SlideShare a Scribd company logo
1 of 473
๑
ความนา
สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึ
กษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจว่ามนุษย์ดารงชีวิตอย่างไรทั้งในฐานะปัจเจก
บุคคล และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม
การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด นอกจากนี้
ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา
ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทาให้เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความอดทน
อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม
สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ
และสังคมโลก
๒
วิสัยทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๑. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรมเป็นศาสตร์บูรณาการที่มุ่งให้
เยาวชนเป็นผู้มีการศึกษา พร้อมที่จะเป็ นผู้นาเป็นผู้มีส่วนร่วม
และเป็นพลเมืองที่ดีมีความรับผิดชอบโดยนาความรู้จากอดีตมาสร้างความเข้าใ
จในมรดกทางวัฒนธรรมของประเทศเพื่อการตัดสินใจในการเป็นพลเมืองดีนาค
วามรู้เกี่ยวกับโลกของเรามาสร้างความเข้าใจในกระบวนการก่อเกิดสภาพแวดล้
อมของมนุษย์
เพื่อการตัดสินใจในการดารงชีวิตในสังคมนาความรู้เรื่องการเมืองการปกครองมาตั
ดสินใจเกี่ยวกับการปกครอง ชุมชน ท้องถิ่น
และประเทศชาติของตนนาความรู้เรื่องการผลิต การแจกจ่าย
การบริโภคสินค้าและบริการมาตัดสินใจในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด
เพื่อดารงชีวิต เพื่อการประกอบอาชีพ
และการอยู่ในสังคมนาความรู้เกี่ยวกับคุณค่าของจริยธรรม ศาสนา
มาตัดสินใจในการประพฤติปฏิบัติตนและการอยู่ร่วมกับผู้อื่นนาวิธีการทางสังค
มศาสตร์มาค้นหาคาตอบเกี่ยวกับประเด็นปัญหาในสังคมและกาหนดแนวทางประพฤติ
ปฏิบัติที่สร้างสรรค์ต่อส่วนรวมเยาวชนจาเป็ นต้องศึกษาสาระการเรียนรู้ของกลุ่มสั
งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเพื่อให้เข้าใจสังคมโลกที่ซับซ้อน
สามารถปกครองดูแลตนเอง รับผิดชอบ
และเอาใจใส่ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของโลกได้
ดังนั้น ตลอดระยะเวลาของการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ควรแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนกลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ได้ใช้ความรู้อย่างมีความหมาย เพื่อการตัดสินใจการสารวจตรวจสอบ
การสืบค้น การสร้างสรรค์สิ่งต่างๆและนาทางตนเองและผู้อื่น
เชื่อมโยงความรู้ที่เรียนสู่โลกแห่งความเป็นจริงในชีวิตได้
๒. กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมได้บูรณาการสรรพความรู้
กระบวนการและปัจจัยต่างๆ
เพื่อการเรียนรู้ตามเป้ าหมายของท้องถิ่นและประเทศชาติ
การเรียนการสอนต้องใช้ข้อมูล ความรู้ทั้งในระดับท้องถิ่น ประเทศชาติ
และระดับโลก เชื่อมโยงเข้าด้วยกัน
๓. ผู้เรียนอภิปรายประเด็นปัญหาร่วมสมัยร่วมกับเพื่อนและผู้ใหญ่
สามารถแสดงจุดยืน ในค่านิยม จริยธรรมของตนอย่างเปิดเผยและจริงใจ
ขณะเดียวกันก็รับฟังเหตุผลของผู้อื่นที่แตกต่างจากตนอย่างตั้งใจ
๔.
การเรียนการสอนเป็ นบรรยากาศของการส่งเสริมการคิดขั้นสูงในประเด็นหัวข้อ
ที่ลึกซึ้งท้าทาย ผู้สอนปฏิบัติต่อผู้เรียน
๓
ที่จะทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนอย่างมีความหมาย
ให้ผู้เรียนได้รับการประเมินที่เน้นการนาความรู้มาประยุกต์ใช้ทุกรายวิชา
๕. กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
มีความจัดเตรียมโครงงานที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมเป็นจริงของสังคมที่ให้
ผู้เรียนได้นาสิ่งที่เรียนไปใช้ได้จริงในการดาเนินชีวิต
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร
มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก
และทัศนะของตนเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ต่
อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัด
และลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับ
หรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง
ตลอดจนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
โดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเอง และสังคมความสามารถในการคิด
เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์
การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
และการคิดเป็นระบบเพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัด
สินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
๒. ความสามารถในการแก้ปัญหา
เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมา
ะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ
เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคม
แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปัญหา
มีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคม
และสิ่งแวดล้อม
๔
๓. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ ไปใช้ใน
ชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
การทางานและการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระห
ว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆอย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง
และผู้อื่น
๔. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก
และใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสารการทางาน
การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสม และมีคุณธรรม
สาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มีความเชื่อมสัมพันธ์กัน
และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย
เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เป็ นพลเมืองดี
มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม
โดยได้กาหนดสาระต่างๆไว้ ดังนี้
ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม
จริยธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ
การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง
และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็นผู้กระทาความดี มีค่านิยมที่ดีงาม
พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม
หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิต
ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอั
นมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสาคัญ การเป็นพลเมืองดี
ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ
๕
ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข สิทธิ
หน้าที่ เสรีภาพการดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก
เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ
การบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ
การดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
และการนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์พัฒนาการของ
มนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน
ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ
ผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์สาคัญในอดีต
บุคคลสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต
ความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
แหล่งอารยธรรมที่สาคัญของโลก
ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ
แหล่งทรัพยากร และภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก
การใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของสิ่งต่างๆ
ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ
และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น การนาเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ
การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
๖
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา
หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น
มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนัก และปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี
และธารงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ
สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี
มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลกอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน
ยึดมั่น ศรัทธา
และธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทร
งเป็นประมุข
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส ๓.๑
เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค
การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า
รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
และความจาเป็ นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย
ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆอย่างเป็นระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษย์ชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน
ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง
ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น
มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญา
มีความรัก ความภูมิใจและธารงความเป็ นไทย
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ
และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ
ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป
และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
๗
มาตรฐาน ส ๕.๒
เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิ
ดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม มีจิตสานึก
และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และจุดเน้นของโรงเรียน
เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข
ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ประกอบด้วย
๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
๒. ซื่อสัตย์สุจริต
๓. มีวินัย
๔ .ใฝ่เรียนรู้
๕. อยู่อย่างพอเพียง
๖. มุ่งมั่นในการทางาน
๗. รักความเป็ นไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
คุณภาพผู้เรียน
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
ได้เรียนรู้และศึกษาความเป็ นไปของโลกอย่างกว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้นไ
ด้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาตนเองเป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม
จริยธรรม ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
รวมทั้งมีค่านิยมอันพึงประสงค์
สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข
รวมทั้งมีศักยภาพเพื่อการศึกษาต่อในชั้นสูงตามความประสงค์ได้
ได้เรียนรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็ นไทย
ประวัติศาสตร์ของชาติไทยยึดมั่นในวิถีชีวิต
และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
๘
ได้รับการส่งเสริมให้มีนิสัยที่ดีในการบริโภค
เลือกและตัดสินใจบริโภคได้อย่างเหมาะสมมีจิตสานึก
และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ประเพณีวัฒนธรรมไทย และสิ่งแวดล้อม
มีความรักท้องถิ่นและประเทศชาติ มุ่งทาประโยชน์
และสร้างสิ่งที่ดีงามให้กับสังคม
เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง
ชี้นาตนเองได้
และสามารถแสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆในสังคมได้ตลอดชีวิต
คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
ส32102 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม4
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40
ชั่วโมงจานวน1หน่วยกิต
.......................................................................................................
............................................................
ศึกษา วิเคราะห์ ความสาคัญของโครงสร้างสังคม
การขัดเกลาทางสังคมและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
กรแก้ปัญหาและแนวทางการพัฒนาทางสังคม
การปฏิบัติตนและสนับสนุนให้ผู้อื่นประพฤติปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีของประเท
ศชาติและสังคมโลก วัฒนธรรมไทยที่สาคัญ
การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
และเลือกรับวัฒนธรรมสากล
สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยและแนวทางการพัฒนา บทบัญญัติ
ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ฉบับเป็นปัจจุบันเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนปัญหาการเมืองที่สาคัญในประเทศไทย
การเมือง การปกครอง การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ
การแลกเปลี่ยนเพื่อช่วยเหลือและส่งเสริมด้านวัฒนธรรม การศึกษา เศรษฐกิจ
สังคม ความสาคัญ
๙
และความจาเป็ นที่ต้องธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอั
นมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ
การใช้อานาจรัฐ
กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับตนเองและครอบครัวกฎหมายแพ่งเกี่ยวกับนิติกรรมสัญญ
า กฎหมายอาญาในเรื่องความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ความผิดเกี่ยวกับชีวิต
และร่างกาย กฎหมายอื่นที่สาคัญ ข้อตกลงระหว่างประเทศ
โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิวัติ
กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแก้ปัญหา
กระบวนการกลุ่ม
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ
สามารถนาไปประยุกต์ปฏิบัติในการดาเนินชีวิต
มีคุณธรรมจริยธรรมมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์
กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ
สามารถดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก
ตัวชี้วัด
ส.2.1ม.5/1ม.5/2ม.5/3ม.5/4ม.5/5
ส.2.2ม.5/1ม.5/2ม.5/3ม.5/4
รวม 9 ตัวชี้วัด
๑๐
โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน
ส32102 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40
ชั่วโมงจานวน 1 หน่วยกิต
หน่
วยที่
ชื่อหน่วย
การเรียน
รู้
มาตรฐานก
ารเรียนรู้/ตั
วชี้วัด
สาระสาคัญ
เวลา
(ชั่วโมง
)
น้าหนั
กคะแ
นน
1 สังคม ส.2.1ม.5/
2
โครงสร้างทางสังคมมีสถาบันทางสั
งคมเป็นส่วนสาคัญที่ทาหน้าที่ในก
ารขัดเกลาทางสังคม
และมีส่วนในการแก้ปัญหาและพัฒ
นาสังคม
6 6
2 การเปลี่ย
นแปลงแ
ละการพั
ฒนาทาง
สังคม
ส.2.1ม.5/
2
สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงจากอ
ดีตหลาย
ประการ เช่น
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของปร
ะชากรโครงสร้างทางสังคมและกา
รเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมและพ
ฤติกรรมและจาการเปลี่ยนแปลงเห
ล่านี้ได้ก่อให้เกิดปัญหาทางสังคมขึ้
นหลายประการ
ซึ่งสมาชิกในสังคมทุกคนจะต้องร่ว
มมือกันหาแนวทางแก้ไขทั้งนี้การ
แก้ไขปัญหาสังคมจะต้องช่วยกัน
ทาในทุกระดับทั้งระดับบุคคล
สังคม และประเทศชาติ
สาหรับการพัฒนาสังคมไทยนั้นจะ
ยึดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติเป็นกรอบในการพัฒนา
6 4
3 วัฒนธรร
ม
ส.2.1ม.5/
5
วัฒนธรรมไทยมีคุณค่าและความ
สาคัญต่อการดาเนินชีวิตของชาวไ
ทย ซึ่งจะต้องรู้จักการปรับปรุง
5 6
๑๑
เปลี่ยนแปลง
และอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือ
กรับวัฒนธรรมสากลอย่างเหมาะส
ม
4 พลเมืองดี ส.2.1ม.5/
3
การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีของปร
ะเทศชาติและสังคมโลกนั้น
ย่อมส่งผลต่อการอยู่ร่วมกันอย่างสั
นติสุข
2 4
5 การปกคร
องระบอบ
ประชาธิป
ไตยอันมี
พระมหา
กษัตริย์ท
รงเป็ นปร
ะมุข
ส.2.2ม.5/
1
ม.5/3
ม.5/4
รัฐจะต้องประกอบด้วย ประชากร
ดินแดน รัฐบาล และอธิปไตย
การปกครองในระบอบประชาธิปไ
ตยของไทย
มีองค์พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประ
มุข
โดยพระองค์ทรงมีพระราชสถานะ
และพระราชอานาจหลายประการ
การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐเป็ น
กลไกในการตรวจสอบเพื่อป้ องกัน
มิให้ผู้ใช้อานาจนี้กระทาการทุจริต
หรือกระทาในสิ่งที่ประชาชนและป
ระเทศชาติเสียประโยชน์
6 10
๑๒
โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน (ต่อ)
ส32102 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40
ชั่วโมง จานวน 1 หน่วยกิต
หน่
วยที่
ชื่อหน่วยก
ารเรียนรู้
มาตรฐาน
การเรียน
รู้/ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
เวลา
(ชั่วโ
มง)
น้าหนัก
คะแนน
6 กฎหมาย ส 2.1
ม.5/1
การดาเนินชีวิตประจาวันของค
นเราย่อมต้องเกี่ยวข้องกับกฎหม
ายอยู่ตลอดเวลา
การศึกษาเรื่องกฎหมาย
จะช่วยให้เรามีความเข้าใจและป
ฏิบัติตนได้ถูกต้อง
5 8
7 สิทธิมนุษย
ชน
ส 2.1
ม.5/4
สิทธิมนุษยชนเกิดมาจากแนวคิ
ดกฎหมายธรรมชาติ
และสิทธิตามธรรมชาติ
เป็นสิทธิที่มนุษย์ทุกคนพึงมีอย่า
งเสมอภาคเท่าเทียมกัน
ปัจจุบันสิทธิมนุษยชนเป็นประเ
ด็นสาคัญของประเทศทั่วโลก
ซึ่งองค์การสหประชาชาติได้จัด
ทาปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุ
ษยชนขึ้นเพื่อให้ประเทศสมาชิก
ใช้เป็นมาตรฐานกลางในการใน
ดาเนินการในเรื่องของสิทธิมนุษ
ยชนในประเทศของตน
4 6
8 ความสัมพั
นธ์ระหว่าง
ประเทศ
ส 2.2
ม.5/2
การร่วมมือกับการแก้ปัญหาการ
เมืองการปกครอง
และการประสานประโยชน์ร่วม
กันระหว่างประเทศเป็นส่วนสาคั
ญในการธารงรักษาไว้ซึ่งการปก
ครองระบอบประชาธิปไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นปร
ะมุข
4 6
๑๓
รวม 38 50
สอบกลางภาค 1 20
สอบปลายภาค 1 30
รวม 40 100
กาหนดการสอน
ส32102 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40
ชั่วโมง จานวน 1 หน่วยกิต
หน่ว
ยที่
ชื่อหน่วยกา
รเรียนรู้
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ กิจกรรมการเรี
ยนรู้
เวลา
(ชม.
)
1 สังคม ส.2.1
ม.5/2
โครงสร้างทางสังคมมีสถาบั
นทางสังคมเป็ นส่วนสาคัญ
ที่ทาหน้าที่ในการขัดเกลาท
างสังคม
และมีส่วนในการแก้ปัญหา
และพัฒนาสังคม
-
บรรยายความรู้
-
กระบวนการป
ฏิบัติ
6
2 การเปลี่ยนแ
ปลงและการ
พัฒนาทางสั
งคม
ส.2.
ม.5/2
สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปล
งจากอดีตหลายประการ
เช่น
การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
ของประชากรโครงสร้างทา
งสังคมและการเปลี่ยนแปล
งของวัฒนธรรมและพฤติก
รรมและจาการเปลี่ยนแปลง
เหล่านี้ได้ก่อให้เกิดปัญหาท
างสังคมขึ้นหลายประการ
-
บรรยายความรู้
-
กระบวนการป
ฏิบัติ
6
๑๔
ซึ่งสมาชิกในสังคมทุกคนจ
ะต้องร่วมมือกันหาแนวทาง
แก้ไขทั้งนี้การแก้ไขปัญหา
สังคมจะต้องช่วยกันทาในทุ
กระดับทั้งระดับบุคคล
สังคม และประเทศชาติ
สาหรับการพัฒนาสังคมไท
ยนั้นจะยึดแผนพัฒนาเศรษ
ฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็น
กรอบในการพัฒนