SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม ๑
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร
ชั้นมัธยมศึกษาปที่๑
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔
จัดทําโดย
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
กระทรวงศึกษาธิการ
ISBN 974-01-3647-8
พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม
พ.ศ. ๒๕๔๖
องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย
พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว
๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร
มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
คํานํา
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดรับมอบหมายจาก
กระทรวงศึกษาธิการใหพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ของกลุมสาระ
การเรียนรูคณิตศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รวมทั้งสาระการออกแบบและเทคโนโลยี
และสาระเทคโนโลยีสารสนเทศในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีตลอดจนจัดทํา
สื่อการเรียนรูตามหลักสูตรดังกลาว
คูมือครูเลมนี้ใชประกอบการเรียนการสอนควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม
คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เพื่อใหครูผูสอนใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู
คณิตศาสตรใหผูเรียนไดพัฒนาตนเอง นําความรูทางคณิตศาสตรไปพัฒนาชาติและเปนเครื่องมือใน
การเรียนรู้คณิตศาสตร์ตลอดจนศาสตร์อื่นๆในระดับที่สูงขึ้นไป
ในการจัดทําคูมือครูเลมนี้ สสวท. ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากคณาจารย ผูทรงคุณวุฒิ
นักวิชาการและครูผูสอน จากหลายหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน สสวท. จึงขอขอบคุณทุกทาน
ไว ณ ที่นี้ และหวังเปนอยางยิ่งวาคูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนสําหรับครูผูสอนคณิตศาสตร
ใหสามารถนําไปใชหรือปรับใชใหเหมาะสมกับศักยภาพของผูเรียน
หากมีขอเสนอแนะใดที่จะทําใหคูมือครูเลมนี้สมบูรณยิ่งขึ้นโปรดแจง สสวท. ทราบดวย
จักขอบคุณยิ่ง
(นายพิศาล สรอยธุหร่ํา)
ผูอํานวยการ
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
คําชี้แจง
สาขาคณิตศาสตรมัธยมศึกษาสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี(สสวท.)
ไดรับมอบหมายจากกระทรวงศึกษาธิการใหพัฒนาหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชวงชั้น
ที่ 3 (มัธยมศึกษาปที่ 1–3) ชวงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาปที่ 4–6) ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช2544 นอกจากนั้นยังไดพัฒนาสื่อการเรียนการสอนคณิตศาสตรเพื่อใชประกอบหลักสูตร
ของชวงชั้นที่3และ4 อีกดวย
หนังสือเรียนและคูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตรของชวงชั้นที่ 3 จะมีดวยกัน
ทั้งหมดอยางละ 6 เลม ไดแก หนังสือเรียนและคูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เลม 2 ชั้นมัธยม
ศึกษาปที่2 เลม1ชั้นมัธยมศึกษาปที่3 และเลม2ชั้นมัธยมศึกษาปที่3 ตามลําดับ ทั้งนี้สถานศึกษา
สามารถนําไปปรับใชใหเหมาะสมกับหลักสูตรของแตละสถานศึกษา
คูมือครูคณิตศาสตรเลมนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการเรียนการสอนควบคูกับหนังสือเรียน
สาระการเรียนรูเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลม1ชั้นมัธยมศึกษาปที่1ใชเวลาในการเรียนการสอน2ชั่วโมง
ตอสัปดาหตอภาค สวนหนาของเลมประกอบดวยคําชี้แจงการใชคูมือครู ในการใชคูมือครูขอใหอาน
คําชี้แจงการใชคูมือครูดังกลาวกอนที่จะศึกษารายละเอียดในแตละบท
ในแตละบทของคูมือครูประกอบดวย คํานําประจําบท ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป แนวทาง
การจัดการเรียนรู จุดประสงค (ประจําหัวขอ) ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
กิจกรรมเสนอแนะ คําตอบของกิจกรรมหรือแบบฝกหัด
ในสวนทายของคูมือครูเลมนี้ไดเสนอตัวอยางแบบทดสอบและเกณฑการใหคะแนนเพื่อ
ประเมินผลการเรียนรูสาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตรไวดวย ผูสอนสามารถใชเปน
แนวทางหรือปรับปรุงใชไดตามความเหมาะสม
คณะผูจัดทําหวังวาคูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนคณิตศาสตร อยางไร
ก็ดีหากทานผูใชคูมือครูเลมนี้มีขอเสนอแนะประการใด โปรดแจงใหสาขาคณิตศาสตรมัธยมศึกษา
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทราบ เพื่อปรับปรุงเอกสารใหสมบูรณยิ่งขึ้น
ตอไป
(นางสาวจารุวรรณ แสงทอง)
หัวหนาสาขาคณิตศาสตรมัธยมศึกษา
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
สารบัญ
หนา
คํานํา
คําชี้แจง
คําชี้แจงการใชคูมือครู ก
กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ ง
บทที่ 1 การประยุกต1 1
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1
แนวทางในการจัดการเรียนรู 2
1.1 รูปเรขาคณิต 2
จุดประสงค 2
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2
– ความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยม 2
– จุดขางในและจุดขางนอก 4
– แทนแกรม 6
1.2 จํานวนนับ 7
จุดประสงค 7
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 7
– สูตรคูณ 7
– รอนหาจํานวนเฉพาะ 8
– ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิด 10
1.3 รอยละในชีวิตประจําวัน 11
จุดประสงค 11
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 11
– รอยละของจํานวนใด 11
– ดอกเบี้ย 14
– เงินโบนัส 15
1.4 ปญหาชวนคิด 16
จุดประสงค 16
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 16
หนา
– ผลบวกของจํานวนคี่ 16
– มีอะไรอยูเทาไร 17
– เงิน – เงิน – เงิน 18
– เรียงอิฐปูพื้น 19
– แบงที่ดินปลูกผัก 20
– มีลูกอมอยูกี่เม็ด 21
คําตอบกิจกรรม 23
บทที่ 2 จํานวนและตัวเลข 45
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 45
แนวทางในการจัดการเรียนรู 46
2.1 ระบบตัวเลขโรมัน 46
จุดประสงค 46
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 46
2.2 ระบบตัวเลขฐานตางๆ 46
จุดประสงค 46
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 47
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 47
2.3 การเปลี่ยนฐานในระบบตัวเลข 49
จุดประสงค 49
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 49
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบปญหา 50
กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ 56
บทที่ 3 การประยุกตของจํานวนเต็มและเลขยกกําลัง 67
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 67
แนวทางในการจัดการเรียนรู 68
3.1 การคิดคํานวณ 68
จุดประสงค 68
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 68
หนา
3.2 โจทยปญหา 70
จุดประสงค 70
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 70
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 72
บทที่ 4 การสราง 81
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 82
แนวทางในการจัดการเรียนรู 83
4.1 การแบงสวนของเสนตรง 83
จุดประสงค 83
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 83
4.2 การสรางมุมขนาดตางๆ 86
จุดประสงค 86
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 86
4.3 การสรางรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน 86
จุดประสงค 86
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 87
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 88
การประเมินผลการเรียนรู 109
คณะกรรมการจัดทําสื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 119
คําชี้แจงการใชคูมือครู
สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดพิจารณาเห็นวา เพื่อใหการจัดการเรียน
การสอนคณิตศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไวในหลักสูตร
ครบถวนทั้งสามดาน ไดแก ดานความรู ดานทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรและดานคุณธรรม
จริยธรรมและคานิยม จึงไดจัดทําคูมือครู ซึ่งเสนอแนะวิธีสอนและวิธีจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไวโดย
ละเอียดเพื่อใชควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 ดังนั้นครูตองศึกษาคูมือครู
ใหเขาใจถองแท ควรทดลองปฏิบัติกิจกรรมเพื่อใหเกิดความพรอมในการสอนกอนเขาสอนทุกบทเรียน
และดําเนินกิจกรรมตามที่เสนอแนะไว ครูอาจปรับเปลี่ยนกิจกรรมและวิธีจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ไดตามความเหมาะสมโดยคํานึงถึงศักยภาพของนักเรียนเปนสําคัญ
คูมือครูของแตละบทประกอบดวยหัวขอตอไปนี้
1. ชื่อบทและหัวขอเรื่องประจําบท ระบุจํานวนชั่วโมงที่ใชในการเรียนการสอนของแตละบท
และแตละหัวขอไวโดยประมาณ ครูอาจยืดหยุนไดตามที่ครูเห็นสมควร
2. คํานําประจําบท บอกสาระสําคัญของบทเรียนทั่วไป สิ่งที่ควรปฏิบัติและสิ่งที่ควรย้ํา
3. ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป ในแตละบทเรียนจะระบุผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปตามที่
ปรากฏอยูในหนังสือคูมือการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ครูตองคํานึงถึงเสมอวา
จะตองจัดกิจกรรมการเรียนรูใหนักเรียนเกิดผลการเรียนรูตามที่กําหนด เพื่อการวัดและประเมินผลหลัง
จบการเรียนการสอน ผลการเรียนรูที่ผานการประเมินนี้จะทําใหผูเรียนบรรลุผลตามมาตรฐานการเรียนรู
ชวงชั้นที่ 3 ดวย
4. แนวทางในการจัดการเรียนรู ในแตละหัวขอยอยของแตละบทไดใหรายละเอียดของ
หัวขอตอไปนี้
1) จุดประสงค ระบุไวเพื่อใหครูคํานึงถึงเสมอวาจะตองจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ใหนักเรียนมีความรูและมีความสามารถตรงตามจุดประสงคที่วางไว ซึ่งจะตอง
เกิดขึ้นระหวางเรียนหรือดําเนินกิจกรรม ครูตองประเมินผลใหตรงตามจุดประสงค
และใชวิธีการประเมินผลที่หลากหลายเพื่อใหบรรลุถึงผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
การประเมินผลที่หลากหลายอาจเปนการสังเกต การตอบคําถาม การทํา
แบบฝกหัด การทํากิจกรรม หรือการทดสอบยอย จุดประสงคใดที่ครูเห็นวา
นักเรียนสวนใหญยังไมผาน ในชั่วโมงตอไปครูควรนําบทเรียนนั้นมาสอนซอม
เสริมใหม
ข
2) เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม ในบางหัวขอไดระบุรายการกิจกรรมเสนอแนะไว
ดังรายละเอียดในขอ 6
3) ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เปนสวนสําคัญของคูมือครู
ครูควรศึกษาและทําความเขาใจควบคูกับหนังสือเรียน เพื่อเตรียมจัดกิจกรรม
การเรียนการสอนใหสอดคลองกับจุดประสงคและเหมาะสมกับความสามารถของ
นักเรียน
5. คําตอบกิจกรรมและคําตอบแบบฝกหัดประจําบท คําถามทุกคําถามในกิจกรรมและแบบฝกหัด
ทุกขอมีคําตอบใหและบางขอมีเฉลยแนวคิดไวใหเพื่อเปนแนวทางหนึ่งในการหาคําตอบ บางขอมีหลาย
คําตอบแตใหไวเปนตัวอยางเพียงหนึ่งคําตอบ ทั้งนี้เพราะกิจกรรมหรือแบบฝกหัดที่ใหนักเรียนทํา
ไดสอดแทรกปญหาที่เปดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะ สังเกต วิเคราะหและคาดการณ การเฉลย
คําตอบหรือการใหเหตุผลประกอบคําตอบไดคํานึงถึงพื้นฐานความรูและวุฒิภาวะของนักเรียนเปนหลัก
การใหเหตุผลหรือคําอธิบายของนักเรียนอาจแตกตางจากที่เฉลยไว ในการตรวจแบบฝกหัดครูควร
พิจารณาอยางรอบคอบ ยอมรับคําตอบที่เห็นวามีความถูกตองและเปนไปได ถึงแมวาจะไมเหมือนกับ
คําตอบที่เฉลยไว ปญหาที่มีลักษณะเปนปญหาชวนคิด มีคําตอบอยูในสวนนี้ดวย
6. กิจกรรมเสนอแนะ สําหรับหัวขอ 2.2 ไดเสนอแนะกิจกรรมที่พัฒนาทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตรเพื่อใหครูเลือกใช ในแตละกิจกรรมครูอาจปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับเวลาและความสามารถ
ของนักเรียน
กอนดําเนินกิจกรรม ครูควรสนทนากับนักเรียนดวยบรรยากาศที่เปนกันเอง เพื่อใหเกิดความเขาใจ
และมองเห็นแงมุมตางๆ ของกิจกรรมที่จะทํา ไมควรดวนอธิบายหรือชี้นําแนวคิด ขณะทํากิจกรรม
ครูตองสงเสริมใหนักเรียนไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย ตลอดจนฝกฝนใหนักเรียนรูจัก
วิเคราะหปญหา ตัดสินใจและหาขอสรุป
ตอนทายของคูมือครู ไดเสนอแนะแนวการประเมินผลการเรียนรู โดยเฉพาะอยางยิ่งไดเสนอ
ตัวอยางแบบทดสอบและเกณฑการใหระดับคะแนนเพื่อประเมินผลการเรียนรูสาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการ
ทางคณิตศาสตรไวเปนแนวทางสําหรับครู ในการปรับใชใหเหมาะสมกับนักเรียนหรือคิดสรางสรรค
แบบทดสอบดวยตนเอง
ค
คําแนะนําการใชหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลม 1
หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลม 1 ประกอบดวย
1. เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระที่นําเสนอไวในหนังสือเรียนเลมนี้ เปนเนื้อหาสาระที่ใหความรูเสริมและ
เพิ่มเติมจากเนื้อหาสาระในหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานคณิตศาสตร เลม 1 ทั้งในดานเนื้อหา
คณิตศาสตรและดานทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ไดจัดกิจกรรมที่หลากหลายใหกับผูเรียน
เพื่อบูรณาการความรูตางๆ ที่มีอยูกับความรูใหมทั้งที่เปนความรูทางคณิตศาสตรและความรูใน
ศาสตรอื่นๆ ตลอดจนสามารถนําไปใชในการแกปญหาได
2. ตัวอยาง มีไวเสริมความเขาใจในเนื้อหาสาระและการนําไปใช
3. แบบฝกหัดทายหัวขอ แบบฝกหัดที่นําเสนอไวมีหลายลักษณะ คือฝกทักษะการคิดคํานวณ แกโจทย
ปญหา ฝกวิเคราะห ใหเหตุผล และฝกหาขอสรุปเพื่อนําไปสูการสรางขอความคาดการณ
4. ปญหาชวนคิด เปนโจทยปญหาหรือสถานการณกระตุนใหนักเรียนไดใชความรูที่เรียนมาเพื่อ
แกปญหาหรือหาขอสรุปใหม
เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใชหนังสือเรียน ครูควรปฏิบัติดังนี้
1. ศึกษาเนื้อหาสาระและวิธีนําเสนอควบคูกับกิจกรรมของแตละเรื่องที่เสนอแนะไวในคูมือครู
ใหเขาใจอยางถองแท
2. ทําแบบฝกหัดทายหัวขอและแสวงหาวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการหาคําตอบ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ขอที่มีวิธีคิดหรือคําตอบที่หลากหลาย ครูตองยอมรับคําตอบของนักเรียนเมื่อนักเรียนมีเหตุผล
ที่เหมาะสมมาประกอบคําตอบ
3. วางแผนการจัดการเรียนรูตลอดภาคเรียนใหครอบคลุมทุกเนื้อหาสาระและเหมาะสมกับเวลา
4. ในการสอนเนื้อหาสาระแตละเรื่องไมควรดวนบอกนักเรียนทันที ควรใชวิธีการสอนผานกิจกรรม
หรืออภิปรายโตตอบ เพื่อใหนักเรียนสรุปความคิดรวบยอดดวยตนเองเทาที่จะสามารถทําได
5. สรางสถานการณหรือโจทยที่สอดคลองกับเนื้อหาสาระในบทเรียนเพิ่มเติมจากสิ่งที่อยูใกลตัวหรือ
ภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจในเนื้อหาสาระมากขึ้นและสามารถเชื่อมโยงความรู
ตางๆ เปนแนวทางในการประยุกตตอไป
ง
กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ
สาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
บทที่ เรื่อง จํานวนชั่วโมง
1
2
3
4
การประยุกต 1
จํานวนและตัวเลข
การประยุกตของจํานวนเต็มและเลขยกกําลัง
การสราง
16
8
8
8
รวม 40

More Related Content

What's hot

แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1Surapong Jakang
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553Sircom Smarnbua
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาSophinyaDara
 
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาแผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาJirathorn Buenglee
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญThitiwat Paisan
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลdtschool
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57Weerachat Martluplao
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55Sircom Smarnbua
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 

What's hot (19)

ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3ก.ค.ศ.3
ก.ค.ศ.3
 
Learning management plan 3
Learning management plan 3Learning management plan 3
Learning management plan 3
 
Pancom m2
Pancom m2Pancom m2
Pancom m2
 
แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1แผนคอมฯ ม.2 1
แผนคอมฯ ม.2 1
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
รายงานผลการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2553
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษาแผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
แผน 8 นวัตกรรม บูรณาการอาเซียนศึกษา
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
 
ก.ค.ศ.1
ก.ค.ศ.1ก.ค.ศ.1
ก.ค.ศ.1
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
2015รายงานปฏิบัติงาน255738หน้า
 
แบบฝึกปฏิ..
แบบฝึกปฏิ..แบบฝึกปฏิ..
แบบฝึกปฏิ..
 
การศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกลการศึกษาทางไกล
การศึกษาทางไกล
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน  ประกอบการย้าย 57
แบบบันทึกความดีและรายงานผลการปฏิบัติงาน ประกอบการย้าย 57
 
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
 
แผน 1 2
แผน 1 2 แผน 1 2
แผน 1 2
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 

Similar to Add m1-1-link

design and technology
design and technology design and technology
design and technology Tarn Takpit
 
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdfหลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูSarawut Rajchakit
 
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55tassanee chaicharoen
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1Prachyanun Nilsook
 
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบงสารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบงSIRIMAUAN
 
The research of Learning Disabilities
The research of Learning DisabilitiesThe research of Learning Disabilities
The research of Learning DisabilitiesEve shinda
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...Nattapon
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)Aon Narinchoti
 

Similar to Add m1-1-link (20)

Add m2-1-link
Add m2-1-linkAdd m2-1-link
Add m2-1-link
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
Add m3-2-link
Add m3-2-linkAdd m3-2-link
Add m3-2-link
 
Add m6-2-link
Add m6-2-linkAdd m6-2-link
Add m6-2-link
 
Basic m3-1-link
Basic m3-1-linkBasic m3-1-link
Basic m3-1-link
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Add m4-2-link
Add m4-2-linkAdd m4-2-link
Add m4-2-link
 
Add m5-2-link
Add m5-2-linkAdd m5-2-link
Add m5-2-link
 
design and technology
design and technology design and technology
design and technology
 
Add m2-2-link
Add m2-2-linkAdd m2-2-link
Add m2-2-link
 
Add m5-1-link
Add m5-1-linkAdd m5-1-link
Add m5-1-link
 
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdfหลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
หลักสูตรวิทยาศาสตร์-66.pdf
 
สอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครูสอบวิชิาชีพครู
สอบวิชิาชีพครู
 
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
จุดเน้นที่ 1 ภาค1ปี55
 
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
การจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา1
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบงสารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
สารสนเทศโรงเรียนบ้านแบง
 
The research of Learning Disabilities
The research of Learning DisabilitiesThe research of Learning Disabilities
The research of Learning Disabilities
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 

Add m1-1-link

  • 1. คูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม ๑ กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชั้นมัธยมศึกษาปที่๑ ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๔๔ จัดทําโดย สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ ISBN 974-01-3647-8 พิมพครั้งที่หนึ่ง ๑๐,๐๐๐ เลม พ.ศ. ๒๕๔๖ องคการคาของคุรุสภาจัดพิมพจําหนาย พิมพที่โรงพิมพคุรุสภาลาดพราว ๒๒๔๙ ถนนลาดพราว วังทองหลาง กรุงเทพมหานคร มีลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติ
  • 2. คํานํา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (สสวท.) ไดรับมอบหมายจาก กระทรวงศึกษาธิการใหพัฒนาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 ของกลุมสาระ การเรียนรูคณิตศาสตร กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร รวมทั้งสาระการออกแบบและเทคโนโลยี และสาระเทคโนโลยีสารสนเทศในกลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยีตลอดจนจัดทํา สื่อการเรียนรูตามหลักสูตรดังกลาว คูมือครูเลมนี้ใชประกอบการเรียนการสอนควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เพื่อใหครูผูสอนใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนรู คณิตศาสตรใหผูเรียนไดพัฒนาตนเอง นําความรูทางคณิตศาสตรไปพัฒนาชาติและเปนเครื่องมือใน การเรียนรู้คณิตศาสตร์ตลอดจนศาสตร์อื่นๆในระดับที่สูงขึ้นไป ในการจัดทําคูมือครูเลมนี้ สสวท. ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากคณาจารย ผูทรงคุณวุฒิ นักวิชาการและครูผูสอน จากหลายหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน สสวท. จึงขอขอบคุณทุกทาน ไว ณ ที่นี้ และหวังเปนอยางยิ่งวาคูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนสําหรับครูผูสอนคณิตศาสตร ใหสามารถนําไปใชหรือปรับใชใหเหมาะสมกับศักยภาพของผูเรียน หากมีขอเสนอแนะใดที่จะทําใหคูมือครูเลมนี้สมบูรณยิ่งขึ้นโปรดแจง สสวท. ทราบดวย จักขอบคุณยิ่ง (นายพิศาล สรอยธุหร่ํา) ผูอํานวยการ สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 3. คําชี้แจง สาขาคณิตศาสตรมัธยมศึกษาสถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี(สสวท.) ไดรับมอบหมายจากกระทรวงศึกษาธิการใหพัฒนาหลักสูตรกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ชวงชั้น ที่ 3 (มัธยมศึกษาปที่ 1–3) ชวงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาปที่ 4–6) ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช2544 นอกจากนั้นยังไดพัฒนาสื่อการเรียนการสอนคณิตศาสตรเพื่อใชประกอบหลักสูตร ของชวงชั้นที่3และ4 อีกดวย หนังสือเรียนและคูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตรของชวงชั้นที่ 3 จะมีดวยกัน ทั้งหมดอยางละ 6 เลม ไดแก หนังสือเรียนและคูมือครูสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เลม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 2 เลม 2 ชั้นมัธยม ศึกษาปที่2 เลม1ชั้นมัธยมศึกษาปที่3 และเลม2ชั้นมัธยมศึกษาปที่3 ตามลําดับ ทั้งนี้สถานศึกษา สามารถนําไปปรับใชใหเหมาะสมกับหลักสูตรของแตละสถานศึกษา คูมือครูคณิตศาสตรเลมนี้จัดทําขึ้นเพื่อใชประกอบการเรียนการสอนควบคูกับหนังสือเรียน สาระการเรียนรูเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลม1ชั้นมัธยมศึกษาปที่1ใชเวลาในการเรียนการสอน2ชั่วโมง ตอสัปดาหตอภาค สวนหนาของเลมประกอบดวยคําชี้แจงการใชคูมือครู ในการใชคูมือครูขอใหอาน คําชี้แจงการใชคูมือครูดังกลาวกอนที่จะศึกษารายละเอียดในแตละบท ในแตละบทของคูมือครูประกอบดวย คํานําประจําบท ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป แนวทาง การจัดการเรียนรู จุดประสงค (ประจําหัวขอ) ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน กิจกรรมเสนอแนะ คําตอบของกิจกรรมหรือแบบฝกหัด ในสวนทายของคูมือครูเลมนี้ไดเสนอตัวอยางแบบทดสอบและเกณฑการใหคะแนนเพื่อ ประเมินผลการเรียนรูสาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการทางคณิตศาสตรไวดวย ผูสอนสามารถใชเปน แนวทางหรือปรับปรุงใชไดตามความเหมาะสม คณะผูจัดทําหวังวาคูมือครูเลมนี้จะเปนประโยชนตอการเรียนการสอนคณิตศาสตร อยางไร ก็ดีหากทานผูใชคูมือครูเลมนี้มีขอเสนอแนะประการใด โปรดแจงใหสาขาคณิตศาสตรมัธยมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีทราบ เพื่อปรับปรุงเอกสารใหสมบูรณยิ่งขึ้น ตอไป (นางสาวจารุวรรณ แสงทอง) หัวหนาสาขาคณิตศาสตรมัธยมศึกษา สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 4. สารบัญ หนา คํานํา คําชี้แจง คําชี้แจงการใชคูมือครู ก กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ ง บทที่ 1 การประยุกต1 1 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1 แนวทางในการจัดการเรียนรู 2 1.1 รูปเรขาคณิต 2 จุดประสงค 2 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 2 – ความยาวของดานของรูปสามเหลี่ยม 2 – จุดขางในและจุดขางนอก 4 – แทนแกรม 6 1.2 จํานวนนับ 7 จุดประสงค 7 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 7 – สูตรคูณ 7 – รอนหาจํานวนเฉพาะ 8 – ขั้นตอนวิธีแบบยุคลิด 10 1.3 รอยละในชีวิตประจําวัน 11 จุดประสงค 11 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 11 – รอยละของจํานวนใด 11 – ดอกเบี้ย 14 – เงินโบนัส 15 1.4 ปญหาชวนคิด 16 จุดประสงค 16 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 16
  • 5. หนา – ผลบวกของจํานวนคี่ 16 – มีอะไรอยูเทาไร 17 – เงิน – เงิน – เงิน 18 – เรียงอิฐปูพื้น 19 – แบงที่ดินปลูกผัก 20 – มีลูกอมอยูกี่เม็ด 21 คําตอบกิจกรรม 23 บทที่ 2 จํานวนและตัวเลข 45 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 45 แนวทางในการจัดการเรียนรู 46 2.1 ระบบตัวเลขโรมัน 46 จุดประสงค 46 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 46 2.2 ระบบตัวเลขฐานตางๆ 46 จุดประสงค 46 เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม 47 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 47 2.3 การเปลี่ยนฐานในระบบตัวเลข 49 จุดประสงค 49 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 49 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบปญหา 50 กิจกรรมเสนอแนะและคําตอบ 56 บทที่ 3 การประยุกตของจํานวนเต็มและเลขยกกําลัง 67 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 67 แนวทางในการจัดการเรียนรู 68 3.1 การคิดคํานวณ 68 จุดประสงค 68 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 68
