SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
บทที่ 4
เสนขนาน (18 ชั่วโมง)
4.1 เสนขนานและมุมภายใน (4 ชั่วโมง)
4.2 เสนขนานและมุมแยง (4 ชั่วโมง)
4.3 เสนขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน (4 ชั่วโมง)
4.4 เสนขนานและรูปสามเหลี่ยม (6 ชั่วโมง)
นักเรียนเคยเรียนรูเกี่ยวกับเสนขนานและสมบัติบางประการของเสนขนานมาแลว ในบทนี้จะ
เพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับสมบัติของเสนขนานและการนําสมบัติเหลานั้นไปใชในการใหเหตุผลเกี่ยวกับขนาด
ของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม ซึ่งสามารถนําไปใชในการใหเหตุผลอยางตอเนื่องเกี่ยวกับเงื่อนไขของ
ความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ มุม – มุม – ดาน
ลักษณะการนําเสนอสาระในแตละหัวขอ จะมีกิจกรรมสํารวจที่เกี่ยวของกับสมบัติของเสนขนานซึ่ง
เปนทั้งทฤษฎีบทและบทกลับของทฤษฎีบทเหลานั้น ครูควรใหนักเรียนไดสรางขอความคาดการณจากผล
การสํารวจแลวเขียนขอสรุปเปนทฤษฎีบท พรอมทั้งทําความเขาใจเกี่ยวกับขอความที่มีคําวา “ก็ตอเมื่อ” ใน
ทฤษฎีบทดวย
สําหรับแบบฝกหัดในบทนี้ตองการฝกใหนักเรียนรูจักใหเหตุผลบางเพียงเพื่อเปนพื้นฐานในการ
พิสูจนในชั้นตอไป ถึงแมวาโจทยแบบฝกหัดบางขอจะเปนการคํานวณหาขนาดของมุมตาง ๆ ครูก็อาจนํา
โจทยเหลานั้นมาใหนักเรียนไดบอกเหตุผลและเรียนรูรวมกันในชั้นเรียนดวย การเขียนคําอธิบายหรือการ
ใหรายละเอียดในการบอกเหตุผลใหอยูในดุลพินิจของครู สําหรับตัวอยางการอางเหตุผลที่นําเสนอใน
หนังสือเรียนจะอางโดยใชขอความที่เปนทฤษฎีบท หรือสมบัติที่นักเรียนเคยเรียนมาแลว ซึ่งเปนการอาง
เหตุผลที่นิยมใชกันโดยทั่วไป อีกทั้งเพื่อใหนักเรียนคุนเคยและจดจําขอความนั้น ๆ ได
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. บอกสมบัติของเสนขนาน และบอกเงื่อนไขที่ทําใหเสนตรงสองเสนขนานกัน
2. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ มุม – มุม – ดาน เทากันทุกประการ
3. ใชสมบัติเกี่ยวกับเสนขนานและความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมในการ
ใหเหตุผลและแกปญหาได
63
แนวทางในการจัดการเรียนรู
4.1 เสนขนานและมุมภายใน (4 ชั่วโมง)
จุดประสงค ใหนักเรียนสามารถ
1. บอกบทนิยามของเสนขนานได
2. บอกไดวา ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน แลวระยะหางระหวางเสนตรงคูนั้นจะเทากันเสมอ
3. บอกไดวา ถาเสนตรงสองเสนมีระยะหางระหวางเสนตรงเทากันเสมอ แลวเสนตรงคูนั้นจะ
ขนานกัน
4. บอกไดวา มุมคูใดเปนมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด เมื่อกําหนดใหเสนตรง
เสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง
5. บอกไดวา เมื่อเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง เสนตรงคูนั้นขนานกัน ก็ตอเมื่อ ขนาด
ของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัดรวมกันเทากับ 180 องศา และนําสมบัตินี้
ไปใชได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูใหนักเรียนยกตัวอยางสิ่งตาง ๆ ในสิ่งแวดลอมรอบตัวที่มีลักษณะของเสนขนานบนระนาบ
เดียวกัน เพื่อนําเขาสูบทนิยามของการขนานกันของเสนตรง ครูควรชี้แจงใหนักเรียนเห็นวา บทนิยาม
ดังกลาวนี้สามารถนําไปใชกับการขนานกันของสวนของเสนตรงและรังสี เมื่อสวนของเสนตรงและรังสีนั้น
เปนสวนหนึ่งของเสนตรงที่ขนานกัน
2. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อใหนักเรียนเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับระยะหาง
ระหวางเสนขนาน ครูอาจทบทวนความรูและทําความเขาใจเพิ่มเติมกับนักเรียนใน 2 ประเด็น ดังนี้
1) ระยะหางระหวางจุดจุดหนึ่งกับเสนตรงจะหมายถึง ความยาวของสวนของเสนตรงที่
ลากจากจุดนั้นไปตั้งฉากกับเสนตรง ดังรูป
จากรูป PQ ตั้งฉากกับ AB จะได PQ คือระยะหางระหวางจุด P กับ AB
P
A Q B
64
2) เมื่อกลาวถึงระยะหางระหวางเสนขนานที่กลาววา มีระยะหางระหวางเสนตรง
เทากันเสมอนั้น ในการตรวจสอบการเทากันของระยะหางของเสนขนานนี้
ในทางปฏิบัติ จะวัดหาระยะหางจากจุดที่แตกตางกันอยางนอยสองจุดบนเสนตรง
เสนหนึ่งไปยังเสนตรงอีกเสนหนึ่งก็เปนการเพียงพอแลว ทั้งนี้เนื่องจากมีเสนตรงเพียง
เสนเดียวเทานั้นที่ลากผานจุดสองจุดที่กําหนดใหได
3. สําหรับกิจกรรม “เสนตรงคูใดขนานกัน” เปนกิจกรรมที่ทําใหนักเรียนเกิดความตระหนักวา
ในการตรวจสอบวาเสนตรงคูใดขนานกันหรือไม ถาใชบทนิยามของเสนขนานโดยตรงหรือพิจารณาจาก
ระยะหางระหางเสนตรงทั้งสองนั้นอาจไมสะดวก จึงใชกิจกรรมนี้นําเขาสูการตรวจสอบโดยใชวิธีการอื่น
เชน ตรวจสอบจาก ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัดของเสนตรงสองเสนที่
กําหนดใหนั้น
4. ในกิจกรรม “ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด” สําหรับ
กิจกรรมขอ 3 ตองการใหนักเรียนสรางขอความคาดการณจากกิจกรรมขอ 1 และขอ 2 เพื่อใหไดผลสรุป
เกี่ยวกับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด กิจกรรมนี้ไดเชื่อมโยงสมบัติของ
เสนขนานที่เปนประโยคเงื่อนไข “ถา…แลว…” สองประโยคเปนทฤษฎีบทที่ใชคําวา “ก็ตอเมื่อ”
ซึ่งความรูในสวนนี้ เคยกลาวไวแลวในสาระการเรียนรูเพิ่มเติม ม.1 เลม 2 เรื่องการเตรียมความพรอมใน
การใหเหตุผล จึงอาจมีนักเรียนบางคนไมไดเรียนเนื้อหานี้มากอน ครูจึงตองใหความรูเพิ่มเติมกับนักเรียน
กลุมนี้และอาจทบทวนความรูกับกลุมนักเรียนที่เคยรูจักคํานี้มาแลว
ดังนั้นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูจะตองใหนักเรียนเขาใจความหมายของ
ทฤษฎีบทและบทกลับของทฤษฎีบทนั้น พรอมทั้งชี้ใหเห็นวา เมื่อพบขอความที่ตองพิสูจนมีคําวา
“ก็ตอเมื่อ” เชื่อมขอความอยู เราจะตองแยกขอความนั้นเปนประโยคเงื่อนไขสองประโยคแลวพิสูจนวา
ทั้งสองประโยคเปนจริง จึงจะถือวาเปนการพิสูจนขอความที่มีคําวา “ก็ตอเมื่อ” ซึ่งขอความเหลานี้มักเปน
ทฤษฎีบทที่มีบทกลับ เชน
ทฤษฎีบทที่กลาววา “เมื่อเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่งเสนตรงคูนั้นขนานกัน ก็ตอเมื่อ
ขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัดรวมกันเทากับ 180 องศา”
5. หลังจากนักเรียนไดเรียนตัวอยางที่ 4 แลว ครูควรสรุปใหนักเรียนเห็นวาการขนานกันของ
เสนตรงมีสมบัติถายทอด เมื่อมีเสนตรงสามเสนขนานกันก็จะไมใชสัญลักษณ เชน AB // CD // EF แต
จะใชขอความวา AB, CD และ EF ขนานกัน
6. สําหรับแบบฝกหัด 4.1 มีโจทยบางขอไดเชื่อมโยงความรูโดยใชสมการมาชวยหาขนาดของ
มุมที่เกี่ยวกับเสนขนาน ครูควรประเมินโดยการสังเกตวา นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรูดังกลาวนี้ได
หรือไม
65
4.2 เสนขนานและมุมแยง (4 ชั่วโมง)
จุดประสงค ใหนักเรียนสามารถ
1. บอกไดวามุมคูใดเปนมุมแยง เมื่อกําหนดใหเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง
2. บอกไดวาเมื่อเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง เสนตรงคูนั้นขนานกัน ก็ตอเมื่อ มุมแยงมี
ขนาดเทากัน และนําสมบัตินี้ไปใชได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในหัวขอนี้ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยงสาระวา การพิจารณาหรือตรวจสอบวาเสน
ตรงสองเสนขนานกันหรือไม นอกจากจะใชความรูเกี่ยวกับเสนขนานและขนาดของมุมภายในที่อยูบนขาง
เดียวกันของเสนตัด มาตรวจสอบแลวยังสามารถใชสมบัติของมุมแยงมาตรวจสอบได ดังกิจกรรมที่เสนอ
ไวในหัวขอนี้
2. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อใหนักเรียนเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับลักษณะของ
มุมแยงและขนาดของมุมแยง ครูควรกลาวถึงในประเด็นตอไปนี้
1) มุมแยงที่เกิดจากเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง อาจเกิดจากเสนตรงที่ขนานกัน
หรือไมขนานกันก็ได
2) มุมแยงที่มีขนาดเทากันจะตองเกิดจากเสนตรงที่ขนานกันเทานั้น ดังนั้นเมื่อกลาวถึง
มุมแยงทั่ว ๆ ไป จะสรุปวามีขนาดเทากันไมได
3) การอางดวยสมบัติของมุมแยง ควรเขียนขอความของสมบัตินั้นใหสมบูรณ ไมควร
เขียนอางวา “เพราะเปนมุมแยง” หรือเขียนวา “มุมแยงยอมมีขนาดเทากัน”
4) การพิสูจนทฤษฎีบทที่กลาววา “เมื่อเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง เสนตรงคูนั้น
ขนานกัน ก็ตอเมื่อ มุมแยงมีขนาดเทากัน” จะตองรูวาประโยคนี้คือประโยคเงื่อนไข
“ถา…แลว…” สองประโยคไดแก
(1) ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน
(2) ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําใหมุมแยงมีขนาดเทากัน แลว
เสนตรงคูนั้นขนานกัน
66
ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู
มุมแยงที่กลาวถึงในบทเรียนเปนมุมแยงภายใน (alternate interior angles)
ในทางคณิตศาสตรกําหนดมุมแยง เปนดังนี้
กําหนดให EF เปนเสนตัด AB และ CD ดังรูป
∧
2 และ
∧
8 เปนมุมแยงภายนอก (alternate exterior angles)
∧
1 และ
∧
7 เปนมุมแยงภายนอก
∧
3 และ
∧
5 เปนมุมแยงภายใน
∧
4 และ
∧
6 เปนมุมแยงภายใน
เนื่องจาก ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขามมีขนาดเทากัน จึงทําใหได
∧
1 =
∧
3 ,
∧
2 =
∧
4 ,
∧
5 =
∧
7 และ
∧
6 =
∧
8
ดังนั้นสมบัติตาง ๆ ของเสนขนานที่เกี่ยวกับมุมแยงภายใน จึงยังคงเปนจริงสําหรับมุมแยงภายนอก
ดวย หนังสือหลายเลมเมื่อกลาวถึงสมบัติตาง ๆ ของเสนขนานเกี่ยวกับมุมแยง จึงไมระบุวาเปนมุมแยง
ภายในหรือมุมแยงภายนอก
1
8
A
B
DC
2
43
7
56
E
F
67
4.3 เสนขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน (4 ชั่วโมง)
จุดประสงค ใหนักเรียนสามารถ
1. บอกไดวา มุมคูใดเปนมุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัด เมื่อ
กําหนดใหเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง
2. บอกไดวา เมื่อเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง เสนตรงคูนั้นขนานกัน ก็ตอเมื่อ
มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน และนํา
สมบัตินี้ไปใชได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ในการดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนในหัวขอนี้ ก็ทําเชนเดียวกันกับหัวขอ 4.2 นักเรียน
จะตองเกิดความคิดรวบยอดวา ในการตรวจสอบวาเสนตรงสองเสนขนานกันหรือไมนั้น นอกจากจะ
ตรวจสอบโดยใชผลบวกของขนาดของมุมภายในหรือพิจารณาขนาดของมุมแยงแลว ยังสามารถตรวจสอบ
ไดอีกวิธีหนึ่งโดยใชความสัมพันธของขนาดของมุมภายนอกและมุมภายใน ตามกิจกรรมที่เสนอไวใน
หัวขอนี้
2. การพิสูจนทฤษฎีบท “ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมภายนอกและมุม
ภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัด มีขนาดเทากัน” วิธีพิสูจนที่นําเสนอในหนังสือเรียนใช
สมบัติของเสนขนานเกี่ยวกับมุมแยง ครูอาจแนะนําใหนักเรียนพิสูจนโดยใชสมบัติของเสนขนานเกี่ยวกับ
ผลบวกของขนาดมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด เพื่อใหเห็นความหลากหลายของวิธีการพิสูจน
ก็ได ดังการพิสูจนตอไปนี้
กําหนดให AB // CD มี EF เปนเสนตัด
ตองการพิสูจนวา
∧
1 =
∧
5 ,
∧
2 =
∧
6 ,
∧
7 =
∧
3 และ
∧
8 =
∧
4
1
8
A B
DC
2
43
7
5 6
E
F
68
พิสูจน AB // CD (กําหนดให)
∧
5 +
∧
3 = 180o
(ขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของ
เสนตัดเสนขนาน รวมกันเทากับ 180o
)
∧
1 +
∧
3 = 180o
(ขนาดของมุมตรง)
∧
1 +
∧
3 =
∧
5 +
∧
3 (สมบัติของการเทากัน)
ดังนั้น
∧
1 =
∧
5 (นํา
∧
3 มาลบทั้งสองขางของสมการ)
การพิสูจนวา
∧
2 =
∧
6 ,
∧
7 =
∧
3 และ
∧
8 =
∧
4 อาจใหนักเรียนลองพิสูจนโดยใชสมบัติ
ดังตัวอยางขางตนก็ได
ในทํานองเดียวกันการพิสูจนทฤษฎีบท “ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําใหมุม
ภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้นขนานกัน”
วิธีพิสูจนที่นําเสนอไวในหนังสือเรียน ใชสมบัติของเสนขนานเกี่ยวกับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่อยู
บนขางเดียวกันของเสนตัด ครูอาจแนะนําใหนักเรียนพิสูจนโดยใชสมบัติของเสนขนานเกี่ยวกับมุมแยง
ดังการพิสูจนตอไปนี้
กําหนดให EF ตัด AB และ CD ทําให EXA
∧
= XYC
∧
ตองการพิสูจนวา AB // CD
พิสูจน เนื่องจาก EXA
∧
= YXB
∧
(ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขามมี
ขนาดเทากัน)
และ EXA
∧
= XYC
∧
(กําหนดให)
จะได YXB
∧
= XYC
∧
(สมบัติของการเทากัน)
เนื่องจาก YXB
∧
และ XYC
∧
เปนมุมแยงที่มีขนาดเทากัน
ดังนั้น AB // CD (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให
มุมแยงมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้นขนาน
