SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
62
1.	 มาตรฐานการเรียนรู้
	 มาตรฐาน ส 2.2	 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
	 ตัวชี้วัด	 ส 2.2 ป 1/1	 บอกโครงสร้าง บทบาทและหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวและโรงเรียน
		 ส 2.2 ป 1/2	 ระบุบทบาท สิทธิ หน้าที่ของตนเองในครอบครัวและโรงเรียน
		 ส 2.2 ป 1/3	 มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและทำกิจกรรมในครอบครัวตามและโรงเรียนกระบวน
	 การประชาธิปไตย
		 ส 2.2 ป 2/1	 อธิบายความสัมพันธ์ของตนเองและสมาชิกในครอบครัวในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของ
	 ชุมชน
		 ส 2.2 ป 2/2	 ระบุผู้มีบทบาท อำนาจในการตัดสินใจในโรงเรียน และชุมชน
2.	 จุดประสงค์การเรียนรู้
	 1.	 ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียน และบอกประโยชน์การปฏิบัติตนเช่นนั้นได้
	 2.	 บอก และปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา กฎระเบียบของสังคม และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
ได้
	 3.	 บอกประโยชน์และปฏิบัติตนตามประเพณี และวัฒนธรรมในครอบครัว ในสังคมและในท้องถิ่นได้
	 4.	 ยกตัวอย่างความสามารถ และความดีของผู้อื่น และตนเอง และบอกผลจากการกระทำนั้น
	 5.	 แสดงการยอมรับความคิด ความเชื่อ การปฏิบัติของบุคคลอื่นที่แตกต่างกันได้
	 6.	 อธิบายความสำคัญของวันหยุดราชการที่สำคัญได้
	 7.	 บอกลักษณะที่แตกต่างกันของคนในสังคมไทยได้
	 8.	 อธิบายความหมายและความสำคัญของสัญลักษณ์สำคัญของชาติไทย และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
	 9.	 ศึกษาและเขียนรายงานเกี่ยวกับตัวอย่างบุคคลและผลงานที่เป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่น และชุมชนได้
	 10.	 ศึกษาและอธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในสังคมไทยได้
	 11.	 ทำกิจกรรมและปฏิบัติตนในการฝึกเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2554
หน่วยการเรียนรู้ที่1ตัวเราเรื่องหน้าที่พลเมืองวัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม
ระยะเวลาในการสอน..........ชั่วโมง
63
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
	1.	 คุณครูและนักเรียนร่วมสนทนาเกี่ยวกับข่าวชุมชน ข่าวในโรงเรียน ข่าว
เหตุการณ์บ้านเมือง
	2.	 นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานข่าว และเหตุการณ์จากที่ได้ติดตามมา และจาก
หนังสือพิมพ์ (ที่เตรียมมา) เกี่ยวกับข่าวผู้บริหารท้องถิ่น (อบต. อบจ. ฯลฯ)
งานกิจกรรมประเพณีในวัด กิจกรรมของครอบครัว เช่น การเตรียมไป
ทำบุญตักบาตรทำนาทำสวนฯลฯตามหัวข้อต่างๆดังนี้
		 –	 ในระหว่างปิดเทอม ครอบครัวใครมีกิจการใดบ้าง
		 –	 ในวัด และหมู่บ้าน ชุมชนของเรามีกิจกรรมใดบ้าง
		 –	 ใครมีส่วนร่วมอย่างไรในบ้าน ในชุมชน
		 –	 พ่อ แม่ สมาชิกในครอบครัวของเรามีหน้าที่อย่างไรบ้าง (ใครทำอะไร
		 อย่างไร มีผลอย่างไร)
		 –	 เปรียบเทียบกิจกรรมในชุมชน หมู่บ้านของเรากับชุมชนอื่น (ดูจาก
		 โทรทัศน์)
		 –	 บางชุมชนทำไมมีคนชอบไปเที่ยว เยี่ยมเยือน เพราะเหตุใด
		 –	 ครอบครัวของนักเรียนชอบร่วมกิจกรรมหรือไม่ ชอบช่วยเหลือผู้อื่น
		 หรือไม่ ชอบช่วยงานวัด/กิจกรรม สังคม/ชุมชนหรือไม่ แบ่งหน้าที่กัน
		 อย่างไรในครอบครัว สังเกตและบอกเหตุผลการปฏิบัติตนเป็น
		 ประโยชน์ต่อชุมชน/สังคม ผลดี ผลเสีย ชอบ ไม่ชอบ ควร ไม่ควร
		 –	 เปรียบเทียบการปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว เช่นเดียวกับ
		 ครอบครัวเป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน
		 –	 สังเกต อธิบายถึงการปฏิบัติตนตามข้อตกลงและกติกาของสังคม เช่น
		 ทุกครอบครัวไปวัดวันพระไปตักบาตรเทโวไปร่วมงานศพไปทอดกฐิน
		 ไปทอดผ้าป่า ฯลฯ งานต่างๆ ทุกครอบครัวในชุมชน ต่างร่วมมือกัน
		 เพราะเหตุใด มีข้อตกลง หรือกติกาหรือไม่
		 –	 ยกตัวอย่างชุมชนที่อาศัยอยู่ ที่เห็นชัดเจนอาจเปรียบเทียบกับงาน และ
		 กิจกรรมในโรงเรียน
	3.	 เขียนผังความคิดเกี่ยวกับกิจกรรมในสังคมชุมชน หลังจากอภิปรายจนหา
ข้อสรุปได้เปรียบเทียบกับกิจกรรมในโรงเรียน
กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
ปฏิบัติเหมือนโรงเรียนต้นทาง
–	 รวบรวมข่าวจาก
	 หนังสือพิมพ์
–	 ผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม
–	 ช่วยเหลือผู้อื่น
–	 กิจกรรมเกี่ยวกับสถาบัน
–	 พระราชกรณียกิจฯ
–	 ข่าวรัฐบาล เช่น นโยบายแก้
ปัญหาเศรษฐกิจมีอะไรบ้าง
เกิดประโยชน์ต่อชุมชน และ
สังคมอย่างไร
–	 ข่าวต่างประเทศ
	 ü	การประชุมอาเซียน
	 ü	ปัญหาชายแดน
	 ü	ประเทศเพื่อนบ้าน
	 ü	การเปิดการค้าเสรี ฯลฯ
–	 ข่าววัฒนธรรม ประเพณี
	 วันสงกรานต์ ปีใหม่ ตรุษจีน
–	 การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม
–	 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
และพระราชวงศ์ทรงส่งเสริม
วัฒนธรรม ประเพณี
–	 มูลนิธิราชประชาช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยต่างๆ ทางด้าน
การศึกษา
–	 กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ที่
นักเรียนมีส่วนร่วม ครอบครัว
ของเรามีส่วนร่วม
–	 ชุมชนของเรามีการพัฒนา
และส่งเสริมด้านวัฒนธรรม
อาชีพเศรษฐกิจฯลฯอย่างไร
บ้าง
3.	 กระบวนการจัดการเรียนรู้
64
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	4.	 ในการจัดกิจกรรมต่างๆ ทั้งที่บ้าน ในชุมชน/ที่โรงเรียน กิจกรรมหรืองาน
นั้นๆ จะสำเร็จได้ต้องมีส่วนประกอบอะไร ใครบ้าง ทำอย่างไร ให้ร่วมกัน
อภิปรายเพื่อจะได้ทราบหน้าที่กติกากฎระเบียบของสังคม
		 (ควรเน้นหน้าที่ก่อนสิทธิ)
		 –	 การปฏิบัติตนตามประเพณี และวัฒนธรรมในครอบครัว และในชุมชน
		 สังคม ทำให้เกิดผลดีอย่างไรบ้าง (คิดในเชิงบวกและสร้างสรรค์)
	 5.	 ให้กลุ่มนักเรียนศึกษาหาข้อมูลและยกตัวอย่างบุคคลในชุมชน ครอบครัว
ที่มีความสามารถ ความดี มาเล่าสู่กันฟัง อภิปรายและแสดงความคิดเห็น
และบอกเล่าว่านักเรียนได้ทำความดีอะไรบ้าง เล่าให้เพื่อนฟัง แลกเปลี่ยน
ความรู้ ความคิดเห็นกันในเชิงสร้างสรรค์ สรุปเขียนรายงานเกี่ยวกับผู้
ทำความดี
	 6.	 ศึกษาประเพณี วัฒนธรรม ศาสนาของบุคคลครอบครัวในชุมชน ท้องถิ่น
ที่อาศัยอยู่ จัดทำข้อมูล เขียนรายงาน เชิญวิทยากร ฉายซีดีเกี่ยวกับชนเผ่า
และผู้คนที่มีวัฒนธรรมประเพณีแตกต่างกันไป แต่สามารถอยู่ร่วมกันได้
อย่างเป็นสุข (เน้นวิธีคิดตามหลักศาสนาพุทธ) และให้ศึกษาลักษณะที่
แตกต่างของคนในสังคมในเชิงบวก
	 7.	 กลุ่มนักเรียนรวบรวมข่าว กิจกรรม พระราชกรณียกิจต่างๆ เพื่อเรียนรู้
ความสำคัญของวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันสำคัญของชาติ ศาสนา และ
จัดนิทรรศการ
กิจกรรม	
ในชุมชน
ทำบุญตักบาตร
ทอดกฐิน
ไปงานสงกรานต์
ไปงานศพทำบุญขึ้นบ้านใหม่
ไปชักพระ
เลือกอบต.
กิจกรรม	
ในโรงเรียน
จัดกิจกรรม
กีฬาสีเลือกกรรมการ
นักเรียน ทำบุญวันเกิด
โรงเรียน
ต้อนรับ
แขกมาเยือน ถวายพระพร
วันเฉลิมฯ
ไปเวียนเทียน
65
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	 8.	 กลุ่มนักเรียนศึกษา และเขียนรายงานเกี่ยวกับตัวอย่างบุคคลและผลงานที่
เป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่นและชุมชน และรายงานประกอบภาพ ครูฉายซีดี
ให้ดูประกอบหรือเชิญวิทยากรบรรยายประกอบ
	 9.	 จัดกิจกรรม เลือกกรรมการ คณะทำงานในห้องเรียน ในชั้นเรียน (ตาม
สายชั้น) มีข้อตกลง กฎ กติกา หน้าที่ และความรับผิดชอบที่นักเรียนทำได้
มีการติดตามผล รายงาน ตามปฏิทินปฏิบัติงาน ครูและกลุ่มนักเรียนชมเชย
และติชมพร้อมจัดป้ายนิเทศ
1.	 มาตรฐานการเรียนรู้
	 มาตรฐาน ส 2.1	 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองที่ดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษาประเพณี
และวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข
	 ตัวชี้วัด	 ป 3/2	 บอกพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของตนเอง และผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรมที่
	 หลากหลาย
		 ป 3/3	 อธิบายความสำคัญของวันหยุดราชการที่สำคัญ
	 มาตรฐาน ส 2.2	 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
	 ตัวชี้วัด	 ป 3/1	 ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกของชุมชนในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ตาม
	 กระบวนการประชาธิปไตย
		 ป 3/2	 วิเคราะห์ความแตกต่างของกระบวนการการตัดสินใจในชั้นเรียน/โรงเรียนและชุมชน
	 โดยวิธีการออกเสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทนออกเสียง
		 ป 3/3	 ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน/โรงเรียนและชุมชนที่เป็นผลจากการตัดสินใจ
	 ของบุคคลและกลุ่ม
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2554
หน่วยการเรียนรู้ที่1ตัวเราเรื่องเข้าใจและรักษาไว้ซึ่งระบอบประชาธิปไตย	
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขระยะเวลาในการสอน..........ชั่วโมง
66
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
	1.	 คุณครูและนักเรียนร่วมสนทนาเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของสมาชิกใน
ครอบครัว
		 –	 บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว
		 –	 บทบาทหน้าที่ของนักเรียนในห้องเรียน ในโรงเรียน
		 –	 ความสัมพันธ์ของตนเองและสมาชิกครอบครัว ในฐานะเป็นส่วนหนึ่ง
		 ของชุมชน
		 1.1	 ช่วยกันสรุปเขียนผังความคิด เขียนรายงานและจัดบอร์ด
		 1.2	 แบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อให้สนทนาซักถามและคิด-เขียนบทบาทหน้าที่
			 ของตนเอง ในครอบครัว ในโรงเรียน ในชุมชน เพื่อรายงานหน้าชั้น
			 คุณครูช่วยซักถามเพิ่มเติม และช่วยกันสรุปเขียน เรียบเรียงลงสมุด
			 หลังจากแต่ละกลุ่มได้เล่า และอธิบายบทบาทของตนเอง เพื่อเป็น
			 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
	2.	 กลุ่มนักเรียนอภิปรายบทบาทของพ่อแม่ เปรียบเทียบกับบทบาทของ
ผู้บริหารโรงเรียนครูเจ้าหน้าที่
กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
ปฏิบัติเหมือนโรงเรียนต้นทาง
–	 แบ่งกลุ่มเขียนบทบาทหน้าที่
ของสมาชิกในครอบครัว
และบทบาทหน้าที่ของครู
นักเรียน ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่
ต่างๆ ในโรงเรียน
–	 เขียนบทบาทหน้าที่ที่
ครอบครัวของนักเรียนมีต่อ
ชุมชน วัด ฯลฯ
–	 เชิญวิทยากรบรรยายเกี่ยวกับ
บทบาทหน้าที่ในชุมชน
สาระสำคัญ
	 พฤติกรรมการดำเนินชีวิตในปัจจุบันมีความแตกต่างตามบทบาท หน้าที่ ของสมาชิกชุมชนและการมี
ส่วนร่วมในกระบวนการประชาธิปไตย
2.	 จุดประสงค์การเรียนรู้
	 1.	 บอกโครงสร้าง บทบาทและหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวและโรงเรียน
	 2.	 อธิบายความสัมพันธ์ของตนเองและสมาชิกครอบครัวในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนได้
	 3.	 อธิบายบทบาท หน้าที่ของพลเมืองในกระบวนการเลือกตั้งได้
	 4.	 บอกบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารโรงเรียนได้
	 5.	 อธิบายความแตกต่างของกระบวนการ การตัดสินใจในชั้นเรียน โรงเรียน โดยวิธีการออกเสียงโดยตรง
และการเลือกตัวแทนออกเสียงได้
	 6.	 บอกบทบาท และหน้าที่ของสมาชิกชุมชนในการมีส่วนร่วม กิจกรรมต่างๆ ตามกระบวนการประชา-
ธิปไตยได้
	 7.	 มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและทำกิจกรรมในครอบครัวและโรงเรียน ตามกระบวนการประชาธิปไตย
	 8.	 อธิบายความหมาย ความแตกต่างของอำนาจตามบทบาท สิทธิ หน้าที่ กับการใช้อำนาจโดยปราศจาก
สิทธิหน้าที่ได้
3.	 กระบวนการจัดการเรียนรู้
67
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
		 2.1	 กลุ่มนักเรียนสัมภาษณ์ครูอื่นๆ ผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ แล้วกลับมา
			 สรุปผล และรายงานหน้าชั้น
		 2.2	 กลุ่มนักเรียนสัมภาษณ์พ่อ แม่ บุคคลในชุมชน ที่ทำหน้าที่เป็นฝ่าย
			 บริหารท้องถิ่น แล้วกลับมาสรุปเขียนรายงาน รายงานหน้าชั้น ร่วม
			 กันอภิปรายความคิดเห็น
	3.	 จัดกิจกรรม เลือกตั้งกรรมการ หรือคณะทำงานในห้องเรียน ชั้นเรียน เพื่อ
ให้ทุกคนได้ตัดสินใจเลือกผู้แทนนักเรียน ทำหน้าที่ต่างๆ แทนตน โดยวิธี
ลงคะแนนเลือกตั้งเพื่อเรียนรู้บทบาทหน้าที่และกระบวนการประชาธิปไตย
ก่อนและหลังเลือกตั้งควรมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น และให้ผู้สมัคร
ลงเลือกตั้งได้พูดแสดงวิสัยทัศน์ของตนทุกครั้ง เลือกตั้งแล้วเพื่อทำหน้าที่
ไป1สัปดาห์1เดือนควรมีการประเมินผลโดยกลุ่มนักเรียนและอภิปรายผล
	4.	 แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาผลงานของผู้บริหารในชุมชนเช่นอบต.อบจ.ฯลฯ
หรือผู้นำทำกิจกรรมชั่วคราว เช่น ประธานกรรมการ เพื่อให้รู้บทบาท
บทบาทและหน้าที่ของสมาชิกในชุมชนในการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ
และทำกิจกรรมในสังคม
		 –	 ศึกษาจากข่าวท้องถิ่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ฯลฯ
		 –	 บทบาทของนักเรียนช่วยชุมชนได้อย่างไรบ้าง เช่น ช่วยประชาสัมพันธ์
		 ร่วมมือกับผู้มีบทบาทร่วมกิจกรรมต่างๆชักชวนพ่อแม่ให้ความร่วมมือ
		 ฯลฯ
	5.	 จัดกิจกรรมโดยสร้างสถานการณ์จำลอง ให้นักเรียนได้จัดงานและแบ่ง
กลุ่มเป็นกรรมการฝ่ายต่างๆ และประเมินผลงาน ประเมินตนเอง
	6.	 คุณครู และนักเรียนศึกษาและร่วมสนทนาเกี่ยวกับอำนาจ หน้าที่ของ
ผู้บริหารฯ ระดับต่างๆ โดยเน้นที่บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ ตาม
ภาระที่ต้องปฏิบัติเช่นพ่อแม่ครูและหน้าที่ความรับผิดชอบตามกฎหมาย
เช่น ผู้บริหารชุมชน ผู้บริหารบ้านเมือง เน้นหน้าที่ความรับผิดชอบมาก
กว่าสิทธิผู้ที่เสนอตัวเองเป็นผู้บริหารฯต้องคิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมาก
กว่าส่วนตัว ทุกคนต้องคิดถึงและทำเพื่อครอบครัว และโรงเรียนก่อน ถ้า
ครอบครัวอยู่ได้...ผู้ที่ทำหน้าที่ของตนให้ดีที่สุด ทำเพื่อส่วนรวม เสียสละ
จะได้รับการยอมรับจากส่วนรวม และผู้อื่นตลอดไป ตรงข้ามกับผู้ที่ใช้
อำนาจโดยไม่คำนึงถึงสิทธิและหน้าที่
	7.	 คุณครูอธิบายถึงทศพิธราชธรรม และธรรมิกราชา (จากสารานุกรมไทยฯ
ฉบับเฉลิมพระเกียรติฯ)
		 (คัดบางตอนจากสารานุกรมไทยฯ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ)
			 หลักธรรมที่พระราชา หรือพระมหากษัตริย์ทรงพึงปฏิบัติ ที่เรียกว่า
ทศพิธราชธรรม หรือธรรม 10 ประการ
–	 ช่วยกันคิดหน้าที่ และแบ่ง
หน้าที่ของทุกคน และ
กรรมการในห้องเรียน
โรงเรียน
–	 ทำรายงานเกี่ยวกับผู้บริหาร
ท้องถิ่น
–	 การเลือกตั้ง
–	 คุณสมบัติของผู้สมัครรับ
เลือกตั้ง
–	 บทบาท หน้าที่
–	 ผลงานของแต่ละท่าน
–	 ผู้แทน ผู้บริหารที่ประชาชน
ชุมชนพอใจ
–	 ความเจริญของท้องถิ่น และ
ชุมชนเกิดจากผู้บริหารที่ดี
–	 กฎหมาย ท้องถิ่น
–	 การเคารพกฎหมายเกิดผล
อย่างไร
–	 ทศพิธราชธรรมในพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
–	 ผู้บริหารประเทศที่นักเรียน
ต้องการ และพอใจ
–	 หน้าที่และสิทธิ
–	 วิเคราะห์บทบาท หน้าที่และ
สิทธิของบุคคลต่างๆ
68
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
			 1.	 ทาน คือ การสละทรัพย์สิ่งของ บำรุงช่วยเหลือราษฎร และบำเพ็ญ
สาธารณประโยชน์
			 2.	 ศีล หมายถึง ความประพฤติดีงาม การสำรวมกาย วาจา ให้เรียบร้อย
ประโยชน์สุขของราษฎร และความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
			 3.	 การบริจาค หมายถึง การเสียสละความสุขสำราญตลอดตนชีวิต เพื่อ
ประโยชน์สุขของราษฎร และความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง
			 4.	 ความซื่อตรง หมายถึง การปฏิบัติภารกิจโดยสุจริต มีความจริงใจ
ไม่หลอกลวงราษฎร
			 5.	 ความอ่อนโยน การมีอัธยาศัย ไม่เย่อหยิ่งหยาบคาย มีความสง่างาม
ที่เกิดจากกิริยา สุภาพนุ่มนวล ละมุนละไม
			 6.	 ความทรงเดช ความเพียรพยายามในการเผาผลาญกิเลส ตัณหา ระงับ
ยับยั้ง ข่มใจ ไม่หมกมุ่นในความสุขสำราญ มุ่งมั่นแต่จะบำเพ็ญเพียร
ทำกิจให้สมบูรณ์
			 7.	 ความไม่โกรธ การไม่เกรี้ยวกราด ลุอำนาจความโกรธ จนทำให้ทำการ
ผิดพลาด หรือผิดทำนองคลองธรรม
			 8.	 การไม่เบียดเบียนใคร ไม่บีบคั้น กดขี่ราษฎร ไม่หลงระเริงอำนาจ
ขาดความกรุณา
			 9.	 ความอดทน อดทนต่องาน ไม่ท้อถอย อดทนในสิ่งที่ควรอดทน
			10.	 ความไม่ประพฤติผิดธรรม หนักแน่นในธรรม ไม่เอนเอียงหวั่นไหว
เพราะถ้อยคำดี - ร้าย และลาภสักการะ สถิตมั่นในธรรม ทั้งความ
เที่ยงธรรม ระเบียบแบบแผน หลักการปกครอง ตลอดจนขนบ
ธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม
	 หมายเหตุ	 ผู้บริหารทุกระดับควรยึดถือปฏิบัติ บ้านเมืองก็จะสงบเรียบร้อย
อยู่เย็นเป็นสุขทั่วหน้า อธิบายข้อ 1.8 ได้ด้วยทศพิธราชธรรม
ที่ผู้บริหารควรปฏิบัติ (ผู้เรียบเรียง)
69
1.	 มาตรฐานการเรียนรู้
	 มาตรฐาน ส 5.1	 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกัน ใน
ระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้
ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
	 ตัวชี้วัด	 ส 5.1 ป 1/1	 แยกแยะสิ่งต่างๆ รอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น
		 ส 5.1 ป 1/2	 ระบุความสัมพันธ์ของตำแหน่ง ระยะ ทิศของสิ่งต่างๆ รอบตัว
		 ส 5.1 ป 1/3	 ระบุทิศหลักและที่ตั้งของสิ่งต่างๆ
		 ส 5.1 ป 1/4	 ใช้แผนผังง่ายๆ ในการแสดงตำแหน่งของสิ่งต่างๆ ในห้องเรียน
		 ส 5.1 ป 1/5	 สังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในรอบวัน
		 ส 5.1 ป 2/1	 ระบุสิ่งต่างๆ ที่เป็นธรรมชาติกับที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งปรากฏระหว่างโรงเรียนกับบ้าน
		 ส 5.1 ป 2/2	 ระบุสิ่งต่างๆ ที่เป็นธรรมชาติกับที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งปรากฏระหว่างโรงเรียนกับบ้าน
		 ส 5.1 ป 2/3	 อธิบายความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ระหว่างโลก ดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์
2.	 สาระการเรียนรู้
1.	 ตำแหน่งที่ตั้งของชุมชนของเรา
2.	 ลักษณะเฉพาะทางกายภาพของชุมชนและผลต่อเนื่องที่เกิดขึ้น
3.	 รู้การจำแนก แสดงความสัมพันธ์เชิงลักษณะและหน้าที่ของสิ่งที่อยู่รอบตัวที่มีผลต่อเนื่องโดยรอบ
4.	 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพในชุมชนกับวัฒนธรรมของชุมชน
3.	 จุดประสงค์การเรียนรู้
1.	 บอกหรืออธิบายความหมายของลักษณะกายภาพเชิงภูมิศาสตร์ชุมชนของตน
2.	 จำแนกหน้าที่ และองค์ประกอบของลักษณะทางกายภาพของชุมชนของตน
3.	 บอกหรืออธิบายความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบของลักษณะทางกายภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2554
หน่วยการเรียนรู้ที่2ชุมชนของเราเรื่องชุมชนของเรา “องค์ประกอบทางกายภาพชุมชน”
ระยะเวลาในการสอน5ชั่วโมง
70
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
คาบที่ 1 - 2
	1.	 ครูให้นักเรียนดูภาพท้องถิ่น ซึ่งมีลักษณะทางกายภาพที่ประกอบด้วย ภูเขา
(ที่ราบสูง, ที่ราบลุ่ม) ทะเล แม่น้ำ ป่าไม้ (ป่าดงดิบ, ป่าไม้ผลัดใบ, สัตว์ป่า)
มหาสมุทร ฯลฯ (ใช้สไลด์หรือภาพยนตร์สารคดีต่างๆ จะช่วยเสริมความ
สนใจมากขึ้นสนทนาเกี่ยวกับสิ่งต่างๆในภาพเปรียบเทียบกัน
	2.	 ครูนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับภาพชุมชนที่ตั้งบ้านของนักเรียน ตัวอย่าง ภาพ
ชุมชนตำบลหัวหิน (เขาเต่า, เขาตะเกียบ) สนทนาข้อมูลจากการสังเกต
ภาพซักถามในประเด็นท้องถิ่นของเราตั้งอยู่ในพื้นที่แบบใด, ลักษณะ
ภูมิประเทศ-ภูมิอากาศของท้องถิ่นเราเป็นอย่างไร, ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม
อาชีพประชากรวัฒนธรรมความเป็นอยู่การแต่งกายฯลฯ
	3.	 ครูให้นักเรียนเล่นเกมชุมชนของเรา เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจลักษณะ
ทางกายภาพทางภูมิศาสตร์
	4.	 สนทนาความรู้เกี่ยวกับการศึกษาลักษณะทางกายภาพเชิงภูมิศาสตร์และ
จำแนกความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบของลักษณะทางกายภาพของ
ชุมชนร่วมกันเขียนผังความคิด(ภาคผนวกที่1)
	5.	 นักเรียนแต่ละคนสำรวจลักษณะทางกายภาพของท้องถิ่นของตน (บ้าน)
(แสวงหาข้อมูลโดยวิธีสัมภาษณ์) และจัดทำใบงานส่งครูในชั่วโมงต่อไป
(ใบงานที่2)
	6.	 ครูนำนักเรียนทัศนศึกษาท้องถิ่นใกล้โรงเรียนให้นักเรียนบันทึกข้อมูลจาก
การสังเกตหรือการสอบถามบุคคลในท้องถิ่น(ใช้เวลาในวันหยุด)
		 –	 ลักษณะของพื้นที่ เป็นแบบใด
		 –	 ลักษณะภูมิอากาศ
		 –	 ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมโดยรอบ
		 –	 อาชีพ (ภูมิปัญญาในท้องถิ่น)
		 –	 วัฒนธรรมของชุมชน
	 7.	 ครูนำความรู้จากการทัศนศึกษามาร่วมสนทนาและอภิปรายในห้องเรียน
	 8.	 นักเรียนสร้าง“ชุมชนพัฒนาที่น่าอยู่”บนกระบะทราย
	 9.	 ครูนักเรียนร่วมจัดทำผังความคิดเกี่ยวกับสถานที่สำคัญของชุมชน เช่น
สถานที่ส่วนราชการ สถานที่เกี่ยวกับเรื่องศาสนาและอื่นๆ เท่าที่จำเป็น
(ภาคผนวกที่2)
	10.	 นักเรียนร่วมร้องเพลงชุมชน(แต่งเอง)
	11.	 นักเรียนทำใบงาน
กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
ปฏิบัติเหมือนโรงเรียนต้นทาง
–	 กลุ่มนักเรียนเขียน
	 ü	แผนผังโรงเรียน
	 ü	แผนผังหมู่บ้าน ชุมชน
	 ü	แผนผังบ้าน
	 ü	แผนผังอำเภอ จังหวัด
–	 กลุ่มนักเรียนทำโครงงาน
เกี่ยวกับองค์ประกอบของ
ชุมชน และลักษณะที่ตั้งของ
ชุมชนที่วางผังดี สะดวก
ปลอดภัย
–	 ทัศนศึกษา และบันทึก
ข้อมูล
–	 สนทนา อภิปราย วิเคราะห์
เหตุ - ผล
–	 ลองสร้างชุมชนที่น่าอยู่ โดย
ใช้เหตุผลของนักเรียนและ
ประสบการณ์จากการเรียนรู้
–	 กลุ่มนักเรียนรายงานหน้าชั้น
และจัดบอร์ดนิเทศ นิทรรศการ
ตามหัวข้อที่เรียนรู้
–	 กลุ่มนักเรียนทำกิจกรรม
“โลกสีเขียว”
	 ü	การแยกขยะ
	 ü	รีไซเคิล นำของที่ใช้แล้ว
	 มาทำให้เกิดประโยชน์
	 ü	กลุ่มนักเรียนช่วยกันจัด
	 พื้นที่ของชุมชน ตามแนว
	 เศรษฐกิจพอเพียง
4.	 กระบวนการจัดการเรียนรู้
71
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
คาบที่3
	12.	 ครูนักเรียนร่วมเล่นเกมตามใบงานวิธีการเล่น
	13.	 เชิญวิทยากรให้ความรู้ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
	14.	 ครูแบ่งนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม จัดบอร์ดนิเทศ เรื่องชุมชนท้องถิ่น โดยศึกษา
ความรู้จากหนังสือตำราเรียนตามหัวข้อเรื่อง
		 กลุ่มที่1	 ลักษณะทางกายภาพเชิงภูมิศาสตร์
		 กลุ่มที่2	 ลักษณะทางภูมิอากาศ
		 กลุ่มที่3	 สถานที่สำคัญ
		 กลุ่มที่4	 อาชีพของชุมชนหัวหิน(ภูมิปัญญาในท้องถิ่น)
	15.	 ครูนำนักเรียนทัศนศึกษาท้องถิ่นใกล้โรงเรียนฝึกนักเรียนสังเกตและแสวงหา
ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพทางภูมิศาสตร์สังเกตลักษณะภูมิประเทศ
อากาศทรัพยากรท้องถิ่น(จากของจริง)
คาบที่4
	16.	 ครูให้นักเรียน(โดยสุ่มตัวอย่าง)ออกรายงานหน้าชั้นเรียนจากใบงานที่ครู
ให้ทำเป็นการบ้าน โดยมีครูเป็นผู้ซักถาม อธิบาย สรุป
	17.	 ครูนำกระบะทรายแสดงเป็นพื้นที่ของชุมชน แบ่งกลุ่มแจกดินน้ำมัน
เพื่อสร้างหมู่บ้านชุมชนพัฒนา 4 กลุ่ม กำหนดประเด็นสำคัญ โดย
ถือแนวเศรษฐกิจพอเพียง ตามหัวข้อดังนี้
		 1.	 แสดงลักษณะทางกายภาพทางภูมิศาสตร์ธรรมชาติ
		 2.	 การตั้งบ้านเรือนของชุมชนที่ถูกลักษณะ
		 3.	 สถานที่สำคัญของชุมชนส่วนราชการและอื่นๆเช่นโรงเรียนโรงพยาบาล
	 วัด ตลาด สวนสาธารณะ ห้องสมุดประชาชน สนามเด็กเล่น ฯลฯ
	 (ตามแนวคิด)
		 4.	 บันทึกรายงาน
			 1.	 ประชุมวางแผนมอบงาน
			 2.	 แสวงหาข้อมูล
			 3.	 ดำเนินการจัดทำ
			 4.	 แสดงรายงาน ฯลฯ
คาบที่ 5 - 6
	18.	 ครู นักเรียนร่วมกันวิจารณ์ผลงานของกลุ่มเพื่อน แสดงความคิดเห็นใน
การวางผังชุมชน (กระบะทราย)
	19.	 เล่นเกม “ชุมชน” (ตามวิธีการเล่นในใบงาน) สรุปและวิจารณ์เพิ่มเติม
ความรู้
20.	 ครู นักเรียนร่วมสนทนา ศึกษา “ชุมชนของนักเรียนที่อาศัยอยู่ (ตำบล
หัวหิน) ตามลักษณะองค์ประกอบทางกายภาพเชิงภูมิศาสตร์
	 ü	ประชาสัมพันธ์งาน และ
	 ชักชวนให้นักเรียนห้อง
	 อื่นๆ ร่วมทำกิจกรรม
	 เช่น แยกขยะ ปลูกต้นไม้
	 บริจาคสิ่งของ ช่วยเหลือ
	 ชุมชน ฯลฯ
72
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
	21.	 ครู นักเรียนรวมกันจัดบอร์ดนิเทศเพื่อประเมินผลความรู้ความเข้าใจ
	22.	 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
		 1.	 ภาพแสดงลักษณะทางกายภาพ สไลด์ภูเขา ที่ราบ แม่น้ำ ทะเล ฯลฯ
		 2.	 วิทยากร
		 3.	 บัตรคำ, แผ่นคำ
		 4.	 หนังสือค้นคว้า
5.	 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.	 ภาพวิว แสดงลักษณะทางกายภาพ
2.	 บัตรคำ แผนภูมิ ผังความคิด ฯลฯ
3.	 วิทยากร ตำราหนังสือค้นคว้า
4.	 กระบะทราย ดินน้ำมัน
5.	 สถานที่ต่างๆ ของชุมชน
6.	 การวัดผล - ประเมินผล
1.	 สังเกตความสนใจ ความตั้งใจจากการร่วมกิจกรรม
2.	 ซักถามการทำรายงาน
3.	 ตรวจข้อทดสอบใบงาน
7.	 บันทึกผลหลังการสอน
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
73
ชุมชนของเรา
หินชนิดต่างๆ
หินรัตนชาติ
สิ่งประดิษฐ์จากทะเล
ตัวอย่าง
หน่วยการเรียนรู้สหบูรณาการ เรื่อง ชุมชนของเรา
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เส้นทาง
ทิศ
แผนผัง
ระยะทาง
พื้นที่
คณิตศาสตร์
อาชีพ
การท่องเที่ยว
ชุมชน
สังคม
คำ
การสนทนา
ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)
ระบำชายหาด
เพลงหัวหิน
วาดภาพทะเล
ศิลปศึกษา, นาฏศิลป์, ดนตรี
น้ำทะเล
ลมบก
ลมทะเล
สิ่งมีชีวิตในทะเล
การอนุรักษ์
วิทยาศาสตร์
ประวัติ
ที่มา
สถานที่สำคัญ
ประวัติศาสตร์
สิ่งบันเทิง
กีฬาทางน้ำ
กีฬาชายหาด
พลศึกษา
การอ่าน
	 –	 อ่านจับใจความ
	 –	 อ่านในใจ
	 –	 อ่านออกเสียง
	 –	 อ่านวิเคราะห์
การฟัง/พูด/ดู
	 –	 การสัมภาษณ์
	 –	 การสำรวจ
	 –	 สารคดีเกี่ยวกับ
		 หัวหิน
การเขียน
	 –	 บันทึกการค้นคว้า
	 –	 รายงาน
	 –	 บรรยาย
	 –	 เรื่องราว
หลักภาษา
	 –	 คำประสม
	 –	 อักษรนำ
	 –	 สำนวนภาษา
	 –	 การแต่งประโยค
วรรณกรรม
	 –	 บทร้อยกรอง
		 เกี่ยวกับทะเลหัวหิน
	 –	 พระราชวัง
		 ไกลกังวล
ภาษาไทย
74
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2554
หน่วยการเรียนรู้ที่3เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องหลักธรรมที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตพอเพียง
ระยะเวลาในการสอน..........ชั่วโมง
1.	 มาตรฐานการเรียนรู้
	 มาตรฐาน ส 3.1	 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการ
ดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
	 ตัวชี้วัด	 ส 3.1 ป 1/1	 ระบุสินค้าและบริการที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
		 ส 3.1 ป 1/2	 ยกตัวอย่างการใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวันที่ไม่เกินตัวและเห็นประโยชน์ของ
	 การออม
		 ส 3.1 ป 1/3	 ยกตัวอย่างการใช้ทรัพยากรในชีวิตประจำวันอย่างประหยัด
		 ส 3.1 ป 2/1	 ระบุทรัพยากรที่นำมาผลิตสินค้าและบริการที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
		 ส 3.1 ป 2/2	 บอกที่มาของรายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
		 ส 3.1 ป 2/3	 บันทึกรายรับรายจ่ายของตนเอง
		 ส 3.1 ป 2/4	 สรุปผลดีของการใช้จ่ายที่เหมาะสมกับรายได้และการออม
2.	 สาระการเรียนรู้
1.	 เข้าใจและปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนเองและครอบครัว
2.	 เข้าใจและปฏิบัติตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา (หรือศาสนาที่ตนนับถือ) ที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจ
	 พอเพียง
3.	 นำหลักเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้
3.	 จุดประสงค์การเรียนรู้
1.	 บอกและอธิบายวิธีปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้
2.	 ปฏิบัติตนตามหลักธรรม ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดทน อดออม แบ่งปัน พึ่งตนเอง ทางสายกลาง
3.	 มีความเป็นอยู่และการกินที่พอดีกับการดำรงชีวิตแบบพอดี
4.	 มีความสุขกับความเป็นอยู่ที่พอดี และชอบช่วยเหลือผู้อื่น
5.	 คิดและทำเพื่อประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตนอย่างต่อเนื่อง
75
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
	1.	 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนปัญหาส่วนตัวและปัญหาครอบครัวที่เกี่ยวกับ
เศรษฐกิจการบริโภค การผลิต ตลอดจนปัญหาในชุมชน เช่น น้ำท่วม
ฝนแล้งของแพงข้าวแพงผักแพงฯลฯ
		 ให้แต่ละกลุ่มอภิปรายปัญหาที่เกิดเพราะอะไร
		 เช่น	 –	 ทำไมอาหารการกินฝืดเคือง สาเหตุเพราะอะไร
				 –	 น้ำท่วม ฝนแล้ง มรสุม แผ่นดินไหว เพราะเหตุใด
				 –	 ทุกคนขยันทำงานเท่าเดิมหรือไม่
				 –	 เรามีความอยาก ความต้องการมากขึ้นหรือไม่
				 –	 ถ้าเราตกลงกันว่าจะจำกัดความต้องการของแต่ละคนลง เราจะ
				 พอมีพอกินหรือไม่
				 –	 ในชุมชนของเราเป็นอย่างนี้ทุกครัวเรือนหรือไม่ เพราะเหตุใด
				 ถ้าเป็นเฉพาะครอบครัวเรา เราจะแก้ไขอย่างไร บอกวิธีแก้ไข
				 –	 ครอบครัวมีความสุข คืออย่างไร
				 –	 เมื่อเรามีความทุกข์ เราไปที่ไหน เพราะเหตุใด
				 –	 เราควรรอให้เกิดความทุกข์ แล้วไปวัดใช่หรือไม่
				 –	 วิธีหาความสุขอย่างง่ายๆ ควรทำอย่างไร ไม่ให้ผู้อื่นเดือดร้อน
				 –	 มีตัวอย่างครอบครัวที่ปฏิบัติตนดีงามและเป็นสุขหรือไม่ในชุมชน
				 จงยกตัวอย่าง และวิเคราะห์เหตุผล
				 –	 เหตุใดในปีที่ผ่านมา จึงเกิดแผ่นดินไหว มรสุม น้ำท่วม อย่าง
				 รุนแรง จงหาเหตุผล
					 ฯลฯ
		 * ครูควรให้เด็กคิด ศึกษา ปัญหาต่างๆ ทั้งตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม
	 ประเทศชาติประเทศเพื่อนบ้านให้ทุกคนได้พูดแสดงความคิดเห็นสังเกต
	 เปรียบเทียบ โดยที่ครูบอกน้อยที่สุด แต่ควรใช้คำถามนำให้คิด (ใช้คำถาม
	 จากหมวก 6 ใบ)
		 เมื่อพูด - อธิบายกันทุกกลุ่มให้ช่วยกันสรุปถึงปัญหาและสาเหตุ วิธีการ
	 แก้ปัญหา ซึ่งจะโยงเข้าสู่ธรรมะและหลักเศรษฐกิจพอเพียง
		 ข้อควรระวัง ไม่ควรรีบบอกและรีบสรุป ควรสังเกตว่านักเรียนทุกคน
	 เข้าใจและได้คิด แสดงความคิดเห็นและเห็นด้วยตนเอง ซึ่งอาศัยเทคนิค
	 การสอนของครู
	2.	 ครูและนักเรียนลองคิดวิธีแก้ปัญหาหรือป้องกันปัญหาต่างๆเป็นองค์รวม
สูงสุด ดีที่สุด ในขณะนี้เรามีมรดกทางปัญญาและหลักจริยธรรม ซึ่ง
พระบรมศาสนาคือพระพุทธเจ้าค้นพบไว้แล้วพระองค์ได้ค้นพบความจริง
ของธรรมชาติและสรรพสิ่งพบความจริงอย่างละเอียดลึกซึ้งของความ
กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
–	 ข่าว - ภาพเรื่องราวต่างๆ
–	 ข้อมูลจากชุมชน
–	 หนังสือพิมพ์
–	 วิทยุ
–	 จัดนิทรรศการพืชผลที่ผลิต
ได้ในชุมชน เช่น
	 ü	ข้าว
	 ü	พืชผักสวนครัว
	 ü	ธัญพืช สมุนไพร
–	 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ
รู้ประวัติความเป็นมาของ
พืชพันธ์ุธัญญาหารมี
ประโยชน์อย่างไร
–	 สงวนพันธุ์ - ขยายพันธุ์
อย่างไร
–	 ภาพ, หนังสือพิมพ์
–	 ข่าวช่อง 11 ที่มีรายละเอียด
ในการวางแผนแก้ปัญหา
บ้านเมือง
–	 กลุ่มนักเรียนศึกษาและทำ
โครงงานเกี่ยวกับ
	 ü	การไปวัด
	 ü	กิจกรรม
	 ü	ผล
–	 วิเคราะห์เหตุ - ผล เช่น วัน
ธรรมดาเราไม่ได้ไปวัด ควร
ปฏิบัติอย่างไรบ้าง
–	 จัดดอกไม้หน้าพระ
–	 สวดมนต์
–	 นั่งสมาธิ
4.	 กระบวนการจัดการเรียนรู้
76
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
เป็นมนุษย์ ตลอดจนบัญญัติคำสอนไว้เป็นทางออก และเป็นเครื่องมือใน
การขัดเกลาส่งเสริมและควบคุมธรรมชาติในตัวมนุษย์ไว้ดีแล้ว รวมทั้ง
ศาสดาของศาสนาอื่นๆ ก็เช่นเดียวกัน
		 มนุษย์พยายามเอาชนะธรรมชาติ เพื่อสนองความต้องการของตัวเองตาม
แบบทุนนิยม ทำให้มี “อัตตา” เกิดขึ้น และยังมีเรื่องกลุ่มผลประโยชน์
และอำนาจทำให้ยิ่งแก้ยาก
		 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงศึกษาและปฏิบัติธรรมทรงเล็งเห็นว่า
ธรรมะช่วยได้ แต่ต้องวางแนวปฏิบัติให้ชัดเจนและชี้ชัดว่า ใช้ธรรมะ
ข้อใดบ้าง ข้อใดก่อน ข้อใดหลัง ข้อใดต้องเพิ่มเป็นพิเศษในการฝึกปฏิบัติ
ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง จึงควรศึกษาหลักธรรมและน้อมนำมา
ฝึกปฏิบัติ เน้นการปฏิบัติจริง ควบคู่ไปกับการใฝ่รู้ ใฝ่ศึกษา ลองเขียน
แผนผังความคิดแบบง่ายๆ
	 ฯลฯ
–	 กลุ่มนักเรียน วิเคราะห์
	 เหตุ - ผล
–	 การปฏิบัติตนตามหลัก
เศรษฐกิจพอเพียง
–	 ศึกษาจากบุคคล ครอบครัว
ตัวอย่างในชุมชนและสังคม
ตลอดจนประวัติความเป็น
มาของชุมชน และสังคม
ไทย
–	 เน้นการปฏิบัติหน้าที่
	 ü	ฝึกปฏิบัติจนเป็นนิสัย
	 ü	สัมภาษณ์บุคคลที่เป็น
	 ตัวอย่าง
	 ü	นิมนต์พระ เชิญวิทยากร
	 มาอบรม บรรยาย 		
	 ซักถาม
–	 สนทนา อภิปราย
หลักตาม
เศรษฐกิจพอเพียง
อดออม
รู้จักพอ
พึ่งตนเองได้
ขยัน
ซื่อสัตย์
ประหยัด
อดทน
ไม่ประมาท
เกื้อกูลกัน
ร่วมมือแบ่งปัน
รู้รักสามัคคี
มีความเพียร
อันบริสุทธิ์
	3.	 ใฝ่รู้ศึกษาความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงให้ชัดเจน อาจมองได้ 2 ด้าน คือ
มองอย่างวัตถุวิสัยและจิตวิสัย
			 มองอย่างวัตถุวิสัย คือ มองภายนอก ต้องมีกิน มีใช้ มีปัจจัยสี่เพียงพอ
“พอสมควรกับอัตภาพ” ซึ่งมีความหมายใกล้เคียงคำว่า “พึ่งตนเองได้”
ในทางเศรษฐกิจ
			 ส่วนความหมายด้านจิตวิสัยหรือจิตใจ คือ คนจะมีความรู้สึกเพียงพอ
ไม่เท่ากันบางคนมีเป็นหมื่นล้านก็ไม่พอบางคนมีนิดเดียวก็เพียงพอทางจิต
			 ปัจจุบัน เราไม่พอเพียงทั้งด้านวัตถุและจิตใจ เราสามารถตั้งเกณฑ์
ความพอเพียงด้านวัตถุได้ ด้านจิตใจ คนที่พัฒนาจิตใจ (ศาสนา) จะมีความ
รู้สึกพอเพียงได้ง่าย
			 ระวังความพอเพียงทางจิตใจ ที่เรียกว่า สันโดษ เพราะคนที่สุขจะ
เฉื่อยถ้าไม่มีเป้าหมายอื่นมารับอาจจะนำไปสู่ความประมาทได้
77
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
			 พอเพียง คือ พอใจด้วยวัตถุ แต่เมื่อพอแล้วยังมีภาระอื่นที่ต้องทำต่อไป
2 อย่าง คือ ปัญญาเข้าถึงสิ่งที่ดีงามสร้างสรรค์ เหนือขึ้นไป และช่วยเหลือ
เกื้อกูลผู้อื่นจึงจะมีชีวิตที่ดีงาม
			 หลักธรรมพระพุทธศาสนา “ให้สันโดษในวัตถุ แต่ไม่ให้สันโดษใน
กุศลธรรม”สร้างดุลยภาพ
		 * ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนความรู้ที่ไปค้นคว้าศึกษามา ควรทำให้เป็น
กิจวัตรประจำวันเพื่อสร้างจิตสำนึกร่วมกัน
5.	 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.	 หนังสือที่สอนธรรมะ เช่น
	 –	 พระมหาชนก พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
	 –	 ธรรมะที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงปฏิบัติ รวบรวมโดยขวัญแก้ว วัชโรทัย
	 –	 พระธรรมปิฎก ประเวศ วะสี เอกวิทย์ ณ ถลาง : วัฒนธรรมเสาวนา
	 –	 นิทานชาดก ฯลฯ
2.	 ภาพต่างๆ ที่ประกอบเรื่องราว คำสอน
3.	 วีดิทัศน์เกี่ยวกับพระพุทธประวัติ นิทานชาดก
4.	 ใบความรู้ และกิจกรรม
6.	 การวัดผลประเมินผล
1.	 สังเกต การตอบคำถาม - ตั้งคำถาม พฤติกรรม การร่วมกิจกรรมกลุ่ม การทำงาน
2.	 สัมภาษณ์ ความคิดเห็น ความตระหนักในคุณค่า ทัศนคติ
3.	 ตรวจงาน การเขียนรายงาน โครงงาน โครงการ ความเรียง กิจกรรมกลุ่ม
7.	 บันทึกผลหลังการสอน เป็นรายบุคคล / กลุ่ม
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
78
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2554
หน่วยการเรียนรู้ที่3เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องกรณีศึกษา : ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
ระยะเวลาในการสอน3ชั่วโมง
1.	 มาตรฐานการเรียนรู้
	 มาตรฐาน ส 3.1	 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการ
ดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
	 ตัวชี้วัด	 ส 3.1 ป 1/1	 ระบุสินค้าและบริการที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
		 ส 3.1 ป 1/2	 ยกตัวอย่างการใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวันที่ไม่เกินตัวและเห็นประโยชน์ของ
	 การออม
		 ส 3.1 ป 1/3	 ยกตัวอย่างการใช้ทรัพยากรในชีวิตประจำวันอย่างประหยัด
		 ส 3.1 ป 2/1	 ระบุทรัพยากรที่นำมาผลิตสินค้าและบริการที่ใช้ในชีวิตประจำวัน
		 ส 3.1 ป 2/2	 บอกที่มาของรายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว
		 ส 3.1 ป 2/3	 บันทึกรายรับรายจ่ายของตนเอง
		 ส 3.1 ป 2/4	 สรุปผลดีของการใช้จ่ายที่เหมาะสมกับรายได้และการออม
2.	 สาระการเรียนรู้
1.	 รู้แนวคิดของเศรฐกิจพอเพียง
2.	 การปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
3.	 การพัฒนาตนเองและครอบครัวตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
3.	 จุดประสงค์การเรียนรู้
1.	 บอกปรัชญาและแนวคิดตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้
2.	 ปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้
3.	 วิเคราะห์ผลที่ได้รับจากกรณีศึกษา : ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงได้
4.	 สรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษา ค้นคว้า และนำเสนอได้
79
กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง
	1.	 จัดกิจกรรม - แบ่งกลุ่มสนทนาศึกษาโครงการพระราชดำริของพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโดยลำดับตั้งแต่ต้นรัชกาลจนปัจจุบัน
		 ให้แต่ละกลุ่มอภิปราย ซักถาม และจดบันทึกความรู้ ความคิดเห็น นำไป
รายงานแลกเปลี่ยน และจัดบอร์ดนิทรรศการ พร้อมทั้งแสดงกิจกรรมการ
แสดงเช่นร้องเพลงวาดภาพเขียนคำขวัญฯลฯ
	2.	 ทำโครงงานศึกษากรณีศึกษาชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงต่างๆเช่น
		 1)	 ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงบ้านม่วง - โคกเจริญ หมู่ที่ 14 และ 15
	 ต.จันคุมอ.พลับพลาชัยจ.บุรีรัมย์
				 –	 ข้อมูล นับถือศาสนาพุทธ - เคร่งครัดในเรื่องพิธีกรรมทางศาสนา
				 ขยัน รู้รักสามัคคี
				 –	 อาชีพ เกษตร ทำนา พืชไร่ ปลูกมัน ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ และ
				 อนุรักษ์ควายไทย เลี้ยงไหม - ทอผ้า
				 –	 ความเป็นอยู่ สงบ ราบรื่น มีความสุข
				 –	 การบริหารจัดการ มีระบบเครือ ญาติ และวัฒนธรรมประเพณีที่
				 เหนียวแน่นหลอมจิตใจ
				 –	 มีการออมเพื่อพึ่งตนเองและสร้างภูมิคุ้มกัน
				 –	 มีร้านค้าชุมชนเพื่อการเรียนรู้และจัดการร่วมกัน
				 –	 มีโรงสีชุมชน ผลิตร่วมกัน เพื่อลดรายจ่าย
				 –	 มีฉางข้าว + รถนวดข้าว
				 –	 มีโรงงานผลิตน้ำปลา
				 –	 มีกลุ่มปุ๋ยอินทรีย์
				 –	 มีรถยนต์บริการ
				 –	 กลุ่มแม่บ้านม่วงหวาน + กิจกรรมอื่นๆ
				 –	 และมีสวัสดิการชุมชนผลพวงจากกิจกรรมกลุ่มเพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน
			 แต่ละกิจกรรมต่างๆ มีเงื่อนไขปฏิบัติตามที่ชุมชนร่วมกันกำหนด
			 ขึ้นมา ซึ่งพิจารณาโดยยึดหลักเหตุผล คือ การเกิดผลดีที่สุดต่อส่วนรวม
			 เช่น ระเบียบการกู้เงินของกลุ่มออมทรัพย์ เป็นต้น
				 *ศึกษาโดยละเอียดแล้วอภิปรายถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่สะท้อน
			 ผ่านวิถีชีวิตชาวชุมชน เช่น
				 –	 ความสุขที่ได้คือ มีข้าวกิน
				 –	 นำวิทยาการใหม่ๆ มาใช้อย่างรอบคอบและเหมาะสม
				 –	 กลุ่มกิจกรรมหลากหลายเกิดขึ้นอย่างมีเหตุผลและมุ่งสร้างภูมิคุ้มกัน
			 2)	 ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง บ้านร่องกาศใต้ ต.ร่องกาศ อ.สูงเม่น จ.แพร่
				 –	 บทบาทของวัดในฐานะศูนย์กลางการพัฒนา
กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
–	 วิทยากร
–	 ภาพ
–	 หนังสือ
ข้อมูล
1.	โครงการพระราชดำริใน
ชุมชนใกล้เคียง
2.	 ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภาค
ต่างๆ ที่ใกล้ ร.ร.
3.	 ภูมิปัญญาชาวบ้านในชุมชน
4.	โรงเรียนที่บริหารจัดการโดย
ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
5.	 ตัวอย่างเศรษฐกิจพอเพียง
ในชุมชน
6.	 กิจกรรมของวัดที่เป็น
	 ตัวอย่างในเรื่องเศรษฐกิจ
	 พอเพียง และอนุรักษ์
	 สิ่งแวดล้อม
หมายเหตุ
เขียนรายงานตัวอย่างชุมชน
ที่มีกิจกรรมดีๆ เกี่ยวกับ
เศรษฐกิจพอเพียงให้
โรงเรียนต้นทางได้ทราบและ
ช่วยเผยแพร่
4.	 กระบวนการจัดการเรียนรู้
80
	 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง	 กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง
–	 แผนที่ชุมชน
–	 กิจกรรมในชุมชน
–	 เขียนผังความคิดของ
	 นักเรียน และคุณครูเกี่ยวกับ
	 เศรษฐพอเพียงใน
	 โรงเรียน และชุมชน
–	 รวบรวมคำถาม - คำตอบ
	 ในเรื่องที่เรียน
–	 ทำแผนแม่บทของโรงเรียน
	 โดยยึดหลักเศรษฐกิจ
	 พอเพียง
–	 จัดนิทรรศการเกี่ยวกับ
	 ผลงานนักเรียน
–	 ประกวดคำขวัญเกี่ยวกับ
	 เศรษฐกิจพอเพียง
–	 ประกวดห้องเรียนที่ปฏิบัติ
	 ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
				 –	 กลุ่มเยาวชนชุมชนวัดร่องกาศใต้
				 –	 กลุ่มข้าวกล้องร่องกาศใต้ และกลุ่มปุ๋ยชีวภาพ
				 –	 กลุ่มแปรรูปอาหาร (ทำขนม)
				 –	 กลุ่มกาดคนเมืองออมทรัพย์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
				 –	 ร้านค้าชุมชน กลุ่มผู้สูงอายุ
			 * พอเพียงอย่างมีภูมิคุ้มกัน
			 พุทธธรรมคือ พื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง
	 3.	กรณีศึกษา ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง บ้านหนองกลางดง ต.ศิลาลอย
		 กิ่งอำเภอสามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ์
			 –	 ปัญหายาเสพติด
			 –	 เริ่มต้นด้วยแผนชุมชน 2543
			 –	 กิจกรรมเพื่อการพึ่งตนเอง - ส่งเสริมอาชีพ
			 –	 กลุ่มออมทรัพย์
			 –	 ร้านค้า + ปั๊มน้ำมันชุมชน
			 –	 โรงกวนสับปะรดและแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร
			 –	 กองทุนรวมบ้านหนองกลางดง
			 –	 สภาผู้นำกับการตัดสินใจอย่างรอบคอบ
			 –	 ทำแผนชุมชนต่อเนื่อง คือ การก้าวย่างอย่างรอบคอบและระมัดระวัง
			 –	 แนวคิดและกิจกรรมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
			 –	 ครอบครัวตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
			 บทสรุปจากที่ต่างคนต่างอยู่และเต็มไปด้วยปัญหากลายเป็นหมู่บ้านตัวอย่าง
		 อาศัยหลักเหตุผลตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงโดยค้นหาตัวเอง“ทำแผน
		 แม่บทชุมชน” และเกิดกลุ่มกิจกรรมต่างๆ แก้ปัญหาอย่างไม่ประมาท
		 รอบคอบ และผลักดันให้เป็น “เศรษฐกิจพอเพียงครัวเรือน”
	 4.	โรงเรียนเลือกทำโครงงานศึกษาชุมชนที่ใกล้โรงเรียนดูว่าแต่ละชุมชนเมื่อ
		 เริ่มพัฒนา มีปัญหาอะไรบ้าง
			 –	 มีอะไรเป็นสาเหตุผลักดันให้ร่วมพัฒนา
			 –	 มีโครงการและกิจกรรมใดบ้าง
			 –	 การวางแผน และดำเนินโครงการอย่างไร
			 –	 ประสบผลสำเร็จอย่างไร
			 –	 บทสรุป เหตุ - ผล
			 * ถ้ามีเวลาควรทำโครงงานกรณีศึกษาต่อเนื่องให้ครอบคลุมทุกด้าน ถ้า
		 มากกว่า 1 หมู่บ้าน ก็จะได้เปรียบเทียบ เกิดความคิด ความรู้ เหตุผลมากขึ้น
			 กลุ่มนักเรียน และครูผู้ศึกษาเอง ควรมีความใฝ่รู้ หาความรู้ทางวิชาการ
		 ช่วยคิดเสริม จะเกิดความรู้แตกฉานมากขึ้น
81
5.	 สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1.	 ภาพโครงการพระราชดำริฯ ต่างๆ ตั้งแต่ต้นจนปัจจุบัน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2.	 ธรรมะที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงปฏิบัติ รวบรวมโดยขวัญแก้ว วัชโรทัย รองเลขาธิการ
พระราชวัง
3.	 ภาพและเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการพระราชดำริและทฤษฎีใหม่ จากวารสารมูลนิธิชัยพัฒนาทุกฉบับ
4.	 กรณีศึกษาชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง : อนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
5.	 นานาคำถามเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง : คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
6.	 ชีวิตพอเพียงตามแนวพระราชดำริ
7.	 ตัวอย่างเศรษฐกิจพอเพียงที่ข้าพเจ้ารู้จัก (รวมเรียงความจากเด็ก และเยาวชน)
8.	 สื่อเทคโนโลยีต่างๆ เช่น วีดิทัศน์เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
6.	 การวัดผลประเมินผล
สังเกต สัมภาษณ์
ตอบคำถาม - ถาม ทำแบบสอบถาม จัดนิทรรศการ
7.	 บันทึกผลหลังการสอน
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
82
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2554
หน่วยการเรียนรู้ที่3เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อม โดยหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ระยะเวลาในการสอน2ชั่วโมง
1.	 มาตรฐานการเรียนรู้
	 มาตรฐาน ส 5.2	 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนา
ที่ยั่งยืน
	 ตัวชี้วัด	 ส 5.2 ป 1/1	 บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์
		 ส 5.2 ป 1/2	 สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
		 ส 5.2 ป 1/3	 มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน
		 ส 5.2 ป 2/1	 อธิบายความสำคัญและคุณค่าของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและทางสังคม
		 ส 5.2 ป 2/2	 แยกแยะและใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดไปและที่ใช้แล้วหมดไปได้อย่าง
	 คุ้มค่า
		 ส 5.2 ป 2/3	 อธิบายความสัมพันธ์ของฤดูกาลกับการดำเนินชีวิตของมนุษย์
		 ส 5.2 ป 2/4	 มีส่วนร่วมในการฟื้นฟูปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน
2.	 สาระการเรียนรู้
1.	 รู้และเข้าใจความหมายของทรัพยากร ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
2.	 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า
3.	 ภูมิปัญญาไทยเกี่ยวกับการป้องกันและรักษาสิ่งแวดล้อม
4.	 วิถีชีวิตไทยที่สอดคล้องกับการดำรงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง
3.	 จุดประสงค์การเรียนรู้
1.	 บอกและอธิบายทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนและประเทศไทยได้
2.	 จัดการแยกแยะและนำวัสดุมาแปรรูปใช้ใหม่ได้
3.	 ประหยัด น้ำ ไฟ และพลังงาน
4.	 บอกและอธิบายวิถีชีวิตคนไทยที่ใช้ภูมิปัญญาไทยเอาตัวรอด โดยรบกวนธรรมชาติน้อยที่สุด
5.	 บอกลำดับราชอาณาจักรไทยจากสุโขทัยถึงรัตนโกสินทร์ และลำดับพระมหากษัตริย์องค์สำคัญๆ ตลอด
	 จนพระบรมราชจักรีวงศ์ตามระยะเวลา และเหตุการณ์สำคัญๆ ตามระยะเวลานั้นๆ
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 p1 3-u1-3_soc-02
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 p1 3-u1-3_soc-02
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 p1 3-u1-3_soc-02
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 p1 3-u1-3_soc-02
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 p1 3-u1-3_soc-02
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 p1 3-u1-3_soc-02
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 p1 3-u1-3_soc-02
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 p1 3-u1-3_soc-02
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 p1 3-u1-3_soc-02

More Related Content

What's hot

แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาSophinyaDara
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์kruood
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยTupPee Zhouyongfang
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
แนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptแนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptอ๋อ จ้า
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6Thanawut Rattanadon
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...surapha97
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayWichai Likitponrak
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐานPochchara Tiamwong
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3Mam Chongruk
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfToponeKsh
 

What's hot (20)

แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
แบบประเมินงานนำเสนอในรูปแบบออนไลน์
 
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัยการวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
การวัดพฤติกรรมด้านจิตพิสัย
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
แนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Pptแนะนำโรงเรียน.Ppt
แนะนำโรงเรียน.Ppt
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
หลักฐานในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ส16103 ประวัติศาสตร์ ป.6
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
41ตัวอย่าง เครื่องมือประเมินรายมาตรฐาน
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdfแผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
แผนการจัดการเรียนรู้ที่-1-ล่าสุด-แยกสาร.pdf
 

Viewers also liked

แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)sonsukda
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล krooKob
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ท้องฟ้าบ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ท้องฟ้าบ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u05แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ท้องฟ้าบ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ท้องฟ้าบ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u05Prachoom Rangkasikorn
 
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1ไชยยา มะณี
 
โครงการสอนระยะยาว วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4
โครงการสอนระยะยาว วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4โครงการสอนระยะยาว วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4
โครงการสอนระยะยาว วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4Nattapon
 
กระบี่กระบอง
กระบี่กระบองกระบี่กระบอง
กระบี่กระบองพัน พัน
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4sonsukda
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปองsomchaitumdee50
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2tassanee chaicharoen
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษาnang_phy29
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)Slitip Pimkad
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...Prachoom Rangkasikorn
 
