SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
บทที่ 3
ความนาจะเปน
(40 ชั่วโมง)
ตามประวัติศาสตร การหาความนาจะเปนเริ่มมาจากปญหาการไดเปรียบเสีย
เปรียบในการพนัน การศึกษาเรื่องนี้จะชวยใหผูเรียนสามารถคาดเหตุการณลวงหนาไดอยางมี
หลักเกณฑ ซึ่งจะชวยในการตัดสินใจไดอยางมาก ซึ่งบทนี้จะกลาวถึงกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยว
กับการนับ วิธีเรียงสับเปลี่ยน วิธีจัดหมู ทฤษฎีบททวินาม ความนาจะเปน และกฎที่สําคัญบาง
ประการของความนาจะเปน
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง
1. แกโจทยปญหาโดยใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ วิธีเรียงสับเปลี่ยน และวิธีจัดหมู
2. นําความรูเรื่องทฤษฎีบททวินามไปใชได
3. หาความนาจะเปนของเหตุการณที่กําหนดใหได
ผลการเรียนรูที่คาดหวังเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น
ทางดานความรู ดังนั้นในการจัดการเรียนรู ผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูดานทักษะ/
กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปน อันไดแก ความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล
การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทาง
คณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น และการคิดริเริ่มสรางสรรค นอกจากนั้น
กิจกรรมการเรียนรู ควรสงเสริมใหผูเรียนตระหนักในคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร
ตลอดจนฝกใหนักเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ
มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง
115
ขอเสนอแนะ
1. ในการใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับหาคําตอบของโจทยปญหานั้น ควร
อานโจทยปญหาใหเขาใจวาในปญหานั้นกําหนดเงื่อนไขอะไรบาง การพิจารณาเงื่อนไขของ
ปญหาจะชวยใหสามารถกําหนดขั้นตอนในการแกปญหา ซึ่งจะชวยใหสามารถหาคําตอบได
งายขึ้น ลองพิจารณาตัวอยางตอไปนี้
ปญหาที่ 1 จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักโดยที่ตัวเลขใน
แตละหลักไมซ้ํากันไดทั้งสิ้นกี่จํานวน
วิธีคิด จากโจทยปญหาไดกําหนดเงื่อนไข 3 ขอ คือ
1) ใหใชตัวเลขโดดได 6 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4 และ 5
2) จํานวนที่ตองการ เปนจํานวนที่มีสามหลัก
3) ตัวเลขในแตละหลักของแตละจํานวนที่ตองการ ตองไมซ้ํากัน
จากเงื่อนไขทั้งสามขอนี้ตองนํามาพิจารณาประกอบการใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับ
การนับ เพื่อหาวาจะเขียนจํานวนที่ตองการไดกี่จํานวน สําหรับปญหานี้ตองพิจารณาวิธีที่จะ
เขียนตัวเลขในหลักตาง ๆ คือ หลักหนวย หลักสิบ และหลักรอย เนื่องจากการเขียนจํานวน
ที่มีสามหลักนั้น หลักรอยตองไมใชตัวเลข 0 สวนหลักอื่น ๆ นั้นจะใชตัวเลขใดก็ไดใน 6 ตัว
ที่กําหนด การเริ่มแกปญหาจึงควรเริ่มดวยการหาจํานวนวิธีที่จะเขียนตัวเลขในหลักรอย
เพราะมีขอจํากัดมากกวาหลักอื่น ๆ ดังนั้น วิธีหาคําตอบปญหาจึงอาจเปนดังนี้
วิธีที่ 1 เขียนตัวเลขในหลักรอยไดตาง ๆ กัน 5 วิธี
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 5 วิธี
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักรอยและหลักสิบ เขียนตัวเลขในหลักหนวยได 4 วิธี
ดังนั้น จากกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ จํานวนที่มีสามหลักที่เขียนโดยใช
ตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5 โดยที่ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันมีทั้งสิ้น 5 × 5 × 4 = 100
จํานวน
วิธีหาคําตอบขางตนเปนเพียงวิธีหนึ่งเทานั้น อาจหาคําตอบโดยวิธีอื่น ๆ ก็ได
เชน การพิจารณาโดยเริ่มจากการเขียนหลักหนวยกอน แตเนื่องจากจะมีปญหาวา
เหลือ 0 อยูหรือไม จึงแยกกรณีพิจารณาดังตอไปนี้
วิธีที่ 2 ถาเริ่มเขียนตัวเลขในหลักหนวยกอน แยกกรณีพิจารณาไดดังนี้
116
(1) หาจํานวนที่มีสามหลักที่มี 0 อยูในหลักหนวย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 5 วิธี
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักสิบ เขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี
ดังนั้น จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่มี 0 อยูในหลักหนวย และใชตัวเลข
0, 1, 2, 3, 4, 5 โดยที่ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันได 5 × 4 = 20 จํานวน
(2) หาจํานวนสามหลักที่มี 0 อยูในหลักสิบ
ในทํานองเดียวกับขอ (1) จะไดวาจํานวนสามหลักในขอนี้มีทั้งหมด 20 จํานวน
(3) หาจํานวนสามหลักที่ไมมี 0 ปรากฏอยูเลย
จะไดทั้งหมด 5 × 4 × 3 = 60 จํานวน
จาก (1), (2) และ (3) จํานวนสามหลักที่ไดจากการใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5
เขียนโดยตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน มีทั้งสิ้น 20 + 20 + 60 = 100 จํานวน
ปญหาที่ 2 จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคี่
และตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันไดกี่จํานวน
วิธีคิด เงื่อนไขของปญหานี้เหมือนของปญหาที่ 1 แตเพิ่มเงื่อนไขอีกหนึ่งขอ คือ จํานวน
ที่ตองการตองเปนจํานวนคี่ เงื่อนไขนี้มีผลตอจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวย
ถาเริ่มหาคําตอบโดยพิจารณาจํานวนวิธีที่จะเขียนตัวเลขในหลักรอยกอนเชนเดียว
กับการพิจารณาการเขียนตัวเลขในหลักหนวยวาทําไดกี่วิธีจะมีปญหา เพราะใน 5 วิธี
ที่เขียนตัวเลขในหลักรอยนั้นมี 3 วิธี ที่ใช 1, 3 และ 5 ไปแลว ทําใหมีผลตอจํานวน
วิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวยซึ่งใชตัวเลขที่กําหนดใหไดเพียง 3 ตัว คือ 1, 3 และ 5
เทานั้น ยิ่งถาพิจารณาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักสิบตอจากการพิจารณาจํานวน
วิธีเขียนตัวเลขในหลักรอยจะทําใหการพิจารณาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวย
มีปญหามากขึ้น
วิธีหาคําตอบของปญหานี้จึงควรพิจารณาวิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวยเสียกอน
แลวพิจารณาจํานวนวิธีการเขียนตัวเลขในหลักรอย จากนั้นจึงไปพิจารณาจํานวน
วิธีเขียนตัวเลขในหลักสิบเปนอันดับสุดทาย
วิธีทํา เขียนตัวเลขในหลักหนวยไดตาง ๆ กัน 3 วิธี
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวย เขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 4 วิธี
117
ดังนั้น ใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 เขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคี่
และตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน ได 4 × 4 × 3 = 48 จํานวน
ปญหาที่ 3 จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูและ
ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันไดกี่จํานวน
วิธีคิด ปญหาที่ 3 นี้ มีเงื่อนไขเพิ่มจากปญหาที่ 1 อีกหนึ่งขอคือ จํานวนที่ตองการเปน
จํานวนคู ถาพิจารณาไมรอบคอบอาจจะสรุปวาใชวิธีการในทํานองเดียวกับที่ใชใน
การหาคําตอบปญหาที่ 2 คือ พิจารณาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวย หลักรอย
และหลักสิบ ตามลําดับ แตวิธีดังกลาวมีปญหาเพราะตัวเลขที่อาจใชในหลักหนวยมี
3 ตัว คือ 0, 2 และ 4 การที่ 0 อาจถูกใชหรือไมถูกใชในการเขียนตัวเลขหลักหนวย
มีผลตอการพิจารณาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักรอย การหาคําตอบจึงอาจทําได
โดยการแยกกรณีพิจารณา เมื่อใช 0 เปนหลักหนวย และเมื่อไมไดใช 0 เปน
หลักหนวย ดังนี้
วิธีทํา แยกกรณีและพิจารณาดังนี้
1. เมื่อใชตัวเลขในหลักหนวยเปน 0
เขียนตัวเลขในหลักรอยได 5 วิธี
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 4 วิธี
ดังนั้น จํานวนสามที่มีหลักที่หลักหนวยเปน 0 ที่เขียนโดยใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4
และ 5 โดยตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันมี 5 × 4 = 20 จํานวน
2. เมื่อตัวเลขในหลักหนวยไมใช 0
เขียนตัวเลขในหลักหนวยได 2 วิธี (คือ 2 หรือ 4)
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวย เขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและในหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 4 วิธี
ดังนั้น จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูที่หลักหนวยไมเปน 0 และเขียนโดย
ใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 โดยตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน มี
4 × 4 × 2 = 32 จํานวน
ดังนั้นการใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 เขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู
โดยตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน ได 20 + 32 = 52 จํานวน
118
หมายเหตุ 1. ถาปญหาที่ 1, 2 และ 3 เปนปญหาที่ถามตอเนื่องกันแลว การหาคําตอบ
ปญหาที่ 3 อาจใชคําตอบปญหาที่ 1 และ 2 ชวย โดยใชคําตอบปญหาที่ 2 ลบออกจากคําตอบ
ปญหาที่ 1 ก็ได
2. ในการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับการนับจํานวนวิธี บางกรณีก็ใชเฉพาะการคูณ
บางกรณีก็ใชการบวก ซึ่งผูสอนควรอธิบายใหผูเรียนเขาใจถึงลักษณะของโจทยที่จะตองใช
การคูณหรือการบวก การกระทําใด ๆ ที่ยังไมสิ้นสุดการคํานวณหาจํานวนวิธีสําหรับการกระทํา
นั้น ๆ เราใชการคูณ แตถาการกระทําใด ๆ สามารถแยกไดเปนหลายกรณีและแตละกรณีสิ้นสุด
ลงแลว ในการคํานวณหาจํานวนวิธีสําหรับการกระทํานั้นเราใชการบวกจํานวนวิธีในแตละกรณี
เขาดวยกัน ดังจะเห็นไดจากตัวอยางขางตนที่ใหหาจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู เราแยก
เปนจํานวนคูที่ลงทายดวย 0 ซึ่งมี 20 จํานวน ซึ่งการคํานวณหาจํานวนวิธีในกรณีนี้สิ้นสุดลงแลว
และจํานวนคูที่ไมลงทายดวย 0 ซึ่งมี 32 จํานวน การคํานวณหาจํานวนวิธีในกรณีนี้ก็สิ้นสุด
ลงแลวเชนกัน ดังนั้น เมื่อเราตองการทราบวาจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูมีกี่จํานวน
เราจึงนําจํานวนวิธีที่หาไดในแตละกรณีมาบวกกัน กลาวคือ มี 20 + 32 = 52 จํานวน และ
จะเห็นวา ในการคํานวณหาจํานวนคูดังกลาวในแตละกรณีนั้น แตละตอนเปนการกระทําที่
ตอเนื่องกัน เราจึงใชวิธีคูณดังไดกลาวแลวในกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ หลักการที่
กลาวมานี้สามารถนําไปใชกับการคํานวณหาจํานวนวิธีทั้งหมดในวิธีเรียงสับเปลี่ยน และวิธี
จัดหมูไดเชนเดียวกัน
3. ในการแกโจทยปญหา ผูเรียนมักจะพบปญหาวา โจทยขอนี้เปนเรื่อง
เกี่ยวกับวิธีเรียงสับเปลี่ยนหรือวิธีจัดหมูที่เปนดังนี้อาจเปนเพราะผูเรียนไมเขาใจวาวิธีเรียง
สับเปลี่ยนและวิธีจัดหมูนั้นมีความหมายตางกันอยางไร ผูสอนควรอธิบายใหผูเรียนเขาใจวา
วิธีเรียงสับเปลี่ยนนั้นจะเกี่ยวของกับตําแหนงที่หรืออันดับที่ สวนวิธีจัดหมูนั้นไมเกี่ยวกับ
ตําแหนงที่หรืออันดับ เชน
1) มีจุด 4 จุด บนเสนรอบวงของวงกลมวงหนึ่งจะลากสวนของเสนตรง
ผานจุด 2 จุดไดทั้งหมดกี่เสน
จะเห็นวา สวนของเสนตรงที่ลากผานจุดที่ 1 ไปยังจุดที่ 2 และ
สวนของเสนตรงที่ลากผานจุดที่ 2 ไปยังจุดที่ 1 เปนสวนของเสนตรงเดียวกัน จึงไมตองคํานึง
ถึงอันดับใดกอนหลัง การทําโจทยประเภทนี้เปนวิธีจัดหมู
ดังนั้น จะมีสวนของเสนตรง 4
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 4!
2!2!
= 6 เสน
119
2) จากตัวอักษรในคําวา MONDAY ถาตองการนําอักษร 3 ตัว
จากคํานี้มาเรียงเปนคําใหมโดยไมคํานึงถึงความหมายจะจัดไดทั้งหมดกี่คํา
จะเห็นวา ตําแหนงที่ตางกันของอักษรทั้ง 3 ตัวที่จัดนั้นทําใหเกิดคําใหม
เสมอ จึงถือวาตําแหนงที่หรืออันดับที่ทําใหผลที่เกิดขึ้นตางกัน โจทยขอนี้จึงเปนวิธีเรียงสับเปลี่ยน
ดังนั้น จะจัดคําทั้งหมดได P6, 3 = 6 × 5 × 4 = 120 คํา
หรืออาจจะคิดไดอีกวิธีหนึ่งดังนี้
มีอักษรทั้งหมด 6 ตัว เลือกมาทีละ 3 ตัว แลวนํา 3 ตัวนี้มาจัดเรียง
สับเปลี่ยนอีกครั้งหนึ่ง จํานวนวิธีเลือกทั้งหมดมี C6, 3 วิธี ในแตละวิธีของการเลือกนํามา
จัดเรียงสับเปลี่ยนได 3! วิธี
ดังนั้น จะจัดคําทั้งหมดได C6, 3 × 3! = 120 คํา
และในกรณีทั่วไปจะพบวา cn,r × r! = Pn, r
4. ในการพิจารณาปญหาเกี่ยวกับจํานวนวิธีในการจัดเรียงตัวอักษรหรือตัวเลข
มักจะมีปญหาวาจะจัดตัวอักษรหรือตัวเลขเหลานั้นซ้ํากันไดหรือไมในกรณีที่โจทยปญหานั้น
ไมบงไวอยางแนชัด ปญหาดังกลาวเปนปญหาที่เกิดจากการตีความหมายซึ่งไมมีขอตกลงหรือ
ขอกําหนดที่แนนอน ผูสอนควรหลีกเลี่ยงไมใหเกิดปญหาเหลานั้นโดยการกําหนดใหชัดเจน
(ดังตัวอยางในหนังสือเรียน) วาจะใชตัวเลขหรือตัวอักษรซ้ําไดหรือไม
ตัวอยางโจทยปญหาที่กําหนดไวชัดเจนที่ควรจะตีความหมายไดตรงกัน
(1) จะเขียนจํานวนเต็มบวกซึ่งมีสี่หลักไดทั้งหมดกี่จํานวน (ในกรณีนี้
ตัวเลขในแตละหลักใชซ้ํากันได ดังนั้น คําตอบคือ 9 × 10 × 10 × 10 จํานวน)
(2) จะใชบัตร 4 ใบที่เขียนตัวเลข 1, 2, 3, 4 ไวตามลําดับเรียงใหไดจํานวน
ที่มีสามหลักไดทั้งหมดกี่จํานวน (ในกรณีนี้การจัดเรียงแตละแบบใชบัตรไดบัตรละ 1 ครั้ง
ดังนั้น คําตอบคือ 4!)
(3) จะใชตัวเลข 1, 2, 3, 4, 5, 6 เขียนลงในบัตรโดยเขียนเปนจํานวนที่มี
หกหลัก จะเขียนไดทั้งหมดกี่บัตร (ในกรณีนี้การจัดในแตละแบบใชตัวเลขซ้ํากันได เชน
หมายเลข 666333 เปนตน ดังนั้น คําตอบคือ 66
บัตร
(4) จะมีวิธีจัดเรียงตัวอักษรในคําวา “HEAD” ไดกี่วิธีถาไมสนใจความ
หมายของคําที่เกิดขึ้น (ในกรณีนี้คลายกับกรณีในขอ (2) ซึ่งคลายกับวา ตัวอักษรแตละตัว
เขียนอยูในบัตร นําบัตรมาจัดเรียงอันดับใหม คําตอบคือ 4!)
(5) จะมีวิธีจัดเรียงตัวเลขในเซต {0, 1, 2, 3, 4} ไดกี่วิธี (ในกรณีนี้คลาย
120
กับกรณีในขอ (4) คําตอบคือ 5!)
(6) จะมีวิธีจัดเรียงตัวเลขในจํานวน “2435” ไดกี่วิธี ( คําตอบคือ 4!)
(7) จะสรางจํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักจากตัวเลข 1, 4, 6, 9 ไดกี่จํานวน
(ในกรณีนี้โดยทั่วไปจะหมายถึงวาใชตัวเลขซ้ําได แตเพื่อปองกันมิใหเกิดปญหา ควรเขียน
ใหชัดเจนลงไปวา ใชตัวเลขซ้ํากันได)
5. ในเรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม อาจมีปญหาเกี่ยวกับการหาจํานวนวิธี
เชน การรอยลูกปดเปนวงกลม หรือการรอยพวงมาลัยเปนวงกลม เปนตน
การหาจํานวนวิธีรอยลูกปด 4 ลูก ซึ่งมีสีขาว สีแดง สีฟา และสีมวง
เปนวงกลม มีไดกี่วิธี
ถาการจัดเรียงเปนวงกลมนี้ จะจัดได (4 – 1)! = 6 วิธี ดังรูป
(1) (2) ให ข แทนสีขาว
ส แทนสีแดง
ฟ แทนสีฟา
ม แทนสีมวง
(3) (4)
(5) (6)
แตถาเรารอยลูกปดของแตละวิธีที่จัดเรียงไวเขาดวยกันเปนวงกลม จะเห็นวา
เรารอยไดเพียง 3 วิธี คือ (1), (3) และ (5) เพราะในการรอยแบบ (1) ทําใหเกิดแบบ (2) ดวย
ข
ส
ฟ
ม
ข
ม
ฟ
ส
ข
ฟ
ม
ส
ข
ส
ม
ฟ
ข
ม
ส
ฟ
ข
ฟ
ส
ม
121
กลาวคือ เมื่อพลิกอีกดานหนึ่งของ (1) ขึ้น ก็จะไดการจัดเรียงแบบ (2) นั่นเอง ทํานองเดียว
กัน ถาพลิกอีกดานหนึ่งของ (3) จะไดการจัดเรียงแบบ (4) และพลิกแบบ (5) ก็ไดการจัดเรียง
แบบ(6)
ดังนั้น ในการรอยลูกปด 4 ลูก รอยได 3 วิธี
โดยทั่วไปจํานวนวิธีจัดเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลมในลักษณะที่กลาวขางตน
กลาวคือมีการพลิกกลับอีกดานหนึ่งได จํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนจะเปนครึ่งหนึ่งของจํานวน
วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลมที่กลาวไวในหนังสือเรียน
6. กรณีที่วา ถามีสิ่งของอยู n สิ่ง ในจํานวนนี้มี n1 สิ่งที่เหมือนกันเปนกลุม
ที่ 1 มี n2 สิ่งที่เหมือนกันเปนกลุมที่ 2 ... และมี nk สิ่งที่เหมือนกันเปนกลุมที่ k โดยที่
n1 + n2 + ... + nk = n จํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนของทั้ง n สิ่งเทากับ
1 2 k
n!
n !n ! n !L
กฎนี้บางครั้งเรียกวา “กฎการแบงกลุม” (Partitioning Law) เพราะอาจใช
คํานวณจํานวนวิธีที่จะแบงคนหรือสิ่งของ n สิ่ง ออกเปน k กลุม โดยใหกลุมที่ 1 มี n1 สิ่ง
กลุมที่ 2 มี n2 สิ่ง ... กลุมที่ k มี nk สิ่ง และ n1 + n2 + ... + nk = n การใชกฎนี้คํานวณ
หาจํานวนวิธีที่จะแบงสิ่งของดังกลาวขางตนมีขอควรระวังวา จํานวนสิ่งของในแตละกลุม
จะตองไมเทากัน และสิ่งของที่นํามาแบงตองแตกตางกันทั้งหมด
สมมุติวามีของ 4 สิ่ง คือ A, B, C และ D ตองการแบงออกเปนสองกลุม
กลุมหนึ่งมี 3 สิ่ง อีกกลุมหนึ่งมี 1 สิ่ง จะแบงไดดังนี้
A, B, C กับ D
A, B, D กับ C
A, C, D กับ B
B, C, D กับ A
จะเห็นวา แบงไดทั้งหมด 4 วิธี
วิธีการแบงก็คือเลือกของที่จะใหเปนกลุมแรกออกมากอน ของที่เหลือก็จะ
เปนอีกกลุมหนึ่ง
ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะแบงของดังกลาว จะเทากับจํานวนวิธีของการเลือก
ของ 3 สิ่งจากของ 4 สิ่ง ซึ่งเทากับ
C4, 3 = 4!
3!1!
= 4 วิธี
122
หรือจะเทากับจํานวนวิธีของการเลือกของ 1 สิ่งจากของ 4 สิ่ง ซึ่งเทากับ
C4, 1 = 4!
1!3!
= 4 วิธี
กลาวโดยทั่วไปไดวา ถามีสิ่งของ p + q สิ่ง ซึ่งแตกตางกันทั้งหมดตองการ
แบงออกเปนสองกลุม ๆ ละ p และ q สิ่ง โดยที่ p ≠ q จะไดจํานวนวิธีแบงเทากับ
Cp+q, p หรือ Cp+q, q
โดยที่ Cp+q, p = (p q)!
p!q!
+
Cp+q, q = (p q)!
p!q!
+
ถาตองการแบงสิ่งของ p + q + r สิ่ง ซึ่งแตกตางกันทั้งหมดและแบงเปน
3 กลุม ๆ ละ p, q และ r สิ่ง โดยที่ p ≠ q ≠ r ก็ทําไดโดยการแบงของ p + q + r สิ่ง
ออกเปนสองกลุมกอน โดยใหกลุมที่หนึ่งมีของ p สิ่ง อีกกลุมหนึ่งจะมีของ q + r สิ่ง
จํานวนวิธีแบงของ p สิ่ง จาก p + q + r สิ่ง เทากับ Cp+q+r, p
Cp+q+r, p = (p q r)!
p!(q r)!
+ +
+
ในแตละวิธีของการแบงกลุมครั้งนี้จะแบงของ q + r สิ่ง ออกเปนสองกลุม ๆ ละ q และ r สิ่ง
จะไดจํานวนวิธีแบงเทากับ Cq+r, q หรือ Cq+r, r
ดังนั้น จํานวนวิธีทั้งหมดที่จะแบงของ p + q + r สิ่ง ซึ่งแตกตางกันออก
เปนสามกลุม ๆ ละ p, q และ r สิ่ง โดยที่ p ≠ q ≠ r จะมีทั้งหมด
p q r q r
p q
+ + +⎛ ⎞⎛ ⎞
⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠
= (p q r)! (q r)!
p!(q r)! q!r!
+ + +
×
+
= (p q r)!
p!q!r!
+ +
ในทํานองเดียวกัน ถาตองการแบงของ n สิ่ง ซึ่งแตกตางกันทั้งหมด
ออกเปน k กลุม ๆ ละ n1, n2, ..., nk สิ่ง โดยที่ n1 ≠ n2 ≠ ... ≠ nk และ n1 + n2 + ...+ nk = n
จํานวนวิธีแบงทั้งหมดเทากับ
1 2 k
n!
n !n ! n !L
ตัวอยาง จงหาจํานวนวิธีทั้งหมดที่จะจัดแบงนักเรียน 20 คน ใหขึ้นรถยนต 3 คัน โดยที่
รถยนตแตละคันบรรทุกได 5, 7 และ 8 คน ตามลําดับ
วิธีคิด การจัดแบงนักเรียน 20 คน ใหขึ้นรถยนต 3 คันนี้ก็คือ การแบงนักเรียน 20 คน
ออกเปนสามกลุม ๆ ละ 5, 7 และ 8 คน เมื่อแบงแลวใหแตละกลุมขึ้นรถยนต
123
ตามขนาดบรรทุกที่กําหนด เชนกลุมที่มีนักเรียน 5 คน ก็ขึ้นรถยนตคันที่บรรทุก
ได 5 คน จึงไมตองมีการสลับกลุมเพื่อขึ้นรถยนต และในรถยนตแตละคัน
นักเรียนไมตองสลับที่กันนั่ง เพราะจะสลับกันอยางไรก็อยูในรถยนตคันเดียวกัน
นั่นเอง
วิธีทํา จํานวนวิธีทั้งหมดที่จะจัดแบงนักเรียนใหขึ้นรถยนตได 20!
5!7!8!
= 99,768,240 วิธี
7. การนําเขาสูบทเรียนเรื่องปริภูมิตัวอยาง ควรใหผูเรียนเขียนผลลัพธที่เปน
ไปไดทั้งหมด ซึ่งอาจใชการเขียนแผนภาพตนไมชวย แลวจึงบอกใหผูเรียนทราบวา เซตของ
ผลลัพธที่เปนไปไดทั้งหมดคือปริภูมิตัวอยาง
8. ในการหาความนาจะเปนของเหตุการณ E ที่เปนสับเซตของปริภูมิตัวอยาง
โดยใชบทนิยาม P(E) = n
N
เมื่อ n เปนจํานวนสมาชิกของเหตุการณ และ N เปนจํานวน
สมาชิกของปริภูมิตัวอยาง S จะใชไดก็ตอเมื่อ S เปนเซตจํากัดและแตละสมาชิกในปริภูมิ
ตัวอยาง S มีโอกาสเกิดขึ้นไดเทา ๆ กัน เชน
ก. ในถุงใบหนึ่งมีลูกบอลสีแดง 10 ลูก สีขาว 5 ลูก หยิบลูกบอลมา 1 ลูก
สนใจสีของลูกบอลที่หยิบได ปริภูมิตัวอยาง คือ
S = {สีแดง, สีขาว}
ถาสนใจเหตุการณ E ที่จะหยิบไดลูกบอลสีแดง
E = {สีแดง}
ถาใชสูตรโดยไมพิจารณาเงื่อนไขจะได P(E) = 1
2
ซึ่งผิด เนื่องจากแตละสมาชิกในปริภูมิ
ตัวอยาง S มีโอกาสเกิดขึ้นไดไมเทากัน เพราะในถุงมีลูกบอลสีแดงมากกวาสีขาว
ดังนั้น โอกาสที่จะไดลูกบอลสีแดงจึงมีมากกวาโอกาสที่หยิบไดลูกบอลสีขาว แตถาเขียน S
และ E ใหมดังนี้
S = {x⏐x เปนลูกบอลในถุง}
E = {x⏐x เปนลูกบอลสีแดงในถุง}
จะใชสูตร P(E) = n
N
ได เพราะสมาชิกแตละตัวใน S มีโอกาสที่จะถูกหยิบไดเทา ๆ กัน
ดังนั้น จะได P(E) = 10
15
124
ถา E เปนเหตุการณที่จะไดผลรวมของแตมเปน 3 จากการทอดลูกเตา 2 ลูก 1 ครั้ง
จะหา P(E) โดยใชปริภูมิตัวอยาง S = {2, 3, 4, ..., 12} ไมได เนื่องจากแตละ
สมาชิกในปริภูมิตัวอยาง S มีโอกาสเกิดขึ้นไดไมเทากัน เชน การที่จะไดผลรวมเปน 2 มี
โอกาสเกิดขึ้นไดวิธีเดียวคือ ลูกแรกขึ้น 1 และลูกหลังขึ้น 1 ดวย แตการที่จะไดผลรวมเปน
3 มีได 2 วิธี คือ
ลูกแรกขึ้น 1 และลูกหลังขึ้น 2
ลูกแรกขึ้น 2 และลูกหลังขึ้น 1
จะเห็นวา การที่จะไดผลรวมของแตมเปน 3 มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นไดมากกวาที่จะ
ไดผลรวมของแตมเปน 2 ดังนั้น ในการหาความนาจะเปนโดยใชสูตร P(E) = n
N
ปริภูมิตัวอยาง S จะตองประกอบดวยสมาชิกที่มีโอกาสเกิดขึ้นไดเทา ๆ กันคือ
S = {(1, 1), (1, 2), ...., (1, 6), ...
(6, 1), (6, 2), ..., (6, 6)}
E = {(1, 2), (2, 1)}
9. ผูสอนควรใหผูเรียนใชกฎที่สําคัญบางประการของความนาจะเปน และชี้ใหเห็น
วาปญหาบางปญหาอาจทําไดทั้ง 2 วิธี แตบางครั้งการใชกฎทําใหหาคําตอบไดรวดเร็วกวา เชน
การทอดลูกเตา 3 ลูก ใหหาความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมบนหนาลูกเตามากกวา 3
ให E1 เปนเหตุการณที่ผลบวกของแตมเปน 3
E2 เปนเหตุการณที่ผลบวกของแตมมากกวา 3
( ){ }1E = 1,1,1
ในการทอดลูกเตา 3 ลูก 1 ครั้ง จํานวนวิธีที่จะเกิดผลลัพธมีได
6 × 6 × 6 = 63
วิธี
P(E1) = 3
1
6
แต E2 เปนคอมพลีเมนตของเหตุการณ E1
ดังนั้น P(E2) = 3
1
1
6
−
10. ในการใชสูตร
P(E1 ∪ E2) = P(E1) + P(E2)
125
ผูสอนควรชี้ใหเห็นวา สูตรนี้ใชไดเมื่อ E1 และ E2 เปนเหตุการณที่ไมเกิด
รวมกันเทานั้น ผูสอนควรใหผูเรียนยกตัวอยางเหตุการณ E1, E2 แลวหาวา E1 ∩ E2 เปน
เซตวางหรือไม ถา E1 ∩ E2 = ∅ แสดงวา เหตุการณ E1 และ E2 เปนเหตุการณที่ไมเกิด
รวมกัน บางครั้งเปนการยากที่จะแจกแจงเซต E1, E2 ซึ่งทําใหพิจารณาจาก E1 ∩ E2 ไมได
การพิจารณาวา E1 และ E2 เปนเหตุการณที่เกิดรวมกันหรือไม จึงตองพิจารณาสมบัติของ
สมาชิกใน E1 วาเปนสมาชิกใน E2 ไดหรือไม ถาไดแสดงวา E1 และ E2 เปนเหตุการณที่
เกิดรวมกันจึงตองใชสูตร
P(E1 ∪ E2) = P(E1) + P(E2) – P(E1 ∩ E2)
ผูสอนอาจยกตัวอยางของการพิจารณาวาเหตุการณ 2 เหตุการณเปนเหตุการณ
ที่ไมเกิดรวมกัน เชน
ดึงไพ 2 ใบ จากไพสํารับหนึ่งซึ่งมี 52 ใบ จงหาความนาจะเปนที่หยิบไดไพ
โพดํา 2 ใบ หรือโพแดงอยางนอย 1 ใบ
ให E1 เปนเหตุการณซึ่งไดโพดํา 2 ใบ
E2 เปนเหตุการณซึ่งไดโพแดงอยางนอย 1 ใบ
จะหา P(E1 ∪ E2)
เนื่องจากสมาชิกของเหตุการณใน E1 ไมมีสมบัติที่จะเปนสมาชิกในเหตุการณ
E2 เพราะในการหยิบไพ 2 ใบ เมื่อหยิบไดโพดํา 2 ใบ แลวจะหยิบไพโพแดงอยางนอยอีก
1 ใบ ยอมเปนไปไมได ดังนั้น E1 และ E2 จึงเปนเหตุการณที่ไมเกิดรวมกัน
จะได P(E1 ∪ E2) = P(E1) + P(E2)
วิธีที่จะหยิบไพ 2 ใบ จากไพ 52 ใบ มี 52
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
วิธี
วิธีที่จะหยิบไพ 2 ใบ และเปนโพดําทั้งคูมี 13
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
วิธี
ดังนั้น P(E1) =
13
2
52
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
วิธีที่จะหยิบไพ 2 ใบ ใหไดโพแดงอยางนอย 1 ใบ เทากับ จํานวนวิธีที่จะหยิบ
ไพโพแดง 1 ใบ และไพอื่น ๆ 1 ใบ รวมกับจํานวนวิธีที่จะหยิบไพ 2 ใบ ไดโพแดงทั้ง 2 ใบ
ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะไดโพแดงอยางนอย 1 ใบ เทากับ 13
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
39
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
+ 13
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
126
จะได P(E2) =
13 39 13
1 1 2
52
2
⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞
+⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
ดังนั้น P(E1 ∪ E2) = P(E1) + P(E2)
=
13 13 39 13
2 1 1 2
52 52
2 2
⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞
+⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠+
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
กิจกรรมเสนอแนะ
กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ
1. ในการสอนเรื่องนี้ ผูสอนอาจใหตัวอยางโจทยปญหาที่ใชกฎเกณฑเบื้องตน
เกี่ยวกับการนับ โดยใหผูเรียนแสดงวิธีทําหลาย ๆ วิธีเชน
1.1 โดยอาศัยแผนภาพตนไม
1.2 โดยอาศัยผลคูณคารทีเซียน
1.3 โดยอาศัยกฎการบวก และกฎการคูณของกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ
2. ผูสอนยกตัวอยางโจทยที่มีเงื่อนไขบางอยางในตัว เชน ใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4
และ 5 เขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูไดทั้งหมดกี่จํานวน ถา
1) ตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได
2) ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน
กอนที่ผูสอนจะใหผูเรียนหาจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูซึ่งเขียนไดโดยใช
ตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 และตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได ผูสอนอาจใชคําถามเพื่อชวยให
ผูเรียนหาคําตอบไดงายขึ้น ดังนี้
2.1 ผูสอนใหผูเรียนอธิบายความหมายของจํานวนที่มีสามหลักซึ่งผูเรียนอาจ
อธิบายไดวา หมายถึงจํานวนที่ประกอบดวยเลขโดด 3 ตัว โดยที่ตัวเลขในหลักรอยตองไม
เปน 0
2.2 ผูสอนถามผูเรียนวาคําวาตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได หมายความวาอยางไร
พรอมทั้งใหผูเรียนยกตัวอยาง ซึ่งผูเรียนควรตอบไดวาตัวเลขในหลักหนวยหลักสิบหรือหลักรอย
อาจเหมือนกันได เชน 221, 303, 444 เปนตน
127
2.3 ผูสอนถามผูเรียนวาจํานวนคูหมายความวาอยางไร พรอมทั้งใหยกตัวอยาง
จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู ผูเรียนควรตอบไดวา หมายถึงจํานวนที่ 2 หารลงตัว
2.4 ผูสอนถามวา สําหรับปญหาขางตนผูเรียนคิดวาตัวเลขในหลักหนวยควรเปน
ตัวเลขอะไรไดบาง ซึ่งผูเรียนควรตอบไดวา 0, 2 และ 4 พรอมทั้งยกตัวอยางจํานวนคูที่มี
สามหลัก เชน 344, 430, 552
ผูสอนถามผูเรียนตอไปวา จากตําแหนงของตัวเลขในสามหลักนี้ จะเขียน
ตัวเลขในหลักหนวยไดกี่วิธี นักเรียนควรตอบไดวามี 3 วิธี (คือ 0, 2 หรือ 4) ผูสอนถาม
ตอไปวาในแตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยจะเขียนตัวเลขในหลักสิบไดกี่วิธี ผูเรียนควร
ตอบไดวา 6 วิธี (คือตัวเลขทุกตัว) ผูสอนถามตอวา ในทํานองเดียวกันจะเขียนตัวเลขใน
หลักรอยไดกี่วิธี ผูเรียนควรตอบไดวา 5 วิธี (คือ 1, 2, 3, 4 หรือ 5)
ผูสอนใหผูเรียนหาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขดังกลาว โดยเริ่มจากวิธีเขียนตัวเลขใน
หลักรอยหรือหลักสิบกอน ซึ่งผูเรียนจะเห็นวาไดคําตอบเทากัน
ผูสอนและผูเรียนชวยกันสรุปวา เนื่องจากตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได
ดังนั้น การหาหลักใดกอนหลังก็ได
การหาจํานวนคูที่มีสามหลักที่แตละหลักซ้ํากันได จึงควรเปนดังนี้
เขียนตัวเลขในหลักหนวยได 3 วิธี (คือ 0, 2, 4)
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยเขียนตัวเลขในหลักสิบได 6 วิธี (คือ 0, 1,
2, 3, 4, 5) แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและหลักสิบ เขียนตัวเลขในหลักรอยได 5 วิธี
(คือ 1, 2, 3, 4, 5)
ดังนั้น จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูและตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได จึงมี
ทั้งหมด 5 × 6 × 3= 90 จํานวน
ผูสอนถามผูเรียนวาการหาจํานวนวิธีที่จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู
ควรเริ่มที่หลักใด เพราะเหตุใด
ผูสอนและผูเรียนลองทําโจทย โดยเริ่มจากหลักหนวยกอนซึ่งจะพบปญหาวา
ถาหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 ที่ไมใช 0 แลวจะทําใหเกิดความยุงยากเมื่อหาจํานวนที่เขียนตัวเลข
ในหลักรอย เพราะการที่หลักหนวยเปน 0 หรือหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 ทําใหจํานวนวิธี
เขียนตัวเลขในหลักรอยไมเทากัน การพิจารณาจึงตองแยกออกเปน 2 กรณี คือ กรณีที่ 1
เมื่อหลักหนวยเปน 0 แลวหาจํานวนวิธีหลักอื่น ๆ ที่เหลือ โดยจะหาหลักใดกอนก็ได
กรณีที่ 2 เมื่อหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 ตองหาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักรอยกอน (เพื่อ
128
ไมให 0 อยูในหลักนี้) แลวจึงหาวิธีเขียนหลักสิบ
ดังนั้น ในการหาจํานวนดังกลาวควรทําดังนี้
กรณีที่ 1 เมื่อหลักหนวยเปน 0
ตัวเลขในหลักหนวยเขียนได 1 วิธี
แตละวิธีที่ตัวเลขในหลักหนวยเปน 0 เขียนตัวเลขในหลักสิบได 5 วิธี
(คือ 1, 2, 3, 4, 5)
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและหลักสิบ เขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี
ดังนั้น จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู ซึ่งหลักหนวยเปน 0 และตัวเลข
ในแตละหลักไมซ้ํากันได มีทั้งหมด 4 × 5 × 1 = 20 จํานวน
กรณีที่ 2 เมื่อหลักหนวยเปน 2 หรือ 4
ตัวเลขในหลักหนวยเขียนได 2 วิธี (คือ 2 หรือ 4)
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวย จะเขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี
(คือ 1, 2, 3, 5 หรือ 1, 3, 4, 5)
แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบ
ได 4 วิธี (คือตัวเลขที่เหลือ)
นั่นคือ จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูซึ่งหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 และ
ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันได มีทั้งหมด 4 × 4 × 2 = 32 จํานวน
ดังนั้น จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูและตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน
มีทั้งหมด 20 + 32 = 52 จํานวน
แฟกทอเรียล n
1. ผูสอนใหความหมายของสัญลักษณ n! วา หมายถึง ผลคูณของจํานวนเต็มบวก
ตั้งแต 1 ถึง n จากนั้นผูสอนใหผูเรียนฝกหาจํานวนตาง ๆ ที่อยูในรูปแฟกทอเรียล เชน
9! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ... 8 ⋅ 9
(n + 1)! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ... n(n + 1)
(n – 1)! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ... (n – 2)(n – 1)
2. ผูสอนฝกใหผูเรียนเขียนจํานวนที่อยูในรูปแฟกทอเรียลใหอยูในรูปที่ไมมี
แฟกทอเรียลปรากฏอยู เชน กําหนดจํานวน 7!3!
5!
, (n 1)!
n!
−
ใหผูเรียนเขียนจํานวนเหลานี้
129
ในรูปที่ไมมีแฟกทอเรียลปรากฎอยู
3. ผูสอนใหผูเรียนฝกแกสมการที่มีรูปแฟกทอเรียลปรากฏอยู พรอมทั้งอาจชี้ให
เห็นดวยวา ผูเรียนอาจทําไดโดยใชอีกวิธีหนึ่งดังนี้
ถา (n 3)!
(n 1)!
+
+
= 30 จงหา n
(n 3)(n 2)(n 1)!
(n 1)!
+ + +
+
= 30
(n + 3)(n + 2) = 30 ---------- (1)
เนื่องจากจํานวนทางซายของเครื่องหมาย “เทากับ” ในสมการ (1) เปนผลคูณ
ของจํานวนเต็มบวก 2 จํานวนที่ตางกันอยู 1 ดังนั้น เราจึงพยายามเขียนจํานวนที่อยูทางขวา
ของเครื่องหมาย “เทากับ” ใหอยูในรูปผลคูณของจํานวนเต็มบวก 2 จํานวน ที่ตางกันอยู 1
เหมือนทางซาย
นั่นคือ จะเขียนสมการ (1) ใหมเปน (n + 3)(n + 2) = 6 × 5
จะได n + 3 = 6 และ n + 2 = 5
ดังนั้น n = 3
วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู
มีธงสีตาง ๆ อยู 5 สี ธงละหนึ่งสี จงหาจํานวนวิธีที่จะสงสัญญาณธงโดย
อาศัยการสลับที่ธง 3 ธง เรียงตามแนวดิ่ง
1. ในการสอนตามโจทยตัวอยางขางตน ผูสอนอาจเตรียมอุปกรณเปนธงกระดาษสี
ตาง ๆ 5 สี เพื่อใชประกอบคําอธิบายความหมายของสัญลักษณธงตามโจทย เมื่อผูเรียนเขาใจ
วิธีทําแลวอาจใหทํากิจกรรมตอเนื่องจากตัวอยางตามลําดับขั้นตอนตอไปนี้
1.1 แบงกลุมผูเรียนออกเปน 5 กลุม เรียกชื่อกลุมวา กลุมที่ 1, 2, 3, 4 และ 5
ตามลําดับ แลวใหแตละกลุมตอบคําถามตอไปนี้
ก. ถาให ส1, ส2, ส3, ส4 และ ส5 แทนสีของธงแตละผืน แลวจะมีวิธีให
สัญญาณธงกี่วิธี ถากําหนดวาตองใชสีที่กํากับดวยตัวเลขเดียวกันกับชื่อของกลุมในตําแหนงที่
หนึ่งของสัญญาณ
ข. ถาตองการใหแสดงสัญญาณธงที่เปนไปไดทั้งหมด จากโจทยตัวอยาง
ขางตน ซึ่งมี 60 วิธี โดยการตัดกระดาษสี 5 สี เปนรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ขนาดเทา ๆ กัน ติดลง
130
บนกระดาษขาว จะตองตัดกระดาษแตละสีเปนจํานวนเทาไร
ค. ถาจะแบงกระดาษสีในขอ ข ใหแตละกลุมที่แบงไวเพื่อใชแสดงสัญญาณ
ธงของแตละกลุมตามคําถามขอ ก จะตองแบงกระดาษสีใหแตละกลุมอยางไร
ง. ถาใหใชกระดาษสีตามที่แบงในขอ ค ติดลงบนกระดาษขาว เพื่อแสดง
สัญญาณธงทั้งหมดที่กลุมคํานวณไดในคําถามขอ ก วิธีหนึ่งที่ทําไดคือติดกระดาษสีลงไป
โดยแผนแรกเปนสีที่ตัวเลขแสดงลําดับตรงกับลําดับของกลุม แผนที่สองและสามเลือกใช
กระดาษสีไมซ้ํากัน เนื่องจากจํานวนกระดาษสีที่แบงตามขอ ค พอดีกับจํานวนวิธีอยูแลวจะ
สามารถติดกระดาษสีแสดงสัญญาณไดครบพอดี แตถาจะติดกระดาษสีใหสอดคลองกับกฎ
เกณฑเบื้องตนของการนับควรจะทําอยางไร
ใหแตละกลุมรายงานผลการพิจารณาหาคําตอบปญหา ก ถึง ง เมื่อเห็น
วาคําตอบถูกตองดีแลว และตองการใหผูเรียนฝกปฏิบัติ ผูสอนอาจเตรียมอุปกรณที่ตองใช
เพื่อใหผูเรียนปฏิบัติจริงตามคําตอบขอ ง ก็ได ในกรณีที่จําเปนอาจใหใชวิธีระบายสีแทนการ
ติดกระดาษลงบนกระดาษขาวก็ได
1.2 การเสนอปญหาอภิปรายรวมในหอง
ก. ถาผูสอนตองการใหผูเรียนแบงกลุมกันติดกระดาษสี เพื่อแสดงสัญญาณธง
ที่เปนไปไดทั้งหมดในโจทยตัวอยางขางตน ซึ่งมีทั้งหมด 60 วิธี โดยใหเริ่มตั้งแตการตัดกระดาษ
สีจากแผนใหญเปนชิ้นเล็ก ๆ วิธีที่งายที่สุดคือ แจกกระดาษสีใหแตละกลุม ๆ ละ 3 แผนใหญ
แผนละสี กระดาษสีของแตละกลุมจะเหมือนกันทั้งหมดไมได จากกระดาษสีที่มีสีเปน ส1, ส2,
ส3, ส4 และ ส5 ผูสอนถามผูเรียนวาจะจัดแบงกลุมไดทั้งหมดกี่กลุม และแตละกลุมไดกระดาษ
สีใดบาง
ข. ถาแบงกลุมตามขอ ก แตละกลุมจะติดกระดาษสีแสดงสัญญาณธงได
กี่สัญญาณ
หลังการอภิปรายในขอ 1.2 ผูสอนอาจนําอภิปรายเพื่อสรุปวาการเรียงสับเปลี่ยน
และการจัดหมูมีความสัมพันธกันอยางไร โดยบอกวาในปญหาขอ ก นั้น เปนการจัดหมูของ
3 สิ่ง จาก 5 สิ่ง ซึ่งจํานวนวิธีเขียนดวยสัญลักษณเปน C5, 3 สวนปญหาในขอ ข นั้นเปนการ
นําสิ่งที่จัดหมูแลวมาจัดเรียงลําดับซึ่งแตละหมูจะจัดได 3! วิธี ทําใหไดวา
3! C5, 3 = P5, 3
และในกรณีทั่วไปจะไดวา
r! Cn, r = Pn, r
131
หรือ Cn, r = n,rP
r!
