SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
Download to read offline
บทที่ 1
ลําดับอนันตและอนุกรมอนันต
(20 ชั่วโมง)
ลําดับอนันตและอนุกรมอนันตที่จะกลาวถึงในบทนี้ เปนเรื่องเกี่ยวกับลิมิตของลําดับ
ทฤษฎีบทตาง ๆ เกี่ยวกับลิมิตของลําดับ การหาผลบวกของอนุกรมอนันต และการใชสัญลักษณ
แทนการบวก ตลอดจนโจทยที่แสดงใหเห็นการนําความรูที่กลาวมาไปใชในการแกปญหาตาง ๆ
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. หาลิมิตของลําดับอนันตโดยอาศัยทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตได
2. หาผลบวกของอนุกรมอนันตได
3. นําความรูเรื่องลําดับและอนุกรมไปใชแกปญหาได
ผลการเรียนรูที่คาดหวังดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู
ชวงชั้นที่ 4 ทางดานความรู ในการจัดการเรียนรูผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูดาน
ทักษะ/ กระบวนการทางคณิตศาสตรดวยการสอดแทรกกิจกรรมหรือโจทยปญหาที่จะสงเสริมให
ผูเรียนเกิดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนอันไดแกความสามารถในการแกปญหา
การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยง
ความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น และการคิดริเริ่มสรางสรรค
นอกจากนั้น กิจกรรมการเรียนรูควรสงเสริมใหผูเรียนตระหนักในคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอวิชา
คณิตศาสตร ตลอดจนฝกใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความ
รับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง
สาระการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติมเปนสาระการเรียนรูสําหรับการศึกษาตอและอาชีพ
ดังนั้นในการจัดการเรียนรูในสาระนี้ ผูสอนควรสงเสริมใหผูเรียนไดฝกทักษะการคิดวิเคราะห
โดยคํานึงถึงความสมเหตุสมผลของขอมูล ดังนั้น ในการสอนแตละสาระผูสอนจําเปนตองศึกษา
สาระนั้น ๆ ใหเขาใจถองแทเสียกอนแลวเลือกวิธีสอนใหเหมาะสม เพื่อทําใหการจัดการเรียนรู
ไดผลดี
2
ขอเสนอแนะ
1. รูปแบบการกําหนดลําดับทําไดหลายแบบ ผูสอนควรย้ําและยกตัวอยางใหผูเรียนเห็นวา
การกําหนดลําดับโดยการแจงพจนแลวหาพจนทั่วไปของลําดับนั้น อาจหาพจนทั่วไปไดตางกัน
(ดูหนังสือเรียนหนา 3 – 4 และคูมือครูสาระการเรียนรูพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 เรื่องลําดับ
และอนุกรม หนา 2)
2. ผูสอนควรทบทวนเรื่องลําดับจํากัด ลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต และอนุกรม
จํากัดกอนที่จะขยายความตอและกลาวถึงลําดับอนันตและอนุกรมอนันต ผูสอนควรบอกผูเรียน
ดวยวา ยังมีลําดับอื่น ๆ อีกมากมายที่ไมใชลําดับเลขคณิตหรือลําดับเรขาคณิต ผูสอนอาจใช
ประโยชนจากเว็บไซต The On-Line Encyclopedia of Integer Sequences ซึ่งเก็บรวบรวมลําดับ
ตาง ๆ ไวใหคนหาไดมากมาย ที่ http://www.research.att.com/~njas/sequences/ หรือผูสอนอาจ
ใหผูเรียนชวยกันสรางลําดับใหมเอง
3. ในเรื่องความสัมพันธเวียนเกิด ผูสอนอาจเพิ่มเติมแบบฝกหัดสําหรับผูเรียนที่สนใจ
คณิตศาสตรเปนพิเศษ ผูสอนอาจใหผูเรียนกําหนดลําดับที่กําหนดใหตอไปนี้โดยใชความสัมพันธ
เวียนเกิด
(1) 1, 2, 4, 8, 16, ..., 2n–1
, ...
เพราะวา a1 = 1
a2 = 2 = 2(1) = 2a1
a3 = 4 = 2(2) = 2a2
a4 = 8 = 2(4) = 2a3
an = 2n–1
= 2an–1
ดังนั้น กําหนดลําดับนี้โดยใชความสัมพันธเวียนเกิดไดเปนลําดับ an = 2an–1
เมื่อ n ≥ 2, a1 = 1
(2) 1, –1, 1, –1, ..., (–1)n+1
, ...
เพราะวา a1 = 1
a2 = –1 = (–1)(1) = (–1)a1
a3 = 1 = (–1)(–1) = (–1)a2
a4 = –1 = (–1)(1) = (–1)a3
an = (–1)an–1
ดังนั้น กําหนดลําดับนี้โดยใชความสัมพันธเวียนเกิดไดเปนลําดับ an = (–1)an–1
เมื่อ n ≥ 2, a1 = 1
3
(3) กําหนดลําดับ 5, 9, 13, 17, ..., 4n + 1,... โดยใชความสัมพันธเวียนเกิดไดเปน
ลําดับ an = an–1 + 4 เมื่อ n 2≥ , a1 = 5
(4) กําหนดลําดับ 1, 3, 9, 27, ..., 3n–1
, ...โดยใชความสัมพันธเวียนเกิดไดเปนลําดับ
an = 3an–1 เมื่อ n 2≥ , a1 = 1
(5) กําหนดลําดับ 1, 1, 1, 1, ..., 1, ... โดยใชความสัมพันธเวียนเกิดไดเปนลําดับ
an = an–1 เมื่อ n ≥ 2, a1 = 1
(6) กําหนดลําดับ 1, 3, 6, 10, 15, ..., n(n 1)
2
+
, ...โดยใชความสัมพันธเวียนเกิด
ไดเปนลําดับ an = an–1+ n เมื่อ n ≥ 2, a1 = 1
(7) กําหนดลําดับ 5, 10, 30, 120, ..., 5n!, ...โดยใชความสัมพันธเวียนเกิดไดเปน
ลําดับ an = nan–1 เมื่อ n ≥ 2, a1 = 5
4. การทบทวนสูตรพจนที่ n ของลําดับเลขคณิต (หนา 7) และสูตรพจนที่ n ของลําดับ
เรขาคณิต(หนา9) โดยการเขียนยอนกลับผูสอนอาจจะแสดงตัวอยางที่เปนตัวเลขใหผูเรียนพิจารณา
ประกอบไปดวยสัก 2 – 3 ตัวอยางกอนที่จะสรุปเปนกรณีทั่วไป และถาผูสอนพิจารณาแลววา
แนวทางของเรื่องเดียวกันที่นําเสนอไวในหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษา
ปที่ 5 เขาใจงายกวา ก็อาจขามสวนนี้ไปก็ได อยางไรก็ตาม ผูสอนควรชี้ใหผูเรียนเห็นแนวทาง
ที่แตกตางของทั้งสองวิธี
5. จากการพิจารณาลิมิตของลําดับ ทําใหแบงลําดับออกเปน 2 ประเภท คือ ลําดับ
ที่มีลิมิต เรียกวา ลําดับลูเขา และลําดับที่ไมมีลิมิต เรียกวา ลําดับลูออก สําหรับลําดับลูออก
ถาพิจารณาลําดับจากกราฟจะแบงออกเปน 3 ประเภทคือ
(1) ลําดับลูออกซึ่งพจนที่ n มีคามากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อ n มีคามากขึ้นโดยไมมีที่สิ้นสุด
เชน 1, 2, 4, ..., 2n–1
,...
(2) ลําดับลูออกซึ่งพจนที่ n มีคาลดลงเรื่อย ๆ เมื่อ n มีคามากขึ้นโดยไมมีที่สิ้นสุด
เชน –1, –3, –5, ..., –(2n – 1), ...
(3) ลําดับลูออกซึ่งมีลักษณะแตกตางจากลําดับในขอ (1) และขอ (2) ซึ่งเรียกวา
ลําดับแกวงกวัด เชน an = (–1)n
, bn = (–1)n
n
6. การเชื่อมโยงมโนทัศนเรื่องลิมิตของลําดับกับรูปภาพ ผูสอนอาจเริ่มจากการคํานวณ
แลวเขียนกราฟ และพิจารณาแนวโนมวา เมื่อ n มีคามากขึ้นเรื่อย ๆ กราฟของลําดับ an จะเปน
อยางไร ผูสอนอาจแนะนําการเขียนกราฟโดยใชเครื่องมือตางๆเชน กระดาษกราฟ เครื่องคํานวณ
โปรแกรมGeometer’sSketchpad หรือโปรแกรมประเภทตารางทํางาน เชน Microsoft Excel
7. หนังสือเรียนไมไดแสดงวิธีการพิสูจนทฤษฎีบทตาง ๆ เกี่ยวกับลิมิตไว ผูสอนควรให
ผูเรียนพิจารณาคา an โดยตรง หรือทดลองเขียนกราฟของลําดับ an แลวพิจารณาแนวโนมของกราฟ
4
เชน ใหผูเรียนพิจารณาลําดับ an = 3
1
n
และ an = 1
3
1
n
เพื่อนําไปสูการยอมรับทฤษฎีบทที่วา
rn
1
lim
n→∞
= 0 เมื่อ r เปนจํานวนจริงบวกใด ๆ ผูเรียนควรอธิบายไดวา เมื่อ n มีคามากขึ้นอยาง
ไมมีที่สิ้นสุด n3
และ
1
3
n จะมีคามากขึ้นอยางไมมีที่สิ้นสุดดวย ซึ่งจะทําให 3
1
n
และ 1
3
1
n
มีคา
นอยลงและเขาใกล 0
ใหผูเรียนพิจารณาลําดับ an = n4
และ an =
1
4
n เพื่อนําไปสูการยอมรับทฤษฎีบท
ที่วา r
n
lim n
→∞
หาคาไมได เมื่อ r เปนจํานวนจริงบวกใด ๆ ผูเรียนควรอธิบายไดวา เมื่อ n มี
คามากขึ้นอยางไมมีที่สิ้นสุด n4
และ
1
4
n จะมีคามากขึ้นอยางไมมีที่สิ้นสุดดวย
ใหผูเรียนพิจารณาลําดับ an =
n
1
3
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
และ an =
n
1
4
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
เพื่อนําไปสูการยอมรับ
ทฤษฎีบทที่วา n
n
lim r
→∞
= 0 เมื่อ r เปนจํานวนจริง และ r 1<
ใหผูเรียนพิจารณาลําดับ an = 3n
และ an = (–4)n
เพื่อนําไปสูการยอมรับทฤษฎี
บทที่วา n
n
lim r
→∞
หาคาไมได เมื่อ r เปนจํานวนจริง และ r 1>
8. ขอความวา “ nn
lim a
→∞
หาคาไมได” มีความหมายเชนเดียวกับขอความ “ลําดับ an
ไมมีลิมิต” หรือ “พจนที่ n ของลําดับ an ไมเขาใกลหรือเทากับจํานวนจริง L ใด ๆ เลย” ในบทนี้
ไมมีการใชขอความวา “ nn
lim a
→∞
= ∞” หรือ “ nn
lim a
→∞
= –∞”
9. ในหนังสือเรียนหนา 22 ผูสอนควรย้ํากับผูเรียนวา จะใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตได
เมื่อเงื่อนไขเบื้องตนเปนจริงกอนเทานั้น เชน จะสรุปวา
n
n
n n
lim a
nlim
n lim b
n
a
b
→∞=
→∞
→∞
ไดเมื่อ nn
lim a
→∞
และ nn
lim b
→∞
หาคาได และ nn
lim b 0
→∞
≠
ในกรณีที่ไมสามารถใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตของลําดับ an โดยตรงได อาจตองจัดรูปของ an
กอนการใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต ดังปรากฏในหลาย ๆ ตัวอยางในหนังสือเรียน อยางไรก็ตาม
ลําดับบางลําดับก็ยังคงใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตไมไดถึงแมจะพยายามจัดรูปใหแตกตางจากเดิม
แลว เชน
พิจารณาลําดับ
2
2n 3n
an
4n 5
−
=
−
เนื่องจาก 2
lim (2n 3n)
n
−
→∞
และ lim (4n 5)
n
−
→∞
หาคาไมไดทั้งคู ฉะนั้น หากตองการ
หา
2
2n 3n
lim a limnn n 4n 5
−
=
→∞ →∞ −
จึงใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตที่วา
2
lim (2n 3n)
nlim ann lim (4n 5)
n
−
→∞=
→∞ −
→∞
ไมได
การจัดรูป an กอนการพิจารณาลิมิตอาจทําไดหลาย ๆ แบบ บางคนอาจทําดังนี้
5
2
2n 3n
4n 5
−
−
=
32
n 2
n
4 52
n
2n n
−
−
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
3
2
n
4 5
2n n
−
−
กรณีนี้ก็ยังคงใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตไมได เพราะเปนกรณียกเวน เนื่องจาก
4 5
lim
2n n n
−
→∞
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 0
บางคนอาจทําดังนี้
2
2n 3n
4n 5
−
−
= ( )n 2n 3
5
n 4
n
−
−
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 2n 3
5
4
n
−
−
การจัดรูป an เชนนี้ก็ยังคงใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตไมไดเชนเดียวกัน เพราะ
lim (2n 3)
n
−
→∞
หาคาไมได
จะเห็นไดวาการจัดรูป an ทั้งสองแบบไมสามารถชวยสรุปไดวา na เปนลําดับลูเขาหรือลู
ออกโดยใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตได จึงตองใชวิธีอื่นพิจารณา เชน การพิจารณาคาของ an
โดยตรง หรือจากกราฟของลําดับ an เปนตน
10. จากบทนิยามของอนุกรมจะเห็นวา อนุกรมไดจากการบวกพจนทุกพจนของลําดับ
และในการศึกษาเรื่องลิมิตของอนุกรมไดแบงอนุกรมออกเปน 2 ประเภท เชนเดียวกับลําดับ คือ
อนุกรมลูเขาและอนุกรมลูออก จากตัวอยางของอนุกรมลูเขาจะเห็นวา อนุกรมลูเขามักจะไดจาก
ลําดับลูเขา บางคนอาจจะเขาใจอยางไมถูกตองวา ลําดับลูเขาทุกลําดับเมื่อนํามาเขียนเปนอนุกรม
จะไดอนุกรมลูเขาเสมอ ซึ่งเปนขอที่ควรระวังอยางยิ่งดังตัวอยางตอไปนี้
(1) 1, 1, 1, ..., 1, ... เปนลําดับลูเขาที่มีลิมิตเปน 1
1 + 1 + 1 + ...+ 1 + ... เปนอนุกรมลูออก
(2) 1, 1
2
, 1
4
, ..., n 1
1
2 −
, ... เปนลําดับลูเขาที่มีลิมิตเปน 0
n 1
1 1 1
1 ... ...
2 4 2 −
+ + + + + เปนอนุกรมลูเขา และผลบวกของ
อนุกรมนี้มีคาเปน 2
(3) 1 1 1
1, , ,..., ,...
2 3 n
เปนลําดับลูเขาที่มีลิมิตเปน 0
1 1 1
1 ... ...
2 3 n
+ + + + + เปนอนุกรมลูออก
การแสดงวาอนุกรม 1 1 1
1 ... ...
2 3 n
+ + + + + เปนอนุกรมลูออกนั้น จะตองพิสูจนไดวา
ลําดับผลบวกยอยไมมีลิมิต แตวิธีการพิสูจนคอนขางยุงยากในที่นี้จะแสดงคาของพจนแรก ๆ บาง
พจนของลําดับผลบวกยอยเพื่อใหเห็นวา เมื่อมีจํานวนพจนมากเขาผลบวกยอยจะมากขึ้นไดเรื่อย ๆ
ดังนี้
6
S1 = 1
S2 = 1
1
2
+
S3 = 1 1
1
2 3
+ +
S4 = 1 1 1
1
2 3 4
+ + +
แต 1 1 1
1
2 3 4
+ + + > 1 1 1
1
2 4 4
+ + +
> 2
ดังนั้น S4 > 2
S8 = 1 1 1 1 1 1 1
1
2 3 4 5 6 7 8
+ + + + + + +
แต 1 1 1 1 1 1 1
1
2 3 4 5 6 7 8
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
+ + + + + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
> 1 1 1 1 1 1 1
1
2 4 4 8 8 8 8
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
+ + + + + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
> 1
2
2
ดังนั้น S8 > 1
2
2
S16 = 1 1 1 1 1 1 1
1
2 3 4 5 6 7 8
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
+ + + + + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
1 1 1 1 1 1 1 1
9 10 11 12 13 14 15 16
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
+ + + + + + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
S16 > 1 1 1 1 1 1 1
1
2 4 4 8 8 8 8
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
+ + + + + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
1 1 1 1 1 1 1 1
16 16 16 16 16 16 16 16
⎛ ⎞
+ + + + + + + +⎜ ⎟
⎝ ⎠
S16 > 3
จะพบวา S4 (ผลบวก 4 พจนแรก) มากกวา 2
S8 (ผลบวก 8 พจนแรก) มากกวา 1
2
2
S16 (ผลบวก 16 พจนแรก) มากกวา 3
S32 (ผลบวก 32 พจนแรก) มากกวา 1
3
2
S64 (ผลบวก 64 พจนแรก) มากกวา 4
และผลบวกยอยจะมีคามากขึ้นเรื่อย ๆ ไปไมมีที่สิ้นสุด
11. จากการศึกษาเรื่องอนุกรมเลขคณิต จะเห็นวาอนุกรมอนันตที่เปนอนุกรมเลขคณิต
สวนมากเปนอนุกรมลูออก จะทําใหบางคนคิดวาอนุกรมอนันตที่เปนอนุกรมเลขคณิตทุกอนุกรม
7
เปนอนุกรมลูออก แตความจริงแลวมีอนุกรมอนันตที่เปนอนุกรมเลขคณิตและเปนอนุกรมลูเขา คือ
อนุกรม 0 + 0 + 0 + ... + 0 + ... ซึ่งเปนอนุกรมเลขคณิตที่มี a1 = 0 และ d = 0 และมีผลบวก
เปน 0
12. ผูสอนควรย้ํากับผูเรียนวาการพิจารณาอนุกรมวาเปนอนุกรมลูเขาหรือลูออกตอง
พิจารณาจากลําดับของผลบวกยอยของอนุกรมเปนหลัก เชน
พิจารณาอนุกรม 1 – 1 + 1 – 1 + ... + (–1)n–1
+ ... จะเห็นวาลําดับของผลบวกยอย
ของอนุกรมนี้คือ 1, 0, 1, 0, 1, ... ซึ่งเปนลําดับลูออก
ดังนั้น อนุกรม 1 – 1 + 1 – 1 + ... + (–1)n–1
+ ... จึงเปนอนุกรมลูออก
ผูสอนควรเสนอแนะเพิ่มเติมวา อาจมีบางคนเขียนจัดรูปอนุกรมขางตนใหมดังนี้
1 – 1 + 1 – 1 + ... + (–1)n–1
+ ... = (1 – 1) + (1 – 1) + (1 – 1) + ...
ซึ่งจะไดอนุกรม 0 + 0 + 0 + 0 + ... + 0 + ... เปนอนุกรมลูเขา ที่มีผลบวกเปน0
หรือบางคนอาจเขียนจัดรูปอนุกรมขางตนใหมดังนี้
1 – 1 + 1 – 1 + ... + (–1)n–1
+ ... = 1 + (–1 + 1) + (–1 + 1) + (–1 + 1) + ...
ซึ่งจะไดอนุกรม 1 + 0 + 0 + 0 + 0 + ... เปนอนุกรมลูเขา ที่มีผลบวกเปน 1
ผูสอนควรชี้แนะใหผูเรียนเขาใจใหไดวาการเขียนจัดรูปอนุกรมขางตนทั้งสองแบบ
แลวสรุปวา อนุกรม 1 – 1 + 1 – 1 + ... + (–1)n–1
+ ... เปนอนุกรมลูเขานั้นไมถูกตอง
13. ในบทเรียนนี้มุงใหพิจารณาอนุกรมอนันตเฉพาะอนุกรมเรขาคณิตหรืออนุกรมที่
อาจจะหาพจนที่ n ของลําดับผลบวกยอยไดไมยากนัก กลาวคือ ถาเปนอนุกรมเรขาคณิตก็
พิจารณาอัตราสวนรวม r และถา r 1< ก็สามารถหาผลบวกจากสูตร S = 1a
1 r−
สวนอนุกรม
ที่ไมใชอนุกรมเรขาคณิตนั้น ใหหาผลบวกโดยการหาลําดับของผลบวกยอยกอน นั่นคือ จะตอง
หาพจนที่ n ของลําดับผลบวกยอยนั้น แลวจึงหาลิมิตของลําดับผลบวกยอย
14. ในบทเรียนนี้ไดนําเสนออนุกรมประเภทหนึ่งซึ่งมีความสําคัญและนาสนใจเรียกวา
อนุกรมเทเลสโคป (telescoping series)
อนุกรมเทเลสโคป คือ อนุกรม a1 + a2 + a3 + ... + an + ... ที่สามารถเขียนอยูในรูป
a1 + a2 + a3 + ... + an + ... = (b1 – b2) + (b2 – b3) + (b3 – b4) + ... + (bn – bn+1) + ...
เมื่อ a1 = b1 – b2
a2 = b2 – b3
a3 = b3 – b4
an = bn – bn+1
ดังนั้น a1 + a2 + a3 ... + an = b1 – bn+1
8
ผูสอนควรเนนลักษณะพิเศษของอนุกรมประเภทนี้ใหผูเรียนทราบ ตัวอยางของอนุกรม
เทเลสโคปในหนังสือเรียน ดังเชน
1 1 1 1
...
1 2 2 3 3 4 n(n 1)
+ + + +
⋅ ⋅ ⋅ +
= 1 1 1 1 1 1 1
1 ...
2 2 3 3 4 n n 1
⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞
− + − + − + + −⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟
+⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠
= 1
1
n 1
−
+
( )
22
3 5 7 2n 1
...
1 4 4 9 9 16 n n 1
+
+ + + +
⋅ ⋅ ⋅ +
=
( )
22
1 1 1 1 1 1
...
1 4 4 9 n n 1
⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ ⎟− + − + + −⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠ +⎝ ⎠
=
( )
2
1
1
n 1
−
+
15. ผูสอนอาจจะแนะนําสัญลักษณ ∑ ในหัวขอเรื่องสัญลักษณแทนการบวก ไปพรอม
กับหัวขอเรื่องผลบวกของอนุกรมอนันตเลยก็ได หากพิจารณาแลวเห็นวาสอดคลองกับแนว
ทางการจัดการเรียนการสอนที่ปฏิบัติอยู
16. ในหนังสือเรียนหัวขอ 1.2.2 ไดกลาวถึงสมบัติของ ∑ ที่ควรทราบไว สมบัติ
เหลานั้นแสดงใหเห็นจริงไดโดยงาย ผูสอนควรเชิญชวนใหผูเรียนทดลองพิสูจนสมบัติตาง ๆ ดวย
ตนเอง ดังนี้
(1)
n
i 1
c
=
∑ = nc เมื่อ c เปนคาคงตัว
n
i 1
c
=
∑ = c + c + c + ... + c
= nc
(2)
n
i
i 1
ca
=
∑ =
n
i
i 1
c a
=
∑ เมื่อ c เปนคาคงตัว
n
i
i 1
ca
=
∑ = ca1 + ca2 + ca3 + ... + can
= c(a1 + a2 + a3 + ... + an)
=
n
i
i 1
c a
=
∑
(3)
n
i i
i 1
(a b )
=
+∑ =
i 1
n n
i i
i 1
a b
==
+∑ ∑
n
i i
i 1
(a b )
=
+∑ = (a1 + b1) + (a2 + b2) + (a3 + b3) + ... + (an + bn)
= (a1 + a2 + a3 + ... + an) + (b1 + b2 + b3 + ... + bn)
=
n n
i i
i 1 i 1
a b
= =
+∑ ∑
n พจน
9
ในทํานองเดียวกันจะแสดงไดวา
n
i i
i 1
(a b )
=
−∑ =
n n
i i
i 1 i 1
a b
= =
−∑ ∑
17. ในการหาผลบวก
n
i 1
i
=
∑ นอกจากวิธีที่แสดงไวในหนังสือเรียนแลว ยังแสดงไดโดยวิธี
เดียวกันกับที่ใชหาสูตรของ
n
2
i 1
i
=
∑ หรือ
n
3
i 1
i
=
∑ ดังนี้
เนื่องจาก n2
– (n – 1)2
= 2n – 1 -----(1)
(n – 1)2
– (n – 2)2
= 2(n – 1) – 1 -----(2)
(n – 2)2
– (n – 3)2
= 2(n – 2) – 1 -----(3)
32
– 22
= 2(3) – 1 -----(n–2)
22
– 12
= 2(2) – 1 -----(n–1)
12
– 02
= 2(1) – 1 -----(n)
(1) + (2) + (3) + ...+ (n) จะได n2
=
n n
i 1 i 1
2 i 1
= =
−∑ ∑
=
n
i 1
2 i n
=
−∑
ดังนั้น
n
i 1
i
=
∑ =
2
n n
2
+
= n(n 1)
2
+
หลังจากศึกษาที่มาของสูตร
n
i 1
i
=
∑ , 2
n
i 1
i
=
∑ , 3
n
i 1
i
=
∑ แลว ผูสอนอาจถามผูเรียนตอวา
การหาสูตร 4
n
i 1
i
=
∑ หรือ 5
n
i 1
i
=
∑ จะดําเนินการตามวิธีการเดิมไดหรือไม ผูสอนอาจแนะนําให
ผูเรียนเริ่มตนจาก n5
– (n – 1)5
และ n6
– (n – 1)6
ตามลําดับ
18. แบบฝกหัด 1.2 ข ขอ 7 และขอ 9 อาจจะยากเกินไปหากผูเรียนไมสามารถจัดรูปใหม
ได ดังนั้น ผูสอนควรใหคําแนะนําเบื้องตนในแตละขอดังนี้
7(1)
( )
1
n n 1+
= 1 1
n n 1
−
+
7(2)
( )( )
1
2n 1 2n 1− +
= 1 1 1
2 2n 1 2n 1
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
− +⎝ ⎠
7(3)
( )( )
1
n n 1 n 2+ +
=
( ) ( )( )
1 1 1
2 n n 1 n 1 n 2
⎛ ⎞
−⎜ ⎟⎜ ⎟+ + +⎝ ⎠
7(4)
( )
1
n n 2+
= 1 1 1
2 n n 2
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
+⎝ ⎠
9(1)
( )
22
2n 1
n n 1
+
+
=
( )
22
1 1
n n 1
−
+
10
กิจกรรมแสนอแนะ
ลิมิตของลําดับ
กิจกรรมที่ 1
ผูสอนและผูเรียนชวยกันเขียนกราฟของลําดับ an ตอไปนี้บนกระดานดํา หรือใชโปรแกรม
ประเภทตารางทํางาน เชน Microsoft Excel
(1) an = n
1
2
(2) an = 2
(3) an =
n( 1)
1
n
−
+
(4) an = 2n – 1
(5) an = (–1)n+1
จากนั้นชวยกันพิจารณากราฟของลําดับ an เมื่อ n มีคามากขึ้นโดยไมมีที่สิ้นสุด คาของ
พจนที่ n ของลําดับ จะมีคาเขาใกลจํานวนจริงใดหรือไม ซึ่งผูเรียนควรบอกไดวา
สําหรับ ลําดับในขอ (1) คาของพจนที่ n จะเขาใกล 0
ลําดับในขอ (2) คาของพจนที่ n จะเปน 2 เสมอ
ลําดับในขอ (3) คาของพจนที่ n จะเขาใกล 1
ลําดับในขอ (4) คาของพจนที่ n จะมากขึ้นเรื่อย ๆ
ลําดับในขอ (5) คาของพจนที่ n จะเปน 1 เมื่อ n เปนจํานวนคี่ และ
เปน –1 เมื่อ n เปนจํานวนคู
ผูสอนเสนอแนะผูเรียนวาลําดับในขอ (1), (2) และ (3) คาของพจนที่ n จะเขาใกลหรือ
เทากับจํานวนจริงเพียงจํานวนเดียวเทานั้น ในกรณีที่พจนที่ n ของลําดับมีคาเขาใกลหรือเทากับ
จํานวนจริง L เพียงจํานวนเดียวเทานั้น เมื่อ n มีคามากขึ้นโดยไมมีที่สิ้นสุด จะเรียก L วาเปนลิมิต
ของลําดับนั้น หรือกลาววาลําดับนั้นมีลิมิตเปน L สวนลําดับที่ไมมีสมบัติเชนนี้จะเปนลําดับที่ไมมี
ลิมิต ผูสอนใหผูเรียนบอกวาลําดับขางตนลําดับใดบางมีลิมิตและลิมิตเปนเทาใด ลําดับใดไมมีลิมิต
ซึ่งผูเรียนควรบอกไดวา ลําดับในขอ (1) มีลิมิตเปน 0 ลําดับในขอ (2) มีลิมิตเปน 2 และลําดับใน
ขอ (3) มีลิมิตเปน 1
ผูสอนทบทวนผูเรียนเกี่ยวกับลําดับที่มีลิมิตเรียกวา ลําดับลูเขา สวนลําดับที่ไมมีลิมิต
เรียกวาลําดับลูออก แลวผูสอนใหผูเรียนบอกวาลําดับทั้งหาลําดับขางตน ลําดับใดเปนลําดับลูเขา
และลําดับใดเปนลําดับลูออก ซึ่งผูเรียนควรบอกไดวา ลําดับในขอ (1), (2) และ (3) เปนลําดับลู
เขา ลําดับในขอ (4) และ (5) เปนลําดับลูออก
11
กิจกรรมที่ 2
ผูสอนอาจใชการพับกระดาษแสดงความหมายของลิมิตของลําดับบางลําดับไดดังตอไปนี้
เชน พิจารณาลําดับ 1, 1
2
, 1
4
, 1
8
, 1
16
, 1
32
, …
1
1
2
1
4
1
8
1
16
1
32
ผูสอนอธิบายวาถาพับกระดาษตอไปอีก จะไดความยาวของกระดาษนอยลงเรื่อย ๆ จน
เกือบเปน 0 แสดงวา ถา n มีคามากขึ้นโดยไมมีที่สิ้นสุด พจนที่ n ของลําดับจะเขาใกล 0 และ
กลาวไดวา ลิมิตของลําดับขางตนเทากับ 0
อนุกรมอนันต
กิจกรรมที่ 3
ผูสอนอาจประยุกตใชกิจกรรมตอไปนี้นําเขาเรื่องอนุกรมอนันตได ใหผูเรียนปฏิบัติ
ตามลําดับขั้นและตอบคําถามตอไปนี้
ขั้นที่ 1 ตัดกระดาษขนาด A4 เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาสามรูปที่เทากัน ดังรูป
12
ขั้นที่ 2 แยกสวนที่หนึ่งไวกองหนึ่ง สวนที่สองไวอีกกองหนึ่ง เก็บสวนที่สามไวในมือ
ขั้นที่ 3 ทําซ้ําขั้นที่ 1 และ 2 กับกระดาษสวนที่สามที่อยูในมือไปเรื่อย ๆ
1. สมมติวากระดาษ A4 มีพื้นที่ 1 ตารางหนวย และสมมติวาสามารถตัดกระดาษซ้ํา
ตอไปไดอีกอยางตอเนื่องไมสิ้นสุด จะมีกระดาษในกองที่หนึ่งเทาไร กองที่สองเทาไร และมี
เหลืออยูในมือเทาไร ใหเขียนผลบวกของเศษสวนที่ใชแทนพื้นที่ของกระดาษที่มีอยูในแตละกอง
ผูเรียนควรตอบไดวา จะมีกระดาษในกองที่หนึ่งและกองที่สองเทากันคือเทากับ
2 3 4
1 1 1 1
...
3 3 3 3
+ + + + ตารางหนวย และกระดาษที่อยูในมือจะชิ้นเล็กลงเรื่อย ๆ จนไมสามารถตัด
ไดจริง ๆ
2. สมมติวาสามารถตัดกระดาษซ้ําตอไปไดอีกอยางตอเนื่องอยางไมสิ้นสุด เศษสวนในขอ 1
จะมีอยูอยางจํากัดหรือนับไมถวน และผลบวกของเศษสวนเหลานั้นหาคาไดหรือไม
ผูเรียนควรตอบไดวา เศษสวนในขอ 1 มีอยูอยางไมจํากัด แตผลบวกของเศษสวนเหลานั้น
ยังไมแนใจวาจะหาไดหรือไม
3. อนุกรมอนันต คือ ผลบวกของจํานวนหลาย ๆ จํานวน นับไมถวน เชน 1 + 2 + 3 + 4
+ 5 + ... + n + ... เปนอนุกรมอนันต อนุกรมนี้สามารถหาผลบวกเปนจํานวน ๆ หนึ่งไดหรือไม
ผูเรียนควรตอบไดวา ไมสามารถหาผลบวกดังกลาวได
4. ถาอนุกรมอนันตไมสามารถหาผลบวกเปนจํานวน ๆ หนึ่งได เรียกอนุกรมนั้นวา
อนุกรมลูออก เชน อนุกรมในขอ 3 เปนอนุกรมลูออก อนุกรม 2 3 4
1 1 1 1
...
2 2 2 2
+ + + + ลูออก
หรือไม ใหสรางแบบจําลองการตัดกระดาษคลาย ๆ กับที่ทํามาแลว
อนุกรม 2 3 4
1 1 1 1
...
2 2 2 2
+ + + + ยังไมแนใจวาจะหาผลบวกไดหรือไม แบบจําลองการ
ตัดกระดาษไปเรื่อย ๆ ซึ่งแทนอนุกรม 2 3 4
1 1 1 1
...
2 2 2 2
+ + + + ในขอ 4 เปนดังนี้
1
2
2
1
2
3
1
2
4
1
2
13
กิจกรรมที่ 4
การหาสูตร
n
i 1
i
=
∑ นอกจากจะใชวิธีทางพีชคณิตดังที่ปรากฏในหนังสือเรียนแลว ผูสอน
อาจเพิ่มความนาสนใจใหผูเรียนโดยใชพื้นที่สรุปการหาผลบวกของ i ไดอีกวิธีหนึ่งดังนี้
กําหนดใหรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเล็ก ๆ 1 รูป มีพื้นที่ 1 ตารางหนวย
รูปที่ 1
จะเห็นวารูปที่ 1 มีพื้นที่เทากับ 1 + 2 + 3 + 4 ตารางหนวย
ถานํารูปที่ 1 จํานวนสองรูปมาประกอบกัน จะไดรูปสี่เหลี่ยมผืนผาหนึ่งรูป ดังนี้
รูปสี่เหลี่ยมผืนผาที่ไดมีพื้นที่เปนสองเทาของรูปที่ 1 และมีพื้นที่เทากับ 4 5× ตารางหนวย
ดังนั้น จึงได 4 5× = 2(1 + 2 + 3 + 4)
4 5
2
×
= 1 + 2 + 3 + 4
ในทํานองเดียวกัน เมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวก และตองการหาคาของ 1 + 2 + 3 + ... + n
ก็พิจารณาจากพื้นที่ได
4
4
4
5
n
n
n
n + 1
14
จะเห็นวารูปซาย มีพื้นที่เทากับ 1 + 2 + 3 + 4 + ... + n ตารางหนวย
ถานํารูปซายจํานวนสองรูปมาประกอบกัน จะไดรูปสี่เหลี่ยมผืนผาหนึ่งรูปที่มีความยาว
n + 1 หนวย และความกวาง n หนวย
รูปสี่เหลี่ยมผืนผามีพื้นที่เปนสองเทาของรูปซาย และมีพื้นที่เทากับ n(n 1)+ ตารางหนวย
ดังนั้น จึงได n(n 1)+ = 2(1 + 2 + 3 + 4 + ... + n)
=
n
i 1
2 i
=
∑
n
i 1
i
=
∑ = n(n 1)
2
+
ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
1. ลําดับตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลูออก
(1) an = 2n
5n 3−
(2) an =
2
2
1 n
2 3n
−
+
(3) an =
2
3 2
n n 7
2n n
− +
+
(4) an =
n
9
1
10
⎛ ⎞
+ ⎜ ⎟
⎝ ⎠
(5) an =
n
1
2
2
⎛ ⎞
− −⎜ ⎟
⎝ ⎠
(6) an = 1 + (–1)n
2. จงตัดสินวาลําดับตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลูออก โดยพิจารณาคาของพจนตาง ๆ ในลําดับ
โดยตรง หรือใชเครื่องคํานวณชวยเขียนกราฟของลําดับ หรือใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต
(1) an = n 2
n 13
−
+
(2) an = n 1 1
( 1)
n
+
−
3. เขียน 0.249 ใหอยูในรูปเศษสวน
4. จงหาคา
(1) n
n 1
2
3
∞
=
∑ (2) 2
k 1
1
4k 1
∞
= −
∑
(3)
n n
n
n 0
2 7
9
∞
=
+
∑ (4)
k 1
6 6
4k 1 4k 3
∞
=
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
− +⎝ ⎠
∑
5. อนุกรม 1 1 1 1
... ...
1 5 2 6 3 7 n(n 4)
+ + + + +
⋅ ⋅ ⋅ +
เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก
6. การเลนบันจีจัมป (bungee jump) เปนกิจกรรมทาทายที่ผูเลนกระโดดลงมาจากที่สูงโดยมีปลาย
เชือกดานหนึ่งผูกติดลําตัวหรือหัวเขาของผูเลน ปลายเชือกอีกดานหนึ่งผูกติดไวกับฐานกระโดด
ชายคนหนึ่งใชเชือกยาว 250 ฟุต กระโดดบันจีจัมปจากฐานกระโดด และพบวาหลังจากใน
แตละครั้งที่เขาดิ่งลงถึงตําแหนงต่ําสุด เชือกที่มีความยืดหยุนสูงจะดึงตัวเขาใหลอยขึ้นเปน
ระยะทาง 55% ของระยะทางที่เขาดิ่งลงถึงตําแหนงต่ําสุด จงหาระยะทางที่ชายคนนี้เคลื่อนที่
ลอยขึ้นและดิ่งลงทั้งหมด
15
เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
1. (1) n
2n
lim
5n 3→∞ −
= n
2n
lim
3
n 5
n
→∞ ⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
= n
2
lim
3
5
n
→∞
−
เนื่องจาก n
lim 2
→∞
= 2 และ n
3
lim 5
n→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 5
จะได n
2
lim
3
5
n
→∞
−
= n
n
lim 2
3
lim 5
n
→∞
→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 2
5
ดังนั้น ลําดับ n
2n
a
5n 3
=
−
เปนลําดับลูเขา และ n
2n
lim
5n 3→∞ −
= 2
5
(2)
2
2n
1 n
lim
2 3n→∞
−
+
=
2
2
2
2
n
1
n 1
n
lim
2
n 3
n
→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
2
2
n
1
1
nlim
2
3
n
→∞
−
+
เนื่องจาก 2n
1
lim 1
n→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
= –1 และ 2n
2
lim 3
n→∞
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 3
จะได
2
2
n
1
1
nlim
2
3
n
→∞
−
+
=
2
2
n
n
1
lim 1
n
2
lim 3
n
→∞
→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1
3
−
ดังนั้น ลําดับ
2
n 2
1 n
a
2 3n
−
=
+
เปนลําดับลูเขา และ
2
2n
1 n
lim
2 3n→∞
−
+
= 1
3
−
(3)
2
2 2n
n n 7
lim
2n n→∞
− +
+
=
3
2 3
3
n
1 1 7
n
n n n
lim
1
n 2
n
→∞
⎛ ⎞
− +⎜ ⎟
⎝ ⎠
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
2 3
n
1 1 7
n n nlim
1
2
n
→∞
− +
+
เนื่องจาก 3 3n
1 1 7
lim
n n n→∞
⎛ ⎞
− +⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 0 และ n
1
lim 2
n→∞
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 2
จะได
2 3
n
1 1 7
n n nlim
1
2
n
→∞
− +
+
= 0
2
= 0
ดังนั้น ลําดับ
2
n 2 2
n n 7
a
2n n
− +
=
+
เปนลําดับลูเขา และ
2
3 2n
n n 7
lim
2n n→∞
− +
+
= 0
(4) เนื่องจาก n
lim 1
→∞
= 1 และ
n
n
9
lim
10→∞
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 0
จะได
n
n
9
lim 1
10→∞
⎛ ⎞⎛ ⎞
+⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
=
n
n n
9
lim 1 lim
10→∞ →∞
⎛ ⎞
+ ⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1 + 0
ดังนั้น ลําดับ an =
n
9
1
10
⎛ ⎞
+ ⎜ ⎟
⎝ ⎠
เปนลําดับลูเขา และ
n
n
9
lim 1
10→∞
⎛ ⎞⎛ ⎞
+⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
= 1
16
(5) เนื่องจาก n
lim 2
→∞
= 2 และ
n
n
1
lim
2→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 0
จะได
n
n
1
lim 2
2→∞
⎛ ⎞⎛ ⎞
− −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
=
n
n n
1
lim 2 lim
2→∞ →∞
⎛ ⎞
− −⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 2 – 0 = 2
ดังนั้น an =
n
1
2
2
⎛ ⎞
− −⎜ ⎟
⎝ ⎠
เปนลําดับลูเขา และ
n
n
1
lim 2
2→∞
⎛ ⎞⎛ ⎞
− −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
= 2
(6) ลําดับนี้คือ 0, 2, 0, 2, ... ซึ่งไมมีลิมิต ดังนั้น ลําดับนี้เปนลําดับลูออก
2. (1) พิจารณาคาของ an โดยตรง เมื่อ n มีคามากขึ้น n – 2 และ n +13 มีคาใกลเคียงกัน
มาก ลิมิตของลําดับ an = n 2
n 13
−
+
จึงเทากับ 1
ใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตเพื่อสนับสนุนการพิจารณาขางตนดังนี้
n
n 2
lim
n 13→∞
−
+
= n
2
n 1
n
lim
13
n 1
n
→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= n
2
1
nlim
13
1
n
→∞
−
+
เนื่องจาก n
2
lim 1
n→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1 และ n
13
lim 1
n→∞
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1
จะได n
2
1
nlim
13
1
n
→∞
−
+
=
n
n
2
lim 1
n
13
lim 1
n
→∞
→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1
1
= 1
ดังนั้น ลําดับ n
n 2
a
n 13
−
=
+
เปนลําดับลูเขา และ n
n 2
lim
n 13→∞
−
+
= 3
(2) คํานวณหาแตละพจนของลําดับ an = n 1 1
( 1)
n
+
− ไดลําดับ 1 1 1 1
1, , , , , ...
2 3 4 5
− −
จากนั้นพิจารณาคาของ an โดยตรง หรือเขียนกราฟของลําดับ an โดยใชโปรแกรม
ประเภทตาราง เชน Microsoft Excel มาชวย จะไดกราฟดังรูป
-0.4
-0.2
0
0.4
0.8
1
2 4 6 10
0.6
0.2
an
n8
17
จากกราฟ จะเห็นวา an จะเขาใกล 0 เมื่อ n มีคามากขึ้นโดยไมมีที่สิ้นสุด
ดังนั้น ลําดับ an = n 1 1
( 1)
n
+
− เปนลําดับลูเขา และ n 1
n
1
lim ( 1)
n
+
→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 0
3. 0.249 = 0.24999...
= 0.24 + 0.009 + 0.0009 + 0.00009 + ...
= 3 4 5
9 9 9
0.24 ...
10 10 10
+ + + +
3 4 5
9 9 9
...
10 10 10
+ + + เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี a1 = 3
9
10
และ r = 1
10
เนื่องจาก r = 1
10
< 1 อนุกรม 3 4 5
9 9 9
...
10 10 10
+ + + เปนอนุกรมลูเขา
และมีผลบวกเทากับ 1a
1 r−
=
3
9
10
1
1
10
−
=
3
9
10
9
10
= 1
100
= 0.01
ดังนั้น 0.249 = 0.24 + 0.01 = 0.25 = 1
4
4. (1) n
n 1
2
3
∞
=
∑ = 2 3 n
2 2 2 2
... ...
3 3 3 3
+ + + + +
เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี a1 = 2
3
และ r = 1
3
เนื่องจาก r = 1
3
= 1
3
< 1 อนุกรมนี้เปนอนุกรมลูเขา
และมีผลบวกเทากับ 1a
1 r−
=
2
3
1
1
3
−
= 1
ดังนั้น n
n 1
2
3
∞
=
∑ = 1
(2) ให Sn =
n
2
k 1
1
4k 1= −
∑
เนื่องจาก 2
1
4k 1−
= 2
1
(2k) 1−
= 1
(2k 1)(2k 1)− +
จะได Sn =
n
k 1
1 1 1
2 2k 1 2k 1=
⎛ ⎞⎛ ⎞
−⎜ ⎟⎜ ⎟
− +⎝ ⎠⎝ ⎠
∑
=
n
k 1
1 1 1
2 2k 1 2k 1=
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
− +⎝ ⎠
∑
= 1 1 1 1 1 1 1 1
1 ...
2 3 3 5 5 7 2n 1 2n 1
⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞
− + − + − + + −⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟
− +⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠
18
= 1 1
1
2 2n 1
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
+⎝ ⎠
n
n
lim S
→∞
= n
1 1
lim 1
2 2n 1→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
+⎝ ⎠
= 1
2
ดังนั้น 2
k 1
1
4k 1
∞
= −
∑ = 1
2
(3)
n n
n
n 0
2 7
9
∞
=
+
∑ =
n
n
n 0
2
9
∞
=
∑ +
n
n
n 0
7
9
∞
=
∑
=
n
n 0
2
9
∞
=
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
∑ +
n
n 0
7
9
∞
=
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
∑
= 1
2
1
9
−
+ 1
7
1
9
−
= 9 9 18 63 81
7 2 14 14
+
+ = =
n n
n
n 0
2 7
9
∞
=
+
∑ = 81
14
(4) ให Sn =
n
k 1
6 6
4k 1 4k 3=
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
− +⎝ ⎠
∑
จะได Sn =
n
k 1
6 6
4k 1 4k 3=
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
− +⎝ ⎠
∑
= 6 6 6 6 6 6 6
2 ...
7 7 11 11 15 4n 1 4n 3
− + − + − + + −
− +
⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠
= 6
2
4n 3
−
+
n
n
lim S
→∞
= n
6
lim 2
4n 3→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
+⎝ ⎠
= 2
ดังนั้น
k 1
6 6
4k 1 4k 3=
∞ ⎛ ⎞
−⎜ ⎟
− +⎝ ⎠
∑ = 2
5. พิจารณา 1
k(k 4)+
= 1 1 1
4 k k 4
−
+
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
ดังนั้น Sn = 1 1 1 1
...
1 5 2 6 3 7 n(n 4)
+ + + +
⋅ ⋅ ⋅ +
= 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1
1
4 5 2 6 3 7 4 8 5 9 6 10
− + − + − + − + − + − +
⎛⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜
⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝
1 1 1 1
...
7 11 n n 4
− + + −
+
⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎠
= 1 1 1 1 1 1 1 1 1
1
4 2 3 4 4 n 1 n 2 n 3 n 4
+ + + + − − − −
+ + + +
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
19
เนื่องจาก n
n
lim S
→∞
= n
1 1 1 1 1 1 1 1 1
1
4 2 3 4 4 n 1 n 2 n 3 n 4
lim
→∞
+ + + + − − − −
+ + + +
⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠
= 1 1 1 1
1
4 2 3 4
+ + +
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 25
48
ดังนั้น อนุกรม 1 1 1 1
... ...
1 5 2 6 3 7 n(n 4)
+ + + + +
⋅ ⋅ ⋅ +
เปนอนุกรมลูเขา และมีผลบวกเทากับ 25
48
6. ระยะทางที่ชายคนนี้เริ่มกระโดดจนถึงตําแหนงต่ําสุดมีระยะทาง 250 ฟุต
ชายคนนี้จะลอยขึ้นสูงเปนระยะทาง 55% ของระยะทางที่เขาดิ่งลงถึงตําแหนงต่ําสุด
มีคาเทากับ ของระยะทางที่เขาดิ่งลงถึงตําแหนงต่ําสุด
ระยะทางที่ชายคนนี้ลอยขึ้นครั้งที่ 1 แลวดิ่งลงถึงตําแหนงต่ําสุดมีระยะทาง
คือ
ระยะทางที่ชายคนนี้ลอยขึ้นครั้งที่ 2 แลวดิ่งลงถึงตําแหนงต่ําสุดมีระยะทางคือ
ระยะทางที่ชายคนนี้ลอยขึ้นแลวดิ่งลงเปนเชนนี้ไปเรื่อย ๆ
จะไดระยะทางที่ชายคนนี้เคลื่อนที่ลอยขึ้นและดิ่งลงทั้งหมดเทากับ
2 3
11 11 11
250 500 500 500 ...
20 20 20
+ + + +
⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠
=
2 3
11 11 11
250 500
20 20 20
...+
⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟+ + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠
=
11
20250 500
11
1
20
+
−
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎜ ⎟
⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 11
250 500
9
+
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 861.11
ดังนั้น ในการกระโดดบันจีจัมปครั้งนี้ ชายคนนี้เคลื่อนที่ลอยขึ้นและดิ่งลงเปนระยะทาง
ทั้งหมด 861.11 ฟุต
11
20
11 11 11
250 250 500 ฟุต20 20 20
⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠
+ =
211 11 11 11 11
250 250 500 ฟุต20 20 20 20 20
⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠
+ =
20
เฉลยแบบฝกหัด 1.1 ก
1. (1) a2 = a1 + 2 – 1 = 0 + 2 – 1 = 1
a3 = a2 + 3 – 1 = 1 + 3 – 1 = 3
a4 = a3 + 4 – 1 = 3 + 4 – 1 = 6
a5 = a4 + 5 – 1 = 6 + 5 – 1 = 10
ดังนั้น 5 พจนแรกของลําดับนี้คือ 0, 1, 3, 6, 10
(2) a2 = 1 + 0.05a1 = 1 + 0.05(1000) = 51
a3 = 1 + 0.05a2 = 1 + 0.05(51) = 3.55
a4 = 1 + 0.05a3 = 1 + 0.05(3.55) = 1.1775
a5 = 1 + 0.05a4 = 1 + 0.05(1.1775) = 1.058875
ดังนั้น 5 พจนแรกของลําดับนี้คือ 1000, 51, 3.55, 1.1775, 1.058875
(3) a2 = 6a1 = 6(2) = 12
a3 = 6a2 = 6(12) = 72
a4 = 6a3 = 6(72) = 432
a5 = 6a4 = 6(432) = 2592
ดังนั้น 5 พจนแรกของลําดับนี้คือ 2, 12, 72, 432, 2592
(4) a3 = a2 + 2a1 = 2 + 2(1) = 4
a4 = a3 + 2a2 = 4 + 2(2) = 8
a5 = a4 + 2a3 = 8 + 2(4) = 16
ดังนั้น 5 พจนแรกของลําดับนี้คือ 1, 2, 4, 8, 16
(5) a3 = a2 + a1 = 0 + 2 = 2
a4 = a3 + a2 = 2 + 0 = 2
a5 = a4 + a3 = 2 + 2 = 4
ดังนั้น 5 พจนแรกของลําดับนี้คือ 2, 0, 2, 2, 4
2. (1) เปนลําดับเลขคณิต มีผลตางรวมเปน 2
(2) เปนลําดับเรขาคณิต มีอัตราสวนรวมเปน –1
(3) เปนลําดับเลขคณิต มีผลตางรวมเปน –2
(4) เปนลําดับเรขาคณิต มีอัตราสวนรวมเปน 1
3
(5) ไมเปนทั้งลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต
21
3. (1) d = 4 – (–2) = 6
เนื่องจาก an = a1 + (n – 1)d
∴ an = –2 + (n – 1)6
= 6n – 8
พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = 6n – 8
(2) d = 1 1
6 6
⎛ ⎞
− −⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1
3
เนื่องจาก an = a1 + (n – 1)d
∴ an = 1 1
(n 1)
6 3
− + −
= 3 n
6 3
− +
= 2n 3
6
−
พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = 2n 3
6
−
(3) d = 1
13 11
2
− = 5
2
เนื่องจาก an = a1 + (n – 1)d
∴ an = 5
11 (n 1)
2
+ −
= 17 5n
2 2
+
= 5n 17
2
+
พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = 5n 17
2
+
(4) d = 22.54 – 19.74 = 2.8
เนื่องจาก an = a1 + (n – 1)d
∴ an = 19.74 + (n – 1)(2.8)
= 2.8n + 16.94
พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = 2.8n + 16.94
(5) d = (x + 2) – x = 2
เนื่องจาก an = a1 + (n – 1)d
∴ an = x + (n – 1)2
= x + 2n – 2
พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = x – 2 + 2n
22
(6) d = (2a + 4b) – (3a + 2b) = –a + 2b
เนื่องจาก an = a1 + (n – 1)d
∴ an = (3a + 2b) + (n – 1)(–a + 2b)
= 3a + 2b – na + 2nb + a – 2b
= 4a – na + 2nb
พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = 4a – na + 2nb
4. จะได 5p – p = 6p + 9 – 5p
4p = p + 9
3p = 9
p = 3
จะได สามพจนแรกของลําดับนี้คือ 3, 15, 27 ลําดับนี้มีผลตางรวมเปน 12
ดังนั้น สี่พจนตอไปของลําดับนี้คือ 39, 51, 63, 75
5. ใหลําดับนี้มีสามพจนแรกคือ a – d, a, a + d
จะได a – d + a + a + d = 12 ---------- (1)
และ (a – d)3
+ a3
+ (a + d)3
= 408 ---------- (2)
จาก (1) 3a = 12
a = 4
จาก (2), a3
– 3a2
d + 3ad2
– d3
+ a3
+ a3
+ 3a2
d + 3ad2
+ d3
= 408
3a3
+ 6ad2
= 408
3(4)3
+ 24d2
= 408
24d2
= 408 – 192
d2
= 216
24
= 9
d = 3 หรือ –3
ถา d = 3 แลว จะไดลําดับนี้คือ 1, 4, 7, 10, 13, ...
ถา d = –3 แลว จะไดลําดับนี้คือ 7, 4, 1, –2, –5, ...
6. (1) r = 6
3
−
−
= 2
เนื่องจาก an = a1rn–1
∴ an = (–3)2n–1
พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = (–3)2n–1
23
(2) r = 5
10
−
= 1
2
−
เนื่องจาก an = a1rn–1
∴ an =
n 1
1
10
2
−
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an =
n 1
1
10
2
−
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
(3) r =
5
4
1
4
= 5
เนื่องจาก an = a1rn–1
∴ an = n 11
5
4
−⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = n 11
5
4
−⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
(4) r =
5
3
5
6
= 2
เนื่องจาก an = a1rn–1
∴ an = n 15
(2)
6
−⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = n 15
(2)
6
−⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
(5) r =
1
12
2
9
−
= 3
8
−
เนื่องจาก an = a1rn–1
∴ an =
n 1
2 3
9 8
−
⎛ ⎞⎛ ⎞
− −⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠
พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an =
n 1
2 3
9 8
−
⎛ ⎞⎛ ⎞
− −⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠
(6) r =
2 2
3
a b
ab
= a
b
เนื่องจาก an = a1rn–1
∴ an =
n 1
3 a
(ab )
b
−
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
24
=
n
4 n
a
b −
พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an =
n
4 n
a
b −
7. (1) ให a1 = –15 และ a5 = –1215
จะได a5 = a1r4
= –1215
–15r4
= –1215
r4
= 81
r = –3 หรือ r = 3
ดังนั้น สามพจนที่อยูระหวาง –15 กับ –1215 คือ 45, –135, 405 หรือ –45, –135, –405
(2) ให a1 = 4
3
และ a5 = 27
64
จะได a5 = a1r4
= 27
64
4
3
r4
= 27
64
r4
= 81
256
r = 3
4
หรือ r = 3
4
−
ดังนั้น 3 พจนที่อยูระหวาง 4
3
กับ 27
64
คือ 1, 3
4
, 9
16
หรือ –1, 3
4
, 9
16
−
8. ให a เปนจํานวนที่นําไปบวก
จะได 3 + a, 20 + a, 105 + a เปนลําดับเรขาคณิต
ดังนั้น 20 a
3 a
+
+
= 105 a
20 a
+
+
400 + 40a + a2
= 315 + 108a + a2
68a = 85
a = 85
68
= 5
4
จํานวนที่นําไปบวกคือ 5
4
25
เฉลยแบบฝกหัด 1.1 ข
1. (1) ลูออก
n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
an 1 0 –1 0 1 0 –1 0 1 0
(2) ลูเขา
n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
an 1 0 –0.333 0 0.2 0 –0.142 0 –0.111 0
-0.4
-0.2
0
0.2
0.4
0.6
0.8
1
1.2
0 5 10 15 20 25 30
an
n
-1.5
-1
-0.5
0
0.5
1
1.5
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
an
n
26
(3) ลูเขา
n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
an 2.5 1.666 1.25 1 0.833 0.714 0.625 0.555 0.5 0.454
(4) ลูออก
n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
an 2 2 2.666 4 6.4 10.666 18.285 32 56.888 102.4
n0
0.5
1
1.5
2
2.5
0
an
10 20 30
0
10
20
30
40
50
60
0 2 4 6 8
an
n
27
(5) ลูออก
n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
an 0 4 0 8 0 12 0 16 0 20
(6) ลูเขา
n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
an 3.5 3.75 3.875 3.937 3.968 3.984 3.992 3.996 3.998 3.999
0
5
10
15
20
25
30
35
40
0 5 10 15 20
an
n
3.4
3.5
3.6
3.7
3.8
3.9
4
4.1
0 2 4 6 8
an
n
28
(7) ลูเขา
n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
an 4 2 1 0.5 0.25 0.125 0.0625 0.03125 0.015625 0.0078125
(8) ลูเขา
n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
an 0.666 0.816 0.873 0.903 0.922 0.934 0.943 0.950 0.955 0.960
0
1
2
3
4
5
6
7
8
9
0 2 4 6 8
an
n
0
0.2
0.4
0.6
0.8
1
1.2
0 5 10 15 20
an
n
29
(9) ลูออก
n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
an –1.333 1.777 –2.370 3.160 –4.213 5.618 –7.491 9.988 –13.318 17.757
(10) ลูเขา
.n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
an 0.25 0.333 0.3 0.222 0.147 0.090 0.053 0.031 0.017 0.009
0
0.05
0.1
0.15
0.2
0.25
0.3
0.35
0 2 4 6 8 10 12
an
n
-15
-10
-5
0
5
10
15
20
0 2 4 6 8 10 12
an
n
30
2. ไมเห็นดวย เพราะเปนการสรุปที่ไมถูกตอง ถา xn และ yn เปนลําดับ การที่จะกลาววา
n
n
n
x
lim
y→∞
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= n
n
n
n
lim x
lim y
→∞
→∞
ไดนั้น ขอตกลงเบื้องตนเกี่ยวกับ n
n
lim x
→∞
และ n
n
lim y
→∞
ตองเปน
จริงกอน ขอกําหนดเบื้องตนนั้นคือ n
n
lim x
→∞
และ n
n
lim y
→∞
ตองหาคาได
ในกรณีนี้ ตองจัดรูป an และ bn กอนการใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต ดังนี้
จาก
4 22n n
43n 13
−
+
=
14n (2 )
2n
134n (3 )
4n
−
+
=
1
2
2n
13
3
4n
−
+
และเนื่องจาก 2n
1
lim(2 )
n→∞
− = 2 และ 4n
13
lim(3 )
n→∞
+ = 3
ดังนั้น
4 2
4n
2n n
lim
3n 13→∞
−
+
=
1
2
2nlim
n 13
3
4n
−
→∞
+
=
2n
4n
1
lim(2 )
n
13
lim(3 )
n
→∞
→∞
−
+
= 2
3
3. (1) n
8
lim
3n→∞
= n
8 1
lim
3 n→∞
= 8
(0)
3
= 0
ดังนั้น ลําดับ an = 8
3n
เปนลําดับลูเขา
(2) จาก
n
n
8
7
=
n
8
7
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
จะได
n
nn
8
lim
7→∞
=
n
n
8
lim
7→∞
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
n
n
8
lim
7→∞
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
หาคาไมได เพราะ 8
7
> 1
ดังนั้น ลําดับ an =
n
n
8
7
เปนลําดับลูออก
(3) n
( 1)− = 1 เมื่อ n เปนจํานวนคู และ n
( 1)− = –1 เมื่อ n เปนจํานวนคี่
ดังนั้น ลําดับ an = (–1)n
ไมมีลิมิต และเปนลําดับลูออก
31
(4)
n
n
1
lim3
2→∞
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
n
n
1
3lim
2→∞
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 3(0)
= 0
ดังนั้น ลําดับ an =
n
1
3
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
เปนลําดับลูเขา
(5) เนื่องจาก n
lim 4
→∞
= 4 และ n
1
lim
n→∞
= 0
จะได n
1
lim 4
n→∞
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= n n
1
lim 4 lim
n→∞ →∞
+
= 4 + 0
= 4
ดังนั้น ลําดับ an = 1
4
n
+ เปนลําดับลูเขา
(6) จาก 6n 4
6n
−
= 6n 4
6n 6n
− = 1 – 2
3n
และเนื่องจาก n
lim1
→∞
= 1 และ n
2
lim
3n→∞
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 0
จะได n
6n 4
lim
6n→∞
−⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= n
2
lim 1
3n→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
= n n
2
lim1 lim
3n→∞ →∞
−
= 1 – 0
= 1
ดังนั้น ลําดับ an = 6n 4
6n
−
เปนลําดับลูเขา
(7) เมื่อ n มีคาเพิ่มขึ้น คาของพจนที่ n ของลําดับนี้จะเพิ่มขึ้น และไมเขาใกลจํานวนใด
จํานวนหนึ่ง
ดังนั้น ลําดับ an = 3n 5
6
+
เปนลําดับลูออก
(8) จาก n
n 1+
= n
1
n 1
n
+
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1
1
1
n
+
และเนื่องจาก n
lim1
→∞
= 1 และ n
1
lim
n→∞
= 0
จะได n
n
lim
n 1→∞
⎛ ⎞
⎜ ⎟
+⎝ ⎠
= n
1
lim
1
1
n
→∞
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎜ ⎟
⎜ ⎟+⎜ ⎟
⎝ ⎠
32
= n
n n
lim1
1
lim1 lim
n
→∞
→∞ →∞
+
= 1
1 0+
= 1
ดังนั้น ลําดับ an = n
n 1+
เปนลําดับลูเขา
(9) เนื่องจาก 2n
4
lim
n→∞
= 0 และ 2n
5n
lim
n→∞
= 0
จะได 2n
4 5n
lim
n→∞
+⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 2 2n n
4 5n
lim lim
n n→∞ →∞
+
= 0 + 0
= 0
ดังนั้น ลําดับ an = 2
4 5n
n
+
เปนลําดับลูเขา
(10) จาก 2n 1
3n 1
−
+
=
1
n 2
n
n 3
n
1
−
+
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
1
2
n
3
n
1
−
+
และเนื่องจาก 1
lim 2
n n
−
→∞
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 2 และ lim 3
n n
1
+
→∞
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 3
จะได n
2n 1
lim
3n 1→∞
−
+
=
n
n
1
lim 2
n
1
lim 3
n
→∞
→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 2
3
ดังนั้น ลําดับ an = 2n 1
3n 1
−
+
เปนลําดับลูเขา
(11) an =
2
3n 5n
7n 1
−
−
เปนลําดับลูออก
(12) จาก
2
2
7n
5n 3−
=
2
2
2
7n
3
n 5
n
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
2
7
3
5
n
−
และเนื่องจาก n
lim7
→∞
= 7 และ 2n
3
lim 5
n→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 5
จะได
2
2n
7n
lim
5n 3→∞ −
= n
2n
lim7
3
lim 5
n
→∞
→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
33
= 7
5
ดังนั้น ลําดับ an =
2
2
7n
5n 3−
เปนลําดับลูเขา
(13) จาก
2
2
4n 2n 3
n
− +
= 2
2 3
4
n n
− +
และเนื่องจาก n
lim 4
→∞
= 4 , n
2
lim
n→∞
= 0 และ 2n
3
lim
n→∞
= 0
จะได
2
2n
4n 2n 3
lim
n→∞
⎛ ⎞− +
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 2n
2 3
lim 4
n n→∞
⎛ ⎞
− +⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 2n n n
2 3
lim 4 lim lim
n n→∞ →∞ →∞
− +
= 4 – 0 + 0
= 4
ดังนั้น ลําดับ an =
2
2
4n 2n 3
n
− +
เปนลําดับลูเขา
(14) จาก
2
2
3n 1
10n 5n
−
−
=
2
2
2
1
n 3
n
10
n 5
n
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
2
1
3
n
10
5
n
−
−
และเนื่องจาก 2n
1
lim 3
n→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 3 และ 10
lim 5
n n
−
→∞
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= –5
จะได
2
2n
3n 1
lim
10n 5n→∞
⎛ ⎞−
⎜ ⎟
−⎝ ⎠
=
2n
n
1
lim 3
n
10
lim 5
n
→∞
→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 3
5
−
ดังนั้น ลําดับ an =
2
2
3n 1
10n 5n
−
−
เปนลําดับลูเขา
(15) เนื่องจาก n
1
lim
n→∞
= 0 และ n
1
lim
n 1→∞ +
= 0
จะได n
1 1
lim
n n 1→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
+⎝ ⎠
= n n
1 1
lim lim
n n 1→∞ →∞
−
+
= 0 – 0
= 0
ดังนั้น ลําดับ an = 1 1
n n 1
−
+
เปนลําดับลูเขา
34
(16) จาก
n 1
n 2
3
5
+
+
=
n 1
n 1
3
5 5
+
+
⋅
=
n 1
1 3
5 5
+
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
จะได
n 1
n 2n
3
lim
5
+
+→∞
=
n 1
n
1 3
lim
5 5
+
→∞
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
n 1
n
1 3
lim
5 5
+
→∞
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1
(0)
5
= 0
ดังนั้น ลําดับ an =
n 1
n 2
3
5
+
+
เปนลําดับลูเขา
(17) จาก
n 1
n 2
2 3
3
−
+
+
=
n 1
n 1 n 2
2 3
27 3 3
−
− +
+
⋅
=
n 1
1 2 1
n 127 3 3
−
+
+
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
และเนื่องจาก
n 11 2
lim
27 3n
⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
−
→∞
= 1
27
และ 1
lim
n 1n 3
⎛ ⎞
⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠+→∞
= 0
จะได
n 1
n 2n
2 3
lim
3
−
+→∞
+
=
n 11 2 1
lim
n 127 3n 3
⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
−
+
+→∞
=
n 1
n 1n n
1 2 1
lim lim
27 3 3
−
+→∞ →∞
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1
(0) 0
27
+
= 0
ดังนั้น ลําดับ an =
n 1
n 2
2 3
3
−
+
+
เปนลําดับลูเขา
(18) จาก n 1
n 1
−
+
=
1
n 1
n
1
n 1
n
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
1
1
n
1
1
n
−
+
และเนื่องจาก n
1
lim(1 )
n→∞
− = 1 และ n
1
lim(1 )
n→∞
+ = 1
จะได n
n 1
lim
n 1→∞
−
+
=
n
n
1
lim 1
n
1
lim 1
n
→∞
→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1
ดังนั้น ลําดับ an = n 1
n 1
−
+
เปนลําดับลูเขา
35
(19) จาก
2
n 1
4n
−
=
2
1
n 1
n
4n
−
=
2
1
1
n
4
−
และเนื่องจาก 2n
1
lim 1
n→∞
− = 1 และ n
lim 4
→∞
= 4
จะได
2
n
n 1
lim
4n→∞
−
=
2
n
1
1
nlim
4→∞
−
= 2n
1 1
lim 1
4 n→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1
1
4
= 1
4
ดังนั้น ลําดับ an =
2
n 1
4n
−
เปนลําดับลูเขา
(20) จาก
2
3 3
4n 1
2n n 2
−
+ +
=
2
3
3
1
n 4
n
2
n 2 1
n
−
⎛ ⎞
+ +⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
2
3
3
1
4
n
2
2 1
n
−
+ +
และเนื่องจาก 2n
1
lim 4
n→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 2 และ 3
3n
2
lim 2 1
n→∞
⎛ ⎞
+ +⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 3
จะได
2
3 3n
4n 1
lim
2n n 2→∞
−
+ +
=
2
n
3
3
1
4
nlim
2
2 1
n
→∞
−
+ +
=
2n
3
3n
1
lim 4
n
2
lim 2 1
n
→∞
→∞
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
⎛ ⎞
+ +⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 2
3
ดังนั้น ลําดับ an =
2
3 3
4n 1
2n n 2
−
+ +
เปนลําดับลูเขา
(21) an =
n( 1)
n
−
เปนลําดับลูเขา
(22) an =
2
8n 5n 2
3 2n
+ +
+
เปนลําดับลูออก
36
4. (1) ไมจริง เชน ลําดับ an = n และ ลําดับ bn = –n เปนลําดับลูออก
แตลําดับ (an + bn) = n – n = 0 เปนลําดับลูเขา
(2) จริง การพิสูจนโดยขอขัดแยง (proof by contradiction) ทําไดดังนี้
สิ่งที่กําหนดใหคือ ลําดับ an เปนลําดับลูเขา และ ลําดับ bn เปนลําดับลูออก
สมมติวา “(an + bn) เปนลําดับลูเขา”
เนื่องจากลําดับ an และลําดับ (an + bn) เปนลําดับลูเขา จึงไดวา n
n
lima
→∞
และ
n n
n
lim(a b )
→∞
+ หาคาได ให n
n
lima
→∞
= A และ n n
n
lim(a b )
→∞
+ = B
พิจารณา n n n
n
lim(a b a )
→∞
+ − = n
n
lim b
→∞
และ n n n
n
lim(a b a )
→∞
+ − = n n
n
lim(a b )
→∞
+ – n
n
lima
→∞
= B – A
ดังนั้น n
n
lim b
→∞
หาคาได ซึ่งทําให ลําดับ bn เปนลําดับลูเขา
เกิดขอขัดแยงกับสิ่งที่กําหนดให
จึงสรุปวา ขอความที่สมมติวา “(an + bn) เปนลําดับลูเขา” เปนเท็จ
นั่นคือ (an + bn) ตองเปนลําดับลูออก
5. (1) n
n
r
lim P(1 )
12→∞
+ = n
n
r
Plim(1 )
12→∞
+
เนื่องจาก r
1 1
12
+ > ดังนั้น
n
n
r
lim 1
12→∞
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
หาคาไมได
ดังนั้น an =
n
r
P 1
12
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
ไมเปนลําดับลูเขา
(2) จาก an =
n
r
P 1
12
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
กําหนด r = 1.5
100
= 0.015
สิ้นเดือนที่ 1 จะได a1 = 0.015
9000 1
12
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 9011.25
สิ้นเดือนที่ 2 จะได a2 =
2
0.015
9000 1
12
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 9022.51
สิ้นเดือนที่ 3 จะได a3 =
3
0.015
9000 1
12
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 9033.79
สิ้นเดือนที่ 4 จะได a4 =
4
0.015
9000 1
12
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 9045.08
สิ้นเดือนที่ 5 จะได a5 =
5
0.015
9000 1
12
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 9056.39
สิ้นเดือนที่ 6 จะได a6 =
6
0.015
9000 1
12
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 9067.71
37
สิ้นเดือนที่ 7 จะได a7 =
7
0.015
9000 1
12
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 9079.05
สิ้นเดือนที่ 8 จะได a8 =
8
0.015
9000 1
12
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 9090.39
สิ้นเดือนที่ 9 จะได a9 =
9
0.015
9000 1
12
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 9101.76
สิ้นเดือนที่ 10 จะได a10 =
10
0.015
9000 1
12
⎛ ⎞
+⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 9113.13
ดังนั้น สิบพจนแรกของลําดับ คือ 9011.25, 9022.51, 9033.79, 9045.08, 9056.39,
9067.71, 9079.05, 9090.39, 9101.76, 9113.13
6. (1) ให an เปนงบรายจายปกติที่ถูกตัดลงเมื่อเวลาผานไป n ป
A แทนงบรายจายปกติเปน 2.5 พันลานบาท
สิ้นปที่ 1 จะได a1 = 20
A (A)
100
− = 4
A
5
สิ้นปที่ 2 จะได a2 = 4 20 4
A A
5 100 5
−
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
2
4
A
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
สิ้นปที่ 3 จะได a3 =
2 2
4 20 4
A A
5 100 5
−
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
=
3
4
A
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
สิ้นปที่ n จะได an =
n
4
A
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
ดังนั้น เมื่อเวลาผานไป n ป งบรายจายเปน
n
4
2.5
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
พันลานบาท
(2) งบรายจายเมื่อสิ้นปที่ 1 เปน 4
(2.5)
5
= 2 พันลานบาท
งบรายจายเมื่อสิ้นปที่ 2 เปน
2
4
(2.5)
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1.6 พันลานบาท
งบรายจายเมื่อสิ้นปที่ 3 เปน
3
4
(2.5)
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1.28 พันลานบาท
งบรายจายเมื่อสิ้นปที่ 4 เปน
4
4
(2.5)
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1.024 พันลานบาท
ดังนั้น งบรายจายในสี่ปแรก หลังถูกตัดงบเปน 2, 1.6, 1.28 และ 1.024 พันลานบาท
ตามลําดับ
(3) เนื่องจาก 4
1
5
< จะได
n
4
lim 2.5
n 5→∞
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 0
ดังนั้น ลําดับของงบรายจายนี้เปนลําดับลูเขา
38
เฉลยแบบฝกหัด 1.2 ก
1. (1) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้
S1 = 1
2
S2 = 1 1
2 6
+ = 2
3
S3 = 1 1 1
2 6 18
+ + = 13
18
Sn =
n 1
1 1 1 1 1
...
2 6 18 2 3
−
⎛ ⎞
+ + + + ⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
n
n 1
3 1
4 3 −
−
⋅
ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 1
2
, 2
3
, 13
18
, ...,
n
n 1
3 1
4 3 −
−
⋅
, ...
(2) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้
S1 = 3
S2 = 3 + 2 = 5
S3 = 3 + 2 + 4
3
= 19
3
Sn = 3 + 2 + 4
3
+ ... +
n 1
2
3
3
−
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
n
2
9 1
3
⎛ ⎞⎛ ⎞
−⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 3, 5, 19
3
, ...,
n
2
9 1
3
⎛ ⎞⎛ ⎞
−⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
, ...
(3) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้
S1 = 1
2
S2 = 1 5
2 2
+ = 3
S3 = 1 5 25
2 2 2
+ + = 31
2
Sn = n 11 5 25 1
... (5)
2 2 2 2
−
+ + + + = n1
(1 5 )
8
− −
ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 1
2
, 3, 31
2
, ..., n1
(1 5 )
8
− − , ....
39
(4) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้
S1 = 1
2
S2 = 1 1
( )
2 4
+ − = 1
4
S3 = 1 1 1
2 4 8
⎛ ⎞
+ − +⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 3
8
Sn =
n 1
n
1 1 1 ( 1)
...
2 4 8 2
−
−⎛ ⎞
+ − + + +⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
n
1 1
1
3 2
⎛ ⎞⎛ ⎞
− −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 1
2
, 1
4
, 3
8
, ...,
n
1 1
1
3 2
⎛ ⎞⎛ ⎞
− −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
, ...
(5) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้
S1 = 2
S2 = 2 + (–1) = 1
S3 = 2 + (–1) + (–4) = –3
Sn = 2 + (–1) + (–4) + ... + (5 – 3n) = n
(7 3n)
2
−
ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 2, 1, –3, ..., n
(7 3n)
2
− , ...
(6) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้
S1 = 3
4
S2 = 3 9
4 16
+ = 21
16
S3 = 3 9 27
4 16 64
+ + = 111
64
Sn =
n
3 9 27 3
...
4 16 64 4
⎛ ⎞
+ + + + ⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
n
3
3 1
4
⎛ ⎞⎛ ⎞
−⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 3
4
, 21
16
, 111
64
, ...,
n
3
3 1
4
⎛ ⎞⎛ ⎞
−⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
, ...
(7) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้
S1 = 0
S2 = 0 + 3 = 3
40
S3 = 0 + 3 + 8 = 11
Sn = 0 + 3 + + 8 + ... + (n2
– 1) =
n
2
i 1
(i 1)
=
−∑ =
3 2
2n 3n 5n
6
+ −
ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 0, 3, 11, ...,
3 2
2n 3n 5n
6
+ −
, ...
(8) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้
S1 = –1
S2 = –1 + 0 = –1
S3 = –1 + 0 + 9 = 8
Sn = –1 + 0 + 9 + ... + 23
n
(i 2i )
i 1
−∑
=
=
4 3 2
3n 2n 9n 4n
12
− − −
ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ –1, –1, 8, ...,
4 3 2
3n 2n 9n 4n
12
− − −
, ...
(9) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้
S1 = 1
10
−
S2 = 1 1
10 100
− + = 9
100
−
S3 = 1 1 1
10 100 1000
− + − = 91
1000
−
Sn =
n
1 1 1 1
...
10 100 1000 10
−⎛ ⎞
− + − + + ⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
n
1 1
1
11 10
⎛ ⎞⎛ ⎞
− − −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 1
10
− , 9
100
− , 91
1000
− , ...,
n
1 1
1
11 10
⎛ ⎞⎛ ⎞
− − −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
, ...
(10) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้
S1 = 100
S2 = 100 + 10 = 110
S3 = 100 + 10 + 1 = 111
Sn = 100 + 10 + 1 + 0.1 + ... + 103 – n
= n
1000 1
1
9 10
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 100, 110, 111, ..., n
1000 1
1
9 10
⎛ ⎞
−⎜ ⎟
⎝ ⎠
, ...
41
(11) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้
S1 = 1
S2 = 1 – 2 = –1
S3 = 1 – 2 + 3 = 2
S4 = 1 – 2 + 3 – 4 = –2
S5 = 1 – 2 + 3 – 4 + 5 = 3
S6 = 1 – 2 + 3 – 4 + 5 – 6 = –3
ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 1, –1, 2, –2, 3, –3, ...
2. (1)
n 1
1 1 1 1 1
...
2 6 18 2 3
−
⎛ ⎞
+ + + + ⎜ ⎟
⎝ ⎠
+ ... เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี r = 1
3
ซึ่ง | r | < 1
ดังนั้น อนุกรมนี้จึงเปนอนุกรมลูเขาที่มีผลบวกเปน
1
2
1
1
3
−
= 3
4
(2) อนุกรมลูเขา มีผลบวกเปน 9
(3) ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 1
2
, 3, 31
2
, ..., n1
(1 5 )
8
− − , ... ลําดับนี้ไมมีลิมิต
ดังนั้น อนุกรมที่กําหนดให ไมสามารถหาผลบวกได จึงเปนอนุกรมลูออก
(4) อนุกรมลูเขา มีผลบวกเปน 1
3
(5) ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 2, 1, –3, ..., n
(7 3n)
2
− , ... ลําดับนี้ไมมีลิมิต
ดังนั้น อนุกรมที่กําหนดให ไมสามารถหาผลบวกได จึงเปนอนุกรมลูออก
(6) อนุกรมลูเขา มีผลบวกเปน 3
(7) ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 0, 3, 11, ...,
3 2
2n 3n 5n
6
+ −
, ... ลําดับนี้ไมมีลิมิต
ดังนั้น อนุกรมที่กําหนดให ไมสามารถหาผลบวกได จึงเปนอนุกรมลูออก
(8) ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ –1, –1, 8, ...,
4 3 2
3n 2n 9n 4n
12
− − −
, ... ลําดับนี้
ไมมีลิมิต ดังนั้น อนุกรมที่กําหนดให ไมสามารถหาผลบวกได จึงเปนอนุกรมลูออก
(9) อนุกรมลูเขา มีผลบวกเปน 1
11
−
(10) อนุกรมลูเขา มีผลบวกเปน 1000
9
(11) ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 1, –1, 2, –2, 3, –3, ... ลําดับนี้ไมมีลิมิต
ดังนั้น อนุกรมที่กําหนดให ไมสามารถหาผลบวกได จึงเปนอนุกรมลูออก
42
3. (1) จะได 4 1 8 1 16 1
...
9 27 81
+ + +
+ + + = 4 8 16 1 1 1
... ...
9 27 81 9 27 81
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
+ + + + + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
=
4 1
9 9
2 1
1 1
3 3
+
− −
= 4 1 3
(3)
9 9 2
⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎛ ⎞
+⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠
= 4 1
3 6
+
= 3
2
(2) อนุกรม n 1
3 3 3 3
3 ... ...
2 4 8 2 −
+ + + + + + เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มีอัตราสวนรวมเทากับ 1
2
จะได n 1
3 3 3 3
3 ... ...
2 4 8 2 −
+ + + + + + = 3
1
1
2
−
= 3
1
2
= 6
(3) เมื่อ x เปนจํานวนจริง จะได 1 1 1 1
... ...
2 2 2 2 3 2 n
2 x (2 x ) (2 x ) (2 x )
+ + + + +
+ + + +
เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มีอัตราสวนรวมเทากับ 1
2
2 x+
เนื่องจาก x2
≥ 0 ดังนั้น 2 + x2
≥ 2 ซึ่งทําให 1
2
2 x+
≤
1
2
< 1
ดังนั้น 1 1 1 1
... ...
2 2 2 2 3 2 n
2 x (2 x ) (2 x ) (2 x )
+ + + + +
+ + + +
=
1
2
2 x
1
1
2
2 x
+
−
+
= 1
2
x 1+
4. 0.9
i
= 0.9999...
= 0.9 + 0.09 + 0.009 + 0.0009 + ...
= 2 3 4
9 9 9 9
...
10 10 10 10
+ + + +
เนื่องจาก 2 3
9 9 9
...
10 10 10
+ + + เปนอนุกรมเรขาคณิต ที่มีอัตราสวนรวมเทากับ 1
10
ดังนั้น 2 3
9 9 9
...
10 10 10
+ + + =
9
10
1
1
10
−
= 9 10
10 9
⎛ ⎞⎛ ⎞
⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠
43
= 1
จะได 0.9
i
= 1
5. (1) 0.21
i i
= 0.212121...
= 0.21 + 0.0021 + 0.000021 + ...
= 2 4 6
21 21 21
...
10 10 10
+ + +
=
2
2
21
10
1
1
10
−
=
2
2
21 10
10 99
⎛ ⎞⎛ ⎞
⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠
= 21
99
= 7
33
(2) 0.6104
i i
= 0.6104104...
= 0.6 + 0.0104 + 0.0000104 + 0.0000000104 + ...
= 4 7 10
6 104 104 104
...
10 10 10 10
+ + + +
=
4
3
104
6 10
110 1
10
+
−
= 6 104
10 9990
+
= 5994 104
9990
+
= 6098
9990
(3) 7.256
i i
= 7.25656...
= 7 + 0.2 + 0.056 + 0.00056 + 0.0000056 + ...
= 3 5 7
2 56 56 56
7 ...
10 10 10 10
+ + + + +
=
3
2
56
2 107
110 1
10
+ +
−
= 2 56
7
10 990
+ +
= 198 56
7
990
+
+
44
= 254
7
990
= 127
7
495
(4) 4.387
i i
= 4.38787...
= 4 + 0.3 + 0.087 + 0.00087 + 0.0000087 + ...
= 3 5 7
3 87 87 87
4 ...
10 10 10 10
+ + + + +
=
3
2
87
3 104
110 1
10
+ +
−
= 3 87
4
10 990
+ +
= 297 87
4
990
+
+
= 384
4
990
= 192
4
495
(5) 0.073
i i
= 0.07373...
= 0.073 + 0.00073 + 0.0000073 + ...
= 3 5 7
73 73 73
...
10 10 10
+ + +
=
3
2
73
10
1
1
10
−
= 73
990
(6) 2.9
i
= 2.999 ...
= 2 + 0.9 + 0.09 + 0.009 + ...
= 2 3
9 9 9
2 ...
10 10 10
+ + + +
=
9
102
1
1
10
+
−
= 9
2
9
+
= 3
45
6. เพราะวา 1 + x + x2
+ x3
+ ... + xn–1
+ ... = 2
3
และเนื่องจาก a1 = 1 , r = x
จะไดวา 2
3
= 1
1 x−
2 – 2x = 3
∴ x = 1
2
−
7. จาก a1 + a1r + a1r2
+ a1r3
+ ... = 3
2
จะได 1a
1 r−
= 3
2
---------- (1)
และ a1 – a1r + a1r2
– a1r3
+ ... = 3
4
จะได 1a
1 r+
= 3
4
---------- (2)
จาก (1), 2a1 + 3r = 3 ---------- (3)
จาก (2), 4a1 – 3r = 3 ---------- (4)
(3) + (4), 6a1 = 6
∴ a1 = 1
จาก (3) จะได r = 3 2
3
−
= 1
3
8. (1) รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปแรกมีดานยาว 5 หนวย
ดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สองยาว
2 2
5 5
2 2
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
+⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
= 25
2
= 5 2
2
หนวย
ดังนั้น รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สองมีเสนรอบรูปยาว 10 2 หนวย
(2) ดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สามยาว
2 2
5 2 5 2
4 4
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
+⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
= 5
2
หนวย
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สามมีเสนรอบรูปยาว 10 หนวย
ดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สี่ยาว
2 2
5 5
4 4
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
+⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
= 5 2
4
หนวย
รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สี่มีเสนรอบรูปยาว 5 2 หนวย
จะได ผลบวกของเสนรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเปน 20 + 10 2 + 10 + 5 2 + ...
= 20
2
1
2
−
= 20(2 2)+
9. ความยาวของเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมรูปแรก เทากับ 30 นิ้ว
ความยาวของเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมรูปที่สอง เทากับ 15 นิ้ว
ความยาวของเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมรูปที่สาม เทากับ 15
2
นิ้ว
46
ผลบวกของความยาวเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมทั้งหมดคือ 15
30 15 ...
2
+ + +
= 30
1
1
2
−
= 60
∴ ผลบวกความยาวเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมทั้งหมดมีคา 60 นิ้ว
10. การแกวงครั้งแรกจากจุดไกลสุดดานหนึ่งไปอีกดานหนึ่งไดระยะทาง 75 เมตร
การแกวงครั้งที่สองไดระยะทาง 75 3
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
เมตร
การแกวงครั้งที่สามไดระยะทาง 3
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
75 3
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 75
2
3
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
เมตร
การแกวงครั้งที่สี่ไดระยะทาง 3
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
75
2
3
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 75
3
3
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
เมตร
ระยะทางที่ไดจากการแกวงครั้งใหมเปนเชนนี้ไปเรื่อย ๆ
ดังนั้น เรือไวกิ้งจะแกวงไปมาตั้งแตเริ่มตนจากจุดสูงสุดเปนระยะทางเทากับ
75 + 75 3
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
+ 75
2
3
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
+ 75
3
3
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
+ ... = 75
2 3
3 3 3
1 ...
5 5 5
⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟+ + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠
= 75 1
3
1
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎜ ⎟
⎜ ⎟−⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 75 5
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 187.5 เมตร
11. (1) ให an เปนระยะทางที่สารพิษแพรกระจายตอจากตําแหนงเดิมเมื่อเวลาผานไป n ป
กําหนด a1 = 1500 , a2 = 900 , a3 = 540
สังเกตวา 900 540 3
1500 900 5
= =
สมมติให an เปนลําดับเรขาคณิตที่มีพจนแรกเปน 1500 และมีอัตราสวนรวมเปน 3
5
ให S10 เปนผลบวกของระยะทางที่สารพิษแพรกระจายไปไดเมื่อสิ้นปที่สิบ
จะได S10 = 1500 + 900 + 540 + ... + 1500
9
3
5
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
=
10
3
1500 1
5
3
1
5
⎛ ⎞⎛ ⎞
−⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
−
47
= ( )
10
5 3
1500 1
2 5
⎛ ⎞⎛ ⎞
−⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
= 3750
10
3
1
5
⎛ ⎞⎛ ⎞
−⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
= 3727.325
เมื่อสิ้นปที่สิบ สารพิษจะแพรกระจายไปได 3727.325 เมตร
(2) เพราะวา ผลบวกอนันตของอนุกรมนี้เทากับ 1500
3
1
5
−
= 3750
ดังนั้น สารพิษจะแพรกระจายไปไดไกลที่สุด 3,750 เมตร ซึ่งไปไมถึงโรงเรียน
12. ให Sn แทนผลบวกยอย n พจนแรกของอนุกรม
2 n 1
2 2 2
1 ... ...
3 3 3
−
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
+ + + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
Sn =
( )na 1 r1
1 r
−
−
=
n
2
1 1
3
2
1
3
−
−
⎛ ⎞⎛ ⎞
⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ =
n
2
3 1
3
−
⎛ ⎞⎛ ⎞
⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠
S1 = 1 S2 = 5
3
= 1.6666
S3 = 19
9
= 2.1111 S4 = 65
27
= 2.4074
S5 = 211
81
= 2.6049 S6 = 665
243
= 2.7366
S7 = 2059
729
= 2.8244 S8 = 6305
2187
= 2.8829
S9 = 19171
6561
= 2.9219 S10 = 58025
19683
= 2.9479
S11 = 175099
59049
= 2.9653
เมื่อ Sn มีคานอยกวา 3 อยูไมเกิน 1 จะได 2 ≤ Sn < 3
เมื่อ Sn มีคานอยกวา 3 อยูไมเกิน 0.2 จะได 2.8 ≤ Sn < 3
เมื่อ Sn มีคานอยกวา 3 อยูไมเกิน 0.05 จะได 2.95 ≤ Sn < 3
จะได n ที่นอยที่สุด ตามเงื่อนไขขางตนเปน n = 3, n = 7 และ n = 11 ตามลําดับ
13. ให Sn แทนผลบวกยอย n พจนแรกของอนุกรม 1 1 1
1 ... ...
2 3 n
+ + + + +
โดยใชเครื่องคํานวณ จะได S1 = 1
S2 = 3
2
= 1.500
48
S3 = 11
6
= 1.833
S4 = 25
12
= 2.083
S5 = 137
60
= 2.283
S6 = 49
20
= 2.450
S7 = 363
140
= 2.592
S8 = 761
280
= 2.717
S9 = 7129
2520
= 2.828
S10 = 7381
2520
= 2.928
S11 = 83711
27720
= 3.019
S12 = 86021
27720
= 3.103
S13 = 1145993
360360
= 3.180
S14 = 1171733
360360
= 3.251
S15 = 1195757
360360
= 3.318
S16 = 2436559
720720
= 3.380
S17 = 42142223
12252240
= 3.439
S18 = 14274301
4084080
= 3.495
S19 = 275295799
77597520
= 3.547
49
S20 = 55835135
15519504
= 3.597
S21 = 18858053
5173168
= 3.645
S22 = 19093197
5173168
= 3.690
S23 = 444316699
118982864
= 3.734
S24 = 1347822955
356948592
= 3.775
S25 = 34052522467
8923714800
= 3.815
S26 = 34395742267
8923714800
= 3.854
S27 = 312536252003
80313433200
= 3.891
S28 = 315404588903
80313433200
= 3.927
S29 = 9227046511387
2329089562800
= 3.961
S30 = 9304682830147
2329089562800
= 3.994
S31 = 290774257297357
72201776446800
= 4.027
ดังนั้น n ที่นอยที่สุด เมื่อ Sn มากกวา 2 คือ 4
n ที่นอยที่สุด เมื่อ Sn มากกวา 3 คือ 11
n ที่นอยที่สุด เมื่อ Sn มากกวา 4 คือ 31
14. (1) ไมถูกตอง เพราะ 1 + 2 + 4 + 8 + 16 + 32 + ... เปนอนุกรมอนันตที่เปนอนุกรม
เรขาคณิต อนุกรมนี้มีอัตราสวนรวมเปน 2 ซึ่ง | 2 | > 1 จึงไมสามารถหาผลบวกได
(2) ไมถูกตอง เพราะ 1 – 2 + 4 – 8 + 16 – 32 + ... เปนอนุกรมอนันตที่เปนอนุกรม
เรขาคณิต อนุกรมนี้มีอัตราสวนรวมเปน –2 ซึ่ง | –2 | > 1 จึงไมสามารถหาผลบวกได
Add m6-2-chapter1
Add m6-2-chapter1
Add m6-2-chapter1
Add m6-2-chapter1
Add m6-2-chapter1
Add m6-2-chapter1
Add m6-2-chapter1
Add m6-2-chapter1
Add m6-2-chapter1
Add m6-2-chapter1
Add m6-2-chapter1

