการบางวิธีหรือเทคนิคการคํานวณบางอยางที่เอื้อ ใหหาคําตอบไดเร็วและงายขึ้น โจทยบางขออาจชวยพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวนเกี่ยวกับการคํานวณ ดวย ดังตัวอยาง การหาผลบวกของจํานวนเต็มสองจํานวนที่มีผลลัพธเปนจํานวนเต็มสิบ หรือศูนยในตัวอยาง หนา 82 ใชการโยงเสนเพื่อใหนักเรียนเห็นการจับคู เชน 32 + 15 + 18 + 9 + 45 การหาคําตอบของจํานวนเต็มที่มีเลขโดดในหลักหนวยเปน 1 หรือ 9 เชน คํานวณเงินที่ ซื้อเสื้อ 1 ตัวราคา 199 บาท และกางเกง 1 ตัวราคา 289 บาท ซึ่งมีวิธีคิดโดยใชสมบัติการแจกแจง นักเรียนสามารถนําวิธีคิดไปใชในชีวิตจริงได การหาผลบวกในโจทยบางขอที่มีแบบรูปพิเศษที่ใชหลักการบวกของเกาส เชน 11 + 12 + 13 + … + 20 จะสังเกตเห็นวา จํานวนที่นํามาบวกกันเปนจํานวนเต็มบวกที่เพิ่มขึ้นทีละ 1
  • 3. 69 คารล ฟรีดริช เกาส (Carl Friedrich Gauss) นักคณิตศาสตรชาวเยอรมัน สามารถหาผลบวก 1 + 2 + 3 + 4 + … + 100 ไดอยางรวดเร็วตั้งแตอยูในวัยเด็ก โดยเขาสังเกตเห็นวา 100 + 1 = 101, 99 + 2 = 101, 98 + 3 = 101, …, 55 + 56 = 101 และผลบวกที่เทากับ 101 มี 50 คู เขาจึงหา ผลบวกของ 1 + 2 + 3 + 4 + … + 100 ได เทากับ 50 × 101 = 5050 5. ในการทําแบบฝกหัด 3.1 ก ครูควรสังเกตแนวคิดของนักเรียนวาใชวิธีการอยางไร มีการ นําวิธีคํานวณดังที่เสนอไวมาใชหรือไม ถานักเรียนไมใช นักเรียนมีเหตุผลอยางไร และถานักเรียนมีวิธี ที่ดีและแตกตาง ควรใหนําเสนอหนาชั้นดวย 6. การสอนเกี่ยวกับโจทยคํานวณที่ไมมีวงเล็บกําหนดขั้นตอน เปนโจทยที่ทําใหเกิดปญหาวา จะดําเนินการระหวางสองจํานวนใดกอน ครูควรใหนักเรียนทํากิจกรรมหาคําตอบ 9 + 3 × 5 – 8 ÷ 4 กอน หลังจากที่นักเรียนตรวจสอบคําตอบกับเพื่อน ๆ แลวควรใหนําเสนอหนาชั้นเรียน ซึ่งอาจจะพบคําตอบ ที่ไมเทากัน ครูควรใชคําถามเพื่อใหนักเรียนเห็นวา ลําดับการคํานวณที่แตกตางกันทําใหไดผลลัพธ ไมตรงกันแมวาจะเปนโจทยเดียวกัน ในการแตงโจทยครูตองใชวงเล็บกําหนดลําดับขั้นตอนไวเสมอ แตถานักเรียนพบโจทยที่มีการดําเนินการหลายๆ อยางที่ไมมีวงเล็บกําหนดไว ถาจําเปนตองหาคําตอบ ใหยึดหลักการคํานวณดังที่กลาวไวในกรอบ “รูไวใชวา” ในหนังสือเรียน หนา 88 7. กิจกรรม “ทําไดหรือไม” เปนกิจกรรมที่ตองการฝกทักษะเกี่ยวกับการคํานวณโดยใชวงเล็บ กิจกรรมนี้ยังชวยพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวนและความคิดริเริ่มสรางสรรค ดังนั้นวิธีคิดและคําตอบของ นักเรียนอาจมีไดหลากหลาย ครูจึงควรพิจารณาคําตอบของนักเรียนอยางละเอียด