กัน)
A B
DC
Y
X
E
F
69
1
3
2
2 3 1
4.4 เสนขนานและรูปสามเหลี่ยม (6 ชั่วโมง)
จุดประสงค ใหนักเรียนสามารถ
1. บอกไดวา ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา และ
นําสมบัตินี้ไปใชได
2. บอกไดวา ถาตอดานใดดานหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไป มุมภายนอกที่เกิดขึ้นจะมีขนาด
เทากับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไมใชมุมประชิดของมุมภายนอกนั้น และนําสมบัตินี้
ไปใชได
3. บอกไดวา รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกันแบบ มุม – มุม – ดาน
เทากันทุกประการและนําสมบัตินี้ไปใชได
4. ใชสมบัติเกี่ยวกับเสนขนานและความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมในการใหเหตุผล
และแกปญหาได
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูอาจจัดกิจกรรมเพื่อทบทวนวา “ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกัน
เทากับ 180 องศา” ดวยการใหนักเรียนสังเกตผลจากการลงมือปฏิบัติ เชน การใหนักเรียนเขียน
รูปสามเหลี่ยม กลุมละ 3 – 4 รูป วัดขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมแตละรูป แลวหา
ผลรวมโดยบันทึกผลในตาราง
ขนาดของมุม (องศา)
รูปสามเหลี่ยม ∧
1
∧
2
∧
3
ผลรวมของขนาดของมุมทั้งสาม
(องศา)
ครูอาจแนะใหนักเรียนตัดหรือฉีกมุมทั้งสามของกระดาษรูปสามเหลี่ยม เพื่อแสดงผลบวก
ของขนาดของมุมทั้งสามมุม ดังรูป
3
1 2
70
1 2
3
1 23
นอกจากนี้แลว ครูอาจแนะใหนักเรียนทํากิจกรรม “หมุนดินสอแลวไดอะไร” หนา
172 – 177 หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 พิมพครั้งที่ 1
ขอคนพบหรือผลสรุปจากการสํารวจตัวอยางหลาย ๆ ตัวอยางเปนการใหเหตุผลแบบอุปนัย
ผลสรุปที่ไดนี้อาจเปนจริงทุกกรณีหรือไมก็ได เพื่อเปนการยืนยันวา ผลสรุปนี้เปนจริง จึงตองใชการให
เหตุผลแบบนิรนัย ซึ่งแสดงไดโดยการพิสูจน
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่วา “ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกัน
เทากับ 180 องศา” สามารถนําไปใชพิสูจนเกี่ยวกับความสัมพันธของขนาดของมุมภายนอกและมุมภายใน
ของรูปสามเหลี่ยม” และที่สําคัญคือนําไปใชในการพิสูจนวา “รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกัน
แบบ มุม – มุม – ดาน จะเทากันทุกประการ”
2. ในการดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนในหัวขอนี้ ครูอาจชี้ใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยง
ความรูในการนําสมบัติของเสนขนานมาใชในการพิสูจน ซึ่งทําใหไดทฤษฎีบทใหม ๆ ตอเนื่องกัน
ดังแผนภูมิตอไปนี้
สมบัติของเสนขนานเกี่ยวกับมุมแยง
สมบัติเกี่ยวกับผลบวกของขนาด
ของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม
สมบัติเกี่ยวกับขนาดของมุมภายนอก
และมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม
สมบัติเกี่ยวกับความเทากันทุกประการ
ของรูปสามเหลี่ยมแบบ ม.ม.ด.
ทําใหไดความคิดรวบยอดวาความสัมพันธ
แบบ ม.ด.ม. มีความสัมพันธแบบ ม.ม.ด. ดวย
71
3. สําหรับกิจกรรม “x และ y มีคาเทาไร” มีเจตนาใหเปนแบบฝกหัดระคนที่นําความรูทั้งหมด
มาใชในการแกปญหา ครูอาจใหนักเรียนชวยกันทําเปนกลุมยอยและสุมใหนักเรียนออกมานําเสนอหนา
ชั้นเรียนและใหบอกเหตุผลในการคิดคํานวณดวย
4. สําหรับกิจกรรม “หาไดหรือไม” นอกจากจะมีเจตนาใหนักเรียนไดฝกทักษะการคํานวณ
โดยใชสมบัติตาง ๆ ที่เรียนรูมาแลว ยังมีเจตนาใหนักเรียนเห็นรูปที่มีความสวยงามคลายรูปดาวหาแฉก และ
สามารถเขียนรูปจากการลากเสนตอเนื่องกันไดในครั้งเดียว (ไมตองยกดินสอขึ้น)
5. สําหรับแบบฝกหัด 4.4 ขอ 8 หลังจากนักเรียนไดพิสูจนแลว ครูอาจใหนักเรียนพิสูจนวา
“ขนาดของมุมภายนอกของรูปสี่เหลี่ยมใด ๆ รวมกันเทากับ 360 องศา”
6. ครูอาจใหนักเรียนทํากิจกรรมเสนอแนะ 4.4 เพื่อใหเห็นวา สมบัติเกี่ยวกับผลบวกของขนาด
ของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม สามารถนํามาใชหาสูตรผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูป n เหลี่ยม
เมื่อ n แทนจํานวนเต็มบวก และเมื่อนักเรียนไดทํากิจกรรมนี้แลว ครูอาจใหนักเรียนวิเคราะหตอวาผลบวก
ของขนาดของมุมภายนอกของรูป n เหลี่ยมเทากับเทาไร
7. สําหรับกิจกรรม “เฉลว” มีเจตนาเชื่อมโยงความรูทางคณิตศาสตรกับงานจักสานซึ่งเปน
ภูมิปญญาทองถิ่น ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาที่จริงแลวงานจักสานลวนมีความเกี่ยวของกับสมบัติทาง
เรขาคณิต ผูจักสานประดิษฐงานโดยใชความรูเกี่ยวกับขนาดของมุม ความยาวของดาน ตลอดจนใช
เสนขนานมาประดิษฐเปนลวดลายที่สวยงาม เชน ทําฝาชีครอบอาหาร ทําหมวก ตะกรา ฯลฯ ซึ่ง
ความรูทางดานเรขาคณิตนี้ ผูจักสานเรียนรูมาจากบรรพบุรุษที่ไดสั่งสอนกันตอ ๆ มา อาจ ไมไดเรียนรู
เชิงทฤษฎีโดยตรง นอกจากนี้ครูอาจสนทนาและใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางสิ่งตาง ๆ ที่ใชประโยชนจาก
เสนขนาน เชน การสรางรั้วสนามที่ทําใหลูกกรงอยูในแนวขนานกัน การตัดถนนหรือทําขอบสนามให
ขนานกัน การทําขอบประตูหรือหนาตางใหขนานกัน เพื่อใหดูสวยงามและปดเปดไดสะดวก
72
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบกิจกรรม “เสนตรงคูใดขนานกัน”
1. ขนานกัน เพราะมีระยะหางซึ่งวัดจากจุดที่แตกตางกัน 2 จุดยาวเทากัน
2. ไมขนานกัน เพราะมีระยะหางซึ่งวัดจากจุดที่แตกตางกัน 2 จุดยาวไมเทากัน
3. ไมขนานกัน เพราะมีระยะหางซึ่งวัดจากจุดที่แตกตางกัน 2 จุดยาวไมเทากัน
4. ไมขนานกัน เพราะมีระยะหางซึ่งวัดจากจุดที่แตกตางกัน 2 จุดยาวไมเทากัน
คําตอบกิจกรรม “มุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด”
1. FEA
∧
และ EFC
∧
FEB
∧
และ EFD
∧
2. YXM
∧
และ XYP
∧
YXN
∧
และ XYQ
∧
คําตอบกิจกรรม “ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด”
1.
1) ไมเทากับ 180o
2) ไมเทากับ 180o
2.
1) เทากับ 180o
2) เทากับ 180o
3.
1) ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัดเสนตรงคูหนึ่งที่ไมขนานกัน
ไมเทากับ 180o
2) ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัดเสนตรงคูหนึ่งที่ขนานกัน
เทากับ 180o
คําตอบและแนวการพิสูจนแบบฝกหัด 4.1
1.
1) ขนานกัน เพราะ 117 + 63 = 180o
2) ไมขนานกัน เพราะ 112 + 58 ≠ 180o
3) ไมขนานกัน เพราะ 90 + 80 ≠ 180o
4) ขนานกัน เพราะ 90 + 90 = 180o
73
2.
1) x = 79 2) x = 88
3) x = 60 4) x = 61
3.
1)
FDC
∧
= 148o
2)
FDC
∧
= 50o
4. CDA
∧
= 127o
และ DCB
∧
= 109o
5.
เนื่องจาก PL // MN และมี AB เปนเสนตัด (กําหนดให)
LKM
∧
+ NMK
∧
= 180o
(ขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของ
เสนตัดเสนขนาน รวมกันเทากับ 180o
)
P
B
N
L
A
M
K
A B
FE D
C 32o
D
130o
CA B
FE
74
NMB
∧
+ NMK
∧
= 180o
(ขนาดของมุมตรง)
จะได NMB
∧
+ NMK
∧
= LKM
∧
+ NMK
∧
(สมบัติของการเทากัน)
ดังนั้น NMB
∧
= LKM
∧
(นํา NMK
∧
มาลบทั้งสองขาง
ของสมการ)
6. x = 90 และ y = 90
7. ขนานกัน เพราะ ถาขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัดเสนตรงคูหนึ่ง รวมกัน
เทากับ 180o
แลวเสนตรงคูนั้นขนานกัน
คําตอบกิจกรรม “สํารวจมุมแยง”
1.
1) FEA
∧
และ EFD
∧
FEB
∧
และ EFC
∧
2) FEA
∧
และ EFD
∧
FEB
∧
และ EFC
∧
2.
1) FEA
∧
และ EFD
∧
FEB
∧
และ EFC
∧
2) FEA
∧
และ EFD
∧
FEB
∧
และ EFC
∧
คําตอบและแนวการพิสูจนแบบฝกหัด 4.2 ก
1. BAF
∧
= NBA
∧
เพราะ BN // FM มี AB เปนเสนตัด จะไดมุมแยงมีขนาดเทากัน
2. AEM
∧
= KAE
∧
เพราะ EM // KY มี NB เปนเสนตัด จะไดมุมแยงมีขนาดเทากัน
3. EBO
∧
= 126o
4. ECA
∧
= 131o
5. EDC
∧
= 40o
75
6.
เนื่องจาก AB // CD (กําหนดให)
จะได CBA
∧
= DCB
∧
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด
แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน)
เนื่องจาก BC //DE (กําหนดให)
จะได DCB
∧
= EDC
∧
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด
แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน)
ดังนั้น CBA
∧
= EDC
∧
(สมบัติของการเทากัน)
7.
เนื่องจาก PQ // RS (กําหนดให)
จะได CAP
∧
= SBA
∧
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด
แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน)
SBA
∧
= CBR
∧
(ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขาม
มีขนาดเทากัน)
ดังนั้น CAP
∧
= CBR
∧
(สมบัติของการเทากัน)
A
B
CD
E
R
B C
Q S
P
A
76
8.
เนื่องจาก AD // CF (ดานตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน ยอม
ขนานกัน)
จะได EAD
∧
= EBF
∧
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด
แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน)
AE = BE (E เปนจุดกึ่งกลางของ AB)
DEA
∧
= FEB
∧
(ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขาม
มีขนาดเทากัน)
จะได ∆ AED ≅ ∆ FEB
∧
(ม.ด.ม.)
ดังนั้น DE = FE (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
9.
เนื่องจาก AE // HB (กําหนดให)
จะได FAE
∧
= GBH
∧
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด
แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน)
AF = BG (กําหนดให)
เนื่องจาก FE // HG (กําหนดให)
CD
F
E BA
E
F
G
H
BA
77
จะได GFE
∧
= FGH
∧
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด
แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน)
EFA
∧
+ GFE
∧
= 180o
(ขนาดของมุมตรง)
HGB
∧
+ FGH
∧
= 180o
(ขนาดของมุมตรง)
EFA
∧
+ GFE
∧
= HGB
∧
+ FGH
∧
(สมบัติของการเทากัน)
ดังนั้น EFA
∧
= HGB
∧
(สมบัติของการเทากัน โดยนํา GFE
∧
และ
FGH
∧
ที่มีขนาดเทากันมาลบทั้งสองขางของ
สมการ)
จะได ∆ AFE ≅ ∆ BGH (ม.ด.ม.โดยมี FAE
∧
= GBH
∧
, AF = BG,
EFA
∧
= HGB
∧
)
ดังนั้น FE = GH (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
คําตอบและแนวการพิสูจนแบบฝกหัด 4.2 ข
1.
1) AE // BC 2) AD// BM
3) SR // PQ 4) ไมมีสวนของเสนตรงคูใดขนานกันเลย
2. x = 98 และ y = 60
3.
เนื่องจาก AO = BO (กําหนดให CD แบงครึ่ง AB ที่จุด O)
DOA
∧
= COB
∧
(ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขาม
มีขนาดเทากัน)
DO = CO (กําหนดให AB แบงครึ่ง CD ที่จุด O)
DA
C B
O
78
ดังนั้น ∆ AOD ≅ ∆ BOC (ด.ม.ด.)
จะได ODA
∧
= OCB
∧
(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)
นั่นคือ AD// BC (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่งทําให
มุมแยงมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้น
ขนานกัน)
4.
เนื่องจาก BAC
∧
= DBE
∧
(กําหนดให)
EBA
∧
+ DBE
∧
= 180o
(ขนาดของมุมตรง)
จะได EBA
∧
+ BAC
∧
= 180o
(สมบัติของการเทากัน โดยแทน DBE
∧
ดวย
BAC
∧
)
เนื่องจาก EBA
∧
และ BAC
∧
เปนมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด AB
ซึ่งตัด AC และ BE
ดังนั้น AC// BE (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให
ขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของ
เสนตัดรวมกันเทากับ 180o
แลวเสนตรงคูนั้น
ขนานกัน)
ในทํานองเดียวกันจะพิสูจนไดวา BC// DE
คําตอบกิจกรรม “สํารวจมุมภายนอกและมุมภายใน”
1.
1) PRA
∧
และ PSC
∧
SRA
∧
และ QSC
∧
PRB
∧
และ PSD
∧
SRB
∧
และ QSD
∧
A B D
E
C
79
2) PRA
∧
และ PSC
∧
SRA
∧
และ QSC
∧
PRB
∧
และ PSD
∧
SRB
∧
และ QSD
∧
2.
1) และ 2)
PEA
∧
และ PFC
∧
QEA
∧
และ QFC
∧
QEB
∧
และ QFD
∧
PEB
∧
และ PFD
∧
คําตอบและแนวการพิสูจนแบบฝกหัด 4.3 ก
1. QPA
∧
= SRP
∧
และ SRB
∧
= QPR
∧
เพราะวา ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู
ตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน
2. TSN
∧
= MSQ
∧
(ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขามมีขนาดเทากัน)
TSN
∧
= KTS
∧
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน)
TSN
∧
= PTL
∧
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู
ตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน)
3. DYX
∧
= 52o
4. DCE
∧
= 128o
5. BAD
∧
= DCB
∧
= 47o
CBA
∧
= CDA
∧
= 133o
6. x = 65
80
7.
เนื่องจาก AB // CD (กําหนดให)
จะได CAB
∧
= ECD
∧
(เสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลว
มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบน
ขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน)
AC = CE (กําหนดให)
เนื่องจาก CB // ED (กําหนดให)
จะได BCA
∧
= DEC