More Related Content

What's hot

พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนามkrookay2012
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1kanjana2536
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannkru_ann
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1narong2508
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
รวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทางรวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทางJirathorn Buenglee
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001Thidarat Termphon
 
สมการMath
สมการMathสมการMath
สมการMathSattakamon
 
แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34krookay2012
 
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1Natchya Pengtham
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1Jirathorn Buenglee
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555wongsrida
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 

What's hot (20)

พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
[สรุปสูตร] สรุปสูตรคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม456 1
 
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooannสมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
สมการและคำตอบของสมการ โดย krooann
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตรเล่ม1
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
แผนการสอนคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.5 ภาคเรียนที่ 1
 
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
59 ลำดับและอนุกรม ตอนที่1_ลำดับ
 
รวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทางรวมเอกสารแนะแนวทาง
รวมเอกสารแนะแนวทาง
 
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
คณิตศาสตร์ ม.ต้น พค21001
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
สมการMath
สมการMathสมการMath
สมการMath
 
แผนแบบรูป
แผนแบบรูปแผนแบบรูป
แผนแบบรูป
 
แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม แผน 2 นวัตกรรม
แผน 2 นวัตกรรม
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
สื่อสิ่งพิมพ์ เรื่อง สมการ ม.1
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
คู่มือการใช้นวัตกรรม แผน1
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 

Viewers also liked

Viewers also liked (18)

Add m1-1-link
Add m1-1-linkAdd m1-1-link
Add m1-1-link
 
Add m3-2-chapter4
Add m3-2-chapter4Add m3-2-chapter4
Add m3-2-chapter4
 
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
 
Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4Basic m2-2-chapter4
Basic m2-2-chapter4
 
Basic m2-1-chapter1
Basic m2-1-chapter1Basic m2-1-chapter1
Basic m2-1-chapter1
 
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
02 เซต ตอนที่1_ความหมายของเซต
 
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
 
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง377 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
 
35 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่6_อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส
35 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่6_อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส35 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่6_อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส
35 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่6_อินเวอร์สของฟังก์ชันและฟังก์ชันอินเวอร์ส
 
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
26 ทฤษฎีจำนวนเบื้องต้น บทนำ
 
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
15 จำนวนจริง ตอนที่2_การแยกตัวประกอบ
 
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
14 จำนวนจริง ตอนที่1_สมบัติของจำนวนจริง
 
33 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่4_ฟังก์ชันเบื้องต้น
33 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่4_ฟังก์ชันเบื้องต้น33 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่4_ฟังก์ชันเบื้องต้น
33 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่4_ฟังก์ชันเบื้องต้น
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์179 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
 
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
17 จำนวนจริง ตอนที่4_สมการพหุนาม
 
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ348 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 

Similar to Add m6-2-chapter1

บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมบทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมsawed kodnara
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว sawed kodnara
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...บ.ชีทราม จก.
 
งานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตงานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตaossy
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
Chapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับChapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับPumPui Oranuch
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57krurutsamee
 
คณิตศาสตร์ 1 ค 31101
คณิตศาสตร์ 1  ค 31101คณิตศาสตร์ 1  ค 31101
คณิตศาสตร์ 1 ค 31101kroojaja
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5ทับทิม เจริญตา
 
เรื่อง อนุกรม.pdf
เรื่อง อนุกรม.pdfเรื่อง อนุกรม.pdf
เรื่อง อนุกรม.pdfAjanboyMathtunn
 

Similar to Add m6-2-chapter1 (20)

บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรมบทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
บทที่ 1 ลำดับและอนุกรม
 
Headpon1
Headpon1Headpon1
Headpon1
 
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น272 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
72 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่7_ความน่าจะเป็น2
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ลำดับ
ลำดับลำดับ
ลำดับ
 
Sequence1
Sequence1Sequence1
Sequence1
 
2252670.pdf
2252670.pdf2252670.pdf
2252670.pdf
 
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
ข้อสอบ กพ ปี 57 คู่มือสอบภาค ก กพ ความรู้ความสมารถทั่วไป หนังสิอสอบ E-BOOK ภา...
 
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
61 ลำดับและอนุกรม ตอนที่3_ลิมิตของลำดับ
 
งานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิตงานอนุกรมเรขาคณิต
งานอนุกรมเรขาคณิต
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
Chapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับChapter2 ลำดับ
Chapter2 ลำดับ
 
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
เอกสารลำดับอนันต์กำหนดการเชิงเส้น57
 
Limit
LimitLimit
Limit
 
31201final531
31201final53131201final531
31201final531
 
คณิตศาสตร์ 1 ค 31101
คณิตศาสตร์ 1  ค 31101คณิตศาสตร์ 1  ค 31101
คณิตศาสตร์ 1 ค 31101
 
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
ตัวอย่างข้อสอบ Las คณิตศาสตร์ม.5
 
เรื่อง อนุกรม.pdf
เรื่อง อนุกรม.pdfเรื่อง อนุกรม.pdf
เรื่อง อนุกรม.pdf
 
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
69 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่4_ทฤษฎีบททวินาม
 
666
666666
666
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 

Add m6-2-chapter1

  • 1. บทที่ 1 ลําดับอนันตและอนุกรมอนันต (20 ชั่วโมง) ลําดับอนันตและอนุกรมอนันตที่จะกลาวถึงในบทนี้ เปนเรื่องเกี่ยวกับลิมิตของลําดับ ทฤษฎีบทตาง ๆ เกี่ยวกับลิมิตของลําดับ การหาผลบวกของอนุกรมอนันต และการใชสัญลักษณ แทนการบวก ตลอดจนโจทยที่แสดงใหเห็นการนําความรูที่กลาวมาไปใชในการแกปญหาตาง ๆ ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. หาลิมิตของลําดับอนันตโดยอาศัยทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตได 2. หาผลบวกของอนุกรมอนันตได 3. นําความรูเรื่องลําดับและอนุกรมไปใชแกปญหาได ผลการเรียนรูที่คาดหวังดังกลาวเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรู ชวงชั้นที่ 4 ทางดานความรู ในการจัดการเรียนรูผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูดาน ทักษะ/ กระบวนการทางคณิตศาสตรดวยการสอดแทรกกิจกรรมหรือโจทยปญหาที่จะสงเสริมให ผูเรียนเกิดทักษะ / กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปนอันไดแกความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยง ความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น และการคิดริเริ่มสรางสรรค นอกจากนั้น กิจกรรมการเรียนรูควรสงเสริมใหผูเรียนตระหนักในคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอวิชา คณิตศาสตร ตลอดจนฝกใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความ รับผิดชอบ มีวิจารณญาณและมีความเชื่อมั่นในตนเอง สาระการเรียนรูคณิตศาสตรเพิ่มเติมเปนสาระการเรียนรูสําหรับการศึกษาตอและอาชีพ ดังนั้นในการจัดการเรียนรูในสาระนี้ ผูสอนควรสงเสริมใหผูเรียนไดฝกทักษะการคิดวิเคราะห โดยคํานึงถึงความสมเหตุสมผลของขอมูล ดังนั้น ในการสอนแตละสาระผูสอนจําเปนตองศึกษา สาระนั้น ๆ ใหเขาใจถองแทเสียกอนแลวเลือกวิธีสอนใหเหมาะสม เพื่อทําใหการจัดการเรียนรู ไดผลดี
  • 2. 2 ขอเสนอแนะ 1. รูปแบบการกําหนดลําดับทําไดหลายแบบ ผูสอนควรย้ําและยกตัวอยางใหผูเรียนเห็นวา การกําหนดลําดับโดยการแจงพจนแลวหาพจนทั่วไปของลําดับนั้น อาจหาพจนทั่วไปไดตางกัน (ดูหนังสือเรียนหนา 3 – 4 และคูมือครูสาระการเรียนรูพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5 เรื่องลําดับ และอนุกรม หนา 2) 2. ผูสอนควรทบทวนเรื่องลําดับจํากัด ลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต และอนุกรม จํากัดกอนที่จะขยายความตอและกลาวถึงลําดับอนันตและอนุกรมอนันต ผูสอนควรบอกผูเรียน ดวยวา ยังมีลําดับอื่น ๆ อีกมากมายที่ไมใชลําดับเลขคณิตหรือลําดับเรขาคณิต ผูสอนอาจใช ประโยชนจากเว็บไซต The On-Line Encyclopedia of Integer Sequences ซึ่งเก็บรวบรวมลําดับ ตาง ๆ ไวใหคนหาไดมากมาย ที่ http://www.research.att.com/~njas/sequences/ หรือผูสอนอาจ ใหผูเรียนชวยกันสรางลําดับใหมเอง 3. ในเรื่องความสัมพันธเวียนเกิด ผูสอนอาจเพิ่มเติมแบบฝกหัดสําหรับผูเรียนที่สนใจ คณิตศาสตรเปนพิเศษ ผูสอนอาจใหผูเรียนกําหนดลําดับที่กําหนดใหตอไปนี้โดยใชความสัมพันธ เวียนเกิด (1) 1, 2, 4, 8, 16, ..., 2n–1 , ... เพราะวา a1 = 1 a2 = 2 = 2(1) = 2a1 a3 = 4 = 2(2) = 2a2 a4 = 8 = 2(4) = 2a3 an = 2n–1 = 2an–1 ดังนั้น กําหนดลําดับนี้โดยใชความสัมพันธเวียนเกิดไดเปนลําดับ an = 2an–1 เมื่อ n ≥ 2, a1 = 1 (2) 1, –1, 1, –1, ..., (–1)n+1 , ... เพราะวา a1 = 1 a2 = –1 = (–1)(1) = (–1)a1 a3 = 1 = (–1)(–1) = (–1)a2 a4 = –1 = (–1)(1) = (–1)a3 an = (–1)an–1 ดังนั้น กําหนดลําดับนี้โดยใชความสัมพันธเวียนเกิดไดเปนลําดับ an = (–1)an–1 เมื่อ n ≥ 2, a1 = 1
  • 3. 3 (3) กําหนดลําดับ 5, 9, 13, 17, ..., 4n + 1,... โดยใชความสัมพันธเวียนเกิดไดเปน ลําดับ an = an–1 + 4 เมื่อ n 2≥ , a1 = 5 (4) กําหนดลําดับ 1, 3, 9, 27, ..., 3n–1 , ...โดยใชความสัมพันธเวียนเกิดไดเปนลําดับ an = 3an–1 เมื่อ n 2≥ , a1 = 1 (5) กําหนดลําดับ 1, 1, 1, 1, ..., 1, ... โดยใชความสัมพันธเวียนเกิดไดเปนลําดับ an = an–1 เมื่อ n ≥ 2, a1 = 1 (6) กําหนดลําดับ 1, 3, 6, 10, 15, ..., n(n 1) 2 + , ...โดยใชความสัมพันธเวียนเกิด ไดเปนลําดับ an = an–1+ n เมื่อ n ≥ 2, a1 = 1 (7) กําหนดลําดับ 5, 10, 30, 120, ..., 5n!, ...โดยใชความสัมพันธเวียนเกิดไดเปน ลําดับ an = nan–1 เมื่อ n ≥ 2, a1 = 5 4. การทบทวนสูตรพจนที่ n ของลําดับเลขคณิต (หนา 7) และสูตรพจนที่ n ของลําดับ เรขาคณิต(หนา9) โดยการเขียนยอนกลับผูสอนอาจจะแสดงตัวอยางที่เปนตัวเลขใหผูเรียนพิจารณา ประกอบไปดวยสัก 2 – 3 ตัวอยางกอนที่จะสรุปเปนกรณีทั่วไป และถาผูสอนพิจารณาแลววา แนวทางของเรื่องเดียวกันที่นําเสนอไวในหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐาน ชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 5 เขาใจงายกวา ก็อาจขามสวนนี้ไปก็ได อยางไรก็ตาม ผูสอนควรชี้ใหผูเรียนเห็นแนวทาง ที่แตกตางของทั้งสองวิธี 5. จากการพิจารณาลิมิตของลําดับ ทําใหแบงลําดับออกเปน 2 ประเภท คือ ลําดับ ที่มีลิมิต เรียกวา ลําดับลูเขา และลําดับที่ไมมีลิมิต เรียกวา ลําดับลูออก สําหรับลําดับลูออก ถาพิจารณาลําดับจากกราฟจะแบงออกเปน 3 ประเภทคือ (1) ลําดับลูออกซึ่งพจนที่ n มีคามากขึ้นเรื่อย ๆ เมื่อ n มีคามากขึ้นโดยไมมีที่สิ้นสุด เชน 1, 2, 4, ..., 2n–1 ,... (2) ลําดับลูออกซึ่งพจนที่ n มีคาลดลงเรื่อย ๆ เมื่อ n มีคามากขึ้นโดยไมมีที่สิ้นสุด เชน –1, –3, –5, ..., –(2n – 1), ... (3) ลําดับลูออกซึ่งมีลักษณะแตกตางจากลําดับในขอ (1) และขอ (2) ซึ่งเรียกวา ลําดับแกวงกวัด เชน an = (–1)n , bn = (–1)n n 6. การเชื่อมโยงมโนทัศนเรื่องลิมิตของลําดับกับรูปภาพ ผูสอนอาจเริ่มจากการคํานวณ แลวเขียนกราฟ และพิจารณาแนวโนมวา เมื่อ n มีคามากขึ้นเรื่อย ๆ กราฟของลําดับ an จะเปน อยางไร ผูสอนอาจแนะนําการเขียนกราฟโดยใชเครื่องมือตางๆเชน กระดาษกราฟ เครื่องคํานวณ โปรแกรมGeometer’sSketchpad หรือโปรแกรมประเภทตารางทํางาน เชน Microsoft Excel 7. หนังสือเรียนไมไดแสดงวิธีการพิสูจนทฤษฎีบทตาง ๆ เกี่ยวกับลิมิตไว ผูสอนควรให ผูเรียนพิจารณาคา an โดยตรง หรือทดลองเขียนกราฟของลําดับ an แลวพิจารณาแนวโนมของกราฟ
  • 4. 4 เชน ใหผูเรียนพิจารณาลําดับ an = 3 1 n และ an = 1 3 1 n เพื่อนําไปสูการยอมรับทฤษฎีบทที่วา rn 1 lim n→∞ = 0 เมื่อ r เปนจํานวนจริงบวกใด ๆ ผูเรียนควรอธิบายไดวา เมื่อ n มีคามากขึ้นอยาง ไมมีที่สิ้นสุด n3 และ 1 3 n จะมีคามากขึ้นอยางไมมีที่สิ้นสุดดวย ซึ่งจะทําให 3 1 n และ 1 3 1 n มีคา นอยลงและเขาใกล 0 ใหผูเรียนพิจารณาลําดับ an = n4 และ an = 1 4 n เพื่อนําไปสูการยอมรับทฤษฎีบท ที่วา r n lim n →∞ หาคาไมได เมื่อ r เปนจํานวนจริงบวกใด ๆ ผูเรียนควรอธิบายไดวา เมื่อ n มี คามากขึ้นอยางไมมีที่สิ้นสุด n4 และ 1 4 n จะมีคามากขึ้นอยางไมมีที่สิ้นสุดดวย ใหผูเรียนพิจารณาลําดับ an = n 1 3 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ และ an = n 1 4 ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ เพื่อนําไปสูการยอมรับ ทฤษฎีบทที่วา n n lim r →∞ = 0 เมื่อ r เปนจํานวนจริง และ r 1< ใหผูเรียนพิจารณาลําดับ an = 3n และ an = (–4)n เพื่อนําไปสูการยอมรับทฤษฎี บทที่วา n n lim r →∞ หาคาไมได เมื่อ r เปนจํานวนจริง และ r 1> 8. ขอความวา “ nn lim a →∞ หาคาไมได” มีความหมายเชนเดียวกับขอความ “ลําดับ an ไมมีลิมิต” หรือ “พจนที่ n ของลําดับ an ไมเขาใกลหรือเทากับจํานวนจริง L ใด ๆ เลย” ในบทนี้ ไมมีการใชขอความวา “ nn lim a →∞ = ∞” หรือ “ nn lim a →∞ = –∞” 9. ในหนังสือเรียนหนา 22 ผูสอนควรย้ํากับผูเรียนวา จะใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตได เมื่อเงื่อนไขเบื้องตนเปนจริงกอนเทานั้น เชน จะสรุปวา n n n n lim a nlim n lim b n a b →∞= →∞ →∞ ไดเมื่อ nn lim a →∞ และ nn lim b →∞ หาคาได และ nn lim b 0 →∞ ≠ ในกรณีที่ไมสามารถใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตของลําดับ an โดยตรงได อาจตองจัดรูปของ an กอนการใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต ดังปรากฏในหลาย ๆ ตัวอยางในหนังสือเรียน อยางไรก็ตาม ลําดับบางลําดับก็ยังคงใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตไมไดถึงแมจะพยายามจัดรูปใหแตกตางจากเดิม แลว เชน พิจารณาลําดับ 2 2n 3n an 4n 5 − = − เนื่องจาก 2 lim (2n 3n) n − →∞ และ lim (4n 5) n − →∞ หาคาไมไดทั้งคู ฉะนั้น หากตองการ หา 2 2n 3n lim a limnn n 4n 5 − = →∞ →∞ − จึงใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตที่วา 2 lim (2n 3n) nlim ann lim (4n 5) n − →∞= →∞ − →∞ ไมได การจัดรูป an กอนการพิจารณาลิมิตอาจทําไดหลาย ๆ แบบ บางคนอาจทําดังนี้
  • 5. 5 2 2n 3n 4n 5 − − = 32 n 2 n 4 52 n 2n n − − ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 3 2 n 4 5 2n n − − กรณีนี้ก็ยังคงใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตไมได เพราะเปนกรณียกเวน เนื่องจาก 4 5 lim 2n n n − →∞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 0 บางคนอาจทําดังนี้ 2 2n 3n 4n 5 − − = ( )n 2n 3 5 n 4 n − − ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2n 3 5 4 n − − การจัดรูป an เชนนี้ก็ยังคงใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตไมไดเชนเดียวกัน เพราะ lim (2n 3) n − →∞ หาคาไมได จะเห็นไดวาการจัดรูป an ทั้งสองแบบไมสามารถชวยสรุปไดวา na เปนลําดับลูเขาหรือลู ออกโดยใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตได จึงตองใชวิธีอื่นพิจารณา เชน การพิจารณาคาของ an โดยตรง หรือจากกราฟของลําดับ an เปนตน 10. จากบทนิยามของอนุกรมจะเห็นวา อนุกรมไดจากการบวกพจนทุกพจนของลําดับ และในการศึกษาเรื่องลิมิตของอนุกรมไดแบงอนุกรมออกเปน 2 ประเภท เชนเดียวกับลําดับ คือ อนุกรมลูเขาและอนุกรมลูออก จากตัวอยางของอนุกรมลูเขาจะเห็นวา อนุกรมลูเขามักจะไดจาก ลําดับลูเขา บางคนอาจจะเขาใจอยางไมถูกตองวา ลําดับลูเขาทุกลําดับเมื่อนํามาเขียนเปนอนุกรม จะไดอนุกรมลูเขาเสมอ ซึ่งเปนขอที่ควรระวังอยางยิ่งดังตัวอยางตอไปนี้ (1) 1, 1, 1, ..., 1, ... เปนลําดับลูเขาที่มีลิมิตเปน 1 1 + 1 + 1 + ...+ 1 + ... เปนอนุกรมลูออก (2) 1, 1 2 , 1 4 , ..., n 1 1 2 − , ... เปนลําดับลูเขาที่มีลิมิตเปน 0 n 1 1 1 1 1 ... ... 2 4 2 − + + + + + เปนอนุกรมลูเขา และผลบวกของ อนุกรมนี้มีคาเปน 2 (3) 1 1 1 1, , ,..., ,... 2 3 n เปนลําดับลูเขาที่มีลิมิตเปน 0 1 1 1 1 ... ... 2 3 n + + + + + เปนอนุกรมลูออก การแสดงวาอนุกรม 1 1 1 1 ... ... 2 3 n + + + + + เปนอนุกรมลูออกนั้น จะตองพิสูจนไดวา ลําดับผลบวกยอยไมมีลิมิต แตวิธีการพิสูจนคอนขางยุงยากในที่นี้จะแสดงคาของพจนแรก ๆ บาง พจนของลําดับผลบวกยอยเพื่อใหเห็นวา เมื่อมีจํานวนพจนมากเขาผลบวกยอยจะมากขึ้นไดเรื่อย ๆ ดังนี้
  • 6. 6 S1 = 1 S2 = 1 1 2 + S3 = 1 1 1 2 3 + + S4 = 1 1 1 1 2 3 4 + + + แต 1 1 1 1 2 3 4 + + + > 1 1 1 1 2 4 4 + + + > 2 ดังนั้น S4 > 2 S8 = 1 1 1 1 1 1 1 1 2 3 4 5 6 7 8 + + + + + + + แต 1 1 1 1 1 1 1 1 2 3 4 5 6 7 8 ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ + + + + + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ > 1 1 1 1 1 1 1 1 2 4 4 8 8 8 8 ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ + + + + + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ > 1 2 2 ดังนั้น S8 > 1 2 2 S16 = 1 1 1 1 1 1 1 1 2 3 4 5 6 7 8 ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ + + + + + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ 1 1 1 1 1 1 1 1 9 10 11 12 13 14 15 16 ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ + + + + + + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ S16 > 1 1 1 1 1 1 1 1 2 4 4 8 8 8 8 ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ + + + + + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ 1 1 1 1 1 1 1 1 16 16 16 16 16 16 16 16 ⎛ ⎞ + + + + + + + +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ S16 > 3 จะพบวา S4 (ผลบวก 4 พจนแรก) มากกวา 2 S8 (ผลบวก 8 พจนแรก) มากกวา 1 2 2 S16 (ผลบวก 16 พจนแรก) มากกวา 3 S32 (ผลบวก 32 พจนแรก) มากกวา 1 3 2 S64 (ผลบวก 64 พจนแรก) มากกวา 4 และผลบวกยอยจะมีคามากขึ้นเรื่อย ๆ ไปไมมีที่สิ้นสุด 11. จากการศึกษาเรื่องอนุกรมเลขคณิต จะเห็นวาอนุกรมอนันตที่เปนอนุกรมเลขคณิต สวนมากเปนอนุกรมลูออก จะทําใหบางคนคิดวาอนุกรมอนันตที่เปนอนุกรมเลขคณิตทุกอนุกรม
  • 7. 7 เปนอนุกรมลูออก แตความจริงแลวมีอนุกรมอนันตที่เปนอนุกรมเลขคณิตและเปนอนุกรมลูเขา คือ อนุกรม 0 + 0 + 0 + ... + 0 + ... ซึ่งเปนอนุกรมเลขคณิตที่มี a1 = 0 และ d = 0 และมีผลบวก เปน 0 12. ผูสอนควรย้ํากับผูเรียนวาการพิจารณาอนุกรมวาเปนอนุกรมลูเขาหรือลูออกตอง พิจารณาจากลําดับของผลบวกยอยของอนุกรมเปนหลัก เชน พิจารณาอนุกรม 1 – 1 + 1 – 1 + ... + (–1)n–1 + ... จะเห็นวาลําดับของผลบวกยอย ของอนุกรมนี้คือ 1, 0, 1, 0, 1, ... ซึ่งเปนลําดับลูออก ดังนั้น อนุกรม 1 – 1 + 1 – 1 + ... + (–1)n–1 + ... จึงเปนอนุกรมลูออก ผูสอนควรเสนอแนะเพิ่มเติมวา อาจมีบางคนเขียนจัดรูปอนุกรมขางตนใหมดังนี้ 1 – 1 + 1 – 1 + ... + (–1)n–1 + ... = (1 – 1) + (1 – 1) + (1 – 1) + ... ซึ่งจะไดอนุกรม 0 + 0 + 0 + 0 + ... + 0 + ... เปนอนุกรมลูเขา ที่มีผลบวกเปน0 หรือบางคนอาจเขียนจัดรูปอนุกรมขางตนใหมดังนี้ 1 – 1 + 1 – 1 + ... + (–1)n–1 + ... = 1 + (–1 + 1) + (–1 + 1) + (–1 + 1) + ... ซึ่งจะไดอนุกรม 1 + 0 + 0 + 0 + 0 + ... เปนอนุกรมลูเขา ที่มีผลบวกเปน 1 ผูสอนควรชี้แนะใหผูเรียนเขาใจใหไดวาการเขียนจัดรูปอนุกรมขางตนทั้งสองแบบ แลวสรุปวา อนุกรม 1 – 1 + 1 – 1 + ... + (–1)n–1 + ... เปนอนุกรมลูเขานั้นไมถูกตอง 13. ในบทเรียนนี้มุงใหพิจารณาอนุกรมอนันตเฉพาะอนุกรมเรขาคณิตหรืออนุกรมที่ อาจจะหาพจนที่ n ของลําดับผลบวกยอยไดไมยากนัก กลาวคือ ถาเปนอนุกรมเรขาคณิตก็ พิจารณาอัตราสวนรวม r และถา r 1< ก็สามารถหาผลบวกจากสูตร S = 1a 1 r− สวนอนุกรม ที่ไมใชอนุกรมเรขาคณิตนั้น ใหหาผลบวกโดยการหาลําดับของผลบวกยอยกอน นั่นคือ จะตอง หาพจนที่ n ของลําดับผลบวกยอยนั้น แลวจึงหาลิมิตของลําดับผลบวกยอย 14. ในบทเรียนนี้ไดนําเสนออนุกรมประเภทหนึ่งซึ่งมีความสําคัญและนาสนใจเรียกวา อนุกรมเทเลสโคป (telescoping series) อนุกรมเทเลสโคป คือ อนุกรม a1 + a2 + a3 + ... + an + ... ที่สามารถเขียนอยูในรูป a1 + a2 + a3 + ... + an + ... = (b1 – b2) + (b2 – b3) + (b3 – b4) + ... + (bn – bn+1) + ... เมื่อ a1 = b1 – b2 a2 = b2 – b3 a3 = b3 – b4 an = bn – bn+1 ดังนั้น a1 + a2 + a3 ... + an = b1 – bn+1
  • 8. 8 ผูสอนควรเนนลักษณะพิเศษของอนุกรมประเภทนี้ใหผูเรียนทราบ ตัวอยางของอนุกรม เทเลสโคปในหนังสือเรียน ดังเชน 1 1 1 1 ... 1 2 2 3 3 4 n(n 1) + + + + ⋅ ⋅ ⋅ + = 1 1 1 1 1 1 1 1 ... 2 2 3 3 4 n n 1 ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ − + − + − + + −⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ +⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ = 1 1 n 1 − + ( ) 22 3 5 7 2n 1 ... 1 4 4 9 9 16 n n 1 + + + + + ⋅ ⋅ ⋅ + = ( ) 22 1 1 1 1 1 1 ... 1 4 4 9 n n 1 ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟− + − + + −⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠ +⎝ ⎠ = ( ) 2 1 1 n 1 − + 15. ผูสอนอาจจะแนะนําสัญลักษณ ∑ ในหัวขอเรื่องสัญลักษณแทนการบวก ไปพรอม กับหัวขอเรื่องผลบวกของอนุกรมอนันตเลยก็ได หากพิจารณาแลวเห็นวาสอดคลองกับแนว ทางการจัดการเรียนการสอนที่ปฏิบัติอยู 16. ในหนังสือเรียนหัวขอ 1.2.2 ไดกลาวถึงสมบัติของ ∑ ที่ควรทราบไว สมบัติ เหลานั้นแสดงใหเห็นจริงไดโดยงาย ผูสอนควรเชิญชวนใหผูเรียนทดลองพิสูจนสมบัติตาง ๆ ดวย ตนเอง ดังนี้ (1) n i 1 c = ∑ = nc เมื่อ c เปนคาคงตัว n i 1 c = ∑ = c + c + c + ... + c = nc (2) n i i 1 ca = ∑ = n i i 1 c a = ∑ เมื่อ c เปนคาคงตัว n i i 1 ca = ∑ = ca1 + ca2 + ca3 + ... + can = c(a1 + a2 + a3 + ... + an) = n i i 1 c a = ∑ (3) n i i i 1 (a b ) = +∑ = i 1 n n i i i 1 a b == +∑ ∑ n i i i 1 (a b ) = +∑ = (a1 + b1) + (a2 + b2) + (a3 + b3) + ... + (an + bn) = (a1 + a2 + a3 + ... + an) + (b1 + b2 + b3 + ... + bn) = n n i i i 1 i 1 a b = = +∑ ∑ n พจน
  • 9. 9 ในทํานองเดียวกันจะแสดงไดวา n i i i 1 (a b ) = −∑ = n n i i i 1 i 1 a b = = −∑ ∑ 17. ในการหาผลบวก n i 1 i = ∑ นอกจากวิธีที่แสดงไวในหนังสือเรียนแลว ยังแสดงไดโดยวิธี เดียวกันกับที่ใชหาสูตรของ n 2 i 1 i = ∑ หรือ n 3 i 1 i = ∑ ดังนี้ เนื่องจาก n2 – (n – 1)2 = 2n – 1 -----(1) (n – 1)2 – (n – 2)2 = 2(n – 1) – 1 -----(2) (n – 2)2 – (n – 3)2 = 2(n – 2) – 1 -----(3) 32 – 22 = 2(3) – 1 -----(n–2) 22 – 12 = 2(2) – 1 -----(n–1) 12 – 02 = 2(1) – 1 -----(n) (1) + (2) + (3) + ...+ (n) จะได n2 = n n i 1 i 1 2 i 1 = = −∑ ∑ = n i 1 2 i n = −∑ ดังนั้น n i 1 i = ∑ = 2 n n 2 + = n(n 1) 2 + หลังจากศึกษาที่มาของสูตร n i 1 i = ∑ , 2 n i 1 i = ∑ , 3 n i 1 i = ∑ แลว ผูสอนอาจถามผูเรียนตอวา การหาสูตร 4 n i 1 i = ∑ หรือ 5 n i 1 i = ∑ จะดําเนินการตามวิธีการเดิมไดหรือไม ผูสอนอาจแนะนําให ผูเรียนเริ่มตนจาก n5 – (n – 1)5 และ n6 – (n – 1)6 ตามลําดับ 18. แบบฝกหัด 1.2 ข ขอ 7 และขอ 9 อาจจะยากเกินไปหากผูเรียนไมสามารถจัดรูปใหม ได ดังนั้น ผูสอนควรใหคําแนะนําเบื้องตนในแตละขอดังนี้ 7(1) ( ) 1 n n 1+ = 1 1 n n 1 − + 7(2) ( )( ) 1 2n 1 2n 1− + = 1 1 1 2 2n 1 2n 1 ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ − +⎝ ⎠ 7(3) ( )( ) 1 n n 1 n 2+ + = ( ) ( )( ) 1 1 1 2 n n 1 n 1 n 2 ⎛ ⎞ −⎜ ⎟⎜ ⎟+ + +⎝ ⎠ 7(4) ( ) 1 n n 2+ = 1 1 1 2 n n 2 ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ +⎝ ⎠ 9(1) ( ) 22 2n 1 n n 1 + + = ( ) 22 1 1 n n 1 − +
  • 10. 10 กิจกรรมแสนอแนะ ลิมิตของลําดับ กิจกรรมที่ 1 ผูสอนและผูเรียนชวยกันเขียนกราฟของลําดับ an ตอไปนี้บนกระดานดํา หรือใชโปรแกรม ประเภทตารางทํางาน เชน Microsoft Excel (1) an = n 1 2 (2) an = 2 (3) an = n( 1) 1 n − + (4) an = 2n – 1 (5) an = (–1)n+1 จากนั้นชวยกันพิจารณากราฟของลําดับ an เมื่อ n มีคามากขึ้นโดยไมมีที่สิ้นสุด คาของ พจนที่ n ของลําดับ จะมีคาเขาใกลจํานวนจริงใดหรือไม ซึ่งผูเรียนควรบอกไดวา สําหรับ ลําดับในขอ (1) คาของพจนที่ n จะเขาใกล 0 ลําดับในขอ (2) คาของพจนที่ n จะเปน 2 เสมอ ลําดับในขอ (3) คาของพจนที่ n จะเขาใกล 1 ลําดับในขอ (4) คาของพจนที่ n จะมากขึ้นเรื่อย ๆ ลําดับในขอ (5) คาของพจนที่ n จะเปน 1 เมื่อ n เปนจํานวนคี่ และ เปน –1 เมื่อ n เปนจํานวนคู ผูสอนเสนอแนะผูเรียนวาลําดับในขอ (1), (2) และ (3) คาของพจนที่ n จะเขาใกลหรือ เทากับจํานวนจริงเพียงจํานวนเดียวเทานั้น ในกรณีที่พจนที่ n ของลําดับมีคาเขาใกลหรือเทากับ จํานวนจริง L เพียงจํานวนเดียวเทานั้น เมื่อ n มีคามากขึ้นโดยไมมีที่สิ้นสุด จะเรียก L วาเปนลิมิต ของลําดับนั้น หรือกลาววาลําดับนั้นมีลิมิตเปน L สวนลําดับที่ไมมีสมบัติเชนนี้จะเปนลําดับที่ไมมี ลิมิต ผูสอนใหผูเรียนบอกวาลําดับขางตนลําดับใดบางมีลิมิตและลิมิตเปนเทาใด ลําดับใดไมมีลิมิต ซึ่งผูเรียนควรบอกไดวา ลําดับในขอ (1) มีลิมิตเปน 0 ลําดับในขอ (2) มีลิมิตเปน 2 และลําดับใน ขอ (3) มีลิมิตเปน 1 ผูสอนทบทวนผูเรียนเกี่ยวกับลําดับที่มีลิมิตเรียกวา ลําดับลูเขา สวนลําดับที่ไมมีลิมิต เรียกวาลําดับลูออก แลวผูสอนใหผูเรียนบอกวาลําดับทั้งหาลําดับขางตน ลําดับใดเปนลําดับลูเขา และลําดับใดเปนลําดับลูออก ซึ่งผูเรียนควรบอกไดวา ลําดับในขอ (1), (2) และ (3) เปนลําดับลู เขา ลําดับในขอ (4) และ (5) เปนลําดับลูออก
  • 11. 11 กิจกรรมที่ 2 ผูสอนอาจใชการพับกระดาษแสดงความหมายของลิมิตของลําดับบางลําดับไดดังตอไปนี้ เชน พิจารณาลําดับ 1, 1 2 , 1 4 , 1 8 , 1 16 , 1 32 , … 1 1 2 1 4 1 8 1 16 1 32 ผูสอนอธิบายวาถาพับกระดาษตอไปอีก จะไดความยาวของกระดาษนอยลงเรื่อย ๆ จน เกือบเปน 0 แสดงวา ถา n มีคามากขึ้นโดยไมมีที่สิ้นสุด พจนที่ n ของลําดับจะเขาใกล 0 และ กลาวไดวา ลิมิตของลําดับขางตนเทากับ 0 อนุกรมอนันต กิจกรรมที่ 3 ผูสอนอาจประยุกตใชกิจกรรมตอไปนี้นําเขาเรื่องอนุกรมอนันตได ใหผูเรียนปฏิบัติ ตามลําดับขั้นและตอบคําถามตอไปนี้ ขั้นที่ 1 ตัดกระดาษขนาด A4 เปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผาสามรูปที่เทากัน ดังรูป
  • 12. 12 ขั้นที่ 2 แยกสวนที่หนึ่งไวกองหนึ่ง สวนที่สองไวอีกกองหนึ่ง เก็บสวนที่สามไวในมือ ขั้นที่ 3 ทําซ้ําขั้นที่ 1 และ 2 กับกระดาษสวนที่สามที่อยูในมือไปเรื่อย ๆ 1. สมมติวากระดาษ A4 มีพื้นที่ 1 ตารางหนวย และสมมติวาสามารถตัดกระดาษซ้ํา ตอไปไดอีกอยางตอเนื่องไมสิ้นสุด จะมีกระดาษในกองที่หนึ่งเทาไร กองที่สองเทาไร และมี เหลืออยูในมือเทาไร ใหเขียนผลบวกของเศษสวนที่ใชแทนพื้นที่ของกระดาษที่มีอยูในแตละกอง ผูเรียนควรตอบไดวา จะมีกระดาษในกองที่หนึ่งและกองที่สองเทากันคือเทากับ 2 3 4 1 1 1 1 ... 3 3 3 3 + + + + ตารางหนวย และกระดาษที่อยูในมือจะชิ้นเล็กลงเรื่อย ๆ จนไมสามารถตัด ไดจริง ๆ 2. สมมติวาสามารถตัดกระดาษซ้ําตอไปไดอีกอยางตอเนื่องอยางไมสิ้นสุด เศษสวนในขอ 1 จะมีอยูอยางจํากัดหรือนับไมถวน และผลบวกของเศษสวนเหลานั้นหาคาไดหรือไม ผูเรียนควรตอบไดวา เศษสวนในขอ 1 มีอยูอยางไมจํากัด แตผลบวกของเศษสวนเหลานั้น ยังไมแนใจวาจะหาไดหรือไม 3. อนุกรมอนันต คือ ผลบวกของจํานวนหลาย ๆ จํานวน นับไมถวน เชน 1 + 2 + 3 + 4 + 5 + ... + n + ... เปนอนุกรมอนันต อนุกรมนี้สามารถหาผลบวกเปนจํานวน ๆ หนึ่งไดหรือไม ผูเรียนควรตอบไดวา ไมสามารถหาผลบวกดังกลาวได 4. ถาอนุกรมอนันตไมสามารถหาผลบวกเปนจํานวน ๆ หนึ่งได เรียกอนุกรมนั้นวา อนุกรมลูออก เชน อนุกรมในขอ 3 เปนอนุกรมลูออก อนุกรม 2 3 4 1 1 1 1 ... 2 2 2 2 + + + + ลูออก หรือไม ใหสรางแบบจําลองการตัดกระดาษคลาย ๆ กับที่ทํามาแลว อนุกรม 2 3 4 1 1 1 1 ... 2 2 2 2 + + + + ยังไมแนใจวาจะหาผลบวกไดหรือไม แบบจําลองการ ตัดกระดาษไปเรื่อย ๆ ซึ่งแทนอนุกรม 2 3 4 1 1 1 1 ... 2 2 2 2 + + + + ในขอ 4 เปนดังนี้ 1 2 2 1 2 3 1 2 4 1 2
  • 13. 13 กิจกรรมที่ 4 การหาสูตร n i 1 i = ∑ นอกจากจะใชวิธีทางพีชคณิตดังที่ปรากฏในหนังสือเรียนแลว ผูสอน อาจเพิ่มความนาสนใจใหผูเรียนโดยใชพื้นที่สรุปการหาผลบวกของ i ไดอีกวิธีหนึ่งดังนี้ กําหนดใหรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเล็ก ๆ 1 รูป มีพื้นที่ 1 ตารางหนวย รูปที่ 1 จะเห็นวารูปที่ 1 มีพื้นที่เทากับ 1 + 2 + 3 + 4 ตารางหนวย ถานํารูปที่ 1 จํานวนสองรูปมาประกอบกัน จะไดรูปสี่เหลี่ยมผืนผาหนึ่งรูป ดังนี้ รูปสี่เหลี่ยมผืนผาที่ไดมีพื้นที่เปนสองเทาของรูปที่ 1 และมีพื้นที่เทากับ 4 5× ตารางหนวย ดังนั้น จึงได 4 5× = 2(1 + 2 + 3 + 4) 4 5 2 × = 1 + 2 + 3 + 4 ในทํานองเดียวกัน เมื่อ n เปนจํานวนเต็มบวก และตองการหาคาของ 1 + 2 + 3 + ... + n ก็พิจารณาจากพื้นที่ได 4 4 4 5 n n n n + 1