อาจมีคะแนนเพิ่ม เปนโบนัสสําหรับนักเรียนที่มีความคิดถูกตองและเฉียบคมไปจากวิธีคิดของคนอื่นๆ สําหรับกิจกรรม “ใครทําไดมากที่สุด” มีแนวคิดและคําตอบหลายคําตอบ อาจตองใช เวลานาน ครูอาจใหนักเรียนทําเปนกรณีพิเศษนอกเวลา แลวนําเสนอที่ปายนิเทศก็ได 8. ในการทําแบบฝกหัด 3.1 ข ครูควรสังเกตวิธีคิดของนักเรียนวาใชวิธีการตั้งคูณหรือใชวิธีคิด ที่นําเสนอในบทเรียน ถานักเรียนยังคงใชวิธีตั้งคูณแบบเดิม ครูควรชี้แนะใหใชวิธีคิดใหม ครูอาจให คิดโจทยเพิ่มเติมโดยคิดในใจหรือคิดเร็ว เพื่อพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวน
  • 4. 70 3.2 โจทยปญหา (3 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. ใชความรูเกี่ยวกับจํานวนเต็มและเลขยกกําลังในการแกปญหาได 2. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. โจทยปญหาในหัวขอนี้ตองการพัฒนาความรูสึกเชิงจํานวน ในเรื่องการคํานวณและการ ตัดสินใจ ครูควรใหความสําคัญตอเหตุผลที่นักเรียนนําไปใชในการหาคําตอบ เพราะจะชวยทําใหครู สามารถตรวจสอบไดวานักเรียนมีความรูและมีความสามารถในการแกปญหาอยางถูกวิธีหรือไม ควรให นักเรียนมีโอกาสแสดงความคิดและใหเหตุผลตอเพื่อนๆ เพื่อใหเกิดการอภิปรายและขยายความคิดไดอีก ตัวอยางคําถามหนา 96 ในหนังสือเรียนเปนคําถามเพื่อกระตุนใหนักเรียนแสดงแนวคิด และเหตุผล ครูควรใชการสนทนา อภิปราย นักเรียนควรบอกคําตอบโดยใชความรูสึกเชิงจํานวนและ อธิบายเหตุผลอยางสมเหตุสมผล คําตอบของนักเรียนอาจแตกตางไปจากที่เฉลยไว 2. กิจกรรม “เวลากรีนิช” และ “เม็ดเลือด” เสนอไวเพื่อใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยง คณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ ในการจัดกิจกรรมครูอาจเชิญผูที่มีความรูดานภูมิศาสตรและดานชีววิทยามา ใหความรูเพิ่มเติม 3. แบบฝกหัด 3.2 เปนโจทยปญหาที่ใชความรูเกี่ยวกับจํานวนเต็มและเลขยกกําลัง ครูอาจ เลือกใหนักเรียนทําเปนบางขอตามความเหมาะสม 4. สําหรับกิจกรรม “มานะทําไดอยางไร” ครูอาจใชเปนกิจกรรมเสริมและใหนักเรียนได ลงมือปฏิบัติเปนกลุม ครูควรสังเกตแนวคิดของนักเรียนกอน อาจชี้แนะใหนักเรียนวิเคราะหจํานวนที่ กําหนดให -12 ถึง 12 ซึ่งมี 25 จํานวน เมื่อจับคูจํานวนตรงขามกันจะเห็นวาผลบวกของจํานวนแตละ คูจะเทากับ 0 ในการเติมจํานวนลงในชองวางของกระดาษ 5 ชิ้นนี้ แตละชิ้นจะตองมีผลบวกเทากับ 0 เนื่องจากรูปแบบของคําตอบมีไดหลากหลาย ครูอาจใหนักเรียนนําเสนอผลงานหนาชั้นเรียน เพื่อใหทราบแนวคิดของนักเรียนแตละกลุม เพื่อเปนการฝกทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรและ เพิ่มพูนความรูใหแกนักเรียนดวย ในกิจกรรมนี้ครูควรใหความสนใจกับการวิเคราะหในการเลือกจํานวนที่นํามาเขียนใน กระดาษแตละชิ้น และไมตองการใหครูนําวิธีสรางจัตุรัสกล (magic square) มาอธิบาย