∧
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลว
มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขาง
เดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน)
ดังนั้น ∆ ABC ≅ ∆ CDE (ม.ด.ม.)
คําตอบแบบฝกหัด 4.3 ข
1.
1) DF // CB เพราะ DAE
∧
เปนมุมภายนอกและ CBA
∧
เปนมุมภายในที่อยูตรงขามบน
ขางเดียวกันของเสนตัด BE มีขนาดเทากัน
2) AB // MN เพราะ CNM
∧
เปนมุมภายนอกและ CBA
∧
เปนมุมภายในที่อยูตรงขามบนขาง
เดียวกันของเสนตัด BC มีขนาดเทากัน
3) AB // CD เพราะ ABP
∧
เปนมุมภายนอกและ CDB
∧
เปนมุมภายในที่อยูตรงขามบน
ขางเดียวกันของเสนตัด PD มีขนาดเทากับ 44o
เทากัน
4) MN // PQ
เนื่องจาก QDA
∧
+ 50 = 180 (ขนาดของมุมตรง)
จะได QDA
∧
= 180 – 50
= 130o
เนื่องจาก NBA
∧
= 130o
(กําหนดให)
DB
A C E
81
ดังนั้น NBA
∧
= QDA
∧
= 130o
(สมบัติของการเทากัน)
นั่นคือ MN // PQ (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่งทําให
มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขาง
เดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน แลวเสนตรง
คูนั้นขนานกัน)
QR // NP เพราะ FEQ
∧
= DCN
∧
= 96o
(ใหเหตุผลในทํานองเดียวกันกับขางตน)
2. ECD
∧
= 98o
3.
เนื่องจาก YM // QR (กําหนดให)
จะได MAP
∧
= RQP
∧
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลว
มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบน
ขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน)
MYX
∧
= RQP
∧
(กําหนดให)
จะได MAP
∧
= MYX
∧
(สมบัติของการเทากัน)
ดังนั้น YX // QP (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให
มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบน
ขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน แลว
เสนตรงคูนั้นขนานกัน)
Y
Q R
M
P
X
A
82
4.
เนื่องจาก ∆ ABC และ ∆ DEF เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
จะได CAB
∧
= ACB
∧
(มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว มีขนาด
เทากัน)
และ FDE
∧
= DFE
∧
(มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว มีขนาด
เทากัน)
CAB
∧
= DFE
∧
(กําหนดให)
ดังนั้น CAB
∧
= FDE
∧
และ ACB
∧
= DFE
∧
(สมบัติของการเทากัน)
นั่นคือ AB// DE และBC// EF (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให
มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบน
ขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน แลว
เสนตรงคูนั้นขนานกัน)
คําตอบกิจกรรม “x และ y มีคาเทาไร”
1. x = 48
2. x = 75 และ y = 15
3. x = 130 และ y = 110
4. x = 54 และ y = 78
5. x = 107
6. x = 56 และ y = 68
7. x = 25 และ y = 10
แนวคิด
เนื่องจาก 2x + y + 120 = 180
2x + y = 60
y = 60 – 2x
A D C F
E
B
83
เนื่องจาก 2x – y + 140 = 180
จะได 2x – (60 – 2x) + 140 = 180 (แทน y ดวย 60 – 2x)
2x – 60 + 2x + 140 = 180
4x = 100
x = 25
จะได y = 60 – (2 × 25)
= 10
8. x = 15 และ y = 57.5
แนวคิด
เนื่องจาก 3x + 25 = x + 55
2x = 30
x = 15
เนื่องจาก (x + 55) + (2y – 5) = 180
15 + 55 + 2y – 5 = 180 (แทน x ดวย 15)
2y + 65 = 180
2y = 115
y = 57.5
9. x = 8 และ y = 12
แนวคิด
เนื่องจาก (5x + y) + (5x – y) + 100 = 180
10x + 100 = 180
10x = 80
x = 8
เนื่องจาก 100 + (5x + y) + (2x + y) = 180
100 + (5 × 8) + (2 × 8) + 2y = 180 (แทน x ดวย 8)
100 + 40 + 16 + 2y = 180
2y = 24
y = 12
84
10. x = 12 และ y = 28
แนวคิด
เนื่องจาก HEA
∧
= CGH
∧
= 48o
จะได 2x + 2y = 32 + 48
= 80
เนื่องจาก 5y – 8 + 48 = 180
5y = 140
y = 28
จะได 2x + (2 × 28) = 80
2x = 24
x = 12
คําตอบกิจกรรม “หาไดหรือไม”
m = 26 r = 36
n = 50 s = 72
p = 86 t = 118
q = 22 u = 44
คําตอบและแนวการพิสูจนแบบฝกหัด 4.4
1.
1. DCE
∧
, XCA
∧
, EDC
∧
, YDB
∧
และ EBA
∧
2. BAE
∧
= 68o
2. PQ // AD
เนื่องจาก PAB
∧
= 32 + 28 (ขนาดของมุมภายนอกของรูปสามเหลี่ยม
เทากับผลบวกของขนาดของมุมภายใน
ที่ไมใชมุมประชิดของมุมภายนอกนั้น)
= 60o
PAB
∧
+ PAD
∧
= 180o
(ขนาดของมุมตรง)
85
จะได PAD
∧
= 180 – 60 (แทน PAB
∧
ดวย 60)
= 120o
ดังนั้น PQ // AD (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให
มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบน
ขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน แลว
เสนตรงคูนั้นขนานกัน)
3.
สราง ลาก BD
เนื่องจาก
∧
1 +
∧
2 +
∧
3 = 180o
(ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูป
สามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180o
)
∧
4 +
∧
5+
∧
6 = 180o
(ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูป
สามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180o
)
จะได
∧
1 +
∧
2 +
∧
3+
∧
4 +
∧
5+
∧
6 = 180+ 180 (สมบัติของการเทากัน)
หรือ
∧
1 + (
∧
2 +
∧
5) +
∧
4 + (
∧
3+
∧
6 ) = 360o
ดังนั้น DAB
∧
+ CDA
∧
+ BCD
∧
+ ABC
∧
= 360o
(สมบัติของการเทากัน)
นั่นคือ ขนาดของมุมภายในทั้งสี่มุมของรูปสี่เหลี่ยมใด ๆ รวมกัน เทากับ
360 องศา
4.
เนื่องจาก
∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว
5
2
1
3 6
4
A
B
C
D
A FE
B C
86
ดังนั้น CBA
∧
= BCA
∧
(มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วมีขนาด
เทากัน)
เนื่องจาก EF // BC (กําหนดให)
จะได EAB
∧
= CBA
∧
และ FAC
∧
= BCA
∧
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน
และมีเสนตัด แลวมุมแยง
มีขนาดเทากัน)
ดังนั้น EAB
∧
= FAC
∧
(สมบัติของการเทากัน)
5.
เนื่องจาก AB = EF (กําหนดให)
CG // DH มี AE เปนเสนตัด (กําหนดให)
จะได FBG
∧
= BFH
∧
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลว
มุมแยงมีขนาดเทากัน)
FBG
∧
= CBA
∧
และ BFH
∧
= DFE
∧
(ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลว
มุมตรงขามมีขนาดเทากัน)
ดังนั้น CBA
∧
= DFE
∧
(สมบัติของการเทากัน)
BC = FD (กําหนดให)
จะได ∆ ABC ≅ ∆ EFD (ด.ม.ด.)
ดังนั้น BAC
∧
= FED
∧
(มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)
นั่นคือ AC // ED (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให
มุมแยงมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้น
ขนานกัน)
F E
DG
BA
C
H
87
6.
สราง ลาก BD
เนื่องจาก AB// CD มี BD เปนเสนตัด (สมบัติของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน)
จะได DBA
∧
= BDC
∧
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลว
มุมแยงมีขนาดเทากัน)
เนื่องจาก AD// BC มี BD เปนเสนตัด (สมบัติรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน)
จะได BDA
∧
= DBC
∧
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลว
มุมแยงมีขนาดเทากัน)
BD = DB (เปนดานรวม)
ดังนั้น ∆ ABD ≅ ∆ CDB (ม.ด.ม.)
นั่นคือ
∧
A =
∧
C (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน)
ในทํานองเดียวกัน ถาลาก AC จะพิสูจนไดวา
∧
B =
∧
D
7.
เนื่องจาก ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว (กําหนดให)
จะได CBA
∧
= CAB
∧
(มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วมีขนาด
เทากัน)
CE // AB (กําหนดให)
จะได DCE
∧
= CBA
∧
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด
แลวมุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขาม
บนขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน)
B
D
A
C
E
D
A
B C
88
และ CAB
∧
= ACE
∧
(ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด
แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน)
จะได CAB
∧
= DCE
∧
(สมบัติของการเทากัน โดยตางก็มีขนาดเทากับ
CBA
∧
)
ดังนั้น ACE
∧
= DCE
∧
(สมบัติของการเทากัน โดยตางก็มีขนาดเทากับ
CAB
∧
)
นั่นคือ CE แบงครึ่ง DCA
∧
8.
เนื่องจาก
∧
1 +
∧
4 =
∧
2 +
∧
5 =
∧
3+
∧
6 = 180o
(ขนาดของมุมตรง)
∧
1 +
∧
4 +
∧
2 +
∧
5+
∧
3+
∧
6 = 180 + 180 + 180 (สมบัติของการเทากัน)
= 540o
แต
∧
1 +
∧
2 +
∧
3 = 180o
(ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของ
รูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180o
)
จะได
∧
4 +
∧
5+
∧
6 = 540 – 180 (สมบัติของการเทากัน)
= 360o
ดังนั้น ขนาดของมุมภายนอกของ ∆ ABC รวมกันเทากับ 360o
9.
C
B
A
3
6
2
5
14
E
B
D
C
F
A
89
เนื่องจาก
∧
A +
∧
B+
∧
C = 180o
(ขนาดของมุมภายในทั้งสามของรูปสามเหลี่ยม
รวมกันเทากับ 180o
)
และ
∧
D+
∧
E+
∧
F = 180o
(ขนาดของมุมภายในทั้งสามของรูปสามเหลี่ยม
รวมกันเทากับ 180o
)
จะได
∧
A +
∧
B+
∧
C+
∧
D+
∧
E+
∧
F = 180 + 180
= 360o
(สมบัติของการเทากัน)
ดังนั้น ขนาดของมุมภายในที่จุดยอดทั้งหกมุมของรูปดาวหกแฉกใด ๆ รวมกัน
เทากับ 360o
10.
เนื่องจาก ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว มี BC เปนฐาน
จะได
∧
1 =
∧
2 (มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว มีขนาด
เทากัน)
เนื่องจาก BC// ED (กําหนดให)
จะได
∧
1 =
∧
3 และ
∧
2 =
∧
4 (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด
แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน)
ดังนั้น
∧
3 =
∧
4 (สมบัติของการเทากัน)
∧
3 +
∧
5 =
∧
4 +
∧
6 = 180o
(ขนาดของมุมตรง)
จะได
∧
5 =
∧
6 (สมบัติของการเทากัน)
EG = DF (กําหนดให)
GAE
∧
= FAD
∧
(กําหนดให)
ดังนั้น ∆ AEG = ∆ ADF (ม.ม.ด.)
นั่นคือ AE = AD (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน
ทุกประการ จะยาวเทากัน)
1
A
DE 5 6
B C
FG
2
43
90
คําตอบกิจกรรม “เฉลว”
พิจารณามุมภายในและมุมภายนอกของ ∆ BDF
จะได
∧
1 =
∧
B+
∧
D (ขนาดของมุมภายนอกของรูปสามเหลี่ยมเทากับ
ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไมใชมุมประชิด
ของมุมภายนอกนั้น)
พิจารณามุมภายในและมุมภายนอกของ ∆ CEG
จะได
∧
2 =
∧
C+
∧
E
เนื่องจาก
∧
A +
∧
1 +
∧
2 = 180o
(ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของ
รูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180o
)
นั่นคือ
∧
A +
∧
B+
∧
D +
∧
C +
∧
E = 180o
(สมบัติของการเทากันโดยแทน
∧
1 ดวย
∧
B+
∧
D และแทน
∧
2 ดวย
∧
C +
∧
E)
หรือ
∧
A +
∧
B+
∧
C +
∧
D +
∧
E = 180o
E
D C
B
A
F G1 2
91
กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ
92
กิจกรรมเสนอแนะ 4.4
กิจกรรมนี้มีจุดประสงคใหนักเรียนสามารถนําสมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่วา “ขนาดของ
มุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา” ไปใชสรางขอความ
คาดการณเกี่ยวกับผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปหลายเหลี่ยม
1. จงหาผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปหลายเหลี่ยมตอไปนี้
1) รูปสี่เหลี่ยม
2) รูปหาเหลี่ยม
3) รูปหกเหลี่ยม
2. ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปหลายเหลี่ยมในขอ 1 เกี่ยวของกับผลบวกของขนาดของ
มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมหรือไม อยางไร
3. ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปหลายเหลี่ยม เกี่ยวของกับจํานวนเหลี่ยมของรูปหลายเหลี่ยม
หรือไม อยางไร
4. จงหาสูตรการหาผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูป n เหลี่ยม
คําตอบกิจกรรมเสนอแนะ 4.4
1.
1) 360 องศา
2) 540 องศา
3) 720 องศา
2.
1) เกี่ยวของกัน คือ ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปสี่เหลี่ยมเทากับสองเทาของผลบวก
ของขนาดของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม
2) เกี่ยวของกัน คือ ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปหาเหลี่ยมเทากับสามเทาของ
ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม
3) เกี่ยวของกัน คือ ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปหกเหลี่ยมเทากับสี่เทาของ
ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม
93
3. เกี่ยวของกัน คือ ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปหลายเหลี่ยมเทากับ
จํานวนเหลี่ยมของรูปหลายเหลี่ยมลบดวย 2 แลวคูณดวยผลบวกของขนาดของมุมภายในของ
รูปสามเหลี่ยม
4. ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูป n เหลี่ยม เทากับ 180(n – 2) องศา

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...yindee Wedchasarn
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรทับทิม เจริญตา
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)Kruthai Kidsdee
 
6.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.3)
6.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.3)6.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.3)
6.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.3)teerachon
 
5.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.6)
5.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.6)5.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.6)
5.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.6)teerachon
 
775. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
775. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0775. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
775. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0sincerecin
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0just2miwz
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะSiwadolChaimano
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอนLampang Rajabhat University
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2krurain
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0neenpd11
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4peter dontoom
 
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 04. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0Nakee Wk
 

What's hot (19)

เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร คณิตศาสตร์พื้นฐาน ชั้นมัธยมศึ...
 
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตรตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
ตัวอย่างแผนการสอนเรื่องพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
Add m1-1-chapter4
Add m1-1-chapter4Add m1-1-chapter4
Add m1-1-chapter4
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย)
 
6.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.3)
6.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.3)6.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.3)
6.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.3)
 
5.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.6)
5.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.6)5.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.6)
5.แนวข้อสอบ o net ศิลปะ(ม.6)
 
ข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะ
 
แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3
แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3
แผนพอเพียงสู่อาเซียนม.3
 
775. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
775. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0775. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
775. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ
 
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
สื่อที่ใช้  ชุดการสอนสื่อที่ใช้  ชุดการสอน
สื่อที่ใช้ ชุดการสอน
 
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
แผนการเรียนรู้คณิตศาสตร์ม.3 ชุด 2
 
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 05. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
5. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
แบบทดสอบปลายภาควิทัศนศิลป์ ศ 31101ชั้น4
 
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลยข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
ข้อสอบ O net วิชา ศิลปะ (ทัศนศิลป์) ม.3 พร้อมเฉลย
 
Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1Add m1-1-chapter1
Add m1-1-chapter1
 
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 04. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
4. ข้อสอบ o net - ศิลปะ (มัธยมปลาย) 0
 
คณิต ม.3
คณิต ม.3คณิต ม.3
คณิต ม.3
 

Viewers also liked

เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551ครู กรุณา
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556ครู กรุณา
 
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56gunnygreameyes
 
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลยJareewon Ritthong
 

Viewers also liked (6)

เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2551
 
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55Onet คณิต ม.3 ปี52 55
Onet คณิต ม.3 ปี52 55
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.3 ปีการศึกษา 2556
 
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56
ข้อสอบ O-net คณิตศาสตร์ 56
 
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
เฉลย O-net คณิตศาสตร์ 54
 
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลยข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
ข้อสอบโอเนต Onet ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปี 52 ถึง 56 พร้อมเฉลย
 

Similar to Basic m2-2-chapter4

ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึมkrookay2012
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1rdschool
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1rdschool
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1rdschool
 
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1ธนกฤต แม่นผล
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkrusongkran
 

Similar to Basic m2-2-chapter4 (20)

Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4Basic m3-1-chapter4
Basic m3-1-chapter4
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Add m2-2-chapter3
Add m2-2-chapter3Add m2-2-chapter3
Add m2-2-chapter3
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1กิจกรรมที่1
กิจกรรมที่1
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Basic m2-1-chapter4
Basic m2-1-chapter4Basic m2-1-chapter4
Basic m2-1-chapter4
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
 
Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1Basic m3-1-chapter1
Basic m3-1-chapter1
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
Plan 2
Plan 2Plan 2
Plan 2
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 

Basic m2-2-chapter4

  • 1. บทที่ 4 เสนขนาน (18 ชั่วโมง) 4.1 เสนขนานและมุมภายใน (4 ชั่วโมง) 4.2 เสนขนานและมุมแยง (4 ชั่วโมง) 4.3 เสนขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน (4 ชั่วโมง) 4.4 เสนขนานและรูปสามเหลี่ยม (6 ชั่วโมง) นักเรียนเคยเรียนรูเกี่ยวกับเสนขนานและสมบัติบางประการของเสนขนานมาแลว ในบทนี้จะ เพิ่มเติมความรูเกี่ยวกับสมบัติของเสนขนานและการนําสมบัติเหลานั้นไปใชในการใหเหตุผลเกี่ยวกับขนาด ของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม ซึ่งสามารถนําไปใชในการใหเหตุผลอยางตอเนื่องเกี่ยวกับเงื่อนไขของ ความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ มุม – มุม – ดาน ลักษณะการนําเสนอสาระในแตละหัวขอ จะมีกิจกรรมสํารวจที่เกี่ยวของกับสมบัติของเสนขนานซึ่ง เปนทั้งทฤษฎีบทและบทกลับของทฤษฎีบทเหลานั้น ครูควรใหนักเรียนไดสรางขอความคาดการณจากผล การสํารวจแลวเขียนขอสรุปเปนทฤษฎีบท พรอมทั้งทําความเขาใจเกี่ยวกับขอความที่มีคําวา “ก็ตอเมื่อ” ใน ทฤษฎีบทดวย สําหรับแบบฝกหัดในบทนี้ตองการฝกใหนักเรียนรูจักใหเหตุผลบางเพียงเพื่อเปนพื้นฐานในการ พิสูจนในชั้นตอไป ถึงแมวาโจทยแบบฝกหัดบางขอจะเปนการคํานวณหาขนาดของมุมตาง ๆ ครูก็อาจนํา โจทยเหลานั้นมาใหนักเรียนไดบอกเหตุผลและเรียนรูรวมกันในชั้นเรียนดวย การเขียนคําอธิบายหรือการ ใหรายละเอียดในการบอกเหตุผลใหอยูในดุลพินิจของครู สําหรับตัวอยางการอางเหตุผลที่นําเสนอใน หนังสือเรียนจะอางโดยใชขอความที่เปนทฤษฎีบท หรือสมบัติที่นักเรียนเคยเรียนมาแลว ซึ่งเปนการอาง เหตุผลที่นิยมใชกันโดยทั่วไป อีกทั้งเพื่อใหนักเรียนคุนเคยและจดจําขอความนั้น ๆ ได ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. บอกสมบัติของเสนขนาน และบอกเงื่อนไขที่ทําใหเสนตรงสองเสนขนานกัน 2. ระบุไดวารูปสามเหลี่ยมสองรูปที่สัมพันธกันแบบ มุม – มุม – ดาน เทากันทุกประการ 3. ใชสมบัติเกี่ยวกับเสนขนานและความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมในการ ใหเหตุผลและแกปญหาได
  • 2. 63 แนวทางในการจัดการเรียนรู 4.1 เสนขนานและมุมภายใน (4 ชั่วโมง) จุดประสงค ใหนักเรียนสามารถ 1. บอกบทนิยามของเสนขนานได 2. บอกไดวา ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน แลวระยะหางระหวางเสนตรงคูนั้นจะเทากันเสมอ 3. บอกไดวา ถาเสนตรงสองเสนมีระยะหางระหวางเสนตรงเทากันเสมอ แลวเสนตรงคูนั้นจะ ขนานกัน 4. บอกไดวา มุมคูใดเปนมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด เมื่อกําหนดใหเสนตรง เสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง 5. บอกไดวา เมื่อเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง เสนตรงคูนั้นขนานกัน ก็ตอเมื่อ ขนาด ของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัดรวมกันเทากับ 180 องศา และนําสมบัตินี้ ไปใชได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูใหนักเรียนยกตัวอยางสิ่งตาง ๆ ในสิ่งแวดลอมรอบตัวที่มีลักษณะของเสนขนานบนระนาบ เดียวกัน เพื่อนําเขาสูบทนิยามของการขนานกันของเสนตรง ครูควรชี้แจงใหนักเรียนเห็นวา บทนิยาม ดังกลาวนี้สามารถนําไปใชกับการขนานกันของสวนของเสนตรงและรังสี เมื่อสวนของเสนตรงและรังสีนั้น เปนสวนหนึ่งของเสนตรงที่ขนานกัน 2. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อใหนักเรียนเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับระยะหาง ระหวางเสนขนาน ครูอาจทบทวนความรูและทําความเขาใจเพิ่มเติมกับนักเรียนใน 2 ประเด็น ดังนี้ 1) ระยะหางระหวางจุดจุดหนึ่งกับเสนตรงจะหมายถึง ความยาวของสวนของเสนตรงที่ ลากจากจุดนั้นไปตั้งฉากกับเสนตรง ดังรูป จากรูป PQ ตั้งฉากกับ AB จะได PQ คือระยะหางระหวางจุด P กับ AB P A Q B
  • 3. 64 2) เมื่อกลาวถึงระยะหางระหวางเสนขนานที่กลาววา มีระยะหางระหวางเสนตรง เทากันเสมอนั้น ในการตรวจสอบการเทากันของระยะหางของเสนขนานนี้ ในทางปฏิบัติ จะวัดหาระยะหางจากจุดที่แตกตางกันอยางนอยสองจุดบนเสนตรง เสนหนึ่งไปยังเสนตรงอีกเสนหนึ่งก็เปนการเพียงพอแลว ทั้งนี้เนื่องจากมีเสนตรงเพียง เสนเดียวเทานั้นที่ลากผานจุดสองจุดที่กําหนดใหได 3. สําหรับกิจกรรม “เสนตรงคูใดขนานกัน” เปนกิจกรรมที่ทําใหนักเรียนเกิดความตระหนักวา ในการตรวจสอบวาเสนตรงคูใดขนานกันหรือไม ถาใชบทนิยามของเสนขนานโดยตรงหรือพิจารณาจาก ระยะหางระหางเสนตรงทั้งสองนั้นอาจไมสะดวก จึงใชกิจกรรมนี้นําเขาสูการตรวจสอบโดยใชวิธีการอื่น เชน ตรวจสอบจาก ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัดของเสนตรงสองเสนที่ กําหนดใหนั้น 4. ในกิจกรรม “ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด” สําหรับ กิจกรรมขอ 3 ตองการใหนักเรียนสรางขอความคาดการณจากกิจกรรมขอ 1 และขอ 2 เพื่อใหไดผลสรุป เกี่ยวกับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด กิจกรรมนี้ไดเชื่อมโยงสมบัติของ เสนขนานที่เปนประโยคเงื่อนไข “ถา…แลว…” สองประโยคเปนทฤษฎีบทที่ใชคําวา “ก็ตอเมื่อ” ซึ่งความรูในสวนนี้ เคยกลาวไวแลวในสาระการเรียนรูเพิ่มเติม ม.1 เลม 2 เรื่องการเตรียมความพรอมใน การใหเหตุผล จึงอาจมีนักเรียนบางคนไมไดเรียนเนื้อหานี้มากอน ครูจึงตองใหความรูเพิ่มเติมกับนักเรียน กลุมนี้และอาจทบทวนความรูกับกลุมนักเรียนที่เคยรูจักคํานี้มาแลว ดังนั้นในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ครูจะตองใหนักเรียนเขาใจความหมายของ ทฤษฎีบทและบทกลับของทฤษฎีบทนั้น พรอมทั้งชี้ใหเห็นวา เมื่อพบขอความที่ตองพิสูจนมีคําวา “ก็ตอเมื่อ” เชื่อมขอความอยู เราจะตองแยกขอความนั้นเปนประโยคเงื่อนไขสองประโยคแลวพิสูจนวา ทั้งสองประโยคเปนจริง จึงจะถือวาเปนการพิสูจนขอความที่มีคําวา “ก็ตอเมื่อ” ซึ่งขอความเหลานี้มักเปน ทฤษฎีบทที่มีบทกลับ เชน ทฤษฎีบทที่กลาววา “เมื่อเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่งเสนตรงคูนั้นขนานกัน ก็ตอเมื่อ ขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัดรวมกันเทากับ 180 องศา” 5. หลังจากนักเรียนไดเรียนตัวอยางที่ 4 แลว ครูควรสรุปใหนักเรียนเห็นวาการขนานกันของ เสนตรงมีสมบัติถายทอด เมื่อมีเสนตรงสามเสนขนานกันก็จะไมใชสัญลักษณ เชน AB // CD // EF แต จะใชขอความวา AB, CD และ EF ขนานกัน 6. สําหรับแบบฝกหัด 4.1 มีโจทยบางขอไดเชื่อมโยงความรูโดยใชสมการมาชวยหาขนาดของ มุมที่เกี่ยวกับเสนขนาน ครูควรประเมินโดยการสังเกตวา นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรูดังกลาวนี้ได หรือไม
  • 4. 65 4.2 เสนขนานและมุมแยง (4 ชั่วโมง) จุดประสงค ใหนักเรียนสามารถ 1. บอกไดวามุมคูใดเปนมุมแยง เมื่อกําหนดใหเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง 2. บอกไดวาเมื่อเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง เสนตรงคูนั้นขนานกัน ก็ตอเมื่อ มุมแยงมี ขนาดเทากัน และนําสมบัตินี้ไปใชได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในหัวขอนี้ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยงสาระวา การพิจารณาหรือตรวจสอบวาเสน ตรงสองเสนขนานกันหรือไม นอกจากจะใชความรูเกี่ยวกับเสนขนานและขนาดของมุมภายในที่อยูบนขาง เดียวกันของเสนตัด มาตรวจสอบแลวยังสามารถใชสมบัติของมุมแยงมาตรวจสอบได ดังกิจกรรมที่เสนอ ไวในหัวขอนี้ 2. ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เพื่อใหนักเรียนเกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับลักษณะของ มุมแยงและขนาดของมุมแยง ครูควรกลาวถึงในประเด็นตอไปนี้ 1) มุมแยงที่เกิดจากเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง อาจเกิดจากเสนตรงที่ขนานกัน หรือไมขนานกันก็ได 2) มุมแยงที่มีขนาดเทากันจะตองเกิดจากเสนตรงที่ขนานกันเทานั้น ดังนั้นเมื่อกลาวถึง มุมแยงทั่ว ๆ ไป จะสรุปวามีขนาดเทากันไมได 3) การอางดวยสมบัติของมุมแยง ควรเขียนขอความของสมบัตินั้นใหสมบูรณ ไมควร เขียนอางวา “เพราะเปนมุมแยง” หรือเขียนวา “มุมแยงยอมมีขนาดเทากัน” 4) การพิสูจนทฤษฎีบทที่กลาววา “เมื่อเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง เสนตรงคูนั้น ขนานกัน ก็ตอเมื่อ มุมแยงมีขนาดเทากัน” จะตองรูวาประโยคนี้คือประโยคเงื่อนไข “ถา…แลว…” สองประโยคไดแก (1) ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน (2) ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําใหมุมแยงมีขนาดเทากัน แลว เสนตรงคูนั้นขนานกัน
  • 5. 66 ความรูเพิ่มเติมสําหรับครู มุมแยงที่กลาวถึงในบทเรียนเปนมุมแยงภายใน (alternate interior angles) ในทางคณิตศาสตรกําหนดมุมแยง เปนดังนี้ กําหนดให EF เปนเสนตัด AB และ CD ดังรูป ∧ 2 และ ∧ 8 เปนมุมแยงภายนอก (alternate exterior angles) ∧ 1 และ ∧ 7 เปนมุมแยงภายนอก ∧ 3 และ ∧ 5 เปนมุมแยงภายใน ∧ 4 และ ∧ 6 เปนมุมแยงภายใน เนื่องจาก ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขามมีขนาดเทากัน จึงทําใหได ∧ 1 = ∧ 3 , ∧ 2 = ∧ 4 , ∧ 5 = ∧ 7 และ ∧ 6 = ∧ 8 ดังนั้นสมบัติตาง ๆ ของเสนขนานที่เกี่ยวกับมุมแยงภายใน จึงยังคงเปนจริงสําหรับมุมแยงภายนอก ดวย หนังสือหลายเลมเมื่อกลาวถึงสมบัติตาง ๆ ของเสนขนานเกี่ยวกับมุมแยง จึงไมระบุวาเปนมุมแยง ภายในหรือมุมแยงภายนอก 1 8 A B DC 2 43 7 56 E F