  • 14. 14 จะเห็นวารูปซาย มีพื้นที่เทากับ 1 + 2 + 3 + 4 + ... + n ตารางหนวย ถานํารูปซายจํานวนสองรูปมาประกอบกัน จะไดรูปสี่เหลี่ยมผืนผาหนึ่งรูปที่มีความยาว n + 1 หนวย และความกวาง n หนวย รูปสี่เหลี่ยมผืนผามีพื้นที่เปนสองเทาของรูปซาย และมีพื้นที่เทากับ n(n 1)+ ตารางหนวย ดังนั้น จึงได n(n 1)+ = 2(1 + 2 + 3 + 4 + ... + n) = n i 1 2 i = ∑ n i 1 i = ∑ = n(n 1) 2 + ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท 1. ลําดับตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลูออก (1) an = 2n 5n 3− (2) an = 2 2 1 n 2 3n − + (3) an = 2 3 2 n n 7 2n n − + + (4) an = n 9 1 10 ⎛ ⎞ + ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ (5) an = n 1 2 2 ⎛ ⎞ − −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ (6) an = 1 + (–1)n 2. จงตัดสินวาลําดับตอไปนี้เปนลําดับลูเขาหรือลูออก โดยพิจารณาคาของพจนตาง ๆ ในลําดับ โดยตรง หรือใชเครื่องคํานวณชวยเขียนกราฟของลําดับ หรือใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต (1) an = n 2 n 13 − + (2) an = n 1 1 ( 1) n + − 3. เขียน 0.249 ใหอยูในรูปเศษสวน 4. จงหาคา (1) n n 1 2 3 ∞ = ∑ (2) 2 k 1 1 4k 1 ∞ = − ∑ (3) n n n n 0 2 7 9 ∞ = + ∑ (4) k 1 6 6 4k 1 4k 3 ∞ = ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ − +⎝ ⎠ ∑ 5. อนุกรม 1 1 1 1 ... ... 1 5 2 6 3 7 n(n 4) + + + + + ⋅ ⋅ ⋅ + เปนอนุกรมลูเขาหรือลูออก 6. การเลนบันจีจัมป (bungee jump) เปนกิจกรรมทาทายที่ผูเลนกระโดดลงมาจากที่สูงโดยมีปลาย เชือกดานหนึ่งผูกติดลําตัวหรือหัวเขาของผูเลน ปลายเชือกอีกดานหนึ่งผูกติดไวกับฐานกระโดด ชายคนหนึ่งใชเชือกยาว 250 ฟุต กระโดดบันจีจัมปจากฐานกระโดด และพบวาหลังจากใน แตละครั้งที่เขาดิ่งลงถึงตําแหนงต่ําสุด เชือกที่มีความยืดหยุนสูงจะดึงตัวเขาใหลอยขึ้นเปน ระยะทาง 55% ของระยะทางที่เขาดิ่งลงถึงตําแหนงต่ําสุด จงหาระยะทางที่ชายคนนี้เคลื่อนที่ ลอยขึ้นและดิ่งลงทั้งหมด
  • 15. 15 เฉลยตัวอยางแบบทดสอบประจําบท 1. (1) n 2n lim 5n 3→∞ − = n 2n lim 3 n 5 n →∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = n 2 lim 3 5 n →∞ − เนื่องจาก n lim 2 →∞ = 2 และ n 3 lim 5 n→∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 5 จะได n 2 lim 3 5 n →∞ − = n n lim 2 3 lim 5 n →∞ →∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 5 ดังนั้น ลําดับ n 2n a 5n 3 = − เปนลําดับลูเขา และ n 2n lim 5n 3→∞ − = 2 5 (2) 2 2n 1 n lim 2 3n→∞ − + = 2 2 2 2 n 1 n 1 n lim 2 n 3 n →∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 2 n 1 1 nlim 2 3 n →∞ − + เนื่องจาก 2n 1 lim 1 n→∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = –1 และ 2n 2 lim 3 n→∞ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 3 จะได 2 2 n 1 1 nlim 2 3 n →∞ − + = 2 2 n n 1 lim 1 n 2 lim 3 n →∞ →∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1 3 − ดังนั้น ลําดับ 2 n 2 1 n a 2 3n − = + เปนลําดับลูเขา และ 2 2n 1 n lim 2 3n→∞ − + = 1 3 − (3) 2 2 2n n n 7 lim 2n n→∞ − + + = 3 2 3 3 n 1 1 7 n n n n lim 1 n 2 n →∞ ⎛ ⎞ − +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 3 n 1 1 7 n n nlim 1 2 n →∞ − + + เนื่องจาก 3 3n 1 1 7 lim n n n→∞ ⎛ ⎞ − +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 0 และ n 1 lim 2 n→∞ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 จะได 2 3 n 1 1 7 n n nlim 1 2 n →∞ − + + = 0 2 = 0 ดังนั้น ลําดับ 2 n 2 2 n n 7 a 2n n − + = + เปนลําดับลูเขา และ 2 3 2n n n 7 lim 2n n→∞ − + + = 0 (4) เนื่องจาก n lim 1 →∞ = 1 และ n n 9 lim 10→∞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 0 จะได n n 9 lim 1 10→∞ ⎛ ⎞⎛ ⎞ +⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ = n n n 9 lim 1 lim 10→∞ →∞ ⎛ ⎞ + ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1 + 0 ดังนั้น ลําดับ an = n 9 1 10 ⎛ ⎞ + ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ เปนลําดับลูเขา และ n n 9 lim 1 10→∞ ⎛ ⎞⎛ ⎞ +⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ = 1
  • 16. 16 (5) เนื่องจาก n lim 2 →∞ = 2 และ n n 1 lim 2→∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 0 จะได n n 1 lim 2 2→∞ ⎛ ⎞⎛ ⎞ − −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ = n n n 1 lim 2 lim 2→∞ →∞ ⎛ ⎞ − −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 – 0 = 2 ดังนั้น an = n 1 2 2 ⎛ ⎞ − −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ เปนลําดับลูเขา และ n n 1 lim 2 2→∞ ⎛ ⎞⎛ ⎞ − −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ = 2 (6) ลําดับนี้คือ 0, 2, 0, 2, ... ซึ่งไมมีลิมิต ดังนั้น ลําดับนี้เปนลําดับลูออก 2. (1) พิจารณาคาของ an โดยตรง เมื่อ n มีคามากขึ้น n – 2 และ n +13 มีคาใกลเคียงกัน มาก ลิมิตของลําดับ an = n 2 n 13 − + จึงเทากับ 1 ใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตเพื่อสนับสนุนการพิจารณาขางตนดังนี้ n n 2 lim n 13→∞ − + = n 2 n 1 n lim 13 n 1 n →∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = n 2 1 nlim 13 1 n →∞ − + เนื่องจาก n 2 lim 1 n→∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1 และ n 13 lim 1 n→∞ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1 จะได n 2 1 nlim 13 1 n →∞ − + = n n 2 lim 1 n 13 lim 1 n →∞ →∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1 1 = 1 ดังนั้น ลําดับ n n 2 a n 13 − = + เปนลําดับลูเขา และ n n 2 lim n 13→∞ − + = 3 (2) คํานวณหาแตละพจนของลําดับ an = n 1 1 ( 1) n + − ไดลําดับ 1 1 1 1 1, , , , , ... 2 3 4 5 − − จากนั้นพิจารณาคาของ an โดยตรง หรือเขียนกราฟของลําดับ an โดยใชโปรแกรม ประเภทตาราง เชน Microsoft Excel มาชวย จะไดกราฟดังรูป -0.4 -0.2 0 0.4 0.8 1 2 4 6 10 0.6 0.2 an n8
  • 17. 17 จากกราฟ จะเห็นวา an จะเขาใกล 0 เมื่อ n มีคามากขึ้นโดยไมมีที่สิ้นสุด ดังนั้น ลําดับ an = n 1 1 ( 1) n + − เปนลําดับลูเขา และ n 1 n 1 lim ( 1) n + →∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 0 3. 0.249 = 0.24999... = 0.24 + 0.009 + 0.0009 + 0.00009 + ... = 3 4 5 9 9 9 0.24 ... 10 10 10 + + + + 3 4 5 9 9 9 ... 10 10 10 + + + เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี a1 = 3 9 10 และ r = 1 10 เนื่องจาก r = 1 10 < 1 อนุกรม 3 4 5 9 9 9 ... 10 10 10 + + + เปนอนุกรมลูเขา และมีผลบวกเทากับ 1a 1 r− = 3 9 10 1 1 10 − = 3 9 10 9 10 = 1 100 = 0.01 ดังนั้น 0.249 = 0.24 + 0.01 = 0.25 = 1 4 4. (1) n n 1 2 3 ∞ = ∑ = 2 3 n 2 2 2 2 ... ... 3 3 3 3 + + + + + เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี a1 = 2 3 และ r = 1 3 เนื่องจาก r = 1 3 = 1 3 < 1 อนุกรมนี้เปนอนุกรมลูเขา และมีผลบวกเทากับ 1a 1 r− = 2 3 1 1 3 − = 1 ดังนั้น n n 1 2 3 ∞ = ∑ = 1 (2) ให Sn = n 2 k 1 1 4k 1= − ∑ เนื่องจาก 2 1 4k 1− = 2 1 (2k) 1− = 1 (2k 1)(2k 1)− + จะได Sn = n k 1 1 1 1 2 2k 1 2k 1= ⎛ ⎞⎛ ⎞ −⎜ ⎟⎜ ⎟ − +⎝ ⎠⎝ ⎠ ∑ = n k 1 1 1 1 2 2k 1 2k 1= ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ − +⎝ ⎠ ∑ = 1 1 1 1 1 1 1 1 1 ... 2 3 3 5 5 7 2n 1 2n 1 ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ − + − + − + + −⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ − +⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠
  • 18. 18 = 1 1 1 2 2n 1 ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ +⎝ ⎠ n n lim S →∞ = n 1 1 lim 1 2 2n 1→∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ +⎝ ⎠ = 1 2 ดังนั้น 2 k 1 1 4k 1 ∞ = − ∑ = 1 2 (3) n n n n 0 2 7 9 ∞ = + ∑ = n n n 0 2 9 ∞ = ∑ + n n n 0 7 9 ∞ = ∑ = n n 0 2 9 ∞ = ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ∑ + n n 0 7 9 ∞ = ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ∑ = 1 2 1 9 − + 1 7 1 9 − = 9 9 18 63 81 7 2 14 14 + + = = n n n n 0 2 7 9 ∞ = + ∑ = 81 14 (4) ให Sn = n k 1 6 6 4k 1 4k 3= ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ − +⎝ ⎠ ∑ จะได Sn = n k 1 6 6 4k 1 4k 3= ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ − +⎝ ⎠ ∑ = 6 6 6 6 6 6 6 2 ... 7 7 11 11 15 4n 1 4n 3 − + − + − + + − − + ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ = 6 2 4n 3 − + n n lim S →∞ = n 6 lim 2 4n 3→∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ +⎝ ⎠ = 2 ดังนั้น k 1 6 6 4k 1 4k 3= ∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ − +⎝ ⎠ ∑ = 2 5. พิจารณา 1 k(k 4)+ = 1 1 1 4 k k 4 − + ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ดังนั้น Sn = 1 1 1 1 ... 1 5 2 6 3 7 n(n 4) + + + + ⋅ ⋅ ⋅ + = 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 4 5 2 6 3 7 4 8 5 9 6 10 − + − + − + − + − + − + ⎛⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ 1 1 1 1 ... 7 11 n n 4 − + + − + ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎠ = 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 4 2 3 4 4 n 1 n 2 n 3 n 4 + + + + − − − − + + + + ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠
  • 19. 19 เนื่องจาก n n lim S →∞ = n 1 1 1 1 1 1 1 1 1 1 4 2 3 4 4 n 1 n 2 n 3 n 4 lim →∞ + + + + − − − − + + + + ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠ = 1 1 1 1 1 4 2 3 4 + + + ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 25 48 ดังนั้น อนุกรม 1 1 1 1 ... ... 1 5 2 6 3 7 n(n 4) + + + + + ⋅ ⋅ ⋅ + เปนอนุกรมลูเขา และมีผลบวกเทากับ 25 48 6. ระยะทางที่ชายคนนี้เริ่มกระโดดจนถึงตําแหนงต่ําสุดมีระยะทาง 250 ฟุต ชายคนนี้จะลอยขึ้นสูงเปนระยะทาง 55% ของระยะทางที่เขาดิ่งลงถึงตําแหนงต่ําสุด มีคาเทากับ ของระยะทางที่เขาดิ่งลงถึงตําแหนงต่ําสุด ระยะทางที่ชายคนนี้ลอยขึ้นครั้งที่ 1 แลวดิ่งลงถึงตําแหนงต่ําสุดมีระยะทาง คือ ระยะทางที่ชายคนนี้ลอยขึ้นครั้งที่ 2 แลวดิ่งลงถึงตําแหนงต่ําสุดมีระยะทางคือ ระยะทางที่ชายคนนี้ลอยขึ้นแลวดิ่งลงเปนเชนนี้ไปเรื่อย ๆ จะไดระยะทางที่ชายคนนี้เคลื่อนที่ลอยขึ้นและดิ่งลงทั้งหมดเทากับ 2 3 11 11 11 250 500 500 500 ... 20 20 20 + + + + ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ = 2 3 11 11 11 250 500 20 20 20 ...+ ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟+ + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠ = 11 20250 500 11 1 20 + − ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 11 250 500 9 + ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 861.11 ดังนั้น ในการกระโดดบันจีจัมปครั้งนี้ ชายคนนี้เคลื่อนที่ลอยขึ้นและดิ่งลงเปนระยะทาง ทั้งหมด 861.11 ฟุต 11 20 11 11 11 250 250 500 ฟุต20 20 20 ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ + = 211 11 11 11 11 250 250 500 ฟุต20 20 20 20 20 ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠ + =
  • 20. 20 เฉลยแบบฝกหัด 1.1 ก 1. (1) a2 = a1 + 2 – 1 = 0 + 2 – 1 = 1 a3 = a2 + 3 – 1 = 1 + 3 – 1 = 3 a4 = a3 + 4 – 1 = 3 + 4 – 1 = 6 a5 = a4 + 5 – 1 = 6 + 5 – 1 = 10 ดังนั้น 5 พจนแรกของลําดับนี้คือ 0, 1, 3, 6, 10 (2) a2 = 1 + 0.05a1 = 1 + 0.05(1000) = 51 a3 = 1 + 0.05a2 = 1 + 0.05(51) = 3.55 a4 = 1 + 0.05a3 = 1 + 0.05(3.55) = 1.1775 a5 = 1 + 0.05a4 = 1 + 0.05(1.1775) = 1.058875 ดังนั้น 5 พจนแรกของลําดับนี้คือ 1000, 51, 3.55, 1.1775, 1.058875 (3) a2 = 6a1 = 6(2) = 12 a3 = 6a2 = 6(12) = 72 a4 = 6a3 = 6(72) = 432 a5 = 6a4 = 6(432) = 2592 ดังนั้น 5 พจนแรกของลําดับนี้คือ 2, 12, 72, 432, 2592 (4) a3 = a2 + 2a1 = 2 + 2(1) = 4 a4 = a3 + 2a2 = 4 + 2(2) = 8 a5 = a4 + 2a3 = 8 + 2(4) = 16 ดังนั้น 5 พจนแรกของลําดับนี้คือ 1, 2, 4, 8, 16 (5) a3 = a2 + a1 = 0 + 2 = 2 a4 = a3 + a2 = 2 + 0 = 2 a5 = a4 + a3 = 2 + 2 = 4 ดังนั้น 5 พจนแรกของลําดับนี้คือ 2, 0, 2, 2, 4 2. (1) เปนลําดับเลขคณิต มีผลตางรวมเปน 2 (2) เปนลําดับเรขาคณิต มีอัตราสวนรวมเปน –1 (3) เปนลําดับเลขคณิต มีผลตางรวมเปน –2 (4) เปนลําดับเรขาคณิต มีอัตราสวนรวมเปน 1 3 (5) ไมเปนทั้งลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต
  • 21. 21 3. (1) d = 4 – (–2) = 6 เนื่องจาก an = a1 + (n – 1)d ∴ an = –2 + (n – 1)6 = 6n – 8 พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = 6n – 8 (2) d = 1 1 6 6 ⎛ ⎞ − −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1 3 เนื่องจาก an = a1 + (n – 1)d ∴ an = 1 1 (n 1) 6 3 − + − = 3 n 6 3 − + = 2n 3 6 − พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = 2n 3 6 − (3) d = 1 13 11 2 − = 5 2 เนื่องจาก an = a1 + (n – 1)d ∴ an = 5 11 (n 1) 2 + − = 17 5n 2 2 + = 5n 17 2 + พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = 5n 17 2 + (4) d = 22.54 – 19.74 = 2.8 เนื่องจาก an = a1 + (n – 1)d ∴ an = 19.74 + (n – 1)(2.8) = 2.8n + 16.94 พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = 2.8n + 16.94 (5) d = (x + 2) – x = 2 เนื่องจาก an = a1 + (n – 1)d ∴ an = x + (n – 1)2 = x + 2n – 2 พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = x – 2 + 2n
  • 22. 22 (6) d = (2a + 4b) – (3a + 2b) = –a + 2b เนื่องจาก an = a1 + (n – 1)d ∴ an = (3a + 2b) + (n – 1)(–a + 2b) = 3a + 2b – na + 2nb + a – 2b = 4a – na + 2nb พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = 4a – na + 2nb 4. จะได 5p – p = 6p + 9 – 5p 4p = p + 9 3p = 9 p = 3 จะได สามพจนแรกของลําดับนี้คือ 3, 15, 27 ลําดับนี้มีผลตางรวมเปน 12 ดังนั้น สี่พจนตอไปของลําดับนี้คือ 39, 51, 63, 75 5. ใหลําดับนี้มีสามพจนแรกคือ a – d, a, a + d จะได a – d + a + a + d = 12 ---------- (1) และ (a – d)3 + a3 + (a + d)3 = 408 ---------- (2) จาก (1) 3a = 12 a = 4 จาก (2), a3 – 3a2 d + 3ad2 – d3 + a3 + a3 + 3a2 d + 3ad2 + d3 = 408 3a3 + 6ad2 = 408 3(4)3 + 24d2 = 408 24d2 = 408 – 192 d2 = 216 24 = 9 d = 3 หรือ –3 ถา d = 3 แลว จะไดลําดับนี้คือ 1, 4, 7, 10, 13, ... ถา d = –3 แลว จะไดลําดับนี้คือ 7, 4, 1, –2, –5, ... 6. (1) r = 6 3 − − = 2 เนื่องจาก an = a1rn–1 ∴ an = (–3)2n–1 พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = (–3)2n–1
  • 23. 23 (2) r = 5 10 − = 1 2 − เนื่องจาก an = a1rn–1 ∴ an = n 1 1 10 2 − ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = n 1 1 10 2 − ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ (3) r = 5 4 1 4 = 5 เนื่องจาก an = a1rn–1 ∴ an = n 11 5 4 −⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = n 11 5 4 −⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ (4) r = 5 3 5 6 = 2 เนื่องจาก an = a1rn–1 ∴ an = n 15 (2) 6 −⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = n 15 (2) 6 −⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ (5) r = 1 12 2 9 − = 3 8 − เนื่องจาก an = a1rn–1 ∴ an = n 1 2 3 9 8 − ⎛ ⎞⎛ ⎞ − −⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠ พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = n 1 2 3 9 8 − ⎛ ⎞⎛ ⎞ − −⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠ (6) r = 2 2 3 a b ab = a b เนื่องจาก an = a1rn–1 ∴ an = n 1 3 a (ab ) b − ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠
  • 24. 24 = n 4 n a b − พจนที่ n ของลําดับนี้คือ an = n 4 n a b − 7. (1) ให a1 = –15 และ a5 = –1215 จะได a5 = a1r4 = –1215 –15r4 = –1215 r4 = 81 r = –3 หรือ r = 3 ดังนั้น สามพจนที่อยูระหวาง –15 กับ –1215 คือ 45, –135, 405 หรือ –45, –135, –405 (2) ให a1 = 4 3 และ a5 = 27 64 จะได a5 = a1r4 = 27 64 4 3 r4 = 27 64 r4 = 81 256 r = 3 4 หรือ r = 3 4 − ดังนั้น 3 พจนที่อยูระหวาง 4 3 กับ 27 64 คือ 1, 3 4 , 9 16 หรือ –1, 3 4 , 9 16 − 8. ให a เปนจํานวนที่นําไปบวก จะได 3 + a, 20 + a, 105 + a เปนลําดับเรขาคณิต ดังนั้น 20 a 3 a + + = 105 a 20 a + + 400 + 40a + a2 = 315 + 108a + a2 68a = 85 a = 85 68 = 5 4 จํานวนที่นําไปบวกคือ 5 4
  • 25. 25 เฉลยแบบฝกหัด 1.1 ข 1. (1) ลูออก n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 an 1 0 –1 0 1 0 –1 0 1 0 (2) ลูเขา n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 an 1 0 –0.333 0 0.2 0 –0.142 0 –0.111 0 -0.4 -0.2 0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 1.2 0 5 10 15 20 25 30 an n -1.5 -1 -0.5 0 0.5 1 1.5 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 an n
  • 26. 26 (3) ลูเขา n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 an 2.5 1.666 1.25 1 0.833 0.714 0.625 0.555 0.5 0.454 (4) ลูออก n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 an 2 2 2.666 4 6.4 10.666 18.285 32 56.888 102.4 n0 0.5 1 1.5 2 2.5 0 an 10 20 30 0 10 20 30 40 50 60 0 2 4 6 8 an n
  • 27. 27 (5) ลูออก n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 an 0 4 0 8 0 12 0 16 0 20 (6) ลูเขา n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 an 3.5 3.75 3.875 3.937 3.968 3.984 3.992 3.996 3.998 3.999 0 5 10 15 20 25 30 35 40 0 5 10 15 20 an n 3.4 3.5 3.6 3.7 3.8 3.9 4 4.1 0 2 4 6 8 an n
  • 28. 28 (7) ลูเขา n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 an 4 2 1 0.5 0.25 0.125 0.0625 0.03125 0.015625 0.0078125 (8) ลูเขา n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 an 0.666 0.816 0.873 0.903 0.922 0.934 0.943 0.950 0.955 0.960 0 1 2 3 4 5 6 7 8 9 0 2 4 6 8 an n 0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 1.2 0 5 10 15 20 an n
  • 29. 29 (9) ลูออก n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 an –1.333 1.777 –2.370 3.160 –4.213 5.618 –7.491 9.988 –13.318 17.757 (10) ลูเขา .n 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 an 0.25 0.333 0.3 0.222 0.147 0.090 0.053 0.031 0.017 0.009 0 0.05 0.1 0.15 0.2 0.25 0.3 0.35 0 2 4 6 8 10 12 an n -15 -10 -5 0 5 10 15 20 0 2 4 6 8 10 12 an n
  • 30. 30 2. ไมเห็นดวย เพราะเปนการสรุปที่ไมถูกตอง ถา xn และ yn เปนลําดับ การที่จะกลาววา n n n x lim y→∞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = n n n n lim x lim y →∞ →∞ ไดนั้น ขอตกลงเบื้องตนเกี่ยวกับ n n lim x →∞ และ n n lim y →∞ ตองเปน จริงกอน ขอกําหนดเบื้องตนนั้นคือ n n lim x →∞ และ n n lim y →∞ ตองหาคาได ในกรณีนี้ ตองจัดรูป an และ bn กอนการใชทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิต ดังนี้ จาก 4 22n n 43n 13 − + = 14n (2 ) 2n 134n (3 ) 4n − + = 1 2 2n 13 3 4n − + และเนื่องจาก 2n 1 lim(2 ) n→∞ − = 2 และ 4n 13 lim(3 ) n→∞ + = 3 ดังนั้น 4 2 4n 2n n lim 3n 13→∞ − + = 1 2 2nlim n 13 3 4n − →∞ + = 2n 4n 1 lim(2 ) n 13 lim(3 ) n →∞ →∞ − + = 2 3 3. (1) n 8 lim 3n→∞ = n 8 1 lim 3 n→∞ = 8 (0) 3 = 0 ดังนั้น ลําดับ an = 8 3n เปนลําดับลูเขา (2) จาก n n 8 7 = n 8 7 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ จะได n nn 8 lim 7→∞ = n n 8 lim 7→∞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ n n 8 lim 7→∞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ หาคาไมได เพราะ 8 7 > 1 ดังนั้น ลําดับ an = n n 8 7 เปนลําดับลูออก (3) n ( 1)− = 1 เมื่อ n เปนจํานวนคู และ n ( 1)− = –1 เมื่อ n เปนจํานวนคี่ ดังนั้น ลําดับ an = (–1)n ไมมีลิมิต และเปนลําดับลูออก
  • 31. 31 (4) n n 1 lim3 2→∞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = n n 1 3lim 2→∞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 3(0) = 0 ดังนั้น ลําดับ an = n 1 3 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ เปนลําดับลูเขา (5) เนื่องจาก n lim 4 →∞ = 4 และ n 1 lim n→∞ = 0 จะได n 1 lim 4 n→∞ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = n n 1 lim 4 lim n→∞ →∞ + = 4 + 0 = 4 ดังนั้น ลําดับ an = 1 4 n + เปนลําดับลูเขา (6) จาก 6n 4 6n − = 6n 4 6n 6n − = 1 – 2 3n และเนื่องจาก n lim1 →∞ = 1 และ n 2 lim 3n→∞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 0 จะได n 6n 4 lim 6n→∞ −⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = n 2 lim 1 3n→∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = n n 2 lim1 lim 3n→∞ →∞ − = 1 – 0 = 1 ดังนั้น ลําดับ an = 6n 4 6n − เปนลําดับลูเขา (7) เมื่อ n มีคาเพิ่มขึ้น คาของพจนที่ n ของลําดับนี้จะเพิ่มขึ้น และไมเขาใกลจํานวนใด จํานวนหนึ่ง ดังนั้น ลําดับ an = 3n 5 6 + เปนลําดับลูออก (8) จาก n n 1+ = n 1 n 1 n + ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1 1 1 n + และเนื่องจาก n lim1 →∞ = 1 และ n 1 lim n→∞ = 0 จะได n n lim n 1→∞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ +⎝ ⎠ = n 1 lim 1 1 n →∞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟+⎜ ⎟ ⎝ ⎠
  • 32. 32 = n n n lim1 1 lim1 lim n →∞ →∞ →∞ + = 1 1 0+ = 1 ดังนั้น ลําดับ an = n n 1+ เปนลําดับลูเขา (9) เนื่องจาก 2n 4 lim n→∞ = 0 และ 2n 5n lim n→∞ = 0 จะได 2n 4 5n lim n→∞ +⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 2n n 4 5n lim lim n n→∞ →∞ + = 0 + 0 = 0 ดังนั้น ลําดับ an = 2 4 5n n + เปนลําดับลูเขา (10) จาก 2n 1 3n 1 − + = 1 n 2 n n 3 n 1 − + ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1 2 n 3 n 1 − + และเนื่องจาก 1 lim 2 n n − →∞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 และ lim 3 n n 1 + →∞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 3 จะได n 2n 1 lim 3n 1→∞ − + = n n 1 lim 2 n 1 lim 3 n →∞ →∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 3 ดังนั้น ลําดับ an = 2n 1 3n 1 − + เปนลําดับลูเขา (11) an = 2 3n 5n 7n 1 − − เปนลําดับลูออก (12) จาก 2 2 7n 5n 3− = 2 2 2 7n 3 n 5 n ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 7 3 5 n − และเนื่องจาก n lim7 →∞ = 7 และ 2n 3 lim 5 n→∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 5 จะได 2 2n 7n lim 5n 3→∞ − = n 2n lim7 3 lim 5 n →∞ →∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠
  • 33. 33 = 7 5 ดังนั้น ลําดับ an = 2 2 7n 5n 3− เปนลําดับลูเขา (13) จาก 2 2 4n 2n 3 n − + = 2 2 3 4 n n − + และเนื่องจาก n lim 4 →∞ = 4 , n 2 lim n→∞ = 0 และ 2n 3 lim n→∞ = 0 จะได 2 2n 4n 2n 3 lim n→∞ ⎛ ⎞− + ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2n 2 3 lim 4 n n→∞ ⎛ ⎞ − +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2n n n 2 3 lim 4 lim lim n n→∞ →∞ →∞ − + = 4 – 0 + 0 = 4 ดังนั้น ลําดับ an = 2 2 4n 2n 3 n − + เปนลําดับลูเขา (14) จาก 2 2 3n 1 10n 5n − − = 2 2 2 1 n 3 n 10 n 5 n ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 1 3 n 10 5 n − − และเนื่องจาก 2n 1 lim 3 n→∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 3 และ 10 lim 5 n n − →∞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = –5 จะได 2 2n 3n 1 lim 10n 5n→∞ ⎛ ⎞− ⎜ ⎟ −⎝ ⎠ = 2n n 1 lim 3 n 10 lim 5 n →∞ →∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 3 5 − ดังนั้น ลําดับ an = 2 2 3n 1 10n 5n − − เปนลําดับลูเขา (15) เนื่องจาก n 1 lim n→∞ = 0 และ n 1 lim n 1→∞ + = 0 จะได n 1 1 lim n n 1→∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ +⎝ ⎠ = n n 1 1 lim lim n n 1→∞ →∞ − + = 0 – 0 = 0 ดังนั้น ลําดับ an = 1 1 n n 1 − + เปนลําดับลูเขา