วิธีดังกลาวเปนการเชื่อมโยงการสอนเรื่องเดิมไปสูการสอนเรื่องใหมซึ่งเปนวิธี
การเริ่มตนสอนเนื้อหาใหมวิธีหนึ่ง
หมายเหตุ 1. แนวตอบคําถามในกิจกรรม 1.1 และ 1.2 มีดังนี้
1.1 ก. แตละกลุมควรไดคําตอบเทากับ 1 × 4 × 3 = 12 วิธี
ข. เนื่องจากตองแสดงสัญญาณทั้งสิ้น 60 สัญญาณ แตละสัญญาณใช
กระดาษ 3 ชิ้นเล็ก จึงเปนกระดาษชิ้นเล็กทั้งหมด 180 ชิ้น
ดังนั้น แตละสีจึงตองตัดไว 36 ชิ้น
ค. แตละกลุมจะไดรับแบงกระดาษสีดังนี้
สีที่ตัวเลขแสดงลําดับตรงกับลําดับของกลุมจะไดรับ 12 ชิ้น สวนสี
อื่นที่เหลือไดรับสีละ 6 ชิ้น
ง. ใชแผนภาพตนไมชวย เชน แผนภาพตนไมของกลุมที่ 1 และ 2
จะเปนไดดังนี้
ตําแหนงที่ 1 2 3
ส3 ส1 ส2 ส3
ส2 ส4 ส1 ส2 ส4
ส5 ส1 ส2 ส5
ส4 ส1 ส3 ส4
ส3 ส5 ส1 ส3 ส5
ส2 ส1 ส3 ส2
ส1
ส5 ส1 ส4 ส5
ส4 ส2 ส1 ส4 ส2
ส3 ส1 ส4 ส3
ส2 ส1 ส5 ส2
ส5 ส3 ส1 ส5 ส3
ส4 ส1 ส5 ส4
132
ตําแหนงที่ 1 2 3
ส4 ส2 ส3 ส4
ส3 ส5 ส2 ส3 ส5
ส1 ส2 ส3 ส1
ส5 ส2 ส4 ส5
ส4 ส1 ส2 ส4 ส1
ส3 ส2 ส4 ส3
ส2
ส1 ส2 ส5 ส1
ส5 ส3 ส2 ส5 ส3
ส4 ส2 ส5 ส4
ส3 ส2 ส1 ส3
ส1 ส4 ส2 ส1 ส4
ส5 ส2 ส1 ส5
จากแผนภาพตนไมจะไดวิธีติดกระดาษสีใหสอดคลองกับกฎเกณฑเบื้องตนของ
การนับโดยเริ่มติดกระดาษสีดังนี้
1. ติดกระดาษสีที่ตัวเลขแสดงลําดับตรงกับลําดับของกลุมในตําแหนงที่หนึ่งของ
สัญญาณทั้ง 12 สัญญาณ
2. ติดกระดาษสีอีกสี่สีที่เหลือในตําแหนงที่สองของสัญญาณโดยติดสีละ 3
สัญญาณ (ดูแผนภาพตนไมประกอบ)
3. ติดกระดาษสีอีกสามสีที่เหลือในตําแหนงที่สามของสัญญาณโดยเลือกสีที่ไม
ซ้ํากับสองสีแรก
1.2 ก. 10 กลุม เชน กลุมที่ 1 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส2 ส3
กลุมที่ 2 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส2 ส4
กลุมที่ 3 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส2 ส5
กลุมที่ 4 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส2 ส3 ส4
133
กลุมที่ 5 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส2 ส3 ส5
กลุมที่ 6 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส3 ส4 ส5
กลุมที่ 7 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส3 ส4
กลุมที่ 8 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส3 ส5
กลุมที่ 9 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส4 ส5
กลุมที่ 10 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส2 ส4 ส5
จากคําตอบขอนี้จะไดวา ถาตองการเตรียมกระดาษสีแผนใหญใหทํากิจกรรมตอง
เตรียมไวสีละ 6 แผน
ข. 6 สัญญาณ
ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท
1. ญาดาทอดลูกเตาสองลูก 1 ครั้ง จงหาความนาจะเปนที่จะไดแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองดังนี้
(1) แตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเทากัน
(2) ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเปนจํานวนคู
2. ภากรสุมหยิบไพ 1 ใบ จากไพสํารับหนึ่ง ซึ่งมี 52 ใบ จงหาความนาจะเปนของเหตุการณ
ที่ภากรจะหยิบไดไพหนาหัวใจหรือไพหนา King
3. บัตรหมายเลข 1 – 50 มีบัตรที่ใหรางวัลอยู 6 ใบ ถาสุมหยิบบัตรขึ้นมา 6 ใบ
จงหาความนาจะเปนที่จะไดบัตรที่ไดรับรางวัลทั้งหมด
4. เอกสะสมเหรียญสิบบาทไวในกระปุกออมสินดังนี้ เปนเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2539
จํานวน 10 อัน และเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2545 จํานวน 20 อัน ถาสุมหยิบเหรียญสิบบาท
ขึ้นมา 2 เหรียญ จงหาความนาจะเปนที่เอกจะหยิบไดเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2539
ทั้งสองเหรียญ
5. ถุงใบหนึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 8 ลูก ลูกแกวสีฟา 3 ลูก ลูกแกวสีเขียว 6 ลูก และลูกแกว
สีเหลือง 3 ลูก ถาอภิรดีสุมหยิบลูกแกวครั้งละ 1 ลูก โดยไมใสคืนจํานวนสองครั้ง
จงหาความนาจะเปนที่อภิรดีจะหยิบไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก
134
6. สมาคมแหงหนึ่ง ตองการจะหาเงินชวยสถานสงเคราะหผูปวยโรคหัวใจ จึงออกสลาก
การกุศลจํานวน 500 ใบ เพื่อขายใหกับสมาชิกของสมาคมโดยขายในราคาใบละ 100 บาท
และมีรางวัลพิเศษใหกับสมาชิกที่ซื้อสลาก 1 รางวัล เปนจักรยาน 1 คัน ถานวพลซื้อสลาก
การกุศลครั้งนี้ 10 ใบ จงหาความนาจะเปนที่นวพลจะไดรับรางวัลเปนรถจักรยาน 1 คัน
7. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/2 ของโรงเรียนแหงหนึ่ง เปนนักเรียนชาย 19 คน และ
นักเรียนหญิง 21 คน ถาตองการเลือกตัวแทนของนักเรียนในหองนี้โดยการสุมครั้งละ
1 คน จงหาความนาจะเปนที่จะไดตัวแทนนักเรียนชาย 1 คน และนักเรียนหญิง 1 คน
8. ตารางตอไปนี้แสดงจํานวนนักเรียนที่เดินทางมาโรงเรียนโดยการขี่จักรยานและนั่งรถ
ประจําทางมา และมีบางขอมูลขาดหายไป
พาหนะ
จํานวนนักเรียน
จักรยาน รถประจําทาง
นักเรียนชาย
นักเรียนหญิง
.......
38
32
46
รวม 122 .........
จงหาความนาจะเปนที่จะสุมนักเรียนมา 1 คน และเปนนักเรียนชายหรือนักเรียนที่นั่ง
รถประจําทางมาโรงเรียน
9. จงหาความนาจะเปนที่ณัฐจะโยนเหรียญ 1 เหรียญ และตกลงบนพื้นที่สวนที่แรเงา
10. การแขงขันเตะตะกรอของทีมสองทีมที่มีความสามารถเทาเทียมกัน 5 ครั้ง ทีมชนะเลิศ
จะตองเปนทีมแรกที่ชนะคูแขง 3 ครั้ง ถาทีม A ชนะการแขงขันครั้งแรก จงหาความนาจะเปน
ที่ทีม A จะเปนทีมที่ชนะเลิศ
135
เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ
1. ให S เปนปริภูมิตัวอยาง
S = {(1, 1), (1, 2), (1, 3), (1, 4), (1, 5), (1, 6),
(2, 1), (2, 2), (2, 3), (2, 4), (2, 5), (2, 6),
(3, 1), (3, 2), (3, 3), (3, 4), (3, 5), (3, 6),
(4, 1), (4, 2), (4, 3), (4, 4), (4, 5), (4, 6),
(5, 1), (5, 2), (5, 3), (5, 4), (5, 5), (5, 6),
(6, 1), (6, 2), (6, 3), (6, 4), (6, 5), (6, 6)}
n(S) = 36
ให E1 แทนเหตุการณที่ไดแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเทากัน
E1 = {(1, 1), (2, 2), (3, 3), (4, 4), (5, 5), (6, 6)}
n(E1) = 6
ให E2 แทนเหตุการณที่ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเปนจํานวนคู
E2 = {(1, 1), (1, 3), (1, 5), (2, 2), (2, 4), (2, 6),
(3, 1), (3, 3), (3, 5), (4, 2), (4, 4), (4, 6),
(5, 1), (5, 3), (5, 5), (6, 2), (6, 4), (6, 6)}
n(E2) = 18
P(E1) = 6
36
= 1
6
และ P(E2) = 18
36
= 1
2
ดังนั้น ความนาจะเปนของเหตุการณที่จะไดแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเทากัน เทากับ 1
6
และความนาจะเปนของเหตุการณที่ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเปนจํานวนคู
เทากับ 1
2
2. ไพสํารับหนึ่ง มีไพหนาหัวใจจํานวน 13 ใบ และไพหนา King 4 ใบ
แตในไพหนาหัวใจจะมีไพหนา King รวมอยูดวย 1 ใบ
ดังนั้น ไพหนาหัวใจหรือไพหนา King มีจํานวน 13 + 4 – 1 = 16 ใบ
ให S เปนปริภูมิตัวอยาง
ดังนั้น n(S) = 52
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 52
136
ให E แทนเหตุการณที่ไดไพหนาหัวใจหรือไพหนา King
n(E) = 16
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 16
P(E) = 16
52
= 4
13
ดังนั้น ความนาจะเปนของเหตุการณที่ภากรจะหยิบไดไพหนาหัวใจหรือไพหนา King
เทากับ 4
13
3. บัตรหมายเลข 1 – 50 มีจํานวนทั้งหมด 50 ใบ
ให S เปนปริภูมิตัวอยาง
ดังนั้น n(S) = 50
6
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 50!
6!44!
= 15,890,700
ให E แทนเหตุการณที่หยิบไดบัตรที่ไดรับรางวัลทั้งหกใบ
n(E) = 6
6
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 6!
6!0!
= 1
ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะหยิบไดบัตรที่ไดรับรางวัลทั้งหมดเทากับ 1
15,890,700
4. เหรียญสิบบาทมีทั้งหมด 10 + 20 = 30 อัน
ให S เปนปริภูมิตัวอยาง
ดังนั้น n(S) = 30
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 435
ให E แทนเหตุการณที่เอกหยิบไดเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2539 ทั้งสองเหรียญ
n(E) = 10
2
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 45
P(E) = n(E)
n(S)
= 45
435
= 9
87
ดังนั้น ความนาจะเปนที่เอกจะหยิบไดเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2539 ทั้งสองเหรียญเทากับ 9
87
5. ลูกแกวทั้งหมดมี 8 + 3 + 6 + 3 = 20 ลูก
ให S เปนปริภูมิตัวอยาง
n(S) = 20 19
1 1
⎛ ⎞⎛ ⎞
⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠
= 380
ให E แทนเหตุการณที่อภิรดีหยิบไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก
n(E) = 8 7
1 1
⎛ ⎞⎛ ⎞
⎜ ⎟⎜ ⎟
⎝ ⎠⎝ ⎠
= 56
137
P(E) = n(E)
n(S)
= 56
380
= 14
95
ดังนั้น ความนาจะเปนที่อภิรดีจะหยิบไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูกเทากับ 14
95
6. สลากการกุศลจํานวน 500 ใบ
ให S เปนปริภูมิตัวอยาง
n(S) = 500
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 500
ให E แทนเหตุการณที่นวพลจะไดรับรางวัลพิเศษ
n(E) = 10
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 10
P(E) = 10
500
= 1
50
= 0.02
ดังนั้น ความนาจะเปนที่นวพลจะไดรับรางวัลพิเศษเปนรถจักรยานเทากับ 0.02
7. จํานวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/2 มีทั้งหมด 19 + 21 = 40 คน
ให S เปนปริภูมิตัวอยาง
n(S) = 40
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
39
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 1,560
ให E แทนเหตุการณที่สุมไดนักเรียนชาย 1 คน และนักเรียนหญิง 1 คน
n(E) = 19
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
20
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 380
P(E) = 380
1,560
= 19
78
ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะไดตัวแทนนักเรียนชาย 1 คน และนักเรียนหญิง 1 คน
เทากับ 19
78
8. จากตารางในโจทย จํานวนนักเรียนชายมี 122 – 38 = 84 คน
และจํานวนนักเรียนที่นั่งรถประจําทางมี 32 + 46 = 78 คน
ดังนั้น จํานวนนักเรียนทั้งหมด 84 + 38 + 32 + 46 = 200 คน
ให S เปนปริภูมิตัวอยาง
n(S) = 200
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 200
จํานวนนักเรียนชายหรือนักเรียนที่นั่งรถประจําทางมาโรงเรียน 84 + 32 + 46 = 162 คน
138
ให E เปนเหตุการณที่สุมไดนักเรียนชายหรือนักเรียนที่นั่งรถประจําทางมาโรงเรียน
n(E) = 162
1
⎛ ⎞
⎜ ⎟
⎝ ⎠
= 162
P(E) = 162
200
= 81
100
= 0.81
ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะสุมนักเรียน 1 คน ที่เปนนักเรียนชายหรือนักเรียนที่นั่งรถ
ประจําทางมาโรงเรียนเทากับ 0.81
9. รูปสี่เหลี่ยมผืนผามีดานยาว 12 หนวย และมีดานกวาง 10 หนวย
พื้นที่ทั้งหมดเทากับ 12 × 10 = 120 ตารางหนวย
พื้นที่สวนที่แรเงาเทากับ 1 1
8 3 8 5
2 2
⎛ ⎞ ⎛ ⎞
× × + × ×⎜ ⎟ ⎜ ⎟
⎝ ⎠ ⎝ ⎠
= 12 + 20 = 32 ตารางหนวย
ดังนั้น ความนาจะเปนที่ณัฐจะโยนเหรียญ 1 เหรียญ ตกบนพื้นที่สวนที่แรเงาเทากับ
32
120
= 4
15
10. ความนาจะเปนที่ทีมแตละทีมจะชนะเทากับ 1
2
ความนาจะเปนที่ทีม A ชนะจากการแขงขัน 3 ครั้ง เทากับ 3
1
2
= 1
8
ดังนั้น ในการแขงขัน 5 ครั้ง เมื่อทีม A เปนทีมที่ชนะในการแขงขันครั้งแรก
ความนาจะเปนของเหตุการณที่เกิดขึ้นมีดังนี้
AA 1
4
ABA 1
8
ABBA 1
16
BAA 1
8
BABA 1
16
BBAA 1
16
ดังนั้น ความนาจะเปนที่ทีม A จะเปนทีมที่ชนะเลิศเทากับ 1 1 1 1 1 1
4 8 8 16 16 16
+ + + + +
= 4 2 2 1 1 1
16
+ + + + +
= 11
16
139
เฉลยแบบฝกหัด 3.1
1. เสนทางจาก X ไปยัง Y โดยผาน A มีเสนทางได 3 เสนทาง
เสนทางจาก X ไปยัง Y โดยผาน B มีเสนทางได 4 เสนทาง
เสนทางจาก X ไปยัง Y โดยผาน C มีเสนทางได 3 เสนทาง
ดังนั้น มีจํานวนเสนทางจาก X ไปยัง Y ทั้งหมด 10 เสนทาง
D Y
A E Y
F Y
D Y
E Y
X B F Y
G Y
E Y
C F Y
G Y
2. จํานวนเสนทางจาก N ไปยัง S มีทั้งหมด 5 + 3 + 5 = 13 เสนทาง
โดยมีรายละเอียดดังแผนภาพ
S
N
1
A B C
I
D E
J
2 3
F G H
K
140
จากแผนภาพขางตนสามารถเขียนเปนแผนภาพตนไมไดดังนี้
A I S
A I S
1 B I S
C I S
C I S
D J S
N 2 E J S
E J S
F K S
G K S
3 G K S
H K S
G K S
3. (1) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก A ไป B มี 3 เสนทาง
(2) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก B ไป C มี 1 เสนทาง
(3) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก C ไป D มี 5 เสนทาง
(4) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก D ไป E มี 6 เสนทาง
(5) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก A ไป E มี 90 เสนทาง
4. (1) จุดยอด X อยูที่จุด E หรือ F จํานวนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2 × 3 = 6 รูป
จุดยอด Y อยูที่จุด E หรือ F จํานวนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2 × 3 = 6 รูป
ดังนั้น จํานวนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก XCY มี 12 รูป
(2) จํานวนรูปสามเหลี่ยมโดยมีจุดยอด 3 จุด จาก A, B, C, D, E, F มี 15 รูป
5. จากรูป ชวงที่ 1 มีจํานวนวิธีวางไดตางกัน 3 วิธี
ชวงที่ 2 มีจํานวนวิธีวางไดตางกัน 2 วิธี
ชวงที่ 3 มีจํานวนวิธีวางไดตางกัน 5 วิธี
ดังนั้น จํานวนวิธีทั้งหมด 3 × 2 × 5 = 30 วิธี
ชวงที่ 1
ชวงที่ 2
ชวงที่ 3
141
6. มีจุดยอดอยูบนดาน 3 ดาน เกิดรูปสามเหลี่ยมได 3 × 2 × 3 = 18 รูป
มีฐานเปน 2 จุดใด ๆ บนดาน AC เกิดรูปสามเหลี่ยมได 3 × 5 = 15 รูป
มีฐานเปน 2 จุดใด ๆ บนดาน BC เกิดรูปสามเหลี่ยมได 1 × 6 = 6 รูป
มีฐานเปน 2 จุดใด ๆ บนดาน AB เกิดรูปสามเหลี่ยมได 3 × 5 = 15 รูป
ดังนั้น มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 18 + 15 + 6 + 15 = 54 รูป
7. เมื่อไมมีอักษร 2 ตัวติดกันซ้ํากัน
อักษรตัวที่หนึ่งเลือกได 26 วิธี
อักษรตัวที่สองเลือกได 25 วิธี
อักษรตัวที่สามเลือกได 25 วิธี
อักษรตัวที่สี่เลือกได 25 วิธี
อักษรตัวที่หาเลือกได 25 วิธี
ดังนั้น จะสรางคําไดทั้งหมด 26 × 254
คํา
8. จํานวนสับเซตที่มีสมาชิก 2 ตัว {a, b} โดยที่ a = 1, 2, 3, ... 93 เทากับ 93 × 7 = 651
จํานวนสับเซตที่มีสมาชิก 2 ตัว โดยที่ a = 94, 95, 96, ... 99 เทากับ
6 + 5 + 4 + 3 + 2 + 1 = 21 สับเซต
ดังนั้น จํานวนสับเซตทั้งหมด 651 + 21 = 672 สับเซต
9. ในการสรางจํานวน 3 หลัก ที่มีคามากกวา 300
หลักรอย เลือกตัวเลขได 3 วิธี คือ 3 หรือ 4 หรือ 5
หลักสิบ เลือกตัวเลขได 5 วิธี
หลักหนวย เลือกตัวเลขได 4 วิธี
ดังนั้น จํานวนวิธีสรางจํานวน 3 หลัก ที่มีคามากกวา 300 จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4
และ 5 มี 3 × 5 × 4 = 60 วิธี
10. ขอสอบขอที่ 1 มีวิธีเลือกตอบได 2 วิธี
ขอสอบขอที่ 2 มีวิธีเลือกตอบได 2 วิธี
ขอสอบขอที่ 3 มีวิธีเลือกตอบได 2 วิธี
M
142
ขอสอบขอที่ 10 มีวิธีเลือกตอบได 2 วิธี
ดังนั้น จํานวนวิธีตอบขอสอบทั้ง 10 ขอ 210
วิธี
11. ตัวเลขที่แสดงตอนที่นั่งมี 20 วิธี
อักษรที่แสดงแถวที่นั่งมี 52 วิธี
ตัวเลขแสดงตําแหนงที่นั่งมี 30 วิธี
ดังนั้น จํานวนที่นั่งทั้งหมดมี 31,200 ที่นั่ง
12. ตัวอักษรตัวแรกเปนไปได 26 วิธี
ตัวอักษรตัวที่สองเปนไปได 26 วิธี
ตัวเลข 3 ตัว เปนไปได 10 × 10 × 10 วิธี
ตัวอักษรอีก 1 ตัว เปนไปได 26 วิธี
ตัวเลขอีก 2 ตัว เปนไปได 10 × 10 วิธี
ดังนั้น จํานวนหนังสือทั้งหมดในระบบนี้มี 263
× 105
เลม
ถาตัวอักษร 2 ตัวแรก แสดงหนังสือที่จัดไวเปนตอน
ดังนั้น หนังสือในแตละตอนมี 1 × 10 × 10 × 10 × 26 × 10 × 10 = 2,600,000 เลม
แบบฝกหัด 3.2 ก
1. (1) 210 (2) 1680 (3) 380
2. n = 6
3. พิสูจน Pn, 1 + Pm, 1 = Pn+m, 1
Pn, 1 + Pm, 1 = n! m!
(n 1)! (m 1)!
+
− −
= n + m
= (n m)!
((n m) 1)!
+
+ −
= Pn+m, 1
4. สรางจํานวนที่มี 4 หลัก จากเลขโดด 5 ตัว
ดังนั้น จะสรางได P5, 4 = 5!
(5 4)!−
= 5 × 4 × 3 × 2 × 1 = 120 จํานวน
143
5. มีตําแหนงวางที่เปนชาย 3 ตําแหนง มีผูสมัครเปนชาย 6 คน
ดังนั้น มีจํานวนวิธีจัดชายเทากับ P6, 3 = 6!
3!
= 6 × 5 × 4 = 120 วิธี
มีตําแหนงวางที่เปนหญิง 2 ตําแหนง มีผูสมัครเปนหญิง 5 คน
ดังนั้น มีจํานวนวิธีจัดหญิงเทากับ P5, 2 = 5!
3!
= 5 × 4 = 20 วิธี
จะได วิธีจัดคนที่มาสมัครเขาทํางาน 120 × 20 = 2400 วิธี
6. จัดชาย 6 คน ยืนเรียงแถวหนากระดานได 6! = 720 วิธี
ช1 ช2 ช3 ช4 ช5 ช6
จัดชาย 6 คน ยืนหนากระดานจะมีที่ใหผูหญิงแทรกได 7 ที่
ผูหญิง 3 คน จะเลือกที่แทรกได 7 × 6 × 5 = 210 วิธี
ดังนั้น จํานวนวิธีจัดทั้งหมด 720 × 210 = 151200 วิธี
7. แยกเปน 2 กรณี
กรณีที่ 1 หลักรอย เปนเลขคี่ คือ 3, 5 และ 7
หลักรอย เลือกตัวเลขได 3 วิธี
หลักหนวย เลือกตัวเลขได 4 วิธี หลักหนวยเปนเลขคี่และตัวเลขใน
แตละหลักไมซ้ํากัน
หลักสิบ เลือกตัวเลขได 8 วิธี
มีวิธีสรางจํานวนได 3 × 4 × 8 = 96 วิธี
กรณีที่ 2 หลักรอย เปนเลขคู คือ 4, 6, 8
หลักรอย เลือกตัวเลขได 3 วิธี
หลักหนวย เลือกตัวเลขได 5 วิธี หลักหนวยเปนเลขคี่และตัวเลขใน
แตละหลักไมซ้ํากัน
หลักสิบ เลือกตัวเลขได 8 วิธี
มีวิธีสรางจํานวนได 3 × 5 × 8 = 120 วิธี
ดังนั้น จํานวนคี่ที่มีคามากกวา 300 แตนอยกวา 900 โดยที่ตัวเลขใน
แตละหลักไมซ้ํากันมี 96 + 120 = 216 จํานวน
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3
Add m5-2-chapter3