  • 6. 67 4.3 เสนขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน (4 ชั่วโมง) จุดประสงค ใหนักเรียนสามารถ 1. บอกไดวา มุมคูใดเปนมุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัด เมื่อ กําหนดใหเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง 2. บอกไดวา เมื่อเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง เสนตรงคูนั้นขนานกัน ก็ตอเมื่อ มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน และนํา สมบัตินี้ไปใชได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ในการดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนในหัวขอนี้ ก็ทําเชนเดียวกันกับหัวขอ 4.2 นักเรียน จะตองเกิดความคิดรวบยอดวา ในการตรวจสอบวาเสนตรงสองเสนขนานกันหรือไมนั้น นอกจากจะ ตรวจสอบโดยใชผลบวกของขนาดของมุมภายในหรือพิจารณาขนาดของมุมแยงแลว ยังสามารถตรวจสอบ ไดอีกวิธีหนึ่งโดยใชความสัมพันธของขนาดของมุมภายนอกและมุมภายใน ตามกิจกรรมที่เสนอไวใน หัวขอนี้ 2. การพิสูจนทฤษฎีบท “ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมภายนอกและมุม ภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัด มีขนาดเทากัน” วิธีพิสูจนที่นําเสนอในหนังสือเรียนใช สมบัติของเสนขนานเกี่ยวกับมุมแยง ครูอาจแนะนําใหนักเรียนพิสูจนโดยใชสมบัติของเสนขนานเกี่ยวกับ ผลบวกของขนาดมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด เพื่อใหเห็นความหลากหลายของวิธีการพิสูจน ก็ได ดังการพิสูจนตอไปนี้ กําหนดให AB // CD มี EF เปนเสนตัด ตองการพิสูจนวา ∧ 1 = ∧ 5 , ∧ 2 = ∧ 6 , ∧ 7 = ∧ 3 และ ∧ 8 = ∧ 4 1 8 A B DC 2 43 7 5 6 E F
  • 7. 68 พิสูจน AB // CD (กําหนดให) ∧ 5 + ∧ 3 = 180o (ขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของ เสนตัดเสนขนาน รวมกันเทากับ 180o ) ∧ 1 + ∧ 3 = 180o (ขนาดของมุมตรง) ∧ 1 + ∧ 3 = ∧ 5 + ∧ 3 (สมบัติของการเทากัน) ดังนั้น ∧ 1 = ∧ 5 (นํา ∧ 3 มาลบทั้งสองขางของสมการ) การพิสูจนวา ∧ 2 = ∧ 6 , ∧ 7 = ∧ 3 และ ∧ 8 = ∧ 4 อาจใหนักเรียนลองพิสูจนโดยใชสมบัติ ดังตัวอยางขางตนก็ได ในทํานองเดียวกันการพิสูจนทฤษฎีบท “ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําใหมุม ภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้นขนานกัน” วิธีพิสูจนที่นําเสนอไวในหนังสือเรียน ใชสมบัติของเสนขนานเกี่ยวกับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่อยู บนขางเดียวกันของเสนตัด ครูอาจแนะนําใหนักเรียนพิสูจนโดยใชสมบัติของเสนขนานเกี่ยวกับมุมแยง ดังการพิสูจนตอไปนี้ กําหนดให EF ตัด AB และ CD ทําให EXA ∧ = XYC ∧ ตองการพิสูจนวา AB // CD พิสูจน เนื่องจาก EXA ∧ = YXB ∧ (ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขามมี ขนาดเทากัน) และ EXA ∧ = XYC ∧ (กําหนดให) จะได YXB ∧ = XYC ∧ (สมบัติของการเทากัน) เนื่องจาก YXB ∧ และ XYC ∧ เปนมุมแยงที่มีขนาดเทากัน ดังนั้น AB // CD (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให มุมแยงมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้นขนาน กัน) A B DC Y X E F
  • 8. 69 1 3 2 2 3 1 4.4 เสนขนานและรูปสามเหลี่ยม (6 ชั่วโมง) จุดประสงค ใหนักเรียนสามารถ 1. บอกไดวา ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา และ นําสมบัตินี้ไปใชได 2. บอกไดวา ถาตอดานใดดานหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไป มุมภายนอกที่เกิดขึ้นจะมีขนาด เทากับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไมใชมุมประชิดของมุมภายนอกนั้น และนําสมบัตินี้ ไปใชได 3. บอกไดวา รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกันแบบ มุม – มุม – ดาน เทากันทุกประการและนําสมบัตินี้ไปใชได 4. ใชสมบัติเกี่ยวกับเสนขนานและความเทากันทุกประการของรูปสามเหลี่ยมในการใหเหตุผล และแกปญหาได ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูอาจจัดกิจกรรมเพื่อทบทวนวา “ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกัน เทากับ 180 องศา” ดวยการใหนักเรียนสังเกตผลจากการลงมือปฏิบัติ เชน การใหนักเรียนเขียน รูปสามเหลี่ยม กลุมละ 3 – 4 รูป วัดขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมแตละรูป แลวหา ผลรวมโดยบันทึกผลในตาราง ขนาดของมุม (องศา) รูปสามเหลี่ยม ∧ 1 ∧ 2 ∧ 3 ผลรวมของขนาดของมุมทั้งสาม (องศา) ครูอาจแนะใหนักเรียนตัดหรือฉีกมุมทั้งสามของกระดาษรูปสามเหลี่ยม เพื่อแสดงผลบวก ของขนาดของมุมทั้งสามมุม ดังรูป 3 1 2
  • 9. 70 1 2 3 1 23 นอกจากนี้แลว ครูอาจแนะใหนักเรียนทํากิจกรรม “หมุนดินสอแลวไดอะไร” หนา 172 – 177 หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 พิมพครั้งที่ 1 ขอคนพบหรือผลสรุปจากการสํารวจตัวอยางหลาย ๆ ตัวอยางเปนการใหเหตุผลแบบอุปนัย ผลสรุปที่ไดนี้อาจเปนจริงทุกกรณีหรือไมก็ได เพื่อเปนการยืนยันวา ผลสรุปนี้เปนจริง จึงตองใชการให เหตุผลแบบนิรนัย ซึ่งแสดงไดโดยการพิสูจน สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่วา “ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกัน เทากับ 180 องศา” สามารถนําไปใชพิสูจนเกี่ยวกับความสัมพันธของขนาดของมุมภายนอกและมุมภายใน ของรูปสามเหลี่ยม” และที่สําคัญคือนําไปใชในการพิสูจนวา “รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธกัน แบบ มุม – มุม – ดาน จะเทากันทุกประการ” 2. ในการดําเนินกิจกรรมการเรียนการสอนในหัวขอนี้ ครูอาจชี้ใหนักเรียนเห็นการเชื่อมโยง ความรูในการนําสมบัติของเสนขนานมาใชในการพิสูจน ซึ่งทําใหไดทฤษฎีบทใหม ๆ ตอเนื่องกัน ดังแผนภูมิตอไปนี้ สมบัติของเสนขนานเกี่ยวกับมุมแยง สมบัติเกี่ยวกับผลบวกของขนาด ของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม สมบัติเกี่ยวกับขนาดของมุมภายนอก และมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม สมบัติเกี่ยวกับความเทากันทุกประการ ของรูปสามเหลี่ยมแบบ ม.ม.ด. ทําใหไดความคิดรวบยอดวาความสัมพันธ แบบ ม.ด.ม. มีความสัมพันธแบบ ม.ม.ด. ดวย
  • 10. 71 3. สําหรับกิจกรรม “x และ y มีคาเทาไร” มีเจตนาใหเปนแบบฝกหัดระคนที่นําความรูทั้งหมด มาใชในการแกปญหา ครูอาจใหนักเรียนชวยกันทําเปนกลุมยอยและสุมใหนักเรียนออกมานําเสนอหนา ชั้นเรียนและใหบอกเหตุผลในการคิดคํานวณดวย 4. สําหรับกิจกรรม “หาไดหรือไม” นอกจากจะมีเจตนาใหนักเรียนไดฝกทักษะการคํานวณ โดยใชสมบัติตาง ๆ ที่เรียนรูมาแลว ยังมีเจตนาใหนักเรียนเห็นรูปที่มีความสวยงามคลายรูปดาวหาแฉก และ สามารถเขียนรูปจากการลากเสนตอเนื่องกันไดในครั้งเดียว (ไมตองยกดินสอขึ้น) 5. สําหรับแบบฝกหัด 4.4 ขอ 8 หลังจากนักเรียนไดพิสูจนแลว ครูอาจใหนักเรียนพิสูจนวา “ขนาดของมุมภายนอกของรูปสี่เหลี่ยมใด ๆ รวมกันเทากับ 360 องศา” 6. ครูอาจใหนักเรียนทํากิจกรรมเสนอแนะ 4.4 เพื่อใหเห็นวา สมบัติเกี่ยวกับผลบวกของขนาด ของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม สามารถนํามาใชหาสูตรผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูป n เหลี่ยม เมื่อ n แทนจํานวนเต็มบวก และเมื่อนักเรียนไดทํากิจกรรมนี้แลว ครูอาจใหนักเรียนวิเคราะหตอวาผลบวก ของขนาดของมุมภายนอกของรูป n เหลี่ยมเทากับเทาไร 7. สําหรับกิจกรรม “เฉลว” มีเจตนาเชื่อมโยงความรูทางคณิตศาสตรกับงานจักสานซึ่งเปน ภูมิปญญาทองถิ่น ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวาที่จริงแลวงานจักสานลวนมีความเกี่ยวของกับสมบัติทาง เรขาคณิต ผูจักสานประดิษฐงานโดยใชความรูเกี่ยวกับขนาดของมุม ความยาวของดาน ตลอดจนใช เสนขนานมาประดิษฐเปนลวดลายที่สวยงาม เชน ทําฝาชีครอบอาหาร ทําหมวก ตะกรา ฯลฯ ซึ่ง ความรูทางดานเรขาคณิตนี้ ผูจักสานเรียนรูมาจากบรรพบุรุษที่ไดสั่งสอนกันตอ ๆ มา อาจ ไมไดเรียนรู เชิงทฤษฎีโดยตรง นอกจากนี้ครูอาจสนทนาและใหนักเรียนชวยกันยกตัวอยางสิ่งตาง ๆ ที่ใชประโยชนจาก เสนขนาน เชน การสรางรั้วสนามที่ทําใหลูกกรงอยูในแนวขนานกัน การตัดถนนหรือทําขอบสนามให ขนานกัน การทําขอบประตูหรือหนาตางใหขนานกัน เพื่อใหดูสวยงามและปดเปดไดสะดวก
  • 11. 72 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบกิจกรรม “เสนตรงคูใดขนานกัน” 1. ขนานกัน เพราะมีระยะหางซึ่งวัดจากจุดที่แตกตางกัน 2 จุดยาวเทากัน 2. ไมขนานกัน เพราะมีระยะหางซึ่งวัดจากจุดที่แตกตางกัน 2 จุดยาวไมเทากัน 3. ไมขนานกัน เพราะมีระยะหางซึ่งวัดจากจุดที่แตกตางกัน 2 จุดยาวไมเทากัน 4. ไมขนานกัน เพราะมีระยะหางซึ่งวัดจากจุดที่แตกตางกัน 2 จุดยาวไมเทากัน คําตอบกิจกรรม “มุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด” 1. FEA ∧ และ EFC ∧ FEB ∧ และ EFD ∧ 2. YXM ∧ และ XYP ∧ YXN ∧ และ XYQ ∧ คําตอบกิจกรรม “ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด” 1. 1) ไมเทากับ 180o 2) ไมเทากับ 180o 2. 1) เทากับ 180o 2) เทากับ 180o 3. 1) ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัดเสนตรงคูหนึ่งที่ไมขนานกัน ไมเทากับ 180o 2) ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัดเสนตรงคูหนึ่งที่ขนานกัน เทากับ 180o คําตอบและแนวการพิสูจนแบบฝกหัด 4.1 1. 1) ขนานกัน เพราะ 117 + 63 = 180o 2) ไมขนานกัน เพราะ 112 + 58 ≠ 180o 3) ไมขนานกัน เพราะ 90 + 80 ≠ 180o 4) ขนานกัน เพราะ 90 + 90 = 180o