  • 6. หนา 3.2 โจทยปญหา 70 จุดประสงค 70 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 70 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 72 บทที่ 4 การสราง 81 ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 82 แนวทางในการจัดการเรียนรู 83 4.1 การแบงสวนของเสนตรง 83 จุดประสงค 83 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 83 4.2 การสรางมุมขนาดตางๆ 86 จุดประสงค 86 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 86 4.3 การสรางรูปสามเหลี่ยมและรูปสี่เหลี่ยมดานขนาน 86 จุดประสงค 86 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 87 คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม 88 การประเมินผลการเรียนรู 109 คณะกรรมการจัดทําสื่อการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร ระดับมัธยมศึกษาตอนตน 119
  • 7. คําชี้แจงการใชคูมือครู สถาบันสงเสริมการสอนวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีไดพิจารณาเห็นวา เพื่อใหการจัดการเรียน การสอนคณิตศาสตรไดอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดไวในหลักสูตร ครบถวนทั้งสามดาน ไดแก ดานความรู ดานทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตรและดานคุณธรรม จริยธรรมและคานิยม จึงไดจัดทําคูมือครู ซึ่งเสนอแนะวิธีสอนและวิธีจัดกิจกรรมการเรียนการสอนไวโดย ละเอียดเพื่อใชควบคูกับหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 ดังนั้นครูตองศึกษาคูมือครู ใหเขาใจถองแท ควรทดลองปฏิบัติกิจกรรมเพื่อใหเกิดความพรอมในการสอนกอนเขาสอนทุกบทเรียน และดําเนินกิจกรรมตามที่เสนอแนะไว ครูอาจปรับเปลี่ยนกิจกรรมและวิธีจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ไดตามความเหมาะสมโดยคํานึงถึงศักยภาพของนักเรียนเปนสําคัญ คูมือครูของแตละบทประกอบดวยหัวขอตอไปนี้ 1. ชื่อบทและหัวขอเรื่องประจําบท ระบุจํานวนชั่วโมงที่ใชในการเรียนการสอนของแตละบท และแตละหัวขอไวโดยประมาณ ครูอาจยืดหยุนไดตามที่ครูเห็นสมควร 2. คํานําประจําบท บอกสาระสําคัญของบทเรียนทั่วไป สิ่งที่ควรปฏิบัติและสิ่งที่ควรย้ํา 3. ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป ในแตละบทเรียนจะระบุผลการเรียนรูที่คาดหวังรายปตามที่ ปรากฏอยูในหนังสือคูมือการจัดการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ครูตองคํานึงถึงเสมอวา จะตองจัดกิจกรรมการเรียนรูใหนักเรียนเกิดผลการเรียนรูตามที่กําหนด เพื่อการวัดและประเมินผลหลัง จบการเรียนการสอน ผลการเรียนรูที่ผานการประเมินนี้จะทําใหผูเรียนบรรลุผลตามมาตรฐานการเรียนรู ชวงชั้นที่ 3 ดวย 4. แนวทางในการจัดการเรียนรู ในแตละหัวขอยอยของแตละบทไดใหรายละเอียดของ หัวขอตอไปนี้ 1) จุดประสงค ระบุไวเพื่อใหครูคํานึงถึงเสมอวาจะตองจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ใหนักเรียนมีความรูและมีความสามารถตรงตามจุดประสงคที่วางไว ซึ่งจะตอง เกิดขึ้นระหวางเรียนหรือดําเนินกิจกรรม ครูตองประเมินผลใหตรงตามจุดประสงค และใชวิธีการประเมินผลที่หลากหลายเพื่อใหบรรลุถึงผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป การประเมินผลที่หลากหลายอาจเปนการสังเกต การตอบคําถาม การทํา แบบฝกหัด การทํากิจกรรม หรือการทดสอบยอย จุดประสงคใดที่ครูเห็นวา นักเรียนสวนใหญยังไมผาน ในชั่วโมงตอไปครูควรนําบทเรียนนั้นมาสอนซอม เสริมใหม
  • 8. ข 2) เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม ในบางหัวขอไดระบุรายการกิจกรรมเสนอแนะไว ดังรายละเอียดในขอ 6 3) ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เปนสวนสําคัญของคูมือครู ครูควรศึกษาและทําความเขาใจควบคูกับหนังสือเรียน เพื่อเตรียมจัดกิจกรรม การเรียนการสอนใหสอดคลองกับจุดประสงคและเหมาะสมกับความสามารถของ นักเรียน 5. คําตอบกิจกรรมและคําตอบแบบฝกหัดประจําบท คําถามทุกคําถามในกิจกรรมและแบบฝกหัด ทุกขอมีคําตอบใหและบางขอมีเฉลยแนวคิดไวใหเพื่อเปนแนวทางหนึ่งในการหาคําตอบ บางขอมีหลาย คําตอบแตใหไวเปนตัวอยางเพียงหนึ่งคําตอบ ทั้งนี้เพราะกิจกรรมหรือแบบฝกหัดที่ใหนักเรียนทํา ไดสอดแทรกปญหาที่เปดโอกาสใหนักเรียนไดสืบเสาะ สังเกต วิเคราะหและคาดการณ การเฉลย คําตอบหรือการใหเหตุผลประกอบคําตอบไดคํานึงถึงพื้นฐานความรูและวุฒิภาวะของนักเรียนเปนหลัก การใหเหตุผลหรือคําอธิบายของนักเรียนอาจแตกตางจากที่เฉลยไว ในการตรวจแบบฝกหัดครูควร พิจารณาอยางรอบคอบ ยอมรับคําตอบที่เห็นวามีความถูกตองและเปนไปได ถึงแมวาจะไมเหมือนกับ คําตอบที่เฉลยไว ปญหาที่มีลักษณะเปนปญหาชวนคิด มีคําตอบอยูในสวนนี้ดวย 6. กิจกรรมเสนอแนะ สําหรับหัวขอ 2.2 ไดเสนอแนะกิจกรรมที่พัฒนาทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตรเพื่อใหครูเลือกใช ในแตละกิจกรรมครูอาจปรับเปลี่ยนใหเหมาะสมกับเวลาและความสามารถ ของนักเรียน กอนดําเนินกิจกรรม ครูควรสนทนากับนักเรียนดวยบรรยากาศที่เปนกันเอง เพื่อใหเกิดความเขาใจ และมองเห็นแงมุมตางๆ ของกิจกรรมที่จะทํา ไมควรดวนอธิบายหรือชี้นําแนวคิด ขณะทํากิจกรรม ครูตองสงเสริมใหนักเรียนไดมีโอกาสแสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย ตลอดจนฝกฝนใหนักเรียนรูจัก วิเคราะหปญหา ตัดสินใจและหาขอสรุป ตอนทายของคูมือครู ไดเสนอแนะแนวการประเมินผลการเรียนรู โดยเฉพาะอยางยิ่งไดเสนอ ตัวอยางแบบทดสอบและเกณฑการใหระดับคะแนนเพื่อประเมินผลการเรียนรูสาระที่ 6 ทักษะ/กระบวนการ ทางคณิตศาสตรไวเปนแนวทางสําหรับครู ในการปรับใชใหเหมาะสมกับนักเรียนหรือคิดสรางสรรค แบบทดสอบดวยตนเอง
  • 9. ค คําแนะนําการใชหนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลม 1 หนังสือเรียนสาระการเรียนรูเพิ่มเติมคณิตศาสตร เลม 1 ประกอบดวย 1. เนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระที่นําเสนอไวในหนังสือเรียนเลมนี้ เปนเนื้อหาสาระที่ใหความรูเสริมและ เพิ่มเติมจากเนื้อหาสาระในหนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานคณิตศาสตร เลม 1 ทั้งในดานเนื้อหา คณิตศาสตรและดานทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร ไดจัดกิจกรรมที่หลากหลายใหกับผูเรียน เพื่อบูรณาการความรูตางๆ ที่มีอยูกับความรูใหมทั้งที่เปนความรูทางคณิตศาสตรและความรูใน ศาสตรอื่นๆ ตลอดจนสามารถนําไปใชในการแกปญหาได 2. ตัวอยาง มีไวเสริมความเขาใจในเนื้อหาสาระและการนําไปใช 3. แบบฝกหัดทายหัวขอ แบบฝกหัดที่นําเสนอไวมีหลายลักษณะ คือฝกทักษะการคิดคํานวณ แกโจทย ปญหา ฝกวิเคราะห ใหเหตุผล และฝกหาขอสรุปเพื่อนําไปสูการสรางขอความคาดการณ 4. ปญหาชวนคิด เปนโจทยปญหาหรือสถานการณกระตุนใหนักเรียนไดใชความรูที่เรียนมาเพื่อ แกปญหาหรือหาขอสรุปใหม เพื่อใหเกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใชหนังสือเรียน ครูควรปฏิบัติดังนี้ 1. ศึกษาเนื้อหาสาระและวิธีนําเสนอควบคูกับกิจกรรมของแตละเรื่องที่เสนอแนะไวในคูมือครู ใหเขาใจอยางถองแท 2. ทําแบบฝกหัดทายหัวขอและแสวงหาวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการหาคําตอบ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ขอที่มีวิธีคิดหรือคําตอบที่หลากหลาย ครูตองยอมรับคําตอบของนักเรียนเมื่อนักเรียนมีเหตุผล ที่เหมาะสมมาประกอบคําตอบ 3. วางแผนการจัดการเรียนรูตลอดภาคเรียนใหครอบคลุมทุกเนื้อหาสาระและเหมาะสมกับเวลา 4. ในการสอนเนื้อหาสาระแตละเรื่องไมควรดวนบอกนักเรียนทันที ควรใชวิธีการสอนผานกิจกรรม หรืออภิปรายโตตอบ เพื่อใหนักเรียนสรุปความคิดรวบยอดดวยตนเองเทาที่จะสามารถทําได 5. สรางสถานการณหรือโจทยที่สอดคลองกับเนื้อหาสาระในบทเรียนเพิ่มเติมจากสิ่งที่อยูใกลตัวหรือ ภูมิปญญาทองถิ่น เพื่อใหนักเรียนมีความเขาใจในเนื้อหาสาระมากขึ้นและสามารถเชื่อมโยงความรู ตางๆ เปนแนวทางในการประยุกตตอไป
  • 10. ง กําหนดเวลาสอนโดยประมาณ สาระการเรียนรูเพิ่มเติม คณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 บทที่ เรื่อง จํานวนชั่วโมง 1 2 3 4 การประยุกต 1 จํานวนและตัวเลข การประยุกตของจํานวนเต็มและเลขยกกําลัง การสราง 16 8 8 8 รวม 40