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1krutitirut
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
Volley pan2
Volley pan2Volley pan2
Volley pan2sumalee1
 

Viewers also liked (20)

แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
 
แบดมินตัน
แบดมินตันแบดมินตัน
แบดมินตัน
 
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ท้องฟ้าบ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ท้องฟ้าบ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u05แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ท้องฟ้าบ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u05
แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม 1-3 เรือง ท้องฟ้าบ้านเรา+ป.3+239+dltvscip3+P1 3 u05
 
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1
 
โครงการสอนระยะยาว วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4
โครงการสอนระยะยาว วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4โครงการสอนระยะยาว วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4
โครงการสอนระยะยาว วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.4
 
กระบี่กระบอง
กระบี่กระบองกระบี่กระบอง
กระบี่กระบอง
 
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
แอโรบิคเบื้องต้นประกอบจังหวะดนตรี ชุดที่ 4
 
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปองแผน พล ม. 1 ภาค  1 ปี 54  ปิงปอง
แผน พล ม. 1 ภาค 1 ปี 54 ปิงปอง
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
 
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพแผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
แผนการจัดประสบการณ์(ต่าง)
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
 
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
Volley pan2
Volley pan2Volley pan2
Volley pan2
 

Similar to ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 p1 3-u1-3_soc-02

กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมkruarada
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนnang_phy29
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-socPrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-socPrachoom Rangkasikorn
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมthnaporn999
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxssuser6a0d4f
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนWatcharin Chongkonsatit
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านTeacher Sophonnawit
 

Similar to ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 p1 3-u1-3_soc-02 (20)

บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคม
 
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
9.หลักสูตรกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-soc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+494+dltvsocp6+T1 p4 6-u01-soc
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
 
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
2 แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 

More from Prachoom Rangkasikorn

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....Prachoom Rangkasikorn
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....Prachoom Rangkasikorn
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)Prachoom Rangkasikorn
 

More from Prachoom Rangkasikorn (20)

129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
129+hisp2+dltv54+550224+b+สไลด์ พระมหากษัตริย์ไทยป.2 (4 หน้า)
 
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
120+hisp2+dltv54+550210+a+สไลด์ ความภูมิใจในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
116+hisp2+dltv54+550203+a+สไลด์ โบราณวัตถุป.2 (1 หน้า)
 
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
114+hisp2+dltv54+550127+a+สไลด์ โบราณสถาน ป.2 (1 หน้า)
 
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
106+hisp2+dltv54+550106+a+สไลด์ ภูมิปัญญาด้านอาหารป.2 (1 หน้า)
 
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
091+hisp2+dltv54+541209+a+สไลด์ วัฒนธรรมในท้องถิ่นป.2 (1 หน้า)
 
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
083+hisp2+dltv54+541125+a+สไลด์ บุคคลสำคัญของไทยป.2 (1 หน้า)
 
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
066+hisp2+dltv54+540923+a+ใบความรู้ วัฒนธรรมกับการดำเนินชีวิตป.2 (1หน้า)
 
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
062+hisp2+dltv54+540916+a+ใบความรู้ เหตุการณ์สำคัญกับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
058+hisp2+dltv54+540909+a+ใบความรู้ การสื่อสารจากอดีตถึงปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
054+hisp2+dltv54+540902+a+ใบความรู้ การดำรงชีวิตของคนในปัจจุบันป.2 (1หน้า)
 
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
050+hisp2+dltv54+540826+a+ใบความรู้ การดำเนินชีวิตของคนในอดีตป.2 (1หน้า)
 
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
046+hisp2+dltv54+540819+a+ใบความรู้ โรงเรียนของเรากับการเปลี่ยนแปลงป.2 (1หน้า)
 
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
042+hisp2+dltv54+540805+a+ใบความรู้ การแสวงหาความรู้เกี่ยวกับโรงเรียนป.2 (1หน้า)
 
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
039+hisp2+dltv54+540729+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และโรงเรียนป....
 
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
035+hisp2+dltv54+540722+a+ใบความรู้ ความสัมพันธ์ของเวลากับตนเอง และครอบครัวป....
 
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
028+hisp2+dltv54+540701+a+ใบความรู้ การศึกษาวันสำคัญในปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
024+hisp2+dltv54+540624+a+ใบความรู้ การใช้ปฏิทินป.2 (1หน้า)
 
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
016+hisp2+dltv54+540610+a+ใบความรู้ ความสำคัญของเวลาป.2 (1หน้า)
 
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
013+hisp2+dltv54+540603+b+ใบความรู้ ฉันเป็นใครป.2 (4หน้า)
 

ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 p1 3-u1-3_soc-02

  • 1. 62 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด ส 2.2 ป 1/1 บอกโครงสร้าง บทบาทและหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวและโรงเรียน ส 2.2 ป 1/2 ระบุบทบาท สิทธิ หน้าที่ของตนเองในครอบครัวและโรงเรียน ส 2.2 ป 1/3 มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและทำกิจกรรมในครอบครัวตามและโรงเรียนกระบวน การประชาธิปไตย ส 2.2 ป 2/1 อธิบายความสัมพันธ์ของตนเองและสมาชิกในครอบครัวในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของ ชุมชน ส 2.2 ป 2/2 ระบุผู้มีบทบาท อำนาจในการตัดสินใจในโรงเรียน และชุมชน 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว โรงเรียน และบอกประโยชน์การปฏิบัติตนเช่นนั้นได้ 2. บอก และปฏิบัติตนตามข้อตกลง กติกา กฎระเบียบของสังคม และหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในชีวิตประจำวัน ได้ 3. บอกประโยชน์และปฏิบัติตนตามประเพณี และวัฒนธรรมในครอบครัว ในสังคมและในท้องถิ่นได้ 4. ยกตัวอย่างความสามารถ และความดีของผู้อื่น และตนเอง และบอกผลจากการกระทำนั้น 5. แสดงการยอมรับความคิด ความเชื่อ การปฏิบัติของบุคคลอื่นที่แตกต่างกันได้ 6. อธิบายความสำคัญของวันหยุดราชการที่สำคัญได้ 7. บอกลักษณะที่แตกต่างกันของคนในสังคมไทยได้ 8. อธิบายความหมายและความสำคัญของสัญลักษณ์สำคัญของชาติไทย และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง 9. ศึกษาและเขียนรายงานเกี่ยวกับตัวอย่างบุคคลและผลงานที่เป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่น และชุมชนได้ 10. ศึกษาและอธิบายความแตกต่างทางวัฒนธรรมของกลุ่มคนในสังคมไทยได้ 11. ทำกิจกรรมและปฏิบัติตนในการฝึกเป็นผู้นำ และผู้ตามที่ดี แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2554 หน่วยการเรียนรู้ที่1ตัวเราเรื่องหน้าที่พลเมืองวัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม ระยะเวลาในการสอน..........ชั่วโมง
  • 2. 63 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง 1. คุณครูและนักเรียนร่วมสนทนาเกี่ยวกับข่าวชุมชน ข่าวในโรงเรียน ข่าว เหตุการณ์บ้านเมือง 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานข่าว และเหตุการณ์จากที่ได้ติดตามมา และจาก หนังสือพิมพ์ (ที่เตรียมมา) เกี่ยวกับข่าวผู้บริหารท้องถิ่น (อบต. อบจ. ฯลฯ) งานกิจกรรมประเพณีในวัด กิจกรรมของครอบครัว เช่น การเตรียมไป ทำบุญตักบาตรทำนาทำสวนฯลฯตามหัวข้อต่างๆดังนี้ – ในระหว่างปิดเทอม ครอบครัวใครมีกิจการใดบ้าง – ในวัด และหมู่บ้าน ชุมชนของเรามีกิจกรรมใดบ้าง – ใครมีส่วนร่วมอย่างไรในบ้าน ในชุมชน – พ่อ แม่ สมาชิกในครอบครัวของเรามีหน้าที่อย่างไรบ้าง (ใครทำอะไร อย่างไร มีผลอย่างไร) – เปรียบเทียบกิจกรรมในชุมชน หมู่บ้านของเรากับชุมชนอื่น (ดูจาก โทรทัศน์) – บางชุมชนทำไมมีคนชอบไปเที่ยว เยี่ยมเยือน เพราะเหตุใด – ครอบครัวของนักเรียนชอบร่วมกิจกรรมหรือไม่ ชอบช่วยเหลือผู้อื่น หรือไม่ ชอบช่วยงานวัด/กิจกรรม สังคม/ชุมชนหรือไม่ แบ่งหน้าที่กัน อย่างไรในครอบครัว สังเกตและบอกเหตุผลการปฏิบัติตนเป็น ประโยชน์ต่อชุมชน/สังคม ผลดี ผลเสีย ชอบ ไม่ชอบ ควร ไม่ควร – เปรียบเทียบการปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว เช่นเดียวกับ ครอบครัวเป็นสมาชิกที่ดีของชุมชน – สังเกต อธิบายถึงการปฏิบัติตนตามข้อตกลงและกติกาของสังคม เช่น ทุกครอบครัวไปวัดวันพระไปตักบาตรเทโวไปร่วมงานศพไปทอดกฐิน ไปทอดผ้าป่า ฯลฯ งานต่างๆ ทุกครอบครัวในชุมชน ต่างร่วมมือกัน เพราะเหตุใด มีข้อตกลง หรือกติกาหรือไม่ – ยกตัวอย่างชุมชนที่อาศัยอยู่ ที่เห็นชัดเจนอาจเปรียบเทียบกับงาน และ กิจกรรมในโรงเรียน 3. เขียนผังความคิดเกี่ยวกับกิจกรรมในสังคมชุมชน หลังจากอภิปรายจนหา ข้อสรุปได้เปรียบเทียบกับกิจกรรมในโรงเรียน กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ปฏิบัติเหมือนโรงเรียนต้นทาง – รวบรวมข่าวจาก หนังสือพิมพ์ – ผู้บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคม – ช่วยเหลือผู้อื่น – กิจกรรมเกี่ยวกับสถาบัน – พระราชกรณียกิจฯ – ข่าวรัฐบาล เช่น นโยบายแก้ ปัญหาเศรษฐกิจมีอะไรบ้าง เกิดประโยชน์ต่อชุมชน และ สังคมอย่างไร – ข่าวต่างประเทศ ü การประชุมอาเซียน ü ปัญหาชายแดน ü ประเทศเพื่อนบ้าน ü การเปิดการค้าเสรี ฯลฯ – ข่าววัฒนธรรม ประเพณี วันสงกรานต์ ปีใหม่ ตรุษจีน – การแลกเปลี่ยนวัฒนธรรม – พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระราชวงศ์ทรงส่งเสริม วัฒนธรรม ประเพณี – มูลนิธิราชประชาช่วยเหลือ ผู้ประสบภัยต่างๆ ทางด้าน การศึกษา – กิจกรรมบำเพ็ญประโยชน์ที่ นักเรียนมีส่วนร่วม ครอบครัว ของเรามีส่วนร่วม – ชุมชนของเรามีการพัฒนา และส่งเสริมด้านวัฒนธรรม อาชีพเศรษฐกิจฯลฯอย่างไร บ้าง 3. กระบวนการจัดการเรียนรู้
  • 3. 64 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง 4. ในการจัดกิจกรรมต่างๆ ทั้งที่บ้าน ในชุมชน/ที่โรงเรียน กิจกรรมหรืองาน นั้นๆ จะสำเร็จได้ต้องมีส่วนประกอบอะไร ใครบ้าง ทำอย่างไร ให้ร่วมกัน อภิปรายเพื่อจะได้ทราบหน้าที่กติกากฎระเบียบของสังคม (ควรเน้นหน้าที่ก่อนสิทธิ) – การปฏิบัติตนตามประเพณี และวัฒนธรรมในครอบครัว และในชุมชน สังคม ทำให้เกิดผลดีอย่างไรบ้าง (คิดในเชิงบวกและสร้างสรรค์) 5. ให้กลุ่มนักเรียนศึกษาหาข้อมูลและยกตัวอย่างบุคคลในชุมชน ครอบครัว ที่มีความสามารถ ความดี มาเล่าสู่กันฟัง อภิปรายและแสดงความคิดเห็น และบอกเล่าว่านักเรียนได้ทำความดีอะไรบ้าง เล่าให้เพื่อนฟัง แลกเปลี่ยน ความรู้ ความคิดเห็นกันในเชิงสร้างสรรค์ สรุปเขียนรายงานเกี่ยวกับผู้ ทำความดี 6. ศึกษาประเพณี วัฒนธรรม ศาสนาของบุคคลครอบครัวในชุมชน ท้องถิ่น ที่อาศัยอยู่ จัดทำข้อมูล เขียนรายงาน เชิญวิทยากร ฉายซีดีเกี่ยวกับชนเผ่า และผู้คนที่มีวัฒนธรรมประเพณีแตกต่างกันไป แต่สามารถอยู่ร่วมกันได้ อย่างเป็นสุข (เน้นวิธีคิดตามหลักศาสนาพุทธ) และให้ศึกษาลักษณะที่ แตกต่างของคนในสังคมในเชิงบวก 7. กลุ่มนักเรียนรวบรวมข่าว กิจกรรม พระราชกรณียกิจต่างๆ เพื่อเรียนรู้ ความสำคัญของวันเฉลิมพระชนมพรรษา วันสำคัญของชาติ ศาสนา และ จัดนิทรรศการ กิจกรรม ในชุมชน ทำบุญตักบาตร ทอดกฐิน ไปงานสงกรานต์ ไปงานศพทำบุญขึ้นบ้านใหม่ ไปชักพระ เลือกอบต. กิจกรรม ในโรงเรียน จัดกิจกรรม กีฬาสีเลือกกรรมการ นักเรียน ทำบุญวันเกิด โรงเรียน ต้อนรับ แขกมาเยือน ถวายพระพร วันเฉลิมฯ ไปเวียนเทียน
  • 4. 65 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง 8. กลุ่มนักเรียนศึกษา และเขียนรายงานเกี่ยวกับตัวอย่างบุคคลและผลงานที่ เป็นประโยชน์แก่ท้องถิ่นและชุมชน และรายงานประกอบภาพ ครูฉายซีดี ให้ดูประกอบหรือเชิญวิทยากรบรรยายประกอบ 9. จัดกิจกรรม เลือกกรรมการ คณะทำงานในห้องเรียน ในชั้นเรียน (ตาม สายชั้น) มีข้อตกลง กฎ กติกา หน้าที่ และความรับผิดชอบที่นักเรียนทำได้ มีการติดตามผล รายงาน ตามปฏิทินปฏิบัติงาน ครูและกลุ่มนักเรียนชมเชย และติชมพร้อมจัดป้ายนิเทศ 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองที่ดี มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษาประเพณี และวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสุข ตัวชี้วัด ป 3/2 บอกพฤติกรรมการดำเนินชีวิตของตนเอง และผู้อื่นที่อยู่ในกระแสวัฒนธรรมที่ หลากหลาย ป 3/3 อธิบายความสำคัญของวันหยุดราชการที่สำคัญ มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตัวชี้วัด ป 3/1 ระบุบทบาทหน้าที่ของสมาชิกของชุมชนในการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ตาม กระบวนการประชาธิปไตย ป 3/2 วิเคราะห์ความแตกต่างของกระบวนการการตัดสินใจในชั้นเรียน/โรงเรียนและชุมชน โดยวิธีการออกเสียงโดยตรงและการเลือกตัวแทนออกเสียง ป 3/3 ยกตัวอย่างการเปลี่ยนแปลงในชั้นเรียน/โรงเรียนและชุมชนที่เป็นผลจากการตัดสินใจ ของบุคคลและกลุ่ม แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2554 หน่วยการเรียนรู้ที่1ตัวเราเรื่องเข้าใจและรักษาไว้ซึ่งระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขระยะเวลาในการสอน..........ชั่วโมง
  • 5. 66 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง 1. คุณครูและนักเรียนร่วมสนทนาเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ของสมาชิกใน ครอบครัว – บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัว – บทบาทหน้าที่ของนักเรียนในห้องเรียน ในโรงเรียน – ความสัมพันธ์ของตนเองและสมาชิกครอบครัว ในฐานะเป็นส่วนหนึ่ง ของชุมชน 1.1 ช่วยกันสรุปเขียนผังความคิด เขียนรายงานและจัดบอร์ด 1.2 แบ่งกลุ่มนักเรียนเพื่อให้สนทนาซักถามและคิด-เขียนบทบาทหน้าที่ ของตนเอง ในครอบครัว ในโรงเรียน ในชุมชน เพื่อรายงานหน้าชั้น คุณครูช่วยซักถามเพิ่มเติม และช่วยกันสรุปเขียน เรียบเรียงลงสมุด หลังจากแต่ละกลุ่มได้เล่า และอธิบายบทบาทของตนเอง เพื่อเป็น การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 2. กลุ่มนักเรียนอภิปรายบทบาทของพ่อแม่ เปรียบเทียบกับบทบาทของ ผู้บริหารโรงเรียนครูเจ้าหน้าที่ กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ปฏิบัติเหมือนโรงเรียนต้นทาง – แบ่งกลุ่มเขียนบทบาทหน้าที่ ของสมาชิกในครอบครัว และบทบาทหน้าที่ของครู นักเรียน ผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ ต่างๆ ในโรงเรียน – เขียนบทบาทหน้าที่ที่ ครอบครัวของนักเรียนมีต่อ ชุมชน วัด ฯลฯ – เชิญวิทยากรบรรยายเกี่ยวกับ บทบาทหน้าที่ในชุมชน สาระสำคัญ พฤติกรรมการดำเนินชีวิตในปัจจุบันมีความแตกต่างตามบทบาท หน้าที่ ของสมาชิกชุมชนและการมี ส่วนร่วมในกระบวนการประชาธิปไตย 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกโครงสร้าง บทบาทและหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวและโรงเรียน 2. อธิบายความสัมพันธ์ของตนเองและสมาชิกครอบครัวในฐานะเป็นส่วนหนึ่งของชุมชนได้ 3. อธิบายบทบาท หน้าที่ของพลเมืองในกระบวนการเลือกตั้งได้ 4. บอกบทบาทหน้าที่ของผู้บริหารโรงเรียนได้ 5. อธิบายความแตกต่างของกระบวนการ การตัดสินใจในชั้นเรียน โรงเรียน โดยวิธีการออกเสียงโดยตรง และการเลือกตัวแทนออกเสียงได้ 6. บอกบทบาท และหน้าที่ของสมาชิกชุมชนในการมีส่วนร่วม กิจกรรมต่างๆ ตามกระบวนการประชา- ธิปไตยได้ 7. มีส่วนร่วมในการตัดสินใจและทำกิจกรรมในครอบครัวและโรงเรียน ตามกระบวนการประชาธิปไตย 8. อธิบายความหมาย ความแตกต่างของอำนาจตามบทบาท สิทธิ หน้าที่ กับการใช้อำนาจโดยปราศจาก สิทธิหน้าที่ได้ 3. กระบวนการจัดการเรียนรู้
  • 6. 67 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง 2.1 กลุ่มนักเรียนสัมภาษณ์ครูอื่นๆ ผู้บริหาร และเจ้าหน้าที่ แล้วกลับมา สรุปผล และรายงานหน้าชั้น 2.2 กลุ่มนักเรียนสัมภาษณ์พ่อ แม่ บุคคลในชุมชน ที่ทำหน้าที่เป็นฝ่าย บริหารท้องถิ่น แล้วกลับมาสรุปเขียนรายงาน รายงานหน้าชั้น ร่วม กันอภิปรายความคิดเห็น 3. จัดกิจกรรม เลือกตั้งกรรมการ หรือคณะทำงานในห้องเรียน ชั้นเรียน เพื่อ ให้ทุกคนได้ตัดสินใจเลือกผู้แทนนักเรียน ทำหน้าที่ต่างๆ แทนตน โดยวิธี ลงคะแนนเลือกตั้งเพื่อเรียนรู้บทบาทหน้าที่และกระบวนการประชาธิปไตย ก่อนและหลังเลือกตั้งควรมีการอภิปรายแสดงความคิดเห็น และให้ผู้สมัคร ลงเลือกตั้งได้พูดแสดงวิสัยทัศน์ของตนทุกครั้ง เลือกตั้งแล้วเพื่อทำหน้าที่ ไป1สัปดาห์1เดือนควรมีการประเมินผลโดยกลุ่มนักเรียนและอภิปรายผล 4. แบ่งกลุ่มนักเรียนศึกษาผลงานของผู้บริหารในชุมชนเช่นอบต.อบจ.ฯลฯ หรือผู้นำทำกิจกรรมชั่วคราว เช่น ประธานกรรมการ เพื่อให้รู้บทบาท บทบาทและหน้าที่ของสมาชิกในชุมชนในการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ และทำกิจกรรมในสังคม – ศึกษาจากข่าวท้องถิ่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ฯลฯ – บทบาทของนักเรียนช่วยชุมชนได้อย่างไรบ้าง เช่น ช่วยประชาสัมพันธ์ ร่วมมือกับผู้มีบทบาทร่วมกิจกรรมต่างๆชักชวนพ่อแม่ให้ความร่วมมือ ฯลฯ 5. จัดกิจกรรมโดยสร้างสถานการณ์จำลอง ให้นักเรียนได้จัดงานและแบ่ง กลุ่มเป็นกรรมการฝ่ายต่างๆ และประเมินผลงาน ประเมินตนเอง 6. คุณครู และนักเรียนศึกษาและร่วมสนทนาเกี่ยวกับอำนาจ หน้าที่ของ ผู้บริหารฯ ระดับต่างๆ โดยเน้นที่บทบาท หน้าที่ ความรับผิดชอบ ตาม ภาระที่ต้องปฏิบัติเช่นพ่อแม่ครูและหน้าที่ความรับผิดชอบตามกฎหมาย เช่น ผู้บริหารชุมชน ผู้บริหารบ้านเมือง เน้นหน้าที่ความรับผิดชอบมาก กว่าสิทธิผู้ที่เสนอตัวเองเป็นผู้บริหารฯต้องคิดถึงประโยชน์ส่วนรวมมาก กว่าส่วนตัว ทุกคนต้องคิดถึงและทำเพื่อครอบครัว และโรงเรียนก่อน ถ้า ครอบครัวอยู่ได้...ผู้ที่ทำหน้าที่ของตนให้ดีที่สุด ทำเพื่อส่วนรวม เสียสละ จะได้รับการยอมรับจากส่วนรวม และผู้อื่นตลอดไป ตรงข้ามกับผู้ที่ใช้ อำนาจโดยไม่คำนึงถึงสิทธิและหน้าที่ 7. คุณครูอธิบายถึงทศพิธราชธรรม และธรรมิกราชา (จากสารานุกรมไทยฯ ฉบับเฉลิมพระเกียรติฯ) (คัดบางตอนจากสารานุกรมไทยฯ ฉบับเฉลิมพระเกียรติ) หลักธรรมที่พระราชา หรือพระมหากษัตริย์ทรงพึงปฏิบัติ ที่เรียกว่า ทศพิธราชธรรม หรือธรรม 10 ประการ – ช่วยกันคิดหน้าที่ และแบ่ง หน้าที่ของทุกคน และ กรรมการในห้องเรียน โรงเรียน – ทำรายงานเกี่ยวกับผู้บริหาร ท้องถิ่น – การเลือกตั้ง – คุณสมบัติของผู้สมัครรับ เลือกตั้ง – บทบาท หน้าที่ – ผลงานของแต่ละท่าน – ผู้แทน ผู้บริหารที่ประชาชน ชุมชนพอใจ – ความเจริญของท้องถิ่น และ ชุมชนเกิดจากผู้บริหารที่ดี – กฎหมาย ท้องถิ่น – การเคารพกฎหมายเกิดผล อย่างไร – ทศพิธราชธรรมในพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว – ผู้บริหารประเทศที่นักเรียน ต้องการ และพอใจ – หน้าที่และสิทธิ – วิเคราะห์บทบาท หน้าที่และ สิทธิของบุคคลต่างๆ