  • 12. 73 2. 1) x = 79 2) x = 88 3) x = 60 4) x = 61 3. 1) FDC ∧ = 148o 2) FDC ∧ = 50o 4. CDA ∧ = 127o และ DCB ∧ = 109o 5. เนื่องจาก PL // MN และมี AB เปนเสนตัด (กําหนดให) LKM ∧ + NMK ∧ = 180o (ขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของ เสนตัดเสนขนาน รวมกันเทากับ 180o ) P B N L A M K A B FE D C 32o D 130o CA B FE
  • 13. 74 NMB ∧ + NMK ∧ = 180o (ขนาดของมุมตรง) จะได NMB ∧ + NMK ∧ = LKM ∧ + NMK ∧ (สมบัติของการเทากัน) ดังนั้น NMB ∧ = LKM ∧ (นํา NMK ∧ มาลบทั้งสองขาง ของสมการ) 6. x = 90 และ y = 90 7. ขนานกัน เพราะ ถาขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัดเสนตรงคูหนึ่ง รวมกัน เทากับ 180o แลวเสนตรงคูนั้นขนานกัน คําตอบกิจกรรม “สํารวจมุมแยง” 1. 1) FEA ∧ และ EFD ∧ FEB ∧ และ EFC ∧ 2) FEA ∧ และ EFD ∧ FEB ∧ และ EFC ∧ 2. 1) FEA ∧ และ EFD ∧ FEB ∧ และ EFC ∧ 2) FEA ∧ และ EFD ∧ FEB ∧ และ EFC ∧ คําตอบและแนวการพิสูจนแบบฝกหัด 4.2 ก 1. BAF ∧ = NBA ∧ เพราะ BN // FM มี AB เปนเสนตัด จะไดมุมแยงมีขนาดเทากัน 2. AEM ∧ = KAE ∧ เพราะ EM // KY มี NB เปนเสนตัด จะไดมุมแยงมีขนาดเทากัน 3. EBO ∧ = 126o 4. ECA ∧ = 131o 5. EDC ∧ = 40o
  • 14. 75 6. เนื่องจาก AB // CD (กําหนดให) จะได CBA ∧ = DCB ∧ (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน) เนื่องจาก BC //DE (กําหนดให) จะได DCB ∧ = EDC ∧ (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน) ดังนั้น CBA ∧ = EDC ∧ (สมบัติของการเทากัน) 7. เนื่องจาก PQ // RS (กําหนดให) จะได CAP ∧ = SBA ∧ (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน) SBA ∧ = CBR ∧ (ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขาม มีขนาดเทากัน) ดังนั้น CAP ∧ = CBR ∧ (สมบัติของการเทากัน) A B CD E R B C Q S P A
  • 15. 76 8. เนื่องจาก AD // CF (ดานตรงขามของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน ยอม ขนานกัน) จะได EAD ∧ = EBF ∧ (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน) AE = BE (E เปนจุดกึ่งกลางของ AB) DEA ∧ = FEB ∧ (ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขาม มีขนาดเทากัน) จะได ∆ AED ≅ ∆ FEB ∧ (ม.ด.ม.) ดังนั้น DE = FE (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) 9. เนื่องจาก AE // HB (กําหนดให) จะได FAE ∧ = GBH ∧ (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน) AF = BG (กําหนดให) เนื่องจาก FE // HG (กําหนดให) CD F E BA E F G H BA
  • 16. 77 จะได GFE ∧ = FGH ∧ (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน) EFA ∧ + GFE ∧ = 180o (ขนาดของมุมตรง) HGB ∧ + FGH ∧ = 180o (ขนาดของมุมตรง) EFA ∧ + GFE ∧ = HGB ∧ + FGH ∧ (สมบัติของการเทากัน) ดังนั้น EFA ∧ = HGB ∧ (สมบัติของการเทากัน โดยนํา GFE ∧ และ FGH ∧ ที่มีขนาดเทากันมาลบทั้งสองขางของ สมการ) จะได ∆ AFE ≅ ∆ BGH (ม.ด.ม.โดยมี FAE ∧ = GBH ∧ , AF = BG, EFA ∧ = HGB ∧ ) ดังนั้น FE = GH (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) คําตอบและแนวการพิสูจนแบบฝกหัด 4.2 ข 1. 1) AE // BC 2) AD// BM 3) SR // PQ 4) ไมมีสวนของเสนตรงคูใดขนานกันเลย 2. x = 98 และ y = 60 3. เนื่องจาก AO = BO (กําหนดให CD แบงครึ่ง AB ที่จุด O) DOA ∧ = COB ∧ (ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขาม มีขนาดเทากัน) DO = CO (กําหนดให AB แบงครึ่ง CD ที่จุด O) DA C B O
  • 17. 78 ดังนั้น ∆ AOD ≅ ∆ BOC (ด.ม.ด.) จะได ODA ∧ = OCB ∧ (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) นั่นคือ AD// BC (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่งทําให มุมแยงมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้น ขนานกัน) 4. เนื่องจาก BAC ∧ = DBE ∧ (กําหนดให) EBA ∧ + DBE ∧ = 180o (ขนาดของมุมตรง) จะได EBA ∧ + BAC ∧ = 180o (สมบัติของการเทากัน โดยแทน DBE ∧ ดวย BAC ∧ ) เนื่องจาก EBA ∧ และ BAC ∧ เปนมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของเสนตัด AB ซึ่งตัด AC และ BE ดังนั้น AC// BE (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให ขนาดของมุมภายในที่อยูบนขางเดียวกันของ เสนตัดรวมกันเทากับ 180o แลวเสนตรงคูนั้น ขนานกัน) ในทํานองเดียวกันจะพิสูจนไดวา BC// DE คําตอบกิจกรรม “สํารวจมุมภายนอกและมุมภายใน” 1. 1) PRA ∧ และ PSC ∧ SRA ∧ และ QSC ∧ PRB ∧ และ PSD ∧ SRB ∧ และ QSD ∧ A B D E C
  • 18. 79 2) PRA ∧ และ PSC ∧ SRA ∧ และ QSC ∧ PRB ∧ และ PSD ∧ SRB ∧ และ QSD ∧ 2. 1) และ 2) PEA ∧ และ PFC ∧ QEA ∧ และ QFC ∧ QEB ∧ และ QFD ∧ PEB ∧ และ PFD ∧ คําตอบและแนวการพิสูจนแบบฝกหัด 4.3 ก 1. QPA ∧ = SRP ∧ และ SRB ∧ = QPR ∧ เพราะวา ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู ตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน 2. TSN ∧ = MSQ ∧ (ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลวมุมตรงขามมีขนาดเทากัน) TSN ∧ = KTS ∧ (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน) TSN ∧ = PTL ∧ (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู ตรงขามบนขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน) 3. DYX ∧ = 52o 4. DCE ∧ = 128o 5. BAD ∧ = DCB ∧ = 47o CBA ∧ = CDA ∧ = 133o 6. x = 65
  • 19. 80 7. เนื่องจาก AB // CD (กําหนดให) จะได CAB ∧ = ECD ∧ (เสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลว มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบน ขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน) AC = CE (กําหนดให) เนื่องจาก CB // ED (กําหนดให) จะได BCA ∧ = DEC ∧ (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลว มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขาง เดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน) ดังนั้น ∆ ABC ≅ ∆ CDE (ม.ด.ม.) คําตอบแบบฝกหัด 4.3 ข 1. 1) DF // CB เพราะ DAE ∧ เปนมุมภายนอกและ CBA ∧ เปนมุมภายในที่อยูตรงขามบน ขางเดียวกันของเสนตัด BE มีขนาดเทากัน 2) AB // MN เพราะ CNM ∧ เปนมุมภายนอกและ CBA ∧ เปนมุมภายในที่อยูตรงขามบนขาง เดียวกันของเสนตัด BC มีขนาดเทากัน 3) AB // CD เพราะ ABP ∧ เปนมุมภายนอกและ CDB ∧ เปนมุมภายในที่อยูตรงขามบน ขางเดียวกันของเสนตัด PD มีขนาดเทากับ 44o เทากัน 4) MN // PQ เนื่องจาก QDA ∧ + 50 = 180 (ขนาดของมุมตรง) จะได QDA ∧ = 180 – 50 = 130o เนื่องจาก NBA ∧ = 130o (กําหนดให) DB A C E
  • 20. 81 ดังนั้น NBA ∧ = QDA ∧ = 130o (สมบัติของการเทากัน) นั่นคือ MN // PQ (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่งทําให มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบนขาง เดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน แลวเสนตรง คูนั้นขนานกัน) QR // NP เพราะ FEQ ∧ = DCN ∧ = 96o (ใหเหตุผลในทํานองเดียวกันกับขางตน) 2. ECD ∧ = 98o 3. เนื่องจาก YM // QR (กําหนดให) จะได MAP ∧ = RQP ∧ (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลว มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบน ขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน) MYX ∧ = RQP ∧ (กําหนดให) จะได MAP ∧ = MYX ∧ (สมบัติของการเทากัน) ดังนั้น YX // QP (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบน ขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน แลว เสนตรงคูนั้นขนานกัน) Y Q R M P X A
  • 21. 82 4. เนื่องจาก ∆ ABC และ ∆ DEF เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว จะได CAB ∧ = ACB ∧ (มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว มีขนาด เทากัน) และ FDE ∧ = DFE ∧ (มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว มีขนาด เทากัน) CAB ∧ = DFE ∧ (กําหนดให) ดังนั้น CAB ∧ = FDE ∧ และ ACB ∧ = DFE ∧ (สมบัติของการเทากัน) นั่นคือ AB// DE และBC// EF (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบน ขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน แลว เสนตรงคูนั้นขนานกัน) คําตอบกิจกรรม “x และ y มีคาเทาไร” 1. x = 48 2. x = 75 และ y = 15 3. x = 130 และ y = 110 4. x = 54 และ y = 78 5. x = 107 6. x = 56 และ y = 68 7. x = 25 และ y = 10 แนวคิด เนื่องจาก 2x + y + 120 = 180 2x + y = 60 y = 60 – 2x A D C F E B
  • 22. 83 เนื่องจาก 2x – y + 140 = 180 จะได 2x – (60 – 2x) + 140 = 180 (แทน y ดวย 60 – 2x) 2x – 60 + 2x + 140 = 180 4x = 100 x = 25 จะได y = 60 – (2 × 25) = 10 8. x = 15 และ y = 57.5 แนวคิด เนื่องจาก 3x + 25 = x + 55 2x = 30 x = 15 เนื่องจาก (x + 55) + (2y – 5) = 180 15 + 55 + 2y – 5 = 180 (แทน x ดวย 15) 2y + 65 = 180 2y = 115 y = 57.5 9. x = 8 และ y = 12 แนวคิด เนื่องจาก (5x + y) + (5x – y) + 100 = 180 10x + 100 = 180 10x = 80 x = 8 เนื่องจาก 100 + (5x + y) + (2x + y) = 180 100 + (5 × 8) + (2 × 8) + 2y = 180 (แทน x ดวย 8) 100 + 40 + 16 + 2y = 180 2y = 24 y = 12
  • 23. 84 10. x = 12 และ y = 28 แนวคิด เนื่องจาก HEA ∧ = CGH ∧ = 48o จะได 2x + 2y = 32 + 48 = 80 เนื่องจาก 5y – 8 + 48 = 180 5y = 140 y = 28 จะได 2x + (2 × 28) = 80 2x = 24 x = 12 คําตอบกิจกรรม “หาไดหรือไม” m = 26 r = 36 n = 50 s = 72 p = 86 t = 118 q = 22 u = 44 คําตอบและแนวการพิสูจนแบบฝกหัด 4.4 1. 1. DCE ∧ , XCA ∧ , EDC ∧ , YDB ∧ และ EBA ∧ 2. BAE ∧ = 68o 2. PQ // AD เนื่องจาก PAB ∧ = 32 + 28 (ขนาดของมุมภายนอกของรูปสามเหลี่ยม เทากับผลบวกของขนาดของมุมภายใน ที่ไมใชมุมประชิดของมุมภายนอกนั้น) = 60o PAB ∧ + PAD ∧ = 180o (ขนาดของมุมตรง)
  • 24. 85 จะได PAD ∧ = 180 – 60 (แทน PAB ∧ ดวย 60) = 120o ดังนั้น PQ // AD (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให มุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขามบน ขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน แลว เสนตรงคูนั้นขนานกัน) 3. สราง ลาก BD เนื่องจาก ∧ 1 + ∧ 2 + ∧ 3 = 180o (ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูป สามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180o ) ∧ 4 + ∧ 5+ ∧ 6 = 180o (ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของรูป สามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180o ) จะได ∧ 1 + ∧ 2 + ∧ 3+ ∧ 4 + ∧ 5+ ∧ 6 = 180+ 180 (สมบัติของการเทากัน) หรือ ∧ 1 + ( ∧ 2 + ∧ 5) + ∧ 4 + ( ∧ 3+ ∧ 6 ) = 360o ดังนั้น DAB ∧ + CDA ∧ + BCD ∧ + ABC ∧ = 360o (สมบัติของการเทากัน) นั่นคือ ขนาดของมุมภายในทั้งสี่มุมของรูปสี่เหลี่ยมใด ๆ รวมกัน เทากับ 360 องศา 4. เนื่องจาก ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว 5 2 1 3 6 4 A B C D A FE B C
  • 25. 86 ดังนั้น CBA ∧ = BCA ∧ (มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วมีขนาด เทากัน) เนื่องจาก EF // BC (กําหนดให) จะได EAB ∧ = CBA ∧ และ FAC ∧ = BCA ∧ (ถาเสนตรงสองเสนขนานกัน และมีเสนตัด แลวมุมแยง มีขนาดเทากัน) ดังนั้น EAB ∧ = FAC ∧ (สมบัติของการเทากัน) 5. เนื่องจาก AB = EF (กําหนดให) CG // DH มี AE เปนเสนตัด (กําหนดให) จะได FBG ∧ = BFH ∧ (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลว มุมแยงมีขนาดเทากัน) FBG ∧ = CBA ∧ และ BFH ∧ = DFE ∧ (ถาเสนตรงสองเสนตัดกัน แลว มุมตรงขามมีขนาดเทากัน) ดังนั้น CBA ∧ = DFE ∧ (สมบัติของการเทากัน) BC = FD (กําหนดให) จะได ∆ ABC ≅ ∆ EFD (ด.ม.ด.) ดังนั้น BAC ∧ = FED ∧ (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) นั่นคือ AC // ED (ถาเสนตรงเสนหนึ่งตัดเสนตรงคูหนึ่ง ทําให มุมแยงมีขนาดเทากัน แลวเสนตรงคูนั้น ขนานกัน) F E DG BA C H
  • 26. 87 6. สราง ลาก BD เนื่องจาก AB// CD มี BD เปนเสนตัด (สมบัติของรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน) จะได DBA ∧ = BDC ∧ (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลว มุมแยงมีขนาดเทากัน) เนื่องจาก AD// BC มี BD เปนเสนตัด (สมบัติรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน) จะได BDA ∧ = DBC ∧ (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลว มุมแยงมีขนาดเทากัน) BD = DB (เปนดานรวม) ดังนั้น ∆ ABD ≅ ∆ CDB (ม.ด.ม.) นั่นคือ ∧ A = ∧ C (มุมคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะมีขนาดเทากัน) ในทํานองเดียวกัน ถาลาก AC จะพิสูจนไดวา ∧ B = ∧ D 7. เนื่องจาก ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว (กําหนดให) จะได CBA ∧ = CAB ∧ (มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่วมีขนาด เทากัน) CE // AB (กําหนดให) จะได DCE ∧ = CBA ∧ (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมภายนอกและมุมภายในที่อยูตรงขาม บนขางเดียวกันของเสนตัดมีขนาดเทากัน) B D A C E D A B C
  • 27. 88 และ CAB ∧ = ACE ∧ (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน) จะได CAB ∧ = DCE ∧ (สมบัติของการเทากัน โดยตางก็มีขนาดเทากับ CBA ∧ ) ดังนั้น ACE ∧ = DCE ∧ (สมบัติของการเทากัน โดยตางก็มีขนาดเทากับ CAB ∧ ) นั่นคือ CE แบงครึ่ง DCA ∧ 8. เนื่องจาก ∧ 1 + ∧ 4 = ∧ 2 + ∧ 5 = ∧ 3+ ∧ 6 = 180o (ขนาดของมุมตรง) ∧ 1 + ∧ 4 + ∧ 2 + ∧ 5+ ∧ 3+ ∧ 6 = 180 + 180 + 180 (สมบัติของการเทากัน) = 540o แต ∧ 1 + ∧ 2 + ∧ 3 = 180o (ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของ รูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180o ) จะได ∧ 4 + ∧ 5+ ∧ 6 = 540 – 180 (สมบัติของการเทากัน) = 360o ดังนั้น ขนาดของมุมภายนอกของ ∆ ABC รวมกันเทากับ 360o 9. C B A 3 6 2 5 14 E B D C F A
  • 28. 89 เนื่องจาก ∧ A + ∧ B+ ∧ C = 180o (ขนาดของมุมภายในทั้งสามของรูปสามเหลี่ยม รวมกันเทากับ 180o ) และ ∧ D+ ∧ E+ ∧ F = 180o (ขนาดของมุมภายในทั้งสามของรูปสามเหลี่ยม รวมกันเทากับ 180o ) จะได ∧ A + ∧ B+ ∧ C+ ∧ D+ ∧ E+ ∧ F = 180 + 180 = 360o (สมบัติของการเทากัน) ดังนั้น ขนาดของมุมภายในที่จุดยอดทั้งหกมุมของรูปดาวหกแฉกใด ๆ รวมกัน เทากับ 360o 10. เนื่องจาก ∆ ABC เปนรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว มี BC เปนฐาน จะได ∧ 1 = ∧ 2 (มุมที่ฐานของรูปสามเหลี่ยมหนาจั่ว มีขนาด เทากัน) เนื่องจาก BC// ED (กําหนดให) จะได ∧ 1 = ∧ 3 และ ∧ 2 = ∧ 4 (ถาเสนตรงสองเสนขนานกันและมีเสนตัด แลวมุมแยงมีขนาดเทากัน) ดังนั้น ∧ 3 = ∧ 4 (สมบัติของการเทากัน) ∧ 3 + ∧ 5 = ∧ 4 + ∧ 6 = 180o (ขนาดของมุมตรง) จะได ∧ 5 = ∧ 6 (สมบัติของการเทากัน) EG = DF (กําหนดให) GAE ∧ = FAD ∧ (กําหนดให) ดังนั้น ∆ AEG = ∆ ADF (ม.ม.ด.) นั่นคือ AE = AD (ดานคูที่สมนัยกันของรูปสามเหลี่ยมที่เทากัน ทุกประการ จะยาวเทากัน) 1 A DE 5 6 B C FG 2 43
  • 29. 90 คําตอบกิจกรรม “เฉลว” พิจารณามุมภายในและมุมภายนอกของ ∆ BDF จะได ∧ 1 = ∧ B+ ∧ D (ขนาดของมุมภายนอกของรูปสามเหลี่ยมเทากับ ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไมใชมุมประชิด ของมุมภายนอกนั้น) พิจารณามุมภายในและมุมภายนอกของ ∆ CEG จะได ∧ 2 = ∧ C+ ∧ E เนื่องจาก ∧ A + ∧ 1 + ∧ 2 = 180o (ขนาดของมุมภายในทั้งสามมุมของ รูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180o ) นั่นคือ ∧ A + ∧ B+ ∧ D + ∧ C + ∧ E = 180o (สมบัติของการเทากันโดยแทน ∧ 1 ดวย ∧ B+ ∧ D และแทน ∧ 2 ดวย ∧ C + ∧ E) หรือ ∧ A + ∧ B+ ∧ C + ∧ D + ∧ E = 180o E D C B A F G1 2
  • 31. 92 กิจกรรมเสนอแนะ 4.4 กิจกรรมนี้มีจุดประสงคใหนักเรียนสามารถนําสมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่วา “ขนาดของ มุมภายในทั้งสามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกันเทากับ 180 องศา” ไปใชสรางขอความ คาดการณเกี่ยวกับผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปหลายเหลี่ยม 1. จงหาผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปหลายเหลี่ยมตอไปนี้ 1) รูปสี่เหลี่ยม 2) รูปหาเหลี่ยม 3) รูปหกเหลี่ยม 2. ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปหลายเหลี่ยมในขอ 1 เกี่ยวของกับผลบวกของขนาดของ มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมหรือไม อยางไร 3. ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปหลายเหลี่ยม เกี่ยวของกับจํานวนเหลี่ยมของรูปหลายเหลี่ยม หรือไม อยางไร 4. จงหาสูตรการหาผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูป n เหลี่ยม คําตอบกิจกรรมเสนอแนะ 4.4 1. 1) 360 องศา 2) 540 องศา 3) 720 องศา 2. 1) เกี่ยวของกัน คือ ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปสี่เหลี่ยมเทากับสองเทาของผลบวก ของขนาดของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม 2) เกี่ยวของกัน คือ ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปหาเหลี่ยมเทากับสามเทาของ ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม 3) เกี่ยวของกัน คือ ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปหกเหลี่ยมเทากับสี่เทาของ ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปสามเหลี่ยม
  • 32. 93 3. เกี่ยวของกัน คือ ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูปหลายเหลี่ยมเทากับ จํานวนเหลี่ยมของรูปหลายเหลี่ยมลบดวย 2 แลวคูณดวยผลบวกของขนาดของมุมภายในของ รูปสามเหลี่ยม 4. ผลบวกของขนาดของมุมภายในของรูป n เหลี่ยม เทากับ 180(n – 2) องศา