  • 5. 71 ตัวอยางการวิเคราะหแนวคิดในการเลือกจํานวนลงในตารางตามลําดับขั้นโดยเริ่มจากจํานวนที่ มีคาสัมบูรณมากไปหาจํานวนที่มีคาสัมบูรณนอยกวาเปนคูๆ ไปตามลําดับ ดังนี้ ขั้นที่ 1 เขียนจํานวนสองจํานวนซึ่งเปนจํานวนตรงขามกันในหลักที่ 1 และหลักที่ 2 ตามลําดับ ขั้นที่ 2 เขียนจํานวนสามจํานวนโดยมีผลบวกของสองจํานวนเทากับจํานวนที่สาม ขั้นที่ 3 เขียน 0 กับอีกสองจํานวนที่เปนจํานวนตรงขามกัน หลังจากที่จัดกลุมจํานวนทั้งหากลุมครบแลวจะไดจํานวนในแตละแถวมีผลบวกเทากับ 0 อาจนําจํานวนเหลานั้นมาเขียนใหมลงในชองที่มีรูปแบบดังตอไปนี้ก็ได 12 -12 7 -3 -4 11 -11 -7 3 4 10 -10 6 -1 -5 9 -9 -6 1 5 8 -8 0 2 -2 ขั้นที่ 2 ขั้นที่ 3 ขั้นที่ 1 -5 -1 10 6 -10 12 -12 7 -3 -4 9 -6 -9 1 5 11 -11 -7 3 4 8 2 -8 0 -2
  • 6. 72 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบหาผลลัพธ หนา 82 1. 8 แนวคิด 11 + (12 – 13) + (14 – 15) + (16 – 17) = 11 + (-1) + (-1) + (-1) = 11 – 3 = 8 หรือ (11 + 12 + 14 + 16) – (13 + 15 + 17) = 53 – 45 = 8 2. 31 แนวคิด (18 + 14 + 40) – (20 + 12 + 9) = 72 – 41 = 31 3. -23 แนวคิด (17 + 60) – (35 + 22 + 43) = 77 – 100 = -23 4. 43 5. 47 6. 23 คําตอบของคําถามหนา 84 1) จํานวนเต็มที่บวกกันเปนจํานวนที่เรียงตอกันสองจํานวนที่อยูติดกันมีคาตางกัน 1 2) 135 แนวคิด 11 + 12 + 13 + 14 + 15 + 16 + 17 + 18 + 19 = (4 × 30) + 15 = 120 + 15 = 135 3) มี เชน แนวคิด เนื่องจากจํานวนนับ 11 ถึง 19 แตละจํานวนสามารถเขียนอยูในรูปการบวกของ (10 + a) เมื่อ a แทน 1 ถึง 9 นักเรียนอาจใชสมบัติการเปลี่ยนหมูไดดังนี้ 30 30 30 30
  • 7. 73 (10 + 1) + (10 + 2) + … + (10 + 9) = (9 ×10) + (1 + 2 + 3 + … + 9) = (9 ×10) + {(4 × 10) + 5} = 90 + 45 = 135 4. 3,775 แนวคิด 51 + 52 + 53 + … + 100 มีจํานวนบวกกัน 50 จํานวน จับคูผลบวกที่เทากับ 51 + 100 = 151 ได 25 คู จะได 25 × 151 = 3775 คําตอบแบบฝกหัด 3.1 ก 1. 1) 45 2) 600 3) 287 4) 306 2. 