More Related Content

What's hot

การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาJintana Kujapan
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1sawed kodnara
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1ยัยบ๊อง จอมแสบ
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1Manas Panjai
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยมแบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยมKamolthip Boonpo
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นInmylove Nupad
 
จำนวนจริง_9วิชาสามัญ(55-58)
จำนวนจริง_9วิชาสามัญ(55-58)จำนวนจริง_9วิชาสามัญ(55-58)
จำนวนจริง_9วิชาสามัญ(55-58)Thanuphong Ngoapm
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการsawed kodnara
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
การชั้งการตวง
การชั้งการตวงการชั้งการตวง
การชั้งการตวงOopip' Orranicha
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2คุณครูพี่อั๋น
 
ใบความรู้ การเก็บรักษาเสื้อผ้า
ใบความรู้  การเก็บรักษาเสื้อผ้าใบความรู้  การเก็บรักษาเสื้อผ้า
ใบความรู้ การเก็บรักษาเสื้อผ้าDuangsuwun Lasadang
 

What's hot (20)

31202 final502
31202 final50231202 final502
31202 final502
 
การแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาการแก้ปัญหา
การแก้ปัญหา
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 1 ฉบับที่ 1
 
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
เฉลยละเอียดข้อสอบคณิตศาสตร์นานาชาติ สพฐ ปี 2557 รอบที่ 1
 
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
3หลักสูตรคณิตเพิ่มเติมม.ต้น
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่องการหาร เล่ม 1
 
แผนแบบรูป
แผนแบบรูปแผนแบบรูป
แผนแบบรูป
 
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
ข้อสอบ O net คณิต ป.3 ชุด 1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 1
 
Logic1
Logic1Logic1
Logic1
 
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยมแบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยม
แบบฝึกทักษะชุดที่ 1-ค่าประจำหลักของทศนิยม
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้นโครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
โครงสร้างคณิตศาสตร์ เพิ่มเติม ม.ต้น
 
จำนวนจริง_9วิชาสามัญ(55-58)
จำนวนจริง_9วิชาสามัญ(55-58)จำนวนจริง_9วิชาสามัญ(55-58)
จำนวนจริง_9วิชาสามัญ(55-58)
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
การชั้งการตวง
การชั้งการตวงการชั้งการตวง
การชั้งการตวง
 
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบชุดที่ 1 เรื่อง  ตัวประกอบ
ชุดที่ 1 เรื่อง ตัวประกอบ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.1 เทอม 1 ชุดที่ 2
 
ลองทำดู
ลองทำดูลองทำดู
ลองทำดู
 
ใบความรู้ การเก็บรักษาเสื้อผ้า
ใบความรู้  การเก็บรักษาเสื้อผ้าใบความรู้  การเก็บรักษาเสื้อผ้า
ใบความรู้ การเก็บรักษาเสื้อผ้า
 

Viewers also liked

จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนBeer Aksornsart
 

Viewers also liked (20)