  • 7. 68 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง 1. ทาน คือ การสละทรัพย์สิ่งของ บำรุงช่วยเหลือราษฎร และบำเพ็ญ สาธารณประโยชน์ 2. ศีล หมายถึง ความประพฤติดีงาม การสำรวมกาย วาจา ให้เรียบร้อย ประโยชน์สุขของราษฎร และความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง 3. การบริจาค หมายถึง การเสียสละความสุขสำราญตลอดตนชีวิต เพื่อ ประโยชน์สุขของราษฎร และความสงบเรียบร้อยของบ้านเมือง 4. ความซื่อตรง หมายถึง การปฏิบัติภารกิจโดยสุจริต มีความจริงใจ ไม่หลอกลวงราษฎร 5. ความอ่อนโยน การมีอัธยาศัย ไม่เย่อหยิ่งหยาบคาย มีความสง่างาม ที่เกิดจากกิริยา สุภาพนุ่มนวล ละมุนละไม 6. ความทรงเดช ความเพียรพยายามในการเผาผลาญกิเลส ตัณหา ระงับ ยับยั้ง ข่มใจ ไม่หมกมุ่นในความสุขสำราญ มุ่งมั่นแต่จะบำเพ็ญเพียร ทำกิจให้สมบูรณ์ 7. ความไม่โกรธ การไม่เกรี้ยวกราด ลุอำนาจความโกรธ จนทำให้ทำการ ผิดพลาด หรือผิดทำนองคลองธรรม 8. การไม่เบียดเบียนใคร ไม่บีบคั้น กดขี่ราษฎร ไม่หลงระเริงอำนาจ ขาดความกรุณา 9. ความอดทน อดทนต่องาน ไม่ท้อถอย อดทนในสิ่งที่ควรอดทน 10. ความไม่ประพฤติผิดธรรม หนักแน่นในธรรม ไม่เอนเอียงหวั่นไหว เพราะถ้อยคำดี - ร้าย และลาภสักการะ สถิตมั่นในธรรม ทั้งความ เที่ยงธรรม ระเบียบแบบแผน หลักการปกครอง ตลอดจนขนบ ธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม หมายเหตุ ผู้บริหารทุกระดับควรยึดถือปฏิบัติ บ้านเมืองก็จะสงบเรียบร้อย อยู่เย็นเป็นสุขทั่วหน้า อธิบายข้อ 1.8 ได้ด้วยทศพิธราชธรรม ที่ผู้บริหารควรปฏิบัติ (ผู้เรียบเรียง)
  • 8. 69 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกัน ใน ระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด ส 5.1 ป 1/1 แยกแยะสิ่งต่างๆ รอบตัวที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น ส 5.1 ป 1/2 ระบุความสัมพันธ์ของตำแหน่ง ระยะ ทิศของสิ่งต่างๆ รอบตัว ส 5.1 ป 1/3 ระบุทิศหลักและที่ตั้งของสิ่งต่างๆ ส 5.1 ป 1/4 ใช้แผนผังง่ายๆ ในการแสดงตำแหน่งของสิ่งต่างๆ ในห้องเรียน ส 5.1 ป 1/5 สังเกตและบอกการเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศในรอบวัน ส 5.1 ป 2/1 ระบุสิ่งต่างๆ ที่เป็นธรรมชาติกับที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งปรากฏระหว่างโรงเรียนกับบ้าน ส 5.1 ป 2/2 ระบุสิ่งต่างๆ ที่เป็นธรรมชาติกับที่มนุษย์สร้างขึ้น ซึ่งปรากฏระหว่างโรงเรียนกับบ้าน ส 5.1 ป 2/3 อธิบายความสัมพันธ์ของปรากฏการณ์ระหว่างโลก ดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ 2. สาระการเรียนรู้ 1. ตำแหน่งที่ตั้งของชุมชนของเรา 2. ลักษณะเฉพาะทางกายภาพของชุมชนและผลต่อเนื่องที่เกิดขึ้น 3. รู้การจำแนก แสดงความสัมพันธ์เชิงลักษณะและหน้าที่ของสิ่งที่อยู่รอบตัวที่มีผลต่อเนื่องโดยรอบ 4. ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางกายภาพในชุมชนกับวัฒนธรรมของชุมชน 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกหรืออธิบายความหมายของลักษณะกายภาพเชิงภูมิศาสตร์ชุมชนของตน 2. จำแนกหน้าที่ และองค์ประกอบของลักษณะทางกายภาพของชุมชนของตน 3. บอกหรืออธิบายความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบของลักษณะทางกายภาพ แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2554 หน่วยการเรียนรู้ที่2ชุมชนของเราเรื่องชุมชนของเรา “องค์ประกอบทางกายภาพชุมชน” ระยะเวลาในการสอน5ชั่วโมง
  • 9. 70 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง คาบที่ 1 - 2 1. ครูให้นักเรียนดูภาพท้องถิ่น ซึ่งมีลักษณะทางกายภาพที่ประกอบด้วย ภูเขา (ที่ราบสูง, ที่ราบลุ่ม) ทะเล แม่น้ำ ป่าไม้ (ป่าดงดิบ, ป่าไม้ผลัดใบ, สัตว์ป่า) มหาสมุทร ฯลฯ (ใช้สไลด์หรือภาพยนตร์สารคดีต่างๆ จะช่วยเสริมความ สนใจมากขึ้นสนทนาเกี่ยวกับสิ่งต่างๆในภาพเปรียบเทียบกัน 2. ครูนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับภาพชุมชนที่ตั้งบ้านของนักเรียน ตัวอย่าง ภาพ ชุมชนตำบลหัวหิน (เขาเต่า, เขาตะเกียบ) สนทนาข้อมูลจากการสังเกต ภาพซักถามในประเด็นท้องถิ่นของเราตั้งอยู่ในพื้นที่แบบใด, ลักษณะ ภูมิประเทศ-ภูมิอากาศของท้องถิ่นเราเป็นอย่างไร, ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม อาชีพประชากรวัฒนธรรมความเป็นอยู่การแต่งกายฯลฯ 3. ครูให้นักเรียนเล่นเกมชุมชนของเรา เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจลักษณะ ทางกายภาพทางภูมิศาสตร์ 4. สนทนาความรู้เกี่ยวกับการศึกษาลักษณะทางกายภาพเชิงภูมิศาสตร์และ จำแนกความสัมพันธ์ของแต่ละองค์ประกอบของลักษณะทางกายภาพของ ชุมชนร่วมกันเขียนผังความคิด(ภาคผนวกที่1) 5. นักเรียนแต่ละคนสำรวจลักษณะทางกายภาพของท้องถิ่นของตน (บ้าน) (แสวงหาข้อมูลโดยวิธีสัมภาษณ์) และจัดทำใบงานส่งครูในชั่วโมงต่อไป (ใบงานที่2) 6. ครูนำนักเรียนทัศนศึกษาท้องถิ่นใกล้โรงเรียนให้นักเรียนบันทึกข้อมูลจาก การสังเกตหรือการสอบถามบุคคลในท้องถิ่น(ใช้เวลาในวันหยุด) – ลักษณะของพื้นที่ เป็นแบบใด – ลักษณะภูมิอากาศ – ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อมโดยรอบ – อาชีพ (ภูมิปัญญาในท้องถิ่น) – วัฒนธรรมของชุมชน 7. ครูนำความรู้จากการทัศนศึกษามาร่วมสนทนาและอภิปรายในห้องเรียน 8. นักเรียนสร้าง“ชุมชนพัฒนาที่น่าอยู่”บนกระบะทราย 9. ครูนักเรียนร่วมจัดทำผังความคิดเกี่ยวกับสถานที่สำคัญของชุมชน เช่น สถานที่ส่วนราชการ สถานที่เกี่ยวกับเรื่องศาสนาและอื่นๆ เท่าที่จำเป็น (ภาคผนวกที่2) 10. นักเรียนร่วมร้องเพลงชุมชน(แต่งเอง) 11. นักเรียนทำใบงาน กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง ปฏิบัติเหมือนโรงเรียนต้นทาง – กลุ่มนักเรียนเขียน ü แผนผังโรงเรียน ü แผนผังหมู่บ้าน ชุมชน ü แผนผังบ้าน ü แผนผังอำเภอ จังหวัด – กลุ่มนักเรียนทำโครงงาน เกี่ยวกับองค์ประกอบของ ชุมชน และลักษณะที่ตั้งของ ชุมชนที่วางผังดี สะดวก ปลอดภัย – ทัศนศึกษา และบันทึก ข้อมูล – สนทนา อภิปราย วิเคราะห์ เหตุ - ผล – ลองสร้างชุมชนที่น่าอยู่ โดย ใช้เหตุผลของนักเรียนและ ประสบการณ์จากการเรียนรู้ – กลุ่มนักเรียนรายงานหน้าชั้น และจัดบอร์ดนิเทศ นิทรรศการ ตามหัวข้อที่เรียนรู้ – กลุ่มนักเรียนทำกิจกรรม “โลกสีเขียว” ü การแยกขยะ ü รีไซเคิล นำของที่ใช้แล้ว มาทำให้เกิดประโยชน์ ü กลุ่มนักเรียนช่วยกันจัด พื้นที่ของชุมชน ตามแนว เศรษฐกิจพอเพียง 4. กระบวนการจัดการเรียนรู้
  • 10. 71 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง คาบที่3 12. ครูนักเรียนร่วมเล่นเกมตามใบงานวิธีการเล่น 13. เชิญวิทยากรให้ความรู้ภูมิปัญญาในท้องถิ่น 14. ครูแบ่งนักเรียนเป็น 4 กลุ่ม จัดบอร์ดนิเทศ เรื่องชุมชนท้องถิ่น โดยศึกษา ความรู้จากหนังสือตำราเรียนตามหัวข้อเรื่อง กลุ่มที่1 ลักษณะทางกายภาพเชิงภูมิศาสตร์ กลุ่มที่2 ลักษณะทางภูมิอากาศ กลุ่มที่3 สถานที่สำคัญ กลุ่มที่4 อาชีพของชุมชนหัวหิน(ภูมิปัญญาในท้องถิ่น) 15. ครูนำนักเรียนทัศนศึกษาท้องถิ่นใกล้โรงเรียนฝึกนักเรียนสังเกตและแสวงหา ข้อมูลเกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพทางภูมิศาสตร์สังเกตลักษณะภูมิประเทศ อากาศทรัพยากรท้องถิ่น(จากของจริง) คาบที่4 16. ครูให้นักเรียน(โดยสุ่มตัวอย่าง)ออกรายงานหน้าชั้นเรียนจากใบงานที่ครู ให้ทำเป็นการบ้าน โดยมีครูเป็นผู้ซักถาม อธิบาย สรุป 17. ครูนำกระบะทรายแสดงเป็นพื้นที่ของชุมชน แบ่งกลุ่มแจกดินน้ำมัน เพื่อสร้างหมู่บ้านชุมชนพัฒนา 4 กลุ่ม กำหนดประเด็นสำคัญ โดย ถือแนวเศรษฐกิจพอเพียง ตามหัวข้อดังนี้ 1. แสดงลักษณะทางกายภาพทางภูมิศาสตร์ธรรมชาติ 2. การตั้งบ้านเรือนของชุมชนที่ถูกลักษณะ 3. สถานที่สำคัญของชุมชนส่วนราชการและอื่นๆเช่นโรงเรียนโรงพยาบาล วัด ตลาด สวนสาธารณะ ห้องสมุดประชาชน สนามเด็กเล่น ฯลฯ (ตามแนวคิด) 4. บันทึกรายงาน 1. ประชุมวางแผนมอบงาน 2. แสวงหาข้อมูล 3. ดำเนินการจัดทำ 4. แสดงรายงาน ฯลฯ คาบที่ 5 - 6 18. ครู นักเรียนร่วมกันวิจารณ์ผลงานของกลุ่มเพื่อน แสดงความคิดเห็นใน การวางผังชุมชน (กระบะทราย) 19. เล่นเกม “ชุมชน” (ตามวิธีการเล่นในใบงาน) สรุปและวิจารณ์เพิ่มเติม ความรู้ 20. ครู นักเรียนร่วมสนทนา ศึกษา “ชุมชนของนักเรียนที่อาศัยอยู่ (ตำบล หัวหิน) ตามลักษณะองค์ประกอบทางกายภาพเชิงภูมิศาสตร์ ü ประชาสัมพันธ์งาน และ ชักชวนให้นักเรียนห้อง อื่นๆ ร่วมทำกิจกรรม เช่น แยกขยะ ปลูกต้นไม้ บริจาคสิ่งของ ช่วยเหลือ ชุมชน ฯลฯ
  • 11. 72 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง 21. ครู นักเรียนรวมกันจัดบอร์ดนิเทศเพื่อประเมินผลความรู้ความเข้าใจ 22. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ภาพแสดงลักษณะทางกายภาพ สไลด์ภูเขา ที่ราบ แม่น้ำ ทะเล ฯลฯ 2. วิทยากร 3. บัตรคำ, แผ่นคำ 4. หนังสือค้นคว้า 5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ภาพวิว แสดงลักษณะทางกายภาพ 2. บัตรคำ แผนภูมิ ผังความคิด ฯลฯ 3. วิทยากร ตำราหนังสือค้นคว้า 4. กระบะทราย ดินน้ำมัน 5. สถานที่ต่างๆ ของชุมชน 6. การวัดผล - ประเมินผล 1. สังเกตความสนใจ ความตั้งใจจากการร่วมกิจกรรม 2. ซักถามการทำรายงาน 3. ตรวจข้อทดสอบใบงาน 7. บันทึกผลหลังการสอน ............................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ...............................................................................................................................................................................
  • 12. 73 ชุมชนของเรา หินชนิดต่างๆ หินรัตนชาติ สิ่งประดิษฐ์จากทะเล ตัวอย่าง หน่วยการเรียนรู้สหบูรณาการ เรื่อง ชุมชนของเรา การงานอาชีพและเทคโนโลยี เส้นทาง ทิศ แผนผัง ระยะทาง พื้นที่ คณิตศาสตร์ อาชีพ การท่องเที่ยว ชุมชน สังคม คำ การสนทนา ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ระบำชายหาด เพลงหัวหิน วาดภาพทะเล ศิลปศึกษา, นาฏศิลป์, ดนตรี น้ำทะเล ลมบก ลมทะเล สิ่งมีชีวิตในทะเล การอนุรักษ์ วิทยาศาสตร์ ประวัติ ที่มา สถานที่สำคัญ ประวัติศาสตร์ สิ่งบันเทิง กีฬาทางน้ำ กีฬาชายหาด พลศึกษา การอ่าน – อ่านจับใจความ – อ่านในใจ – อ่านออกเสียง – อ่านวิเคราะห์ การฟัง/พูด/ดู – การสัมภาษณ์ – การสำรวจ – สารคดีเกี่ยวกับ หัวหิน การเขียน – บันทึกการค้นคว้า – รายงาน – บรรยาย – เรื่องราว หลักภาษา – คำประสม – อักษรนำ – สำนวนภาษา – การแต่งประโยค วรรณกรรม – บทร้อยกรอง เกี่ยวกับทะเลหัวหิน – พระราชวัง ไกลกังวล ภาษาไทย
  • 13. 74 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2554 หน่วยการเรียนรู้ที่3เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องหลักธรรมที่เกี่ยวกับวิถีชีวิตพอเพียง ระยะเวลาในการสอน..........ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการ ดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ ตัวชี้วัด ส 3.1 ป 1/1 ระบุสินค้าและบริการที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ส 3.1 ป 1/2 ยกตัวอย่างการใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวันที่ไม่เกินตัวและเห็นประโยชน์ของ การออม ส 3.1 ป 1/3 ยกตัวอย่างการใช้ทรัพยากรในชีวิตประจำวันอย่างประหยัด ส 3.1 ป 2/1 ระบุทรัพยากรที่นำมาผลิตสินค้าและบริการที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ส 3.1 ป 2/2 บอกที่มาของรายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว ส 3.1 ป 2/3 บันทึกรายรับรายจ่ายของตนเอง ส 3.1 ป 2/4 สรุปผลดีของการใช้จ่ายที่เหมาะสมกับรายได้และการออม 2. สาระการเรียนรู้ 1. เข้าใจและปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนเองและครอบครัว 2. เข้าใจและปฏิบัติตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา (หรือศาสนาที่ตนนับถือ) ที่สอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจ พอเพียง 3. นำหลักเศรษฐกิจพอเพียงประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกและอธิบายวิธีปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้ 2. ปฏิบัติตนตามหลักธรรม ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดทน อดออม แบ่งปัน พึ่งตนเอง ทางสายกลาง 3. มีความเป็นอยู่และการกินที่พอดีกับการดำรงชีวิตแบบพอดี 4. มีความสุขกับความเป็นอยู่ที่พอดี และชอบช่วยเหลือผู้อื่น 5. คิดและทำเพื่อประโยชน์ส่วนรวมมากกว่าส่วนตนอย่างต่อเนื่อง
  • 14. 75 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง 1. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนปัญหาส่วนตัวและปัญหาครอบครัวที่เกี่ยวกับ เศรษฐกิจการบริโภค การผลิต ตลอดจนปัญหาในชุมชน เช่น น้ำท่วม ฝนแล้งของแพงข้าวแพงผักแพงฯลฯ ให้แต่ละกลุ่มอภิปรายปัญหาที่เกิดเพราะอะไร เช่น – ทำไมอาหารการกินฝืดเคือง สาเหตุเพราะอะไร – น้ำท่วม ฝนแล้ง มรสุม แผ่นดินไหว เพราะเหตุใด – ทุกคนขยันทำงานเท่าเดิมหรือไม่ – เรามีความอยาก ความต้องการมากขึ้นหรือไม่ – ถ้าเราตกลงกันว่าจะจำกัดความต้องการของแต่ละคนลง เราจะ พอมีพอกินหรือไม่ – ในชุมชนของเราเป็นอย่างนี้ทุกครัวเรือนหรือไม่ เพราะเหตุใด ถ้าเป็นเฉพาะครอบครัวเรา เราจะแก้ไขอย่างไร บอกวิธีแก้ไข – ครอบครัวมีความสุข คืออย่างไร – เมื่อเรามีความทุกข์ เราไปที่ไหน เพราะเหตุใด – เราควรรอให้เกิดความทุกข์ แล้วไปวัดใช่หรือไม่ – วิธีหาความสุขอย่างง่ายๆ ควรทำอย่างไร ไม่ให้ผู้อื่นเดือดร้อน – มีตัวอย่างครอบครัวที่ปฏิบัติตนดีงามและเป็นสุขหรือไม่ในชุมชน จงยกตัวอย่าง และวิเคราะห์เหตุผล – เหตุใดในปีที่ผ่านมา จึงเกิดแผ่นดินไหว มรสุม น้ำท่วม อย่าง รุนแรง จงหาเหตุผล ฯลฯ * ครูควรให้เด็กคิด ศึกษา ปัญหาต่างๆ ทั้งตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม ประเทศชาติประเทศเพื่อนบ้านให้ทุกคนได้พูดแสดงความคิดเห็นสังเกต เปรียบเทียบ โดยที่ครูบอกน้อยที่สุด แต่ควรใช้คำถามนำให้คิด (ใช้คำถาม จากหมวก 6 ใบ) เมื่อพูด - อธิบายกันทุกกลุ่มให้ช่วยกันสรุปถึงปัญหาและสาเหตุ วิธีการ แก้ปัญหา ซึ่งจะโยงเข้าสู่ธรรมะและหลักเศรษฐกิจพอเพียง ข้อควรระวัง ไม่ควรรีบบอกและรีบสรุป ควรสังเกตว่านักเรียนทุกคน เข้าใจและได้คิด แสดงความคิดเห็นและเห็นด้วยตนเอง ซึ่งอาศัยเทคนิค การสอนของครู 2. ครูและนักเรียนลองคิดวิธีแก้ปัญหาหรือป้องกันปัญหาต่างๆเป็นองค์รวม สูงสุด ดีที่สุด ในขณะนี้เรามีมรดกทางปัญญาและหลักจริยธรรม ซึ่ง พระบรมศาสนาคือพระพุทธเจ้าค้นพบไว้แล้วพระองค์ได้ค้นพบความจริง ของธรรมชาติและสรรพสิ่งพบความจริงอย่างละเอียดลึกซึ้งของความ กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – ข่าว - ภาพเรื่องราวต่างๆ – ข้อมูลจากชุมชน – หนังสือพิมพ์ – วิทยุ – จัดนิทรรศการพืชผลที่ผลิต ได้ในชุมชน เช่น ü ข้าว ü พืชผักสวนครัว ü ธัญพืช สมุนไพร – แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ รู้ประวัติความเป็นมาของ พืชพันธ์ุธัญญาหารมี ประโยชน์อย่างไร – สงวนพันธุ์ - ขยายพันธุ์ อย่างไร – ภาพ, หนังสือพิมพ์ – ข่าวช่อง 11 ที่มีรายละเอียด ในการวางแผนแก้ปัญหา บ้านเมือง – กลุ่มนักเรียนศึกษาและทำ โครงงานเกี่ยวกับ ü การไปวัด ü กิจกรรม ü ผล – วิเคราะห์เหตุ - ผล เช่น วัน ธรรมดาเราไม่ได้ไปวัด ควร ปฏิบัติอย่างไรบ้าง – จัดดอกไม้หน้าพระ – สวดมนต์ – นั่งสมาธิ 4. กระบวนการจัดการเรียนรู้
  • 15. 76 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง เป็นมนุษย์ ตลอดจนบัญญัติคำสอนไว้เป็นทางออก และเป็นเครื่องมือใน การขัดเกลาส่งเสริมและควบคุมธรรมชาติในตัวมนุษย์ไว้ดีแล้ว รวมทั้ง ศาสดาของศาสนาอื่นๆ ก็เช่นเดียวกัน มนุษย์พยายามเอาชนะธรรมชาติ เพื่อสนองความต้องการของตัวเองตาม แบบทุนนิยม ทำให้มี “อัตตา” เกิดขึ้น และยังมีเรื่องกลุ่มผลประโยชน์ และอำนาจทำให้ยิ่งแก้ยาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงศึกษาและปฏิบัติธรรมทรงเล็งเห็นว่า ธรรมะช่วยได้ แต่ต้องวางแนวปฏิบัติให้ชัดเจนและชี้ชัดว่า ใช้ธรรมะ ข้อใดบ้าง ข้อใดก่อน ข้อใดหลัง ข้อใดต้องเพิ่มเป็นพิเศษในการฝึกปฏิบัติ ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง จึงควรศึกษาหลักธรรมและน้อมนำมา ฝึกปฏิบัติ เน้นการปฏิบัติจริง ควบคู่ไปกับการใฝ่รู้ ใฝ่ศึกษา ลองเขียน แผนผังความคิดแบบง่ายๆ ฯลฯ – กลุ่มนักเรียน วิเคราะห์ เหตุ - ผล – การปฏิบัติตนตามหลัก เศรษฐกิจพอเพียง – ศึกษาจากบุคคล ครอบครัว ตัวอย่างในชุมชนและสังคม ตลอดจนประวัติความเป็น มาของชุมชน และสังคม ไทย – เน้นการปฏิบัติหน้าที่ ü ฝึกปฏิบัติจนเป็นนิสัย ü สัมภาษณ์บุคคลที่เป็น ตัวอย่าง ü นิมนต์พระ เชิญวิทยากร มาอบรม บรรยาย ซักถาม – สนทนา อภิปราย หลักตาม เศรษฐกิจพอเพียง อดออม รู้จักพอ พึ่งตนเองได้ ขยัน ซื่อสัตย์ ประหยัด อดทน ไม่ประมาท เกื้อกูลกัน ร่วมมือแบ่งปัน รู้รักสามัคคี มีความเพียร อันบริสุทธิ์ 3. ใฝ่รู้ศึกษาความหมายของเศรษฐกิจพอเพียงให้ชัดเจน อาจมองได้ 2 ด้าน คือ มองอย่างวัตถุวิสัยและจิตวิสัย มองอย่างวัตถุวิสัย คือ มองภายนอก ต้องมีกิน มีใช้ มีปัจจัยสี่เพียงพอ “พอสมควรกับอัตภาพ” ซึ่งมีความหมายใกล้เคียงคำว่า “พึ่งตนเองได้” ในทางเศรษฐกิจ ส่วนความหมายด้านจิตวิสัยหรือจิตใจ คือ คนจะมีความรู้สึกเพียงพอ ไม่เท่ากันบางคนมีเป็นหมื่นล้านก็ไม่พอบางคนมีนิดเดียวก็เพียงพอทางจิต ปัจจุบัน เราไม่พอเพียงทั้งด้านวัตถุและจิตใจ เราสามารถตั้งเกณฑ์ ความพอเพียงด้านวัตถุได้ ด้านจิตใจ คนที่พัฒนาจิตใจ (ศาสนา) จะมีความ รู้สึกพอเพียงได้ง่าย ระวังความพอเพียงทางจิตใจ ที่เรียกว่า สันโดษ เพราะคนที่สุขจะ เฉื่อยถ้าไม่มีเป้าหมายอื่นมารับอาจจะนำไปสู่ความประมาทได้
  • 16. 77 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง พอเพียง คือ พอใจด้วยวัตถุ แต่เมื่อพอแล้วยังมีภาระอื่นที่ต้องทำต่อไป 2 อย่าง คือ ปัญญาเข้าถึงสิ่งที่ดีงามสร้างสรรค์ เหนือขึ้นไป และช่วยเหลือ เกื้อกูลผู้อื่นจึงจะมีชีวิตที่ดีงาม หลักธรรมพระพุทธศาสนา “ให้สันโดษในวัตถุ แต่ไม่ให้สันโดษใน กุศลธรรม”สร้างดุลยภาพ * ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนความรู้ที่ไปค้นคว้าศึกษามา ควรทำให้เป็น กิจวัตรประจำวันเพื่อสร้างจิตสำนึกร่วมกัน 5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. หนังสือที่สอนธรรมะ เช่น – พระมหาชนก พระราชนิพนธ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว – ธรรมะที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงปฏิบัติ รวบรวมโดยขวัญแก้ว วัชโรทัย – พระธรรมปิฎก ประเวศ วะสี เอกวิทย์ ณ ถลาง : วัฒนธรรมเสาวนา – นิทานชาดก ฯลฯ 2. ภาพต่างๆ ที่ประกอบเรื่องราว คำสอน 3. วีดิทัศน์เกี่ยวกับพระพุทธประวัติ นิทานชาดก 4. ใบความรู้ และกิจกรรม 6. การวัดผลประเมินผล 1. สังเกต การตอบคำถาม - ตั้งคำถาม พฤติกรรม การร่วมกิจกรรมกลุ่ม การทำงาน 2. สัมภาษณ์ ความคิดเห็น ความตระหนักในคุณค่า ทัศนคติ 3. ตรวจงาน การเขียนรายงาน โครงงาน โครงการ ความเรียง กิจกรรมกลุ่ม 7. บันทึกผลหลังการสอน เป็นรายบุคคล / กลุ่ม ............................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ...............................................................................................................................................................................
  • 17. 78 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2554 หน่วยการเรียนรู้ที่3เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องกรณีศึกษา : ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง ระยะเวลาในการสอน3ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการ ดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ ตัวชี้วัด ส 3.1 ป 1/1 ระบุสินค้าและบริการที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน ส 3.1 ป 1/2 ยกตัวอย่างการใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวันที่ไม่เกินตัวและเห็นประโยชน์ของ การออม ส 3.1 ป 1/3 ยกตัวอย่างการใช้ทรัพยากรในชีวิตประจำวันอย่างประหยัด ส 3.1 ป 2/1 ระบุทรัพยากรที่นำมาผลิตสินค้าและบริการที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ส 3.1 ป 2/2 บอกที่มาของรายได้และรายจ่ายของตนเองและครอบครัว ส 3.1 ป 2/3 บันทึกรายรับรายจ่ายของตนเอง ส 3.1 ป 2/4 สรุปผลดีของการใช้จ่ายที่เหมาะสมกับรายได้และการออม 2. สาระการเรียนรู้ 1. รู้แนวคิดของเศรฐกิจพอเพียง 2. การปฏิบัติตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 3. การพัฒนาตนเองและครอบครัวตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกปรัชญาและแนวคิดตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้ 2. ปฏิบัติตนตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้ 3. วิเคราะห์ผลที่ได้รับจากกรณีศึกษา : ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงได้ 4. สรุปข้อมูลที่ได้จากการศึกษา ค้นคว้า และนำเสนอได้
  • 18. 79 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง 1. จัดกิจกรรม - แบ่งกลุ่มสนทนาศึกษาโครงการพระราชดำริของพระบาท สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวโดยลำดับตั้งแต่ต้นรัชกาลจนปัจจุบัน ให้แต่ละกลุ่มอภิปราย ซักถาม และจดบันทึกความรู้ ความคิดเห็น นำไป รายงานแลกเปลี่ยน และจัดบอร์ดนิทรรศการ พร้อมทั้งแสดงกิจกรรมการ แสดงเช่นร้องเพลงวาดภาพเขียนคำขวัญฯลฯ 2. ทำโครงงานศึกษากรณีศึกษาชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงต่างๆเช่น 1) ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงบ้านม่วง - โคกเจริญ หมู่ที่ 14 และ 15 ต.จันคุมอ.พลับพลาชัยจ.บุรีรัมย์ – ข้อมูล นับถือศาสนาพุทธ - เคร่งครัดในเรื่องพิธีกรรมทางศาสนา ขยัน รู้รักสามัคคี – อาชีพ เกษตร ทำนา พืชไร่ ปลูกมัน ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ และ อนุรักษ์ควายไทย เลี้ยงไหม - ทอผ้า – ความเป็นอยู่ สงบ ราบรื่น มีความสุข – การบริหารจัดการ มีระบบเครือ ญาติ และวัฒนธรรมประเพณีที่ เหนียวแน่นหลอมจิตใจ – มีการออมเพื่อพึ่งตนเองและสร้างภูมิคุ้มกัน – มีร้านค้าชุมชนเพื่อการเรียนรู้และจัดการร่วมกัน – มีโรงสีชุมชน ผลิตร่วมกัน เพื่อลดรายจ่าย – มีฉางข้าว + รถนวดข้าว – มีโรงงานผลิตน้ำปลา – มีกลุ่มปุ๋ยอินทรีย์ – มีรถยนต์บริการ – กลุ่มแม่บ้านม่วงหวาน + กิจกรรมอื่นๆ – และมีสวัสดิการชุมชนผลพวงจากกิจกรรมกลุ่มเพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน แต่ละกิจกรรมต่างๆ มีเงื่อนไขปฏิบัติตามที่ชุมชนร่วมกันกำหนด ขึ้นมา ซึ่งพิจารณาโดยยึดหลักเหตุผล คือ การเกิดผลดีที่สุดต่อส่วนรวม เช่น ระเบียบการกู้เงินของกลุ่มออมทรัพย์ เป็นต้น *ศึกษาโดยละเอียดแล้วอภิปรายถึงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงที่สะท้อน ผ่านวิถีชีวิตชาวชุมชน เช่น – ความสุขที่ได้คือ มีข้าวกิน – นำวิทยาการใหม่ๆ มาใช้อย่างรอบคอบและเหมาะสม – กลุ่มกิจกรรมหลากหลายเกิดขึ้นอย่างมีเหตุผลและมุ่งสร้างภูมิคุ้มกัน 2) ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง บ้านร่องกาศใต้ ต.ร่องกาศ อ.สูงเม่น จ.แพร่ – บทบาทของวัดในฐานะศูนย์กลางการพัฒนา กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – วิทยากร – ภาพ – หนังสือ ข้อมูล 1. โครงการพระราชดำริใน ชุมชนใกล้เคียง 2. ศูนย์ศึกษาการพัฒนาภาค ต่างๆ ที่ใกล้ ร.ร. 3. ภูมิปัญญาชาวบ้านในชุมชน 4. โรงเรียนที่บริหารจัดการโดย ยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง 5. ตัวอย่างเศรษฐกิจพอเพียง ในชุมชน 6. กิจกรรมของวัดที่เป็น ตัวอย่างในเรื่องเศรษฐกิจ พอเพียง และอนุรักษ์ สิ่งแวดล้อม หมายเหตุ เขียนรายงานตัวอย่างชุมชน ที่มีกิจกรรมดีๆ เกี่ยวกับ เศรษฐกิจพอเพียงให้ โรงเรียนต้นทางได้ทราบและ ช่วยเผยแพร่ 4. กระบวนการจัดการเรียนรู้
  • 19. 80 กิจกรรมโรงเรียนต้นทาง กิจกรรมโรงเรียนปลายทาง – แผนที่ชุมชน – กิจกรรมในชุมชน – เขียนผังความคิดของ นักเรียน และคุณครูเกี่ยวกับ เศรษฐพอเพียงใน โรงเรียน และชุมชน – รวบรวมคำถาม - คำตอบ ในเรื่องที่เรียน – ทำแผนแม่บทของโรงเรียน โดยยึดหลักเศรษฐกิจ พอเพียง – จัดนิทรรศการเกี่ยวกับ ผลงานนักเรียน – ประกวดคำขวัญเกี่ยวกับ เศรษฐกิจพอเพียง – ประกวดห้องเรียนที่ปฏิบัติ ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง – กลุ่มเยาวชนชุมชนวัดร่องกาศใต้ – กลุ่มข้าวกล้องร่องกาศใต้ และกลุ่มปุ๋ยชีวภาพ – กลุ่มแปรรูปอาหาร (ทำขนม) – กลุ่มกาดคนเมืองออมทรัพย์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต – ร้านค้าชุมชน กลุ่มผู้สูงอายุ * พอเพียงอย่างมีภูมิคุ้มกัน พุทธธรรมคือ พื้นฐานของเศรษฐกิจพอเพียง 3. กรณีศึกษา ชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง บ้านหนองกลางดง ต.ศิลาลอย กิ่งอำเภอสามร้อยยอด จ.ประจวบคีรีขันธ์ – ปัญหายาเสพติด – เริ่มต้นด้วยแผนชุมชน 2543 – กิจกรรมเพื่อการพึ่งตนเอง - ส่งเสริมอาชีพ – กลุ่มออมทรัพย์ – ร้านค้า + ปั๊มน้ำมันชุมชน – โรงกวนสับปะรดและแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร – กองทุนรวมบ้านหนองกลางดง – สภาผู้นำกับการตัดสินใจอย่างรอบคอบ – ทำแผนชุมชนต่อเนื่อง คือ การก้าวย่างอย่างรอบคอบและระมัดระวัง – แนวคิดและกิจกรรมตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง – ครอบครัวตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง บทสรุปจากที่ต่างคนต่างอยู่และเต็มไปด้วยปัญหากลายเป็นหมู่บ้านตัวอย่าง อาศัยหลักเหตุผลตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงโดยค้นหาตัวเอง“ทำแผน แม่บทชุมชน” และเกิดกลุ่มกิจกรรมต่างๆ แก้ปัญหาอย่างไม่ประมาท รอบคอบ และผลักดันให้เป็น “เศรษฐกิจพอเพียงครัวเรือน” 4. โรงเรียนเลือกทำโครงงานศึกษาชุมชนที่ใกล้โรงเรียนดูว่าแต่ละชุมชนเมื่อ เริ่มพัฒนา มีปัญหาอะไรบ้าง – มีอะไรเป็นสาเหตุผลักดันให้ร่วมพัฒนา – มีโครงการและกิจกรรมใดบ้าง – การวางแผน และดำเนินโครงการอย่างไร – ประสบผลสำเร็จอย่างไร – บทสรุป เหตุ - ผล * ถ้ามีเวลาควรทำโครงงานกรณีศึกษาต่อเนื่องให้ครอบคลุมทุกด้าน ถ้า มากกว่า 1 หมู่บ้าน ก็จะได้เปรียบเทียบ เกิดความคิด ความรู้ เหตุผลมากขึ้น กลุ่มนักเรียน และครูผู้ศึกษาเอง ควรมีความใฝ่รู้ หาความรู้ทางวิชาการ ช่วยคิดเสริม จะเกิดความรู้แตกฉานมากขึ้น
  • 20. 81 5. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ภาพโครงการพระราชดำริฯ ต่างๆ ตั้งแต่ต้นจนปัจจุบัน ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 2. ธรรมะที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีทรงปฏิบัติ รวบรวมโดยขวัญแก้ว วัชโรทัย รองเลขาธิการ พระราชวัง 3. ภาพและเรื่องราวเกี่ยวกับโครงการพระราชดำริและทฤษฎีใหม่ จากวารสารมูลนิธิชัยพัฒนาทุกฉบับ 4. กรณีศึกษาชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง : อนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง 5. นานาคำถามเกี่ยวกับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง : คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 6. ชีวิตพอเพียงตามแนวพระราชดำริ 7. ตัวอย่างเศรษฐกิจพอเพียงที่ข้าพเจ้ารู้จัก (รวมเรียงความจากเด็ก และเยาวชน) 8. สื่อเทคโนโลยีต่างๆ เช่น วีดิทัศน์เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง 6. การวัดผลประเมินผล สังเกต สัมภาษณ์ ตอบคำถาม - ถาม ทำแบบสอบถาม จัดนิทรรศการ 7. บันทึกผลหลังการสอน ............................................................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................................. ...............................................................................................................................................................................
  • 21. 82 แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นประถมศึกษาปีที่1-3ภาคเรียนที่1ปีการศึกษา2554 หน่วยการเรียนรู้ที่3เศรษฐกิจพอเพียงเรื่องการรักษาสิ่งแวดล้อม โดยหลักเศรษฐกิจพอเพียง ระยะเวลาในการสอน2ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนา ที่ยั่งยืน ตัวชี้วัด ส 5.2 ป 1/1 บอกสิ่งต่างๆ ที่เกิดตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อความเป็นอยู่ของมนุษย์ ส 5.2 ป 1/2 สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่อยู่รอบตัว ส 5.2 ป 1/3 มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบสิ่งแวดล้อมที่บ้านและชั้นเรียน ส 5.2 ป 2/1 อธิบายความสำคัญและคุณค่าของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและทางสังคม ส 5.2 ป 2/2 แยกแยะและใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดไปและที่ใช้แล้วหมดไปได้อย่าง คุ้มค่า ส 5.2 ป 2/3 อธิบายความสัมพันธ์ของฤดูกาลกับการดำเนินชีวิตของมนุษย์ ส 5.2 ป 2/4 มีส่วนร่วมในการฟื้นฟูปรับปรุงสิ่งแวดล้อมในโรงเรียนและชุมชน 2. สาระการเรียนรู้ 1. รู้และเข้าใจความหมายของทรัพยากร ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง 2. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า 3. ภูมิปัญญาไทยเกี่ยวกับการป้องกันและรักษาสิ่งแวดล้อม 4. วิถีชีวิตไทยที่สอดคล้องกับการดำรงชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. บอกและอธิบายทรัพยากรที่มีอยู่ในชุมชนและประเทศไทยได้ 2. จัดการแยกแยะและนำวัสดุมาแปรรูปใช้ใหม่ได้ 3. ประหยัด น้ำ ไฟ และพลังงาน 4. บอกและอธิบายวิถีชีวิตคนไทยที่ใช้ภูมิปัญญาไทยเอาตัวรอด โดยรบกวนธรรมชาติน้อยที่สุด 5. บอกลำดับราชอาณาจักรไทยจากสุโขทัยถึงรัตนโกสินทร์ และลำดับพระมหากษัตริย์องค์สำคัญๆ ตลอด จนพระบรมราชจักรีวงศ์ตามระยะเวลา และเหตุการณ์สำคัญๆ ตามระยะเวลานั้นๆ