  • 34. 34 (16) จาก n 1 n 2 3 5 + + = n 1 n 1 3 5 5 + + ⋅ = n 1 1 3 5 5 + ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ จะได n 1 n 2n 3 lim 5 + +→∞ = n 1 n 1 3 lim 5 5 + →∞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = n 1 n 1 3 lim 5 5 + →∞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1 (0) 5 = 0 ดังนั้น ลําดับ an = n 1 n 2 3 5 + + เปนลําดับลูเขา (17) จาก n 1 n 2 2 3 3 − + + = n 1 n 1 n 2 2 3 27 3 3 − − + + ⋅ = n 1 1 2 1 n 127 3 3 − + + ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ และเนื่องจาก n 11 2 lim 27 3n ⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ − →∞ = 1 27 และ 1 lim n 1n 3 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠+→∞ = 0 จะได n 1 n 2n 2 3 lim 3 − +→∞ + = n 11 2 1 lim n 127 3n 3 ⎛ ⎞⎛ ⎞⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ − + +→∞ = n 1 n 1n n 1 2 1 lim lim 27 3 3 − +→∞ →∞ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1 (0) 0 27 + = 0 ดังนั้น ลําดับ an = n 1 n 2 2 3 3 − + + เปนลําดับลูเขา (18) จาก n 1 n 1 − + = 1 n 1 n 1 n 1 n ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1 1 n 1 1 n − + และเนื่องจาก n 1 lim(1 ) n→∞ − = 1 และ n 1 lim(1 ) n→∞ + = 1 จะได n n 1 lim n 1→∞ − + = n n 1 lim 1 n 1 lim 1 n →∞ →∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1 ดังนั้น ลําดับ an = n 1 n 1 − + เปนลําดับลูเขา
  • 35. 35 (19) จาก 2 n 1 4n − = 2 1 n 1 n 4n − = 2 1 1 n 4 − และเนื่องจาก 2n 1 lim 1 n→∞ − = 1 และ n lim 4 →∞ = 4 จะได 2 n n 1 lim 4n→∞ − = 2 n 1 1 nlim 4→∞ − = 2n 1 1 lim 1 4 n→∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1 1 4 = 1 4 ดังนั้น ลําดับ an = 2 n 1 4n − เปนลําดับลูเขา (20) จาก 2 3 3 4n 1 2n n 2 − + + = 2 3 3 1 n 4 n 2 n 2 1 n − ⎛ ⎞ + +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 3 3 1 4 n 2 2 1 n − + + และเนื่องจาก 2n 1 lim 4 n→∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 และ 3 3n 2 lim 2 1 n→∞ ⎛ ⎞ + +⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 3 จะได 2 3 3n 4n 1 lim 2n n 2→∞ − + + = 2 n 3 3 1 4 nlim 2 2 1 n →∞ − + + = 2n 3 3n 1 lim 4 n 2 lim 2 1 n →∞ →∞ ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ + +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 3 ดังนั้น ลําดับ an = 2 3 3 4n 1 2n n 2 − + + เปนลําดับลูเขา (21) an = n( 1) n − เปนลําดับลูเขา (22) an = 2 8n 5n 2 3 2n + + + เปนลําดับลูออก
  • 36. 36 4. (1) ไมจริง เชน ลําดับ an = n และ ลําดับ bn = –n เปนลําดับลูออก แตลําดับ (an + bn) = n – n = 0 เปนลําดับลูเขา (2) จริง การพิสูจนโดยขอขัดแยง (proof by contradiction) ทําไดดังนี้ สิ่งที่กําหนดใหคือ ลําดับ an เปนลําดับลูเขา และ ลําดับ bn เปนลําดับลูออก สมมติวา “(an + bn) เปนลําดับลูเขา” เนื่องจากลําดับ an และลําดับ (an + bn) เปนลําดับลูเขา จึงไดวา n n lima →∞ และ n n n lim(a b ) →∞ + หาคาได ให n n lima →∞ = A และ n n n lim(a b ) →∞ + = B พิจารณา n n n n lim(a b a ) →∞ + − = n n lim b →∞ และ n n n n lim(a b a ) →∞ + − = n n n lim(a b ) →∞ + – n n lima →∞ = B – A ดังนั้น n n lim b →∞ หาคาได ซึ่งทําให ลําดับ bn เปนลําดับลูเขา เกิดขอขัดแยงกับสิ่งที่กําหนดให จึงสรุปวา ขอความที่สมมติวา “(an + bn) เปนลําดับลูเขา” เปนเท็จ นั่นคือ (an + bn) ตองเปนลําดับลูออก 5. (1) n n r lim P(1 ) 12→∞ + = n n r Plim(1 ) 12→∞ + เนื่องจาก r 1 1 12 + > ดังนั้น n n r lim 1 12→∞ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ หาคาไมได ดังนั้น an = n r P 1 12 ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ไมเปนลําดับลูเขา (2) จาก an = n r P 1 12 ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ กําหนด r = 1.5 100 = 0.015 สิ้นเดือนที่ 1 จะได a1 = 0.015 9000 1 12 ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 9011.25 สิ้นเดือนที่ 2 จะได a2 = 2 0.015 9000 1 12 ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 9022.51 สิ้นเดือนที่ 3 จะได a3 = 3 0.015 9000 1 12 ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 9033.79 สิ้นเดือนที่ 4 จะได a4 = 4 0.015 9000 1 12 ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 9045.08 สิ้นเดือนที่ 5 จะได a5 = 5 0.015 9000 1 12 ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 9056.39 สิ้นเดือนที่ 6 จะได a6 = 6 0.015 9000 1 12 ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 9067.71
  • 37. 37 สิ้นเดือนที่ 7 จะได a7 = 7 0.015 9000 1 12 ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 9079.05 สิ้นเดือนที่ 8 จะได a8 = 8 0.015 9000 1 12 ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 9090.39 สิ้นเดือนที่ 9 จะได a9 = 9 0.015 9000 1 12 ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 9101.76 สิ้นเดือนที่ 10 จะได a10 = 10 0.015 9000 1 12 ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 9113.13 ดังนั้น สิบพจนแรกของลําดับ คือ 9011.25, 9022.51, 9033.79, 9045.08, 9056.39, 9067.71, 9079.05, 9090.39, 9101.76, 9113.13 6. (1) ให an เปนงบรายจายปกติที่ถูกตัดลงเมื่อเวลาผานไป n ป A แทนงบรายจายปกติเปน 2.5 พันลานบาท สิ้นปที่ 1 จะได a1 = 20 A (A) 100 − = 4 A 5 สิ้นปที่ 2 จะได a2 = 4 20 4 A A 5 100 5 − ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 2 4 A 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ สิ้นปที่ 3 จะได a3 = 2 2 4 20 4 A A 5 100 5 − ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ = 3 4 A 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ สิ้นปที่ n จะได an = n 4 A 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ดังนั้น เมื่อเวลาผานไป n ป งบรายจายเปน n 4 2.5 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ พันลานบาท (2) งบรายจายเมื่อสิ้นปที่ 1 เปน 4 (2.5) 5 = 2 พันลานบาท งบรายจายเมื่อสิ้นปที่ 2 เปน 2 4 (2.5) 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1.6 พันลานบาท งบรายจายเมื่อสิ้นปที่ 3 เปน 3 4 (2.5) 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1.28 พันลานบาท งบรายจายเมื่อสิ้นปที่ 4 เปน 4 4 (2.5) 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1.024 พันลานบาท ดังนั้น งบรายจายในสี่ปแรก หลังถูกตัดงบเปน 2, 1.6, 1.28 และ 1.024 พันลานบาท ตามลําดับ (3) เนื่องจาก 4 1 5 < จะได n 4 lim 2.5 n 5→∞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 0 ดังนั้น ลําดับของงบรายจายนี้เปนลําดับลูเขา
  • 38. 38 เฉลยแบบฝกหัด 1.2 ก 1. (1) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้ S1 = 1 2 S2 = 1 1 2 6 + = 2 3 S3 = 1 1 1 2 6 18 + + = 13 18 Sn = n 1 1 1 1 1 1 ... 2 6 18 2 3 − ⎛ ⎞ + + + + ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = n n 1 3 1 4 3 − − ⋅ ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 1 2 , 2 3 , 13 18 , ..., n n 1 3 1 4 3 − − ⋅ , ... (2) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้ S1 = 3 S2 = 3 + 2 = 5 S3 = 3 + 2 + 4 3 = 19 3 Sn = 3 + 2 + 4 3 + ... + n 1 2 3 3 − ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = n 2 9 1 3 ⎛ ⎞⎛ ⎞ −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 3, 5, 19 3 , ..., n 2 9 1 3 ⎛ ⎞⎛ ⎞ −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ , ... (3) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้ S1 = 1 2 S2 = 1 5 2 2 + = 3 S3 = 1 5 25 2 2 2 + + = 31 2 Sn = n 11 5 25 1 ... (5) 2 2 2 2 − + + + + = n1 (1 5 ) 8 − − ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 1 2 , 3, 31 2 , ..., n1 (1 5 ) 8 − − , ....
  • 39. 39 (4) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้ S1 = 1 2 S2 = 1 1 ( ) 2 4 + − = 1 4 S3 = 1 1 1 2 4 8 ⎛ ⎞ + − +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 3 8 Sn = n 1 n 1 1 1 ( 1) ... 2 4 8 2 − −⎛ ⎞ + − + + +⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = n 1 1 1 3 2 ⎛ ⎞⎛ ⎞ − −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 1 2 , 1 4 , 3 8 , ..., n 1 1 1 3 2 ⎛ ⎞⎛ ⎞ − −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ , ... (5) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้ S1 = 2 S2 = 2 + (–1) = 1 S3 = 2 + (–1) + (–4) = –3 Sn = 2 + (–1) + (–4) + ... + (5 – 3n) = n (7 3n) 2 − ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 2, 1, –3, ..., n (7 3n) 2 − , ... (6) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้ S1 = 3 4 S2 = 3 9 4 16 + = 21 16 S3 = 3 9 27 4 16 64 + + = 111 64 Sn = n 3 9 27 3 ... 4 16 64 4 ⎛ ⎞ + + + + ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = n 3 3 1 4 ⎛ ⎞⎛ ⎞ −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 3 4 , 21 16 , 111 64 , ..., n 3 3 1 4 ⎛ ⎞⎛ ⎞ −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ , ... (7) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้ S1 = 0 S2 = 0 + 3 = 3
  • 40. 40 S3 = 0 + 3 + 8 = 11 Sn = 0 + 3 + + 8 + ... + (n2 – 1) = n 2 i 1 (i 1) = −∑ = 3 2 2n 3n 5n 6 + − ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 0, 3, 11, ..., 3 2 2n 3n 5n 6 + − , ... (8) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้ S1 = –1 S2 = –1 + 0 = –1 S3 = –1 + 0 + 9 = 8 Sn = –1 + 0 + 9 + ... + 23 n (i 2i ) i 1 −∑ = = 4 3 2 3n 2n 9n 4n 12 − − − ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ –1, –1, 8, ..., 4 3 2 3n 2n 9n 4n 12 − − − , ... (9) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้ S1 = 1 10 − S2 = 1 1 10 100 − + = 9 100 − S3 = 1 1 1 10 100 1000 − + − = 91 1000 − Sn = n 1 1 1 1 ... 10 100 1000 10 −⎛ ⎞ − + − + + ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = n 1 1 1 11 10 ⎛ ⎞⎛ ⎞ − − −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 1 10 − , 9 100 − , 91 1000 − , ..., n 1 1 1 11 10 ⎛ ⎞⎛ ⎞ − − −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ , ... (10) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้ S1 = 100 S2 = 100 + 10 = 110 S3 = 100 + 10 + 1 = 111 Sn = 100 + 10 + 1 + 0.1 + ... + 103 – n = n 1000 1 1 9 10 ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 100, 110, 111, ..., n 1000 1 1 9 10 ⎛ ⎞ −⎜ ⎟ ⎝ ⎠ , ...
  • 41. 41 (11) ผลบวกยอยของอนุกรมนี้มีดังนี้ S1 = 1 S2 = 1 – 2 = –1 S3 = 1 – 2 + 3 = 2 S4 = 1 – 2 + 3 – 4 = –2 S5 = 1 – 2 + 3 – 4 + 5 = 3 S6 = 1 – 2 + 3 – 4 + 5 – 6 = –3 ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 1, –1, 2, –2, 3, –3, ... 2. (1) n 1 1 1 1 1 1 ... 2 6 18 2 3 − ⎛ ⎞ + + + + ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ + ... เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มี r = 1 3 ซึ่ง | r | < 1 ดังนั้น อนุกรมนี้จึงเปนอนุกรมลูเขาที่มีผลบวกเปน 1 2 1 1 3 − = 3 4 (2) อนุกรมลูเขา มีผลบวกเปน 9 (3) ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 1 2 , 3, 31 2 , ..., n1 (1 5 ) 8 − − , ... ลําดับนี้ไมมีลิมิต ดังนั้น อนุกรมที่กําหนดให ไมสามารถหาผลบวกได จึงเปนอนุกรมลูออก (4) อนุกรมลูเขา มีผลบวกเปน 1 3 (5) ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 2, 1, –3, ..., n (7 3n) 2 − , ... ลําดับนี้ไมมีลิมิต ดังนั้น อนุกรมที่กําหนดให ไมสามารถหาผลบวกได จึงเปนอนุกรมลูออก (6) อนุกรมลูเขา มีผลบวกเปน 3 (7) ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 0, 3, 11, ..., 3 2 2n 3n 5n 6 + − , ... ลําดับนี้ไมมีลิมิต ดังนั้น อนุกรมที่กําหนดให ไมสามารถหาผลบวกได จึงเปนอนุกรมลูออก (8) ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ –1, –1, 8, ..., 4 3 2 3n 2n 9n 4n 12 − − − , ... ลําดับนี้ ไมมีลิมิต ดังนั้น อนุกรมที่กําหนดให ไมสามารถหาผลบวกได จึงเปนอนุกรมลูออก (9) อนุกรมลูเขา มีผลบวกเปน 1 11 − (10) อนุกรมลูเขา มีผลบวกเปน 1000 9 (11) ลําดับผลบวกยอยของอนุกรมนี้คือ 1, –1, 2, –2, 3, –3, ... ลําดับนี้ไมมีลิมิต ดังนั้น อนุกรมที่กําหนดให ไมสามารถหาผลบวกได จึงเปนอนุกรมลูออก
  • 42. 42 3. (1) จะได 4 1 8 1 16 1 ... 9 27 81 + + + + + + = 4 8 16 1 1 1 ... ... 9 27 81 9 27 81 ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ + + + + + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ = 4 1 9 9 2 1 1 1 3 3 + − − = 4 1 3 (3) 9 9 2 ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠ = 4 1 3 6 + = 3 2 (2) อนุกรม n 1 3 3 3 3 3 ... ... 2 4 8 2 − + + + + + + เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มีอัตราสวนรวมเทากับ 1 2 จะได n 1 3 3 3 3 3 ... ... 2 4 8 2 − + + + + + + = 3 1 1 2 − = 3 1 2 = 6 (3) เมื่อ x เปนจํานวนจริง จะได 1 1 1 1 ... ... 2 2 2 2 3 2 n 2 x (2 x ) (2 x ) (2 x ) + + + + + + + + + เปนอนุกรมเรขาคณิตที่มีอัตราสวนรวมเทากับ 1 2 2 x+ เนื่องจาก x2 ≥ 0 ดังนั้น 2 + x2 ≥ 2 ซึ่งทําให 1 2 2 x+ ≤ 1 2 < 1 ดังนั้น 1 1 1 1 ... ... 2 2 2 2 3 2 n 2 x (2 x ) (2 x ) (2 x ) + + + + + + + + + = 1 2 2 x 1 1 2 2 x + − + = 1 2 x 1+ 4. 0.9 i = 0.9999... = 0.9 + 0.09 + 0.009 + 0.0009 + ... = 2 3 4 9 9 9 9 ... 10 10 10 10 + + + + เนื่องจาก 2 3 9 9 9 ... 10 10 10 + + + เปนอนุกรมเรขาคณิต ที่มีอัตราสวนรวมเทากับ 1 10 ดังนั้น 2 3 9 9 9 ... 10 10 10 + + + = 9 10 1 1 10 − = 9 10 10 9 ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠
  • 43. 43 = 1 จะได 0.9 i = 1 5. (1) 0.21 i i = 0.212121... = 0.21 + 0.0021 + 0.000021 + ... = 2 4 6 21 21 21 ... 10 10 10 + + + = 2 2 21 10 1 1 10 − = 2 2 21 10 10 99 ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠ = 21 99 = 7 33 (2) 0.6104 i i = 0.6104104... = 0.6 + 0.0104 + 0.0000104 + 0.0000000104 + ... = 4 7 10 6 104 104 104 ... 10 10 10 10 + + + + = 4 3 104 6 10 110 1 10 + − = 6 104 10 9990 + = 5994 104 9990 + = 6098 9990 (3) 7.256 i i = 7.25656... = 7 + 0.2 + 0.056 + 0.00056 + 0.0000056 + ... = 3 5 7 2 56 56 56 7 ... 10 10 10 10 + + + + + = 3 2 56 2 107 110 1 10 + + − = 2 56 7 10 990 + + = 198 56 7 990 + +
  • 44. 44 = 254 7 990 = 127 7 495 (4) 4.387 i i = 4.38787... = 4 + 0.3 + 0.087 + 0.00087 + 0.0000087 + ... = 3 5 7 3 87 87 87 4 ... 10 10 10 10 + + + + + = 3 2 87 3 104 110 1 10 + + − = 3 87 4 10 990 + + = 297 87 4 990 + + = 384 4 990 = 192 4 495 (5) 0.073 i i = 0.07373... = 0.073 + 0.00073 + 0.0000073 + ... = 3 5 7 73 73 73 ... 10 10 10 + + + = 3 2 73 10 1 1 10 − = 73 990 (6) 2.9 i = 2.999 ... = 2 + 0.9 + 0.09 + 0.009 + ... = 2 3 9 9 9 2 ... 10 10 10 + + + + = 9 102 1 1 10 + − = 9 2 9 + = 3
  • 45. 45 6. เพราะวา 1 + x + x2 + x3 + ... + xn–1 + ... = 2 3 และเนื่องจาก a1 = 1 , r = x จะไดวา 2 3 = 1 1 x− 2 – 2x = 3 ∴ x = 1 2 − 7. จาก a1 + a1r + a1r2 + a1r3 + ... = 3 2 จะได 1a 1 r− = 3 2 ---------- (1) และ a1 – a1r + a1r2 – a1r3 + ... = 3 4 จะได 1a 1 r+ = 3 4 ---------- (2) จาก (1), 2a1 + 3r = 3 ---------- (3) จาก (2), 4a1 – 3r = 3 ---------- (4) (3) + (4), 6a1 = 6 ∴ a1 = 1 จาก (3) จะได r = 3 2 3 − = 1 3 8. (1) รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปแรกมีดานยาว 5 หนวย ดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สองยาว 2 2 5 5 2 2 ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ = 25 2 = 5 2 2 หนวย ดังนั้น รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สองมีเสนรอบรูปยาว 10 2 หนวย (2) ดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สามยาว 2 2 5 2 5 2 4 4 ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ = 5 2 หนวย รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สามมีเสนรอบรูปยาว 10 หนวย ดานของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สี่ยาว 2 2 5 5 4 4 ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ = 5 2 4 หนวย รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสรูปที่สี่มีเสนรอบรูปยาว 5 2 หนวย จะได ผลบวกของเสนรอบรูปของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสเปน 20 + 10 2 + 10 + 5 2 + ... = 20 2 1 2 − = 20(2 2)+ 9. ความยาวของเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมรูปแรก เทากับ 30 นิ้ว ความยาวของเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมรูปที่สอง เทากับ 15 นิ้ว ความยาวของเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมรูปที่สาม เทากับ 15 2 นิ้ว
  • 46. 46 ผลบวกของความยาวเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมทั้งหมดคือ 15 30 15 ... 2 + + + = 30 1 1 2 − = 60 ∴ ผลบวกความยาวเสนรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมทั้งหมดมีคา 60 นิ้ว 10. การแกวงครั้งแรกจากจุดไกลสุดดานหนึ่งไปอีกดานหนึ่งไดระยะทาง 75 เมตร การแกวงครั้งที่สองไดระยะทาง 75 3 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ เมตร การแกวงครั้งที่สามไดระยะทาง 3 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ 75 3 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 75 2 3 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ เมตร การแกวงครั้งที่สี่ไดระยะทาง 3 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ 75 2 3 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 75 3 3 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ เมตร ระยะทางที่ไดจากการแกวงครั้งใหมเปนเชนนี้ไปเรื่อย ๆ ดังนั้น เรือไวกิ้งจะแกวงไปมาตั้งแตเริ่มตนจากจุดสูงสุดเปนระยะทางเทากับ 75 + 75 3 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ + 75 2 3 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ + 75 3 3 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ + ... = 75 2 3 3 3 3 1 ... 5 5 5 ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎜ ⎟+ + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠ = 75 1 3 1 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟−⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 75 5 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 187.5 เมตร 11. (1) ให an เปนระยะทางที่สารพิษแพรกระจายตอจากตําแหนงเดิมเมื่อเวลาผานไป n ป กําหนด a1 = 1500 , a2 = 900 , a3 = 540 สังเกตวา 900 540 3 1500 900 5 = = สมมติให an เปนลําดับเรขาคณิตที่มีพจนแรกเปน 1500 และมีอัตราสวนรวมเปน 3 5 ให S10 เปนผลบวกของระยะทางที่สารพิษแพรกระจายไปไดเมื่อสิ้นปที่สิบ จะได S10 = 1500 + 900 + 540 + ... + 1500 9 3 5 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 10 3 1500 1 5 3 1 5 ⎛ ⎞⎛ ⎞ −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ −
  • 47. 47 = ( ) 10 5 3 1500 1 2 5 ⎛ ⎞⎛ ⎞ −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ = 3750 10 3 1 5 ⎛ ⎞⎛ ⎞ −⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ = 3727.325 เมื่อสิ้นปที่สิบ สารพิษจะแพรกระจายไปได 3727.325 เมตร (2) เพราะวา ผลบวกอนันตของอนุกรมนี้เทากับ 1500 3 1 5 − = 3750 ดังนั้น สารพิษจะแพรกระจายไปไดไกลที่สุด 3,750 เมตร ซึ่งไปไมถึงโรงเรียน 12. ให Sn แทนผลบวกยอย n พจนแรกของอนุกรม 2 n 1 2 2 2 1 ... ... 3 3 3 − ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ + + + + +⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ Sn = ( )na 1 r1 1 r − − = n 2 1 1 3 2 1 3 − − ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ = n 2 3 1 3 − ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎜ ⎟⎜ ⎟⎜ ⎟⎝ ⎠⎝ ⎠ S1 = 1 S2 = 5 3 = 1.6666 S3 = 19 9 = 2.1111 S4 = 65 27 = 2.4074 S5 = 211 81 = 2.6049 S6 = 665 243 = 2.7366 S7 = 2059 729 = 2.8244 S8 = 6305 2187 = 2.8829 S9 = 19171 6561 = 2.9219 S10 = 58025 19683 = 2.9479 S11 = 175099 59049 = 2.9653 เมื่อ Sn มีคานอยกวา 3 อยูไมเกิน 1 จะได 2 ≤ Sn < 3 เมื่อ Sn มีคานอยกวา 3 อยูไมเกิน 0.2 จะได 2.8 ≤ Sn < 3 เมื่อ Sn มีคานอยกวา 3 อยูไมเกิน 0.05 จะได 2.95 ≤ Sn < 3 จะได n ที่นอยที่สุด ตามเงื่อนไขขางตนเปน n = 3, n = 7 และ n = 11 ตามลําดับ 13. ให Sn แทนผลบวกยอย n พจนแรกของอนุกรม 1 1 1 1 ... ... 2 3 n + + + + + โดยใชเครื่องคํานวณ จะได S1 = 1 S2 = 3 2 = 1.500
  • 48. 48 S3 = 11 6 = 1.833 S4 = 25 12 = 2.083 S5 = 137 60 = 2.283 S6 = 49 20 = 2.450 S7 = 363 140 = 2.592 S8 = 761 280 = 2.717 S9 = 7129 2520 = 2.828 S10 = 7381 2520 = 2.928 S11 = 83711 27720 = 3.019 S12 = 86021 27720 = 3.103 S13 = 1145993 360360 = 3.180 S14 = 1171733 360360 = 3.251 S15 = 1195757 360360 = 3.318 S16 = 2436559 720720 = 3.380 S17 = 42142223 12252240 = 3.439 S18 = 14274301 4084080 = 3.495 S19 = 275295799 77597520 = 3.547
  • 49. 49 S20 = 55835135 15519504 = 3.597 S21 = 18858053 5173168 = 3.645 S22 = 19093197 5173168 = 3.690 S23 = 444316699 118982864 = 3.734 S24 = 1347822955 356948592 = 3.775 S25 = 34052522467 8923714800 = 3.815 S26 = 34395742267 8923714800 = 3.854 S27 = 312536252003 80313433200 = 3.891 S28 = 315404588903 80313433200 = 3.927 S29 = 9227046511387 2329089562800 = 3.961 S30 = 9304682830147 2329089562800 = 3.994 S31 = 290774257297357 72201776446800 = 4.027 ดังนั้น n ที่นอยที่สุด เมื่อ Sn มากกวา 2 คือ 4 n ที่นอยที่สุด เมื่อ Sn มากกวา 3 คือ 11 n ที่นอยที่สุด เมื่อ Sn มากกวา 4 คือ 31 14. (1) ไมถูกตอง เพราะ 1 + 2 + 4 + 8 + 16 + 32 + ... เปนอนุกรมอนันตที่เปนอนุกรม เรขาคณิต อนุกรมนี้มีอัตราสวนรวมเปน 2 ซึ่ง | 2 | > 1 จึงไมสามารถหาผลบวกได (2) ไมถูกตอง เพราะ 1 – 2 + 4 – 8 + 16 – 32 + ... เปนอนุกรมอนันตที่เปนอนุกรม เรขาคณิต อนุกรมนี้มีอัตราสวนรวมเปน –2 ซึ่ง | –2 | > 1 จึงไมสามารถหาผลบวกได