Add m5-2-chapter1
Add m5-2-chapter1Add m5-2-chapter1
Add m5-2-chapter1
 
Math9
Math9Math9
Math9
 
Math3
Math3Math3
Math3
 
Basic m3-1-link
Basic m3-1-linkBasic m3-1-link
Basic m3-1-link
 
Add m6-1-chapter1
Add m6-1-chapter1Add m6-1-chapter1
Add m6-1-chapter1
 
Add m5-2-chapter2
Add m5-2-chapter2Add m5-2-chapter2
Add m5-2-chapter2
 
Add m4-2-chapter2
Add m4-2-chapter2Add m4-2-chapter2
Add m4-2-chapter2
 
Add m6-2-chapter2
Add m6-2-chapter2Add m6-2-chapter2
Add m6-2-chapter2
 
Add m4-2-chapter1
Add m4-2-chapter1Add m4-2-chapter1
Add m4-2-chapter1
 
Add m5-2-link
Add m5-2-linkAdd m5-2-link
Add m5-2-link
 
Add m5-1-link
Add m5-1-linkAdd m5-1-link
Add m5-1-link
 
Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3Add m5-1-chapter3
Add m5-1-chapter3
 
Add m3-2-chapter4
Add m3-2-chapter4Add m3-2-chapter4
Add m3-2-chapter4
 
Add m6-2-chapter3
Add m6-2-chapter3Add m6-2-chapter3
Add m6-2-chapter3
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2Add m5-1-chapter2
Add m5-1-chapter2
 
จำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อนจำนวนเชิงซ้อน
จำนวนเชิงซ้อน
 
Basic m2-1-chapter3
Basic m2-1-chapter3Basic m2-1-chapter3
Basic m2-1-chapter3
 
Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 

Similar to Add m5-2-chapter3

ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1Yoon Yoon
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkrusongkran
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผลKruGift Girlz
 
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษาเอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษาNapadon Yingyongsakul
 
ทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตpoomarin
 
ทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตpoomarin
 
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201kroojaja
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]IKHG
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 

Similar to Add m5-2-chapter3 (20)

Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02Random 121009010211-phpapp02
Random 121009010211-phpapp02
 
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวการประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
การประยุกต์ของสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
การให้เหตุผล
การให้เหตุผลการให้เหตุผล
การให้เหตุผล
 
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษาเอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการการอบรมครูวิชาคณิตศาสตร์ ระดับประถมศึกษา
 
ทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิต
 
ทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิตทดสอบสมรรถนะคณิต
ทดสอบสมรรถนะคณิต
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1  ค 31201
คณิตศาสตร์เพิ่มเติม 1 ค 31201
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
666
666666
666
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[3]
Prob[3]Prob[3]
Prob[3]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
Prob[1]
Prob[1]Prob[1]
Prob[1]
 
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วนชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
ชุดที่ 4 การตรวจสอบการเท่ากันของอัตราส่วน
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3Basic m3-1-chapter3
Basic m3-1-chapter3
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 