1) 2,550 แนวคิด จํานวนคูตั้งแต 2 ถึง 100 มี 50 จํานวนซึ่งจับคูได 25 คู แตละคูมีผลบวก เทากับ 2 + 100 = 102 จะได 25 × 102 = 2,550 2) 2,500 แนวคิด จํานวนคูตั้งแต 2 ถึง 99 มี 50 จํานวนซึ่งจับคูได 25 คู แตละคูมีผลบวก เทากับ 1 + 99 = 100 จะได 25 × 100 = 2500 3) 1,050 แนวคิด 5 + 10 + 15 + 20 + … + 100 = 5(1 + 2 + 3 + … + 20) มีจํานวนที่ นํามาบวกกัน 20 จํานวนซึ่งจับคูได10คู แตละคูมีผลบวก เทากับ 5 + 100 = 105 จะได 10 × 105 = 1050 (การเขียน 5 + 10 + 15 + 20 + … + 100 = 5(1 + 2 + 3 + … + 20) เพื่อเปนแนวในการสังเกตวามีจํานวน 20 จํานวนมาบวกกัน) มี 10 อยู 9 จํานวน
  • 8. 74 4) -513 แนวคิด -3 – 6 – 9 – … – 54 = 3(-1 – 2 – 3 – … – 18) มีจํานวนที่นํามาบวกกัน 18 จํานวนซึ่งจับคูได 9 คู แตละคูมีผลบวกเทากับ (-3) + (-54) = -57 จะได 9 × (-57) = -513 หรือ -3 – 6 – 9 … -54 = (-1) (3 + 6 + 9 + … + 54) = (-1) {9 × (3 + 54)} = -(9 × 57) = -513 3. 916 บาท 4. 950 บาท แนวคิด หาจํานวนเงินที่ซื้อของทั้งหมดได 320 + 280 + 172 + 300 + 353 = 600 + 300 + 525 = 1425 บาท หาจํานวนเงินที่ขายของไดทั้งหมด 280 + 275 + 200 + 360 + 220 + 385 + 280 + 375 = 555 + 560 + 500 + 760 = 555 + 1820 = 2375 กําไร 2375 – 1425 = 950 บาท คําตอบหาผลลัพธ หนา 87 1. 1. -38 2. 132 3. 12 4. 8 5. 11 คําตอบกิจกรรม “ทําไดหรือไม” ตัวอยางคําตอบ 1. {(20 – 12) ÷ (-8)}× (4 – 3) = -1 วิธีทํา {(20 – 12) ÷ (-8)}× (4 – 3) = {8 ÷(-8)}× 1 = (-1) × 1 = -1
  • 9. 75 2. {(24 – 10) × 2}÷ (9 – 5) = 3 วิธีทํา {(24 – 10) × 2}÷ (9 – 5) = (6 × 2) ÷ 4 = 12 ÷ 4 = 3 3. {11 × (3 + 7)} – (2 × 5) = 100 วิธีทํา {11 × (3 + 7)} – (2 × 5) = (11 × 10) – 10 = 110 ×10 = 100 4. 1) (3 × 3 × 3) – 3 = 24 วิธีทํา (3 × 3 × 3) – 3 = 27 – 3 = 24 2) 4 44)(4 +× = 5 วิธีทํา 4 44)(4 +× = 4 416+ = 4 20 = 5 3) ( ) 9 99 9 9 + = 10 วิธีทํา ( ) 9 99 9 9 + = 1 + 9 = 10 4) (6 × 6) – 6 = 30 วิธีคิด (6 × 6) – 6 = 36 – 6 = 30 5. 1) 23 × (4 – 1) = 24 2) {(1 + 2) × 5}+ 9 = 24 3) (3 × 4) × (8 – 6) = 24 4) (3 × 7) + (9 – 6) = 24
  • 10. 76 คําตอบกิจกรรม “ใครทําไดมากที่สุด” ตัวอยาง คําตอบ 1 ถึง 10 โดยใชเลขโดดของป พ.ศ. 2546 (5 + 4) – (2 + 6) = 1 (6 ÷ 2) + (4 – 5) = 2 (5 + 6) – (2 × 4) = 3 (5 – 4) + (6 ÷ 2) = 4 (5 – 2) + (6 – 4) = 5 (5 – 2) × (6 – 4) = 6 6 + {(4 + 2) – 5} = 7 (4 × 5) – (6 × 2) = 8 {(4 × 2) – 5}+ 6 = 9 {(4 × 2) – 6}× 5 = 10 คําตอบแบบฝกหัด 3.1 ข 1. 1) 3,960 2) 2,121 3) 3,564 4) 6,120 5) 9,000 6) 5,400 2. 1) 10,699 2) 187 3) 6,649 4) 425 3. 57,420 บาท 4. 210 บาท คําตอบแบบฝกหัด 3.1 ค 1. 1) 9.5 × 1041 2) 1 × 1026 3) 4 × 102 4) 2 × 102
  • 11. 77 2. ประมาณ 25.12 ตารางเมตร แนวคิด π (3)2 – π (1)2 = π (32 – 12 ) = π (9 – 1) = 8π ≈ 8 × 3.14 ≈ 25.12 3. เฉลี่ยตันละ 9,000 บาท แนวคิด )10(2)10(2.5 )10(1.75)10(2.3 66 77 ×+× ×+× = 6 7 102)(2.5 101.75)(2.3 × ×+ + พันบาท = 4.5 104.05× พันบาท = 9 พันบาท = 9,000 บาท คําตอบกิจกรรม หนา 96 1. 1) เปนไปได เพราะจํานวนลูกแกวสีแดงมีมากกวาสีอื่นๆ จึงมีโอกาสหยิบไดมากกวา 2) เปนไปไมได เพราะ 65% เปนคะแนนที่ตองคิดจากคะแนนเต็ม 100 คะแนนไมใชคิดจาก 80 คะแนน 3) เปนไปไมได เพราะวาในเวลา 15 วินาที ถาเราวิ่งอยางเร็วอาจไดเพียง 100 เมตรเทานั้น ขอมูลนี้นาจะคลาดเคลื่อน ควรเปน 15 นาทีมากกวา ครูอาจใหนักเรียนประมาณเวลาที่วิ่ง โดยใหนักเรียนนับหนึ่งถึงยี่สิบซึ่งใชเวลานับประมาณ 15 วินาทีเปนตัวเทียบเวลา) 4) เปนไปได เพราะวาทุกจํานวนตางก็เพิ่มขึ้นเทาๆ กัน ( ครูอาจเปรียบเทียบกับการยืน เขาแถวซื้อตั๋วแบบแถวตอน แลวใหทุกคนกาวเทาไปขางหนา 4 กาวแตละคนก็ยังคงเรียง ลําดับเชนเดิมอยู ) 5) เปนไปได เพราะวาถาไมมีการเปลี่ยนแปลงยอดเงินมากอน เมื่อไดเงินเพิ่มเทากันคนละ 200 บาท แตละคนก็ยังมีเงินฝากตางกันเทาเดิม 2. 1) มีหลายคําตอบ เชน ถามีเงินพอและตองการประหยัดเงินก็ควรซื้อขนาด 1,200 กรัม โดยประมาณราคาเทียบกับปริมาณที่เทากัน
  • 12. 78 นักเรียนอาจบอกเหตุผลเปนอยางอื่น เชน ซื้อขนาด 800 กรัมจะไดจายเงินนอยกวา และมีเงินเหลือไปซื้อของอยางอื่นไดอีก 2) นักเรียนควรตอบวา “ไมทัน” เพราะวามีเวลา 30 นาที สําหรับระยะทาง 15 กิโลเมตร ถาใช อัตราเร็วเฉลี่ยปกติในการขี่รถจักรยานยนต 20 กิโลเมตรตอชั่วโมงในเวลา 30 นาที จะไดทางเพียง 10 กิโลเมตรเทานั้น 3) นักเรียนควรตอบวา “พอ”เพราะคํานวณพื้นที่หองครัวไดนอยกวา 3×3=9 ตารางเมตร 4) นักเรียนควรตอบวา “พอ” ในกรณีที่เดือนนั้นมีจํานวนวันไมเกิน 30 วัน เพราะวาขาวสาร 3 ถุงคิดเปน 3 × 5 = 15 กิโลกรัม ตวงเปนกระปองได 15 × 6 = 90 กระปองหุงขาว วันละ 3 กระปองจะพอดี 30 วัน แตถาเดือนนั้นมี 31 วัน จะไมพอหุงกิน คําตอบกิจกรรม “เวลากรีนิช” 1. เวลา 20.00 น. วันเดียวกัน (เวลาที่กรุงเทพฯ เร็วกวาเวลากรีนิช 7 ชั่วโมง) 2. เวลา 17.00 น. วันเดียวกัน (เวลาที่ญี่ปุนเร็วกวาเวลากรีนิช 9 ชั่วโมง) 3. เวลา 16.00 น. วันเดียวกัน (เวลาที่บราซิลชากวาเวลากรีนิช 4 ชั่วโมง) 4. เวลา 21.00 น. วันเสาร (เวลาที่นิวยอรกชากวาเวลาของประเทศไทย 12 ชั่วโมง) 5. เวลา 14.00 น. วันเดียวกัน (เวลาที่อิตาลีชากวากรุงเทพฯ 6 ชั่วโมง) คําตอบแบบฝกหัด 3.2 1. 34 องศา 2. 13.00 วันเสาร แนวคิด เวลาที่เมืองซิดนียเร็วกวาเวลากรีนิช 10 ชั่วโมง เวลาที่เมืองเดนเวอรชากวาเวลากรีนิช 7 ชั่วโมง ดังนั้นทั้งสองเมืองจึงมีเวลาตางกัน 17 ชั่วโมง ถาที่เมืองซิดนียเปนวันอาทิตยเวลา 6.00 น. ที่เมืองเดนเวอรจะเปนเวลาที่ชากวา เมืองซิดนีย 17 ชั่วโมง ซึ่งจะตรงกับวันเสารเวลา 13.00 น. นับยอนเวลาโดยหมุนทวนเข็มนาฬิกาไป 17 ชั่วโมง
  • 13. 79 3. 576 ตารางเมตร 4. นอยที่สุด 65 บาท มากที่สุด 191 บาท แนวคิด จํานวนเงินที่จะแบงจะตองหารดวย 7 และ 9 แลวเหลือเศษ 2 ค.ร.น. ของ 7 และ 9 คือ 63 ดังนั้นจํานวนเงินที่แบงอยางนอยที่สุดคือ 63 + 2 = 65 บาท และจํานวนที่แบงอยางมากที่สุดที่นอยกวา 200 บาท ซึ่งหาไดจากพหุคูณของ 63 จะได 63 × 3 = 189 ดังนั้น จํานวนเงินที่จะแบงอยางมากที่สุดคือ 189 + 2 = 191 บาท 5. สมศักดิ์เหลือเงินมากที่สุด 22,690 บาท แนวคิด ถาตองการเงินเหลือมากที่สุดจะตองจายคาสีใหนอยที่สุด เพราะคาแรงของชางเปน จํานวนเงินคงที่ 5,700 บาท ขนาดของสีที่ควรเลือกซื้อที่จะประหยัดมากที่สุดมีดังนี้ ขนาด 1 ลิตร 1 หนวย ราคา 300 บาท ขนาด 2 ลิตร 1 หนวย ราคา 550 บาท ขนาด 4 ลิตร 6 หนวย ราคา 960 × 6 = 5760 บาท รวมเปนเงินคาสีทั้งหมด 6,610 บาท สมศักดิ์จะเหลือเงินมากที่สุด 35000 – 5700 – 6610 = 22690 บาท 6. จายไปแลว 72,790 ลานบาท ยังตองจายเพิ่มอีก 2,082 ลานบาท 7. ดาวพุธอยูหางจากโลกประมาณ 9.2 × 107 กิโลเมตร ดาวพลูโตอยูหางจากโลกประมาณ 5.75 × 109 กิโลเมตร 8. 1.2 ลิตร เริ่มนับจาก 6.00 น. วันอาทิตย
  • 14. 80 แนวคิด น้ํา 1 ลูกบาศกเมตรเทากับ 1000 ลิตร = 103 ลิตร น้ํา 600 ลูกบาศกเมตร = 600 × 1000 ลิตร = 6 × 102 × 103 ลิตร = 6 × 105 ลิตร น้ํา 105 ลิตร ใชคลอรีน 200 ลูกบาศกเซนติเมตร น้ํา 6 × 105 ลิตร ใชคลอรีน 5 52 10 106102 ××× = 1200 ลูกบาศกเซนติเมตร = 1.2 ลิตร. 9. 1.08 × 107 ลูกบาศกเมตร 10. 35.28 มิลลิกรัม คําตอบกิจกรรม “มานะทําไดอยางไร” 1. มานะรูวาผลบวกของจํานวนในกระดาษแตละชิ้นจะเทากับ 0 จึงใชการจับคูของจํานวนตรงขามใส ในชองตารางของกระดาษแตละชิ้นกอน สวนชองที่เหลืออยูใหเติมจํานวนที่จะทําใหมีผลบวก เทากับ 0 2. ตัวอยางคําตอบตามรูปแบบที่อธิบายไวในขอ 1 7 -11 12 -12 4 5 0 -5 1 -1 9 10 -6 -3 -10 2 3 -26 -9 11 -4 -8 8 -7