Add m5-2-chapter3

  • 1. บทที่ 3 ความนาจะเปน (40 ชั่วโมง) ตามประวัติศาสตร การหาความนาจะเปนเริ่มมาจากปญหาการไดเปรียบเสีย เปรียบในการพนัน การศึกษาเรื่องนี้จะชวยใหผูเรียนสามารถคาดเหตุการณลวงหนาไดอยางมี หลักเกณฑ ซึ่งจะชวยในการตัดสินใจไดอยางมาก ซึ่งบทนี้จะกลาวถึงกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยว กับการนับ วิธีเรียงสับเปลี่ยน วิธีจัดหมู ทฤษฎีบททวินาม ความนาจะเปน และกฎที่สําคัญบาง ประการของความนาจะเปน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง 1. แกโจทยปญหาโดยใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ วิธีเรียงสับเปลี่ยน และวิธีจัดหมู 2. นําความรูเรื่องทฤษฎีบททวินามไปใชได 3. หาความนาจะเปนของเหตุการณที่กําหนดใหได ผลการเรียนรูที่คาดหวังเปนผลการเรียนรูที่สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูชวงชั้น ทางดานความรู ดังนั้นในการจัดการเรียนรู ผูสอนตองคํานึงถึงมาตรฐานการเรียนรูดานทักษะ/ กระบวนการทางคณิตศาสตรที่จําเปน อันไดแก ความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมายทางคณิตศาสตรและการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทาง คณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น และการคิดริเริ่มสรางสรรค นอกจากนั้น กิจกรรมการเรียนรู ควรสงเสริมใหผูเรียนตระหนักในคุณคาและมีเจตคติที่ดีตอวิชาคณิตศาสตร ตลอดจนฝกใหนักเรียนทํางานอยางเปนระบบ มีระเบียบวินัย รอบคอบ มีความรับผิดชอบ มีวิจารณญาณ และมีความเชื่อมั่นในตนเอง
  • 2. 115 ขอเสนอแนะ 1. ในการใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับหาคําตอบของโจทยปญหานั้น ควร อานโจทยปญหาใหเขาใจวาในปญหานั้นกําหนดเงื่อนไขอะไรบาง การพิจารณาเงื่อนไขของ ปญหาจะชวยใหสามารถกําหนดขั้นตอนในการแกปญหา ซึ่งจะชวยใหสามารถหาคําตอบได งายขึ้น ลองพิจารณาตัวอยางตอไปนี้ ปญหาที่ 1 จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักโดยที่ตัวเลขใน แตละหลักไมซ้ํากันไดทั้งสิ้นกี่จํานวน วิธีคิด จากโจทยปญหาไดกําหนดเงื่อนไข 3 ขอ คือ 1) ใหใชตัวเลขโดดได 6 ตัว คือ 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 2) จํานวนที่ตองการ เปนจํานวนที่มีสามหลัก 3) ตัวเลขในแตละหลักของแตละจํานวนที่ตองการ ตองไมซ้ํากัน จากเงื่อนไขทั้งสามขอนี้ตองนํามาพิจารณาประกอบการใชกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับ การนับ เพื่อหาวาจะเขียนจํานวนที่ตองการไดกี่จํานวน สําหรับปญหานี้ตองพิจารณาวิธีที่จะ เขียนตัวเลขในหลักตาง ๆ คือ หลักหนวย หลักสิบ และหลักรอย เนื่องจากการเขียนจํานวน ที่มีสามหลักนั้น หลักรอยตองไมใชตัวเลข 0 สวนหลักอื่น ๆ นั้นจะใชตัวเลขใดก็ไดใน 6 ตัว ที่กําหนด การเริ่มแกปญหาจึงควรเริ่มดวยการหาจํานวนวิธีที่จะเขียนตัวเลขในหลักรอย เพราะมีขอจํากัดมากกวาหลักอื่น ๆ ดังนั้น วิธีหาคําตอบปญหาจึงอาจเปนดังนี้ วิธีที่ 1 เขียนตัวเลขในหลักรอยไดตาง ๆ กัน 5 วิธี แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 5 วิธี แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักรอยและหลักสิบ เขียนตัวเลขในหลักหนวยได 4 วิธี ดังนั้น จากกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ จํานวนที่มีสามหลักที่เขียนโดยใช ตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5 โดยที่ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันมีทั้งสิ้น 5 × 5 × 4 = 100 จํานวน วิธีหาคําตอบขางตนเปนเพียงวิธีหนึ่งเทานั้น อาจหาคําตอบโดยวิธีอื่น ๆ ก็ได เชน การพิจารณาโดยเริ่มจากการเขียนหลักหนวยกอน แตเนื่องจากจะมีปญหาวา เหลือ 0 อยูหรือไม จึงแยกกรณีพิจารณาดังตอไปนี้ วิธีที่ 2 ถาเริ่มเขียนตัวเลขในหลักหนวยกอน แยกกรณีพิจารณาไดดังนี้
  • 3. 116 (1) หาจํานวนที่มีสามหลักที่มี 0 อยูในหลักหนวย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 5 วิธี แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักสิบ เขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี ดังนั้น จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่มี 0 อยูในหลักหนวย และใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4, 5 โดยที่ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันได 5 × 4 = 20 จํานวน (2) หาจํานวนสามหลักที่มี 0 อยูในหลักสิบ ในทํานองเดียวกับขอ (1) จะไดวาจํานวนสามหลักในขอนี้มีทั้งหมด 20 จํานวน (3) หาจํานวนสามหลักที่ไมมี 0 ปรากฏอยูเลย จะไดทั้งหมด 5 × 4 × 3 = 60 จํานวน จาก (1), (2) และ (3) จํานวนสามหลักที่ไดจากการใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 เขียนโดยตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน มีทั้งสิ้น 20 + 20 + 60 = 100 จํานวน ปญหาที่ 2 จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคี่ และตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันไดกี่จํานวน วิธีคิด เงื่อนไขของปญหานี้เหมือนของปญหาที่ 1 แตเพิ่มเงื่อนไขอีกหนึ่งขอ คือ จํานวน ที่ตองการตองเปนจํานวนคี่ เงื่อนไขนี้มีผลตอจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวย ถาเริ่มหาคําตอบโดยพิจารณาจํานวนวิธีที่จะเขียนตัวเลขในหลักรอยกอนเชนเดียว กับการพิจารณาการเขียนตัวเลขในหลักหนวยวาทําไดกี่วิธีจะมีปญหา เพราะใน 5 วิธี ที่เขียนตัวเลขในหลักรอยนั้นมี 3 วิธี ที่ใช 1, 3 และ 5 ไปแลว ทําใหมีผลตอจํานวน วิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวยซึ่งใชตัวเลขที่กําหนดใหไดเพียง 3 ตัว คือ 1, 3 และ 5 เทานั้น ยิ่งถาพิจารณาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักสิบตอจากการพิจารณาจํานวน วิธีเขียนตัวเลขในหลักรอยจะทําใหการพิจารณาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวย มีปญหามากขึ้น วิธีหาคําตอบของปญหานี้จึงควรพิจารณาวิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวยเสียกอน แลวพิจารณาจํานวนวิธีการเขียนตัวเลขในหลักรอย จากนั้นจึงไปพิจารณาจํานวน วิธีเขียนตัวเลขในหลักสิบเปนอันดับสุดทาย วิธีทํา เขียนตัวเลขในหลักหนวยไดตาง ๆ กัน 3 วิธี แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวย เขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 4 วิธี
  • 4. 117 ดังนั้น ใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 เขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคี่ และตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน ได 4 × 4 × 3 = 48 จํานวน ปญหาที่ 3 จากตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูและ ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันไดกี่จํานวน วิธีคิด ปญหาที่ 3 นี้ มีเงื่อนไขเพิ่มจากปญหาที่ 1 อีกหนึ่งขอคือ จํานวนที่ตองการเปน จํานวนคู ถาพิจารณาไมรอบคอบอาจจะสรุปวาใชวิธีการในทํานองเดียวกับที่ใชใน การหาคําตอบปญหาที่ 2 คือ พิจารณาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักหนวย หลักรอย และหลักสิบ ตามลําดับ แตวิธีดังกลาวมีปญหาเพราะตัวเลขที่อาจใชในหลักหนวยมี 3 ตัว คือ 0, 2 และ 4 การที่ 0 อาจถูกใชหรือไมถูกใชในการเขียนตัวเลขหลักหนวย มีผลตอการพิจารณาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักรอย การหาคําตอบจึงอาจทําได โดยการแยกกรณีพิจารณา เมื่อใช 0 เปนหลักหนวย และเมื่อไมไดใช 0 เปน หลักหนวย ดังนี้ วิธีทํา แยกกรณีและพิจารณาดังนี้ 1. เมื่อใชตัวเลขในหลักหนวยเปน 0 เขียนตัวเลขในหลักรอยได 5 วิธี แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 4 วิธี ดังนั้น จํานวนสามที่มีหลักที่หลักหนวยเปน 0 ที่เขียนโดยใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 โดยตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันมี 5 × 4 = 20 จํานวน 2. เมื่อตัวเลขในหลักหนวยไมใช 0 เขียนตัวเลขในหลักหนวยได 2 วิธี (คือ 2 หรือ 4) แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวย เขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและในหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบได 4 วิธี ดังนั้น จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูที่หลักหนวยไมเปน 0 และเขียนโดย ใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 โดยตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน มี 4 × 4 × 2 = 32 จํานวน ดังนั้นการใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 เขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู โดยตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน ได 20 + 32 = 52 จํานวน
  • 5. 118 หมายเหตุ 1. ถาปญหาที่ 1, 2 และ 3 เปนปญหาที่ถามตอเนื่องกันแลว การหาคําตอบ ปญหาที่ 3 อาจใชคําตอบปญหาที่ 1 และ 2 ชวย โดยใชคําตอบปญหาที่ 2 ลบออกจากคําตอบ ปญหาที่ 1 ก็ได 2. ในการแกโจทยปญหาเกี่ยวกับการนับจํานวนวิธี บางกรณีก็ใชเฉพาะการคูณ บางกรณีก็ใชการบวก ซึ่งผูสอนควรอธิบายใหผูเรียนเขาใจถึงลักษณะของโจทยที่จะตองใช การคูณหรือการบวก การกระทําใด ๆ ที่ยังไมสิ้นสุดการคํานวณหาจํานวนวิธีสําหรับการกระทํา นั้น ๆ เราใชการคูณ แตถาการกระทําใด ๆ สามารถแยกไดเปนหลายกรณีและแตละกรณีสิ้นสุด ลงแลว ในการคํานวณหาจํานวนวิธีสําหรับการกระทํานั้นเราใชการบวกจํานวนวิธีในแตละกรณี เขาดวยกัน ดังจะเห็นไดจากตัวอยางขางตนที่ใหหาจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู เราแยก เปนจํานวนคูที่ลงทายดวย 0 ซึ่งมี 20 จํานวน ซึ่งการคํานวณหาจํานวนวิธีในกรณีนี้สิ้นสุดลงแลว และจํานวนคูที่ไมลงทายดวย 0 ซึ่งมี 32 จํานวน การคํานวณหาจํานวนวิธีในกรณีนี้ก็สิ้นสุด ลงแลวเชนกัน ดังนั้น เมื่อเราตองการทราบวาจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูมีกี่จํานวน เราจึงนําจํานวนวิธีที่หาไดในแตละกรณีมาบวกกัน กลาวคือ มี 20 + 32 = 52 จํานวน และ จะเห็นวา ในการคํานวณหาจํานวนคูดังกลาวในแตละกรณีนั้น แตละตอนเปนการกระทําที่ ตอเนื่องกัน เราจึงใชวิธีคูณดังไดกลาวแลวในกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ หลักการที่ กลาวมานี้สามารถนําไปใชกับการคํานวณหาจํานวนวิธีทั้งหมดในวิธีเรียงสับเปลี่ยน และวิธี จัดหมูไดเชนเดียวกัน 3. ในการแกโจทยปญหา ผูเรียนมักจะพบปญหาวา โจทยขอนี้เปนเรื่อง เกี่ยวกับวิธีเรียงสับเปลี่ยนหรือวิธีจัดหมูที่เปนดังนี้อาจเปนเพราะผูเรียนไมเขาใจวาวิธีเรียง สับเปลี่ยนและวิธีจัดหมูนั้นมีความหมายตางกันอยางไร ผูสอนควรอธิบายใหผูเรียนเขาใจวา วิธีเรียงสับเปลี่ยนนั้นจะเกี่ยวของกับตําแหนงที่หรืออันดับที่ สวนวิธีจัดหมูนั้นไมเกี่ยวกับ ตําแหนงที่หรืออันดับ เชน 1) มีจุด 4 จุด บนเสนรอบวงของวงกลมวงหนึ่งจะลากสวนของเสนตรง ผานจุด 2 จุดไดทั้งหมดกี่เสน จะเห็นวา สวนของเสนตรงที่ลากผานจุดที่ 1 ไปยังจุดที่ 2 และ สวนของเสนตรงที่ลากผานจุดที่ 2 ไปยังจุดที่ 1 เปนสวนของเสนตรงเดียวกัน จึงไมตองคํานึง ถึงอันดับใดกอนหลัง การทําโจทยประเภทนี้เปนวิธีจัดหมู ดังนั้น จะมีสวนของเสนตรง 4 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 4! 2!2! = 6 เสน
  • 6. 119 2) จากตัวอักษรในคําวา MONDAY ถาตองการนําอักษร 3 ตัว จากคํานี้มาเรียงเปนคําใหมโดยไมคํานึงถึงความหมายจะจัดไดทั้งหมดกี่คํา จะเห็นวา ตําแหนงที่ตางกันของอักษรทั้ง 3 ตัวที่จัดนั้นทําใหเกิดคําใหม เสมอ จึงถือวาตําแหนงที่หรืออันดับที่ทําใหผลที่เกิดขึ้นตางกัน โจทยขอนี้จึงเปนวิธีเรียงสับเปลี่ยน ดังนั้น จะจัดคําทั้งหมดได P6, 3 = 6 × 5 × 4 = 120 คํา หรืออาจจะคิดไดอีกวิธีหนึ่งดังนี้ มีอักษรทั้งหมด 6 ตัว เลือกมาทีละ 3 ตัว แลวนํา 3 ตัวนี้มาจัดเรียง สับเปลี่ยนอีกครั้งหนึ่ง จํานวนวิธีเลือกทั้งหมดมี C6, 3 วิธี ในแตละวิธีของการเลือกนํามา จัดเรียงสับเปลี่ยนได 3! วิธี ดังนั้น จะจัดคําทั้งหมดได C6, 3 × 3! = 120 คํา และในกรณีทั่วไปจะพบวา cn,r × r! = Pn, r 4. ในการพิจารณาปญหาเกี่ยวกับจํานวนวิธีในการจัดเรียงตัวอักษรหรือตัวเลข มักจะมีปญหาวาจะจัดตัวอักษรหรือตัวเลขเหลานั้นซ้ํากันไดหรือไมในกรณีที่โจทยปญหานั้น ไมบงไวอยางแนชัด ปญหาดังกลาวเปนปญหาที่เกิดจากการตีความหมายซึ่งไมมีขอตกลงหรือ ขอกําหนดที่แนนอน ผูสอนควรหลีกเลี่ยงไมใหเกิดปญหาเหลานั้นโดยการกําหนดใหชัดเจน (ดังตัวอยางในหนังสือเรียน) วาจะใชตัวเลขหรือตัวอักษรซ้ําไดหรือไม ตัวอยางโจทยปญหาที่กําหนดไวชัดเจนที่ควรจะตีความหมายไดตรงกัน (1) จะเขียนจํานวนเต็มบวกซึ่งมีสี่หลักไดทั้งหมดกี่จํานวน (ในกรณีนี้ ตัวเลขในแตละหลักใชซ้ํากันได ดังนั้น คําตอบคือ 9 × 10 × 10 × 10 จํานวน) (2) จะใชบัตร 4 ใบที่เขียนตัวเลข 1, 2, 3, 4 ไวตามลําดับเรียงใหไดจํานวน ที่มีสามหลักไดทั้งหมดกี่จํานวน (ในกรณีนี้การจัดเรียงแตละแบบใชบัตรไดบัตรละ 1 ครั้ง ดังนั้น คําตอบคือ 4!) (3) จะใชตัวเลข 1, 2, 3, 4, 5, 6 เขียนลงในบัตรโดยเขียนเปนจํานวนที่มี หกหลัก จะเขียนไดทั้งหมดกี่บัตร (ในกรณีนี้การจัดในแตละแบบใชตัวเลขซ้ํากันได เชน หมายเลข 666333 เปนตน ดังนั้น คําตอบคือ 66 บัตร (4) จะมีวิธีจัดเรียงตัวอักษรในคําวา “HEAD” ไดกี่วิธีถาไมสนใจความ หมายของคําที่เกิดขึ้น (ในกรณีนี้คลายกับกรณีในขอ (2) ซึ่งคลายกับวา ตัวอักษรแตละตัว เขียนอยูในบัตร นําบัตรมาจัดเรียงอันดับใหม คําตอบคือ 4!) (5) จะมีวิธีจัดเรียงตัวเลขในเซต {0, 1, 2, 3, 4} ไดกี่วิธี (ในกรณีนี้คลาย
  • 7. 120 กับกรณีในขอ (4) คําตอบคือ 5!) (6) จะมีวิธีจัดเรียงตัวเลขในจํานวน “2435” ไดกี่วิธี ( คําตอบคือ 4!) (7) จะสรางจํานวนเต็มบวกที่มีสามหลักจากตัวเลข 1, 4, 6, 9 ไดกี่จํานวน (ในกรณีนี้โดยทั่วไปจะหมายถึงวาใชตัวเลขซ้ําได แตเพื่อปองกันมิใหเกิดปญหา ควรเขียน ใหชัดเจนลงไปวา ใชตัวเลขซ้ํากันได) 5. ในเรื่องวิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลม อาจมีปญหาเกี่ยวกับการหาจํานวนวิธี เชน การรอยลูกปดเปนวงกลม หรือการรอยพวงมาลัยเปนวงกลม เปนตน การหาจํานวนวิธีรอยลูกปด 4 ลูก ซึ่งมีสีขาว สีแดง สีฟา และสีมวง เปนวงกลม มีไดกี่วิธี ถาการจัดเรียงเปนวงกลมนี้ จะจัดได (4 – 1)! = 6 วิธี ดังรูป (1) (2) ให ข แทนสีขาว ส แทนสีแดง ฟ แทนสีฟา ม แทนสีมวง (3) (4) (5) (6) แตถาเรารอยลูกปดของแตละวิธีที่จัดเรียงไวเขาดวยกันเปนวงกลม จะเห็นวา เรารอยไดเพียง 3 วิธี คือ (1), (3) และ (5) เพราะในการรอยแบบ (1) ทําใหเกิดแบบ (2) ดวย ข ส ฟ ม ข ม ฟ ส ข ฟ ม ส ข ส ม ฟ ข ม ส ฟ ข ฟ ส ม
  • 8. 121 กลาวคือ เมื่อพลิกอีกดานหนึ่งของ (1) ขึ้น ก็จะไดการจัดเรียงแบบ (2) นั่นเอง ทํานองเดียว กัน ถาพลิกอีกดานหนึ่งของ (3) จะไดการจัดเรียงแบบ (4) และพลิกแบบ (5) ก็ไดการจัดเรียง แบบ(6) ดังนั้น ในการรอยลูกปด 4 ลูก รอยได 3 วิธี โดยทั่วไปจํานวนวิธีจัดเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลมในลักษณะที่กลาวขางตน กลาวคือมีการพลิกกลับอีกดานหนึ่งได จํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนจะเปนครึ่งหนึ่งของจํานวน วิธีเรียงสับเปลี่ยนเชิงวงกลมที่กลาวไวในหนังสือเรียน 6. กรณีที่วา ถามีสิ่งของอยู n สิ่ง ในจํานวนนี้มี n1 สิ่งที่เหมือนกันเปนกลุม ที่ 1 มี n2 สิ่งที่เหมือนกันเปนกลุมที่ 2 ... และมี nk สิ่งที่เหมือนกันเปนกลุมที่ k โดยที่ n1 + n2 + ... + nk = n จํานวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนของทั้ง n สิ่งเทากับ 1 2 k n! n !n ! n !L กฎนี้บางครั้งเรียกวา “กฎการแบงกลุม” (Partitioning Law) เพราะอาจใช คํานวณจํานวนวิธีที่จะแบงคนหรือสิ่งของ n สิ่ง ออกเปน k กลุม โดยใหกลุมที่ 1 มี n1 สิ่ง กลุมที่ 2 มี n2 สิ่ง ... กลุมที่ k มี nk สิ่ง และ n1 + n2 + ... + nk = n การใชกฎนี้คํานวณ หาจํานวนวิธีที่จะแบงสิ่งของดังกลาวขางตนมีขอควรระวังวา จํานวนสิ่งของในแตละกลุม จะตองไมเทากัน และสิ่งของที่นํามาแบงตองแตกตางกันทั้งหมด สมมุติวามีของ 4 สิ่ง คือ A, B, C และ D ตองการแบงออกเปนสองกลุม กลุมหนึ่งมี 3 สิ่ง อีกกลุมหนึ่งมี 1 สิ่ง จะแบงไดดังนี้ A, B, C กับ D A, B, D กับ C A, C, D กับ B B, C, D กับ A จะเห็นวา แบงไดทั้งหมด 4 วิธี วิธีการแบงก็คือเลือกของที่จะใหเปนกลุมแรกออกมากอน ของที่เหลือก็จะ เปนอีกกลุมหนึ่ง ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะแบงของดังกลาว จะเทากับจํานวนวิธีของการเลือก ของ 3 สิ่งจากของ 4 สิ่ง ซึ่งเทากับ C4, 3 = 4! 3!1! = 4 วิธี
  • 9. 122 หรือจะเทากับจํานวนวิธีของการเลือกของ 1 สิ่งจากของ 4 สิ่ง ซึ่งเทากับ C4, 1 = 4! 1!3! = 4 วิธี กลาวโดยทั่วไปไดวา ถามีสิ่งของ p + q สิ่ง ซึ่งแตกตางกันทั้งหมดตองการ แบงออกเปนสองกลุม ๆ ละ p และ q สิ่ง โดยที่ p ≠ q จะไดจํานวนวิธีแบงเทากับ Cp+q, p หรือ Cp+q, q โดยที่ Cp+q, p = (p q)! p!q! + Cp+q, q = (p q)! p!q! + ถาตองการแบงสิ่งของ p + q + r สิ่ง ซึ่งแตกตางกันทั้งหมดและแบงเปน 3 กลุม ๆ ละ p, q และ r สิ่ง โดยที่ p ≠ q ≠ r ก็ทําไดโดยการแบงของ p + q + r สิ่ง ออกเปนสองกลุมกอน โดยใหกลุมที่หนึ่งมีของ p สิ่ง อีกกลุมหนึ่งจะมีของ q + r สิ่ง จํานวนวิธีแบงของ p สิ่ง จาก p + q + r สิ่ง เทากับ Cp+q+r, p Cp+q+r, p = (p q r)! p!(q r)! + + + ในแตละวิธีของการแบงกลุมครั้งนี้จะแบงของ q + r สิ่ง ออกเปนสองกลุม ๆ ละ q และ r สิ่ง จะไดจํานวนวิธีแบงเทากับ Cq+r, q หรือ Cq+r, r ดังนั้น จํานวนวิธีทั้งหมดที่จะแบงของ p + q + r สิ่ง ซึ่งแตกตางกันออก เปนสามกลุม ๆ ละ p, q และ r สิ่ง โดยที่ p ≠ q ≠ r จะมีทั้งหมด p q r q r p q + + +⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠ = (p q r)! (q r)! p!(q r)! q!r! + + + × + = (p q r)! p!q!r! + + ในทํานองเดียวกัน ถาตองการแบงของ n สิ่ง ซึ่งแตกตางกันทั้งหมด ออกเปน k กลุม ๆ ละ n1, n2, ..., nk สิ่ง โดยที่ n1 ≠ n2 ≠ ... ≠ nk และ n1 + n2 + ...+ nk = n จํานวนวิธีแบงทั้งหมดเทากับ 1 2 k n! n !n ! n !L ตัวอยาง จงหาจํานวนวิธีทั้งหมดที่จะจัดแบงนักเรียน 20 คน ใหขึ้นรถยนต 3 คัน โดยที่ รถยนตแตละคันบรรทุกได 5, 7 และ 8 คน ตามลําดับ วิธีคิด การจัดแบงนักเรียน 20 คน ใหขึ้นรถยนต 3 คันนี้ก็คือ การแบงนักเรียน 20 คน ออกเปนสามกลุม ๆ ละ 5, 7 และ 8 คน เมื่อแบงแลวใหแตละกลุมขึ้นรถยนต
  • 10. 123 ตามขนาดบรรทุกที่กําหนด เชนกลุมที่มีนักเรียน 5 คน ก็ขึ้นรถยนตคันที่บรรทุก ได 5 คน จึงไมตองมีการสลับกลุมเพื่อขึ้นรถยนต และในรถยนตแตละคัน นักเรียนไมตองสลับที่กันนั่ง เพราะจะสลับกันอยางไรก็อยูในรถยนตคันเดียวกัน นั่นเอง วิธีทํา จํานวนวิธีทั้งหมดที่จะจัดแบงนักเรียนใหขึ้นรถยนตได 20! 5!7!8! = 99,768,240 วิธี 7. การนําเขาสูบทเรียนเรื่องปริภูมิตัวอยาง ควรใหผูเรียนเขียนผลลัพธที่เปน ไปไดทั้งหมด ซึ่งอาจใชการเขียนแผนภาพตนไมชวย แลวจึงบอกใหผูเรียนทราบวา เซตของ ผลลัพธที่เปนไปไดทั้งหมดคือปริภูมิตัวอยาง 8. ในการหาความนาจะเปนของเหตุการณ E ที่เปนสับเซตของปริภูมิตัวอยาง โดยใชบทนิยาม P(E) = n N เมื่อ n เปนจํานวนสมาชิกของเหตุการณ และ N เปนจํานวน สมาชิกของปริภูมิตัวอยาง S จะใชไดก็ตอเมื่อ S เปนเซตจํากัดและแตละสมาชิกในปริภูมิ ตัวอยาง S มีโอกาสเกิดขึ้นไดเทา ๆ กัน เชน ก. ในถุงใบหนึ่งมีลูกบอลสีแดง 10 ลูก สีขาว 5 ลูก หยิบลูกบอลมา 1 ลูก สนใจสีของลูกบอลที่หยิบได ปริภูมิตัวอยาง คือ S = {สีแดง, สีขาว} ถาสนใจเหตุการณ E ที่จะหยิบไดลูกบอลสีแดง E = {สีแดง} ถาใชสูตรโดยไมพิจารณาเงื่อนไขจะได P(E) = 1 2 ซึ่งผิด เนื่องจากแตละสมาชิกในปริภูมิ ตัวอยาง S มีโอกาสเกิดขึ้นไดไมเทากัน เพราะในถุงมีลูกบอลสีแดงมากกวาสีขาว ดังนั้น โอกาสที่จะไดลูกบอลสีแดงจึงมีมากกวาโอกาสที่หยิบไดลูกบอลสีขาว แตถาเขียน S และ E ใหมดังนี้ S = {x⏐x เปนลูกบอลในถุง} E = {x⏐x เปนลูกบอลสีแดงในถุง} จะใชสูตร P(E) = n N ได เพราะสมาชิกแตละตัวใน S มีโอกาสที่จะถูกหยิบไดเทา ๆ กัน ดังนั้น จะได P(E) = 10 15
  • 11. 124 ถา E เปนเหตุการณที่จะไดผลรวมของแตมเปน 3 จากการทอดลูกเตา 2 ลูก 1 ครั้ง จะหา P(E) โดยใชปริภูมิตัวอยาง S = {2, 3, 4, ..., 12} ไมได เนื่องจากแตละ สมาชิกในปริภูมิตัวอยาง S มีโอกาสเกิดขึ้นไดไมเทากัน เชน การที่จะไดผลรวมเปน 2 มี โอกาสเกิดขึ้นไดวิธีเดียวคือ ลูกแรกขึ้น 1 และลูกหลังขึ้น 1 ดวย แตการที่จะไดผลรวมเปน 3 มีได 2 วิธี คือ ลูกแรกขึ้น 1 และลูกหลังขึ้น 2 ลูกแรกขึ้น 2 และลูกหลังขึ้น 1 จะเห็นวา การที่จะไดผลรวมของแตมเปน 3 มีโอกาสที่จะเกิดขึ้นไดมากกวาที่จะ ไดผลรวมของแตมเปน 2 ดังนั้น ในการหาความนาจะเปนโดยใชสูตร P(E) = n N ปริภูมิตัวอยาง S จะตองประกอบดวยสมาชิกที่มีโอกาสเกิดขึ้นไดเทา ๆ กันคือ S = {(1, 1), (1, 2), ...., (1, 6), ... (6, 1), (6, 2), ..., (6, 6)} E = {(1, 2), (2, 1)} 9. ผูสอนควรใหผูเรียนใชกฎที่สําคัญบางประการของความนาจะเปน และชี้ใหเห็น วาปญหาบางปญหาอาจทําไดทั้ง 2 วิธี แตบางครั้งการใชกฎทําใหหาคําตอบไดรวดเร็วกวา เชน การทอดลูกเตา 3 ลูก ใหหาความนาจะเปนที่ผลรวมของแตมบนหนาลูกเตามากกวา 3 ให E1 เปนเหตุการณที่ผลบวกของแตมเปน 3 E2 เปนเหตุการณที่ผลบวกของแตมมากกวา 3 ( ){ }1E = 1,1,1 ในการทอดลูกเตา 3 ลูก 1 ครั้ง จํานวนวิธีที่จะเกิดผลลัพธมีได 6 × 6 × 6 = 63 วิธี P(E1) = 3 1 6 แต E2 เปนคอมพลีเมนตของเหตุการณ E1 ดังนั้น P(E2) = 3 1 1 6 − 10. ในการใชสูตร P(E1 ∪ E2) = P(E1) + P(E2)
  • 12. 125 ผูสอนควรชี้ใหเห็นวา สูตรนี้ใชไดเมื่อ E1 และ E2 เปนเหตุการณที่ไมเกิด รวมกันเทานั้น ผูสอนควรใหผูเรียนยกตัวอยางเหตุการณ E1, E2 แลวหาวา E1 ∩ E2 เปน เซตวางหรือไม ถา E1 ∩ E2 = ∅ แสดงวา เหตุการณ E1 และ E2 เปนเหตุการณที่ไมเกิด รวมกัน บางครั้งเปนการยากที่จะแจกแจงเซต E1, E2 ซึ่งทําใหพิจารณาจาก E1 ∩ E2 ไมได การพิจารณาวา E1 และ E2 เปนเหตุการณที่เกิดรวมกันหรือไม จึงตองพิจารณาสมบัติของ สมาชิกใน E1 วาเปนสมาชิกใน E2 ไดหรือไม ถาไดแสดงวา E1 และ E2 เปนเหตุการณที่ เกิดรวมกันจึงตองใชสูตร P(E1 ∪ E2) = P(E1) + P(E2) – P(E1 ∩ E2) ผูสอนอาจยกตัวอยางของการพิจารณาวาเหตุการณ 2 เหตุการณเปนเหตุการณ ที่ไมเกิดรวมกัน เชน ดึงไพ 2 ใบ จากไพสํารับหนึ่งซึ่งมี 52 ใบ จงหาความนาจะเปนที่หยิบไดไพ โพดํา 2 ใบ หรือโพแดงอยางนอย 1 ใบ ให E1 เปนเหตุการณซึ่งไดโพดํา 2 ใบ E2 เปนเหตุการณซึ่งไดโพแดงอยางนอย 1 ใบ จะหา P(E1 ∪ E2) เนื่องจากสมาชิกของเหตุการณใน E1 ไมมีสมบัติที่จะเปนสมาชิกในเหตุการณ E2 เพราะในการหยิบไพ 2 ใบ เมื่อหยิบไดโพดํา 2 ใบ แลวจะหยิบไพโพแดงอยางนอยอีก 1 ใบ ยอมเปนไปไมได ดังนั้น E1 และ E2 จึงเปนเหตุการณที่ไมเกิดรวมกัน จะได P(E1 ∪ E2) = P(E1) + P(E2) วิธีที่จะหยิบไพ 2 ใบ จากไพ 52 ใบ มี 52 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ วิธี วิธีที่จะหยิบไพ 2 ใบ และเปนโพดําทั้งคูมี 13 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ วิธี ดังนั้น P(E1) = 13 2 52 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ วิธีที่จะหยิบไพ 2 ใบ ใหไดโพแดงอยางนอย 1 ใบ เทากับ จํานวนวิธีที่จะหยิบ ไพโพแดง 1 ใบ และไพอื่น ๆ 1 ใบ รวมกับจํานวนวิธีที่จะหยิบไพ 2 ใบ ไดโพแดงทั้ง 2 ใบ ดังนั้น จํานวนวิธีที่จะไดโพแดงอยางนอย 1 ใบ เทากับ 13 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ 39 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ + 13 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠
  • 13. 126 จะได P(E2) = 13 39 13 1 1 2 52 2 ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ดังนั้น P(E1 ∪ E2) = P(E1) + P(E2) = 13 13 39 13 2 1 1 2 52 52 2 2 ⎛ ⎞ ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎛ ⎞ +⎜ ⎟ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠⎝ ⎠ ⎝ ⎠+ ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ กิจกรรมเสนอแนะ กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ 1. ในการสอนเรื่องนี้ ผูสอนอาจใหตัวอยางโจทยปญหาที่ใชกฎเกณฑเบื้องตน เกี่ยวกับการนับ โดยใหผูเรียนแสดงวิธีทําหลาย ๆ วิธีเชน 1.1 โดยอาศัยแผนภาพตนไม 1.2 โดยอาศัยผลคูณคารทีเซียน 1.3 โดยอาศัยกฎการบวก และกฎการคูณของกฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ 2. ผูสอนยกตัวอยางโจทยที่มีเงื่อนไขบางอยางในตัว เชน ใชตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 เขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูไดทั้งหมดกี่จํานวน ถา 1) ตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได 2) ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน กอนที่ผูสอนจะใหผูเรียนหาจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูซึ่งเขียนไดโดยใช ตัวเลข 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 และตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได ผูสอนอาจใชคําถามเพื่อชวยให ผูเรียนหาคําตอบไดงายขึ้น ดังนี้ 2.1 ผูสอนใหผูเรียนอธิบายความหมายของจํานวนที่มีสามหลักซึ่งผูเรียนอาจ อธิบายไดวา หมายถึงจํานวนที่ประกอบดวยเลขโดด 3 ตัว โดยที่ตัวเลขในหลักรอยตองไม เปน 0 2.2 ผูสอนถามผูเรียนวาคําวาตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได หมายความวาอยางไร พรอมทั้งใหผูเรียนยกตัวอยาง ซึ่งผูเรียนควรตอบไดวาตัวเลขในหลักหนวยหลักสิบหรือหลักรอย อาจเหมือนกันได เชน 221, 303, 444 เปนตน
  • 14. 127 2.3 ผูสอนถามผูเรียนวาจํานวนคูหมายความวาอยางไร พรอมทั้งใหยกตัวอยาง จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู ผูเรียนควรตอบไดวา หมายถึงจํานวนที่ 2 หารลงตัว 2.4 ผูสอนถามวา สําหรับปญหาขางตนผูเรียนคิดวาตัวเลขในหลักหนวยควรเปน ตัวเลขอะไรไดบาง ซึ่งผูเรียนควรตอบไดวา 0, 2 และ 4 พรอมทั้งยกตัวอยางจํานวนคูที่มี สามหลัก เชน 344, 430, 552 ผูสอนถามผูเรียนตอไปวา จากตําแหนงของตัวเลขในสามหลักนี้ จะเขียน ตัวเลขในหลักหนวยไดกี่วิธี นักเรียนควรตอบไดวามี 3 วิธี (คือ 0, 2 หรือ 4) ผูสอนถาม ตอไปวาในแตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยจะเขียนตัวเลขในหลักสิบไดกี่วิธี ผูเรียนควร ตอบไดวา 6 วิธี (คือตัวเลขทุกตัว) ผูสอนถามตอวา ในทํานองเดียวกันจะเขียนตัวเลขใน หลักรอยไดกี่วิธี ผูเรียนควรตอบไดวา 5 วิธี (คือ 1, 2, 3, 4 หรือ 5) ผูสอนใหผูเรียนหาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขดังกลาว โดยเริ่มจากวิธีเขียนตัวเลขใน หลักรอยหรือหลักสิบกอน ซึ่งผูเรียนจะเห็นวาไดคําตอบเทากัน ผูสอนและผูเรียนชวยกันสรุปวา เนื่องจากตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได ดังนั้น การหาหลักใดกอนหลังก็ได การหาจํานวนคูที่มีสามหลักที่แตละหลักซ้ํากันได จึงควรเปนดังนี้ เขียนตัวเลขในหลักหนวยได 3 วิธี (คือ 0, 2, 4) แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยเขียนตัวเลขในหลักสิบได 6 วิธี (คือ 0, 1, 2, 3, 4, 5) แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและหลักสิบ เขียนตัวเลขในหลักรอยได 5 วิธี (คือ 1, 2, 3, 4, 5) ดังนั้น จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูและตัวเลขในแตละหลักซ้ํากันได จึงมี ทั้งหมด 5 × 6 × 3= 90 จํานวน ผูสอนถามผูเรียนวาการหาจํานวนวิธีที่จะเขียนจํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู ควรเริ่มที่หลักใด เพราะเหตุใด ผูสอนและผูเรียนลองทําโจทย โดยเริ่มจากหลักหนวยกอนซึ่งจะพบปญหาวา ถาหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 ที่ไมใช 0 แลวจะทําใหเกิดความยุงยากเมื่อหาจํานวนที่เขียนตัวเลข ในหลักรอย เพราะการที่หลักหนวยเปน 0 หรือหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 ทําใหจํานวนวิธี เขียนตัวเลขในหลักรอยไมเทากัน การพิจารณาจึงตองแยกออกเปน 2 กรณี คือ กรณีที่ 1 เมื่อหลักหนวยเปน 0 แลวหาจํานวนวิธีหลักอื่น ๆ ที่เหลือ โดยจะหาหลักใดกอนก็ได กรณีที่ 2 เมื่อหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 ตองหาจํานวนวิธีเขียนตัวเลขในหลักรอยกอน (เพื่อ
  • 15. 128 ไมให 0 อยูในหลักนี้) แลวจึงหาวิธีเขียนหลักสิบ ดังนั้น ในการหาจํานวนดังกลาวควรทําดังนี้ กรณีที่ 1 เมื่อหลักหนวยเปน 0 ตัวเลขในหลักหนวยเขียนได 1 วิธี แตละวิธีที่ตัวเลขในหลักหนวยเปน 0 เขียนตัวเลขในหลักสิบได 5 วิธี (คือ 1, 2, 3, 4, 5) แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและหลักสิบ เขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี ดังนั้น จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคู ซึ่งหลักหนวยเปน 0 และตัวเลข ในแตละหลักไมซ้ํากันได มีทั้งหมด 4 × 5 × 1 = 20 จํานวน กรณีที่ 2 เมื่อหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 ตัวเลขในหลักหนวยเขียนได 2 วิธี (คือ 2 หรือ 4) แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวย จะเขียนตัวเลขในหลักรอยได 4 วิธี (คือ 1, 2, 3, 5 หรือ 1, 3, 4, 5) แตละวิธีที่เขียนตัวเลขในหลักหนวยและหลักรอย เขียนตัวเลขในหลักสิบ ได 4 วิธี (คือตัวเลขที่เหลือ) นั่นคือ จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูซึ่งหลักหนวยเปน 2 หรือ 4 และ ตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากันได มีทั้งหมด 4 × 4 × 2 = 32 จํานวน ดังนั้น จํานวนที่มีสามหลักที่เปนจํานวนคูและตัวเลขในแตละหลักไมซ้ํากัน มีทั้งหมด 20 + 32 = 52 จํานวน แฟกทอเรียล n 1. ผูสอนใหความหมายของสัญลักษณ n! วา หมายถึง ผลคูณของจํานวนเต็มบวก ตั้งแต 1 ถึง n จากนั้นผูสอนใหผูเรียนฝกหาจํานวนตาง ๆ ที่อยูในรูปแฟกทอเรียล เชน 9! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ... 8 ⋅ 9 (n + 1)! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ... n(n + 1) (n – 1)! = 1 ⋅ 2 ⋅ 3 ... (n – 2)(n – 1) 2. ผูสอนฝกใหผูเรียนเขียนจํานวนที่อยูในรูปแฟกทอเรียลใหอยูในรูปที่ไมมี แฟกทอเรียลปรากฏอยู เชน กําหนดจํานวน 7!3! 5! , (n 1)! n! − ใหผูเรียนเขียนจํานวนเหลานี้
  • 16. 129 ในรูปที่ไมมีแฟกทอเรียลปรากฎอยู 3. ผูสอนใหผูเรียนฝกแกสมการที่มีรูปแฟกทอเรียลปรากฏอยู พรอมทั้งอาจชี้ให เห็นดวยวา ผูเรียนอาจทําไดโดยใชอีกวิธีหนึ่งดังนี้ ถา (n 3)! (n 1)! + + = 30 จงหา n (n 3)(n 2)(n 1)! (n 1)! + + + + = 30 (n + 3)(n + 2) = 30 ---------- (1) เนื่องจากจํานวนทางซายของเครื่องหมาย “เทากับ” ในสมการ (1) เปนผลคูณ ของจํานวนเต็มบวก 2 จํานวนที่ตางกันอยู 1 ดังนั้น เราจึงพยายามเขียนจํานวนที่อยูทางขวา ของเครื่องหมาย “เทากับ” ใหอยูในรูปผลคูณของจํานวนเต็มบวก 2 จํานวน ที่ตางกันอยู 1 เหมือนทางซาย นั่นคือ จะเขียนสมการ (1) ใหมเปน (n + 3)(n + 2) = 6 × 5 จะได n + 3 = 6 และ n + 2 = 5 ดังนั้น n = 3 วิธีเรียงสับเปลี่ยนและวิธีจัดหมู มีธงสีตาง ๆ อยู 5 สี ธงละหนึ่งสี จงหาจํานวนวิธีที่จะสงสัญญาณธงโดย อาศัยการสลับที่ธง 3 ธง เรียงตามแนวดิ่ง 1. ในการสอนตามโจทยตัวอยางขางตน ผูสอนอาจเตรียมอุปกรณเปนธงกระดาษสี ตาง ๆ 5 สี เพื่อใชประกอบคําอธิบายความหมายของสัญลักษณธงตามโจทย เมื่อผูเรียนเขาใจ วิธีทําแลวอาจใหทํากิจกรรมตอเนื่องจากตัวอยางตามลําดับขั้นตอนตอไปนี้ 1.1 แบงกลุมผูเรียนออกเปน 5 กลุม เรียกชื่อกลุมวา กลุมที่ 1, 2, 3, 4 และ 5 ตามลําดับ แลวใหแตละกลุมตอบคําถามตอไปนี้ ก. ถาให ส1, ส2, ส3, ส4 และ ส5 แทนสีของธงแตละผืน แลวจะมีวิธีให สัญญาณธงกี่วิธี ถากําหนดวาตองใชสีที่กํากับดวยตัวเลขเดียวกันกับชื่อของกลุมในตําแหนงที่ หนึ่งของสัญญาณ ข. ถาตองการใหแสดงสัญญาณธงที่เปนไปไดทั้งหมด จากโจทยตัวอยาง ขางตน ซึ่งมี 60 วิธี โดยการตัดกระดาษสี 5 สี เปนรูปสี่เหลี่ยมเล็ก ๆ ขนาดเทา ๆ กัน ติดลง
  • 17. 130 บนกระดาษขาว จะตองตัดกระดาษแตละสีเปนจํานวนเทาไร ค. ถาจะแบงกระดาษสีในขอ ข ใหแตละกลุมที่แบงไวเพื่อใชแสดงสัญญาณ ธงของแตละกลุมตามคําถามขอ ก จะตองแบงกระดาษสีใหแตละกลุมอยางไร ง. ถาใหใชกระดาษสีตามที่แบงในขอ ค ติดลงบนกระดาษขาว เพื่อแสดง สัญญาณธงทั้งหมดที่กลุมคํานวณไดในคําถามขอ ก วิธีหนึ่งที่ทําไดคือติดกระดาษสีลงไป โดยแผนแรกเปนสีที่ตัวเลขแสดงลําดับตรงกับลําดับของกลุม แผนที่สองและสามเลือกใช กระดาษสีไมซ้ํากัน เนื่องจากจํานวนกระดาษสีที่แบงตามขอ ค พอดีกับจํานวนวิธีอยูแลวจะ สามารถติดกระดาษสีแสดงสัญญาณไดครบพอดี แตถาจะติดกระดาษสีใหสอดคลองกับกฎ เกณฑเบื้องตนของการนับควรจะทําอยางไร ใหแตละกลุมรายงานผลการพิจารณาหาคําตอบปญหา ก ถึง ง เมื่อเห็น วาคําตอบถูกตองดีแลว และตองการใหผูเรียนฝกปฏิบัติ ผูสอนอาจเตรียมอุปกรณที่ตองใช เพื่อใหผูเรียนปฏิบัติจริงตามคําตอบขอ ง ก็ได ในกรณีที่จําเปนอาจใหใชวิธีระบายสีแทนการ ติดกระดาษลงบนกระดาษขาวก็ได 1.2 การเสนอปญหาอภิปรายรวมในหอง ก. ถาผูสอนตองการใหผูเรียนแบงกลุมกันติดกระดาษสี เพื่อแสดงสัญญาณธง ที่เปนไปไดทั้งหมดในโจทยตัวอยางขางตน ซึ่งมีทั้งหมด 60 วิธี โดยใหเริ่มตั้งแตการตัดกระดาษ สีจากแผนใหญเปนชิ้นเล็ก ๆ วิธีที่งายที่สุดคือ แจกกระดาษสีใหแตละกลุม ๆ ละ 3 แผนใหญ แผนละสี กระดาษสีของแตละกลุมจะเหมือนกันทั้งหมดไมได จากกระดาษสีที่มีสีเปน ส1, ส2, ส3, ส4 และ ส5 ผูสอนถามผูเรียนวาจะจัดแบงกลุมไดทั้งหมดกี่กลุม และแตละกลุมไดกระดาษ สีใดบาง ข. ถาแบงกลุมตามขอ ก แตละกลุมจะติดกระดาษสีแสดงสัญญาณธงได กี่สัญญาณ หลังการอภิปรายในขอ 1.2 ผูสอนอาจนําอภิปรายเพื่อสรุปวาการเรียงสับเปลี่ยน และการจัดหมูมีความสัมพันธกันอยางไร โดยบอกวาในปญหาขอ ก นั้น เปนการจัดหมูของ 3 สิ่ง จาก 5 สิ่ง ซึ่งจํานวนวิธีเขียนดวยสัญลักษณเปน C5, 3 สวนปญหาในขอ ข นั้นเปนการ นําสิ่งที่จัดหมูแลวมาจัดเรียงลําดับซึ่งแตละหมูจะจัดได 3! วิธี ทําใหไดวา 3! C5, 3 = P5, 3 และในกรณีทั่วไปจะไดวา r! Cn, r = Pn, r
  • 18. 131 หรือ Cn, r = n,rP r! วิธีดังกลาวเปนการเชื่อมโยงการสอนเรื่องเดิมไปสูการสอนเรื่องใหมซึ่งเปนวิธี การเริ่มตนสอนเนื้อหาใหมวิธีหนึ่ง หมายเหตุ 1. แนวตอบคําถามในกิจกรรม 1.1 และ 1.2 มีดังนี้ 1.1 ก. แตละกลุมควรไดคําตอบเทากับ 1 × 4 × 3 = 12 วิธี ข. เนื่องจากตองแสดงสัญญาณทั้งสิ้น 60 สัญญาณ แตละสัญญาณใช กระดาษ 3 ชิ้นเล็ก จึงเปนกระดาษชิ้นเล็กทั้งหมด 180 ชิ้น ดังนั้น แตละสีจึงตองตัดไว 36 ชิ้น ค. แตละกลุมจะไดรับแบงกระดาษสีดังนี้ สีที่ตัวเลขแสดงลําดับตรงกับลําดับของกลุมจะไดรับ 12 ชิ้น สวนสี อื่นที่เหลือไดรับสีละ 6 ชิ้น ง. ใชแผนภาพตนไมชวย เชน แผนภาพตนไมของกลุมที่ 1 และ 2 จะเปนไดดังนี้ ตําแหนงที่ 1 2 3 ส3 ส1 ส2 ส3 ส2 ส4 ส1 ส2 ส4 ส5 ส1 ส2 ส5 ส4 ส1 ส3 ส4 ส3 ส5 ส1 ส3 ส5 ส2 ส1 ส3 ส2 ส1 ส5 ส1 ส4 ส5 ส4 ส2 ส1 ส4 ส2 ส3 ส1 ส4 ส3 ส2 ส1 ส5 ส2 ส5 ส3 ส1 ส5 ส3 ส4 ส1 ส5 ส4
  • 19. 132 ตําแหนงที่ 1 2 3 ส4 ส2 ส3 ส4 ส3 ส5 ส2 ส3 ส5 ส1 ส2 ส3 ส1 ส5 ส2 ส4 ส5 ส4 ส1 ส2 ส4 ส1 ส3 ส2 ส4 ส3 ส2 ส1 ส2 ส5 ส1 ส5 ส3 ส2 ส5 ส3 ส4 ส2 ส5 ส4 ส3 ส2 ส1 ส3 ส1 ส4 ส2 ส1 ส4 ส5 ส2 ส1 ส5 จากแผนภาพตนไมจะไดวิธีติดกระดาษสีใหสอดคลองกับกฎเกณฑเบื้องตนของ การนับโดยเริ่มติดกระดาษสีดังนี้ 1. ติดกระดาษสีที่ตัวเลขแสดงลําดับตรงกับลําดับของกลุมในตําแหนงที่หนึ่งของ สัญญาณทั้ง 12 สัญญาณ 2. ติดกระดาษสีอีกสี่สีที่เหลือในตําแหนงที่สองของสัญญาณโดยติดสีละ 3 สัญญาณ (ดูแผนภาพตนไมประกอบ) 3. ติดกระดาษสีอีกสามสีที่เหลือในตําแหนงที่สามของสัญญาณโดยเลือกสีที่ไม ซ้ํากับสองสีแรก 1.2 ก. 10 กลุม เชน กลุมที่ 1 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส2 ส3 กลุมที่ 2 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส2 ส4 กลุมที่ 3 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส2 ส5 กลุมที่ 4 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส2 ส3 ส4
  • 20. 133 กลุมที่ 5 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส2 ส3 ส5 กลุมที่ 6 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส3 ส4 ส5 กลุมที่ 7 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส3 ส4 กลุมที่ 8 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส3 ส5 กลุมที่ 9 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส1 ส4 ส5 กลุมที่ 10 ไดรับกระดาษ 3 สี คือ ส2 ส4 ส5 จากคําตอบขอนี้จะไดวา ถาตองการเตรียมกระดาษสีแผนใหญใหทํากิจกรรมตอง เตรียมไวสีละ 6 แผน ข. 6 สัญญาณ ตัวอยางแบบทดสอบประจําบท 1. ญาดาทอดลูกเตาสองลูก 1 ครั้ง จงหาความนาจะเปนที่จะไดแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองดังนี้ (1) แตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเทากัน (2) ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเปนจํานวนคู 2. ภากรสุมหยิบไพ 1 ใบ จากไพสํารับหนึ่ง ซึ่งมี 52 ใบ จงหาความนาจะเปนของเหตุการณ ที่ภากรจะหยิบไดไพหนาหัวใจหรือไพหนา King 3. บัตรหมายเลข 1 – 50 มีบัตรที่ใหรางวัลอยู 6 ใบ ถาสุมหยิบบัตรขึ้นมา 6 ใบ จงหาความนาจะเปนที่จะไดบัตรที่ไดรับรางวัลทั้งหมด 4. เอกสะสมเหรียญสิบบาทไวในกระปุกออมสินดังนี้ เปนเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2539 จํานวน 10 อัน และเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2545 จํานวน 20 อัน ถาสุมหยิบเหรียญสิบบาท ขึ้นมา 2 เหรียญ จงหาความนาจะเปนที่เอกจะหยิบไดเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2539 ทั้งสองเหรียญ 5. ถุงใบหนึ่งบรรจุลูกแกวสีแดง 8 ลูก ลูกแกวสีฟา 3 ลูก ลูกแกวสีเขียว 6 ลูก และลูกแกว สีเหลือง 3 ลูก ถาอภิรดีสุมหยิบลูกแกวครั้งละ 1 ลูก โดยไมใสคืนจํานวนสองครั้ง จงหาความนาจะเปนที่อภิรดีจะหยิบไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก
  • 21. 134 6. สมาคมแหงหนึ่ง ตองการจะหาเงินชวยสถานสงเคราะหผูปวยโรคหัวใจ จึงออกสลาก การกุศลจํานวน 500 ใบ เพื่อขายใหกับสมาชิกของสมาคมโดยขายในราคาใบละ 100 บาท และมีรางวัลพิเศษใหกับสมาชิกที่ซื้อสลาก 1 รางวัล เปนจักรยาน 1 คัน ถานวพลซื้อสลาก การกุศลครั้งนี้ 10 ใบ จงหาความนาจะเปนที่นวพลจะไดรับรางวัลเปนรถจักรยาน 1 คัน 7. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/2 ของโรงเรียนแหงหนึ่ง เปนนักเรียนชาย 19 คน และ นักเรียนหญิง 21 คน ถาตองการเลือกตัวแทนของนักเรียนในหองนี้โดยการสุมครั้งละ 1 คน จงหาความนาจะเปนที่จะไดตัวแทนนักเรียนชาย 1 คน และนักเรียนหญิง 1 คน 8. ตารางตอไปนี้แสดงจํานวนนักเรียนที่เดินทางมาโรงเรียนโดยการขี่จักรยานและนั่งรถ ประจําทางมา และมีบางขอมูลขาดหายไป พาหนะ จํานวนนักเรียน จักรยาน รถประจําทาง นักเรียนชาย นักเรียนหญิง ....... 38 32 46 รวม 122 ......... จงหาความนาจะเปนที่จะสุมนักเรียนมา 1 คน และเปนนักเรียนชายหรือนักเรียนที่นั่ง รถประจําทางมาโรงเรียน 9. จงหาความนาจะเปนที่ณัฐจะโยนเหรียญ 1 เหรียญ และตกลงบนพื้นที่สวนที่แรเงา 10. การแขงขันเตะตะกรอของทีมสองทีมที่มีความสามารถเทาเทียมกัน 5 ครั้ง ทีมชนะเลิศ จะตองเปนทีมแรกที่ชนะคูแขง 3 ครั้ง ถาทีม A ชนะการแขงขันครั้งแรก จงหาความนาจะเปน ที่ทีม A จะเปนทีมที่ชนะเลิศ
  • 22. 135 เฉลยตัวอยางแบบทดสอบ 1. ให S เปนปริภูมิตัวอยาง S = {(1, 1), (1, 2), (1, 3), (1, 4), (1, 5), (1, 6), (2, 1), (2, 2), (2, 3), (2, 4), (2, 5), (2, 6), (3, 1), (3, 2), (3, 3), (3, 4), (3, 5), (3, 6), (4, 1), (4, 2), (4, 3), (4, 4), (4, 5), (4, 6), (5, 1), (5, 2), (5, 3), (5, 4), (5, 5), (5, 6), (6, 1), (6, 2), (6, 3), (6, 4), (6, 5), (6, 6)} n(S) = 36 ให E1 แทนเหตุการณที่ไดแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเทากัน E1 = {(1, 1), (2, 2), (3, 3), (4, 4), (5, 5), (6, 6)} n(E1) = 6 ให E2 แทนเหตุการณที่ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเปนจํานวนคู E2 = {(1, 1), (1, 3), (1, 5), (2, 2), (2, 4), (2, 6), (3, 1), (3, 3), (3, 5), (4, 2), (4, 4), (4, 6), (5, 1), (5, 3), (5, 5), (6, 2), (6, 4), (6, 6)} n(E2) = 18 P(E1) = 6 36 = 1 6 และ P(E2) = 18 36 = 1 2 ดังนั้น ความนาจะเปนของเหตุการณที่จะไดแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเทากัน เทากับ 1 6 และความนาจะเปนของเหตุการณที่ผลบวกของแตมบนหนาลูกเตาทั้งสองเปนจํานวนคู เทากับ 1 2 2. ไพสํารับหนึ่ง มีไพหนาหัวใจจํานวน 13 ใบ และไพหนา King 4 ใบ แตในไพหนาหัวใจจะมีไพหนา King รวมอยูดวย 1 ใบ ดังนั้น ไพหนาหัวใจหรือไพหนา King มีจํานวน 13 + 4 – 1 = 16 ใบ ให S เปนปริภูมิตัวอยาง ดังนั้น n(S) = 52 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 52
  • 23. 136 ให E แทนเหตุการณที่ไดไพหนาหัวใจหรือไพหนา King n(E) = 16 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 16 P(E) = 16 52 = 4 13 ดังนั้น ความนาจะเปนของเหตุการณที่ภากรจะหยิบไดไพหนาหัวใจหรือไพหนา King เทากับ 4 13 3. บัตรหมายเลข 1 – 50 มีจํานวนทั้งหมด 50 ใบ ให S เปนปริภูมิตัวอยาง ดังนั้น n(S) = 50 6 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 50! 6!44! = 15,890,700 ให E แทนเหตุการณที่หยิบไดบัตรที่ไดรับรางวัลทั้งหกใบ n(E) = 6 6 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 6! 6!0! = 1 ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะหยิบไดบัตรที่ไดรับรางวัลทั้งหมดเทากับ 1 15,890,700 4. เหรียญสิบบาทมีทั้งหมด 10 + 20 = 30 อัน ให S เปนปริภูมิตัวอยาง ดังนั้น n(S) = 30 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 435 ให E แทนเหตุการณที่เอกหยิบไดเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2539 ทั้งสองเหรียญ n(E) = 10 2 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 45 P(E) = n(E) n(S) = 45 435 = 9 87 ดังนั้น ความนาจะเปนที่เอกจะหยิบไดเหรียญสิบบาท พ.ศ. 2539 ทั้งสองเหรียญเทากับ 9 87 5. ลูกแกวทั้งหมดมี 8 + 3 + 6 + 3 = 20 ลูก ให S เปนปริภูมิตัวอยาง n(S) = 20 19 1 1 ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠ = 380 ให E แทนเหตุการณที่อภิรดีหยิบไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูก n(E) = 8 7 1 1 ⎛ ⎞⎛ ⎞ ⎜ ⎟⎜ ⎟ ⎝ ⎠⎝ ⎠ = 56
  • 24. 137 P(E) = n(E) n(S) = 56 380 = 14 95 ดังนั้น ความนาจะเปนที่อภิรดีจะหยิบไดลูกแกวสีแดงทั้งสองลูกเทากับ 14 95 6. สลากการกุศลจํานวน 500 ใบ ให S เปนปริภูมิตัวอยาง n(S) = 500 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 500 ให E แทนเหตุการณที่นวพลจะไดรับรางวัลพิเศษ n(E) = 10 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 10 P(E) = 10 500 = 1 50 = 0.02 ดังนั้น ความนาจะเปนที่นวพลจะไดรับรางวัลพิเศษเปนรถจักรยานเทากับ 0.02 7. จํานวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 5/2 มีทั้งหมด 19 + 21 = 40 คน ให S เปนปริภูมิตัวอยาง n(S) = 40 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ 39 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 1,560 ให E แทนเหตุการณที่สุมไดนักเรียนชาย 1 คน และนักเรียนหญิง 1 คน n(E) = 19 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ 20 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 380 P(E) = 380 1,560 = 19 78 ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะไดตัวแทนนักเรียนชาย 1 คน และนักเรียนหญิง 1 คน เทากับ 19 78 8. จากตารางในโจทย จํานวนนักเรียนชายมี 122 – 38 = 84 คน และจํานวนนักเรียนที่นั่งรถประจําทางมี 32 + 46 = 78 คน ดังนั้น จํานวนนักเรียนทั้งหมด 84 + 38 + 32 + 46 = 200 คน ให S เปนปริภูมิตัวอยาง n(S) = 200 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 200 จํานวนนักเรียนชายหรือนักเรียนที่นั่งรถประจําทางมาโรงเรียน 84 + 32 + 46 = 162 คน
  • 25. 138 ให E เปนเหตุการณที่สุมไดนักเรียนชายหรือนักเรียนที่นั่งรถประจําทางมาโรงเรียน n(E) = 162 1 ⎛ ⎞ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ = 162 P(E) = 162 200 = 81 100 = 0.81 ดังนั้น ความนาจะเปนที่จะสุมนักเรียน 1 คน ที่เปนนักเรียนชายหรือนักเรียนที่นั่งรถ ประจําทางมาโรงเรียนเทากับ 0.81 9. รูปสี่เหลี่ยมผืนผามีดานยาว 12 หนวย และมีดานกวาง 10 หนวย พื้นที่ทั้งหมดเทากับ 12 × 10 = 120 ตารางหนวย พื้นที่สวนที่แรเงาเทากับ 1 1 8 3 8 5 2 2 ⎛ ⎞ ⎛ ⎞ × × + × ×⎜ ⎟ ⎜ ⎟ ⎝ ⎠ ⎝ ⎠ = 12 + 20 = 32 ตารางหนวย ดังนั้น ความนาจะเปนที่ณัฐจะโยนเหรียญ 1 เหรียญ ตกบนพื้นที่สวนที่แรเงาเทากับ 32 120 = 4 15 10. ความนาจะเปนที่ทีมแตละทีมจะชนะเทากับ 1 2 ความนาจะเปนที่ทีม A ชนะจากการแขงขัน 3 ครั้ง เทากับ 3 1 2 = 1 8 ดังนั้น ในการแขงขัน 5 ครั้ง เมื่อทีม A เปนทีมที่ชนะในการแขงขันครั้งแรก ความนาจะเปนของเหตุการณที่เกิดขึ้นมีดังนี้ AA 1 4 ABA 1 8 ABBA 1 16 BAA 1 8 BABA 1 16 BBAA 1 16 ดังนั้น ความนาจะเปนที่ทีม A จะเปนทีมที่ชนะเลิศเทากับ 1 1 1 1 1 1 4 8 8 16 16 16 + + + + + = 4 2 2 1 1 1 16 + + + + + = 11 16
  • 26. 139 เฉลยแบบฝกหัด 3.1 1. เสนทางจาก X ไปยัง Y โดยผาน A มีเสนทางได 3 เสนทาง เสนทางจาก X ไปยัง Y โดยผาน B มีเสนทางได 4 เสนทาง เสนทางจาก X ไปยัง Y โดยผาน C มีเสนทางได 3 เสนทาง ดังนั้น มีจํานวนเสนทางจาก X ไปยัง Y ทั้งหมด 10 เสนทาง D Y A E Y F Y D Y E Y X B F Y G Y E Y C F Y G Y 2. จํานวนเสนทางจาก N ไปยัง S มีทั้งหมด 5 + 3 + 5 = 13 เสนทาง โดยมีรายละเอียดดังแผนภาพ S N 1 A B C I D E J 2 3 F G H K
  • 27. 140 จากแผนภาพขางตนสามารถเขียนเปนแผนภาพตนไมไดดังนี้ A I S A I S 1 B I S C I S C I S D J S N 2 E J S E J S F K S G K S 3 G K S H K S G K S 3. (1) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก A ไป B มี 3 เสนทาง (2) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก B ไป C มี 1 เสนทาง (3) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก C ไป D มี 5 เสนทาง (4) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก D ไป E มี 6 เสนทาง (5) จํานวนเสนทางการเดินทางจาก A ไป E มี 90 เสนทาง 4. (1) จุดยอด X อยูที่จุด E หรือ F จํานวนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2 × 3 = 6 รูป จุดยอด Y อยูที่จุด E หรือ F จํานวนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก 2 × 3 = 6 รูป ดังนั้น จํานวนรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก XCY มี 12 รูป (2) จํานวนรูปสามเหลี่ยมโดยมีจุดยอด 3 จุด จาก A, B, C, D, E, F มี 15 รูป 5. จากรูป ชวงที่ 1 มีจํานวนวิธีวางไดตางกัน 3 วิธี ชวงที่ 2 มีจํานวนวิธีวางไดตางกัน 2 วิธี ชวงที่ 3 มีจํานวนวิธีวางไดตางกัน 5 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีทั้งหมด 3 × 2 × 5 = 30 วิธี ชวงที่ 1 ชวงที่ 2 ชวงที่ 3
  • 28. 141 6. มีจุดยอดอยูบนดาน 3 ดาน เกิดรูปสามเหลี่ยมได 3 × 2 × 3 = 18 รูป มีฐานเปน 2 จุดใด ๆ บนดาน AC เกิดรูปสามเหลี่ยมได 3 × 5 = 15 รูป มีฐานเปน 2 จุดใด ๆ บนดาน BC เกิดรูปสามเหลี่ยมได 1 × 6 = 6 รูป มีฐานเปน 2 จุดใด ๆ บนดาน AB เกิดรูปสามเหลี่ยมได 3 × 5 = 15 รูป ดังนั้น มีรูปสามเหลี่ยมทั้งหมด 18 + 15 + 6 + 15 = 54 รูป 7. เมื่อไมมีอักษร 2 ตัวติดกันซ้ํากัน อักษรตัวที่หนึ่งเลือกได 26 วิธี อักษรตัวที่สองเลือกได 25 วิธี อักษรตัวที่สามเลือกได 25 วิธี อักษรตัวที่สี่เลือกได 25 วิธี อักษรตัวที่หาเลือกได 25 วิธี ดังนั้น จะสรางคําไดทั้งหมด 26 × 254 คํา 8. จํานวนสับเซตที่มีสมาชิก 2 ตัว {a, b} โดยที่ a = 1, 2, 3, ... 93 เทากับ 93 × 7 = 651 จํานวนสับเซตที่มีสมาชิก 2 ตัว โดยที่ a = 94, 95, 96, ... 99 เทากับ 6 + 5 + 4 + 3 + 2 + 1 = 21 สับเซต ดังนั้น จํานวนสับเซตทั้งหมด 651 + 21 = 672 สับเซต 9. ในการสรางจํานวน 3 หลัก ที่มีคามากกวา 300 หลักรอย เลือกตัวเลขได 3 วิธี คือ 3 หรือ 4 หรือ 5 หลักสิบ เลือกตัวเลขได 5 วิธี หลักหนวย เลือกตัวเลขได 4 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีสรางจํานวน 3 หลัก ที่มีคามากกวา 300 จากเลขโดด 0, 1, 2, 3, 4 และ 5 มี 3 × 5 × 4 = 60 วิธี 10. ขอสอบขอที่ 1 มีวิธีเลือกตอบได 2 วิธี ขอสอบขอที่ 2 มีวิธีเลือกตอบได 2 วิธี ขอสอบขอที่ 3 มีวิธีเลือกตอบได 2 วิธี M
  • 29. 142 ขอสอบขอที่ 10 มีวิธีเลือกตอบได 2 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีตอบขอสอบทั้ง 10 ขอ 210 วิธี 11. ตัวเลขที่แสดงตอนที่นั่งมี 20 วิธี อักษรที่แสดงแถวที่นั่งมี 52 วิธี ตัวเลขแสดงตําแหนงที่นั่งมี 30 วิธี ดังนั้น จํานวนที่นั่งทั้งหมดมี 31,200 ที่นั่ง 12. ตัวอักษรตัวแรกเปนไปได 26 วิธี ตัวอักษรตัวที่สองเปนไปได 26 วิธี ตัวเลข 3 ตัว เปนไปได 10 × 10 × 10 วิธี ตัวอักษรอีก 1 ตัว เปนไปได 26 วิธี ตัวเลขอีก 2 ตัว เปนไปได 10 × 10 วิธี ดังนั้น จํานวนหนังสือทั้งหมดในระบบนี้มี 263 × 105 เลม ถาตัวอักษร 2 ตัวแรก แสดงหนังสือที่จัดไวเปนตอน ดังนั้น หนังสือในแตละตอนมี 1 × 10 × 10 × 10 × 26 × 10 × 10 = 2,600,000 เลม แบบฝกหัด 3.2 ก 1. (1) 210 (2) 1680 (3) 380 2. n = 6 3. พิสูจน Pn, 1 + Pm, 1 = Pn+m, 1 Pn, 1 + Pm, 1 = n! m! (n 1)! (m 1)! + − − = n + m = (n m)! ((n m) 1)! + + − = Pn+m, 1 4. สรางจํานวนที่มี 4 หลัก จากเลขโดด 5 ตัว ดังนั้น จะสรางได P5, 4 = 5! (5 4)!− = 5 × 4 × 3 × 2 × 1 = 120 จํานวน
  • 30. 143 5. มีตําแหนงวางที่เปนชาย 3 ตําแหนง มีผูสมัครเปนชาย 6 คน ดังนั้น มีจํานวนวิธีจัดชายเทากับ P6, 3 = 6! 3! = 6 × 5 × 4 = 120 วิธี มีตําแหนงวางที่เปนหญิง 2 ตําแหนง มีผูสมัครเปนหญิง 5 คน ดังนั้น มีจํานวนวิธีจัดหญิงเทากับ P5, 2 = 5! 3! = 5 × 4 = 20 วิธี จะได วิธีจัดคนที่มาสมัครเขาทํางาน 120 × 20 = 2400 วิธี 6. จัดชาย 6 คน ยืนเรียงแถวหนากระดานได 6! = 720 วิธี ช1 ช2 ช3 ช4 ช5 ช6 จัดชาย 6 คน ยืนหนากระดานจะมีที่ใหผูหญิงแทรกได 7 ที่ ผูหญิง 3 คน จะเลือกที่แทรกได 7 × 6 × 5 = 210 วิธี ดังนั้น จํานวนวิธีจัดทั้งหมด 720 × 210 = 151200 วิธี 7. แยกเปน 2 กรณี กรณีที่ 1 หลักรอย เปนเลขคี่ คือ 3, 5 และ 7 หลักรอย เลือกตัวเลขได 3 วิธี หลักหนวย เลือกตัวเลขได 4 วิธี หลักหนวยเปนเลขคี่และตัวเลขใน แตละหลักไมซ้ํากัน หลักสิบ เลือกตัวเลขได 8 วิธี มีวิธีสรางจํานวนได 3 × 4 × 8 = 96 วิธี กรณีที่ 2 หลักรอย เปนเลขคู คือ 4, 6, 8 หลักรอย เลือกตัวเลขได 3 วิธี หลักหนวย เลือกตัวเลขได 5 วิธี หลักหนวยเปนเลขคี่และตัวเลขใน แตละหลักไมซ้ํากัน หลักสิบ เลือกตัวเลขได 8 วิธี มีวิธีสรางจํานวนได 3 × 5 × 8 = 120 วิธี ดังนั้น จํานวนคี่ที่มีคามากกวา 300 แตนอยกวา 900 โดยที่ตัวเลขใน แตละหลักไมซ้ํากันมี 96 + 120 = 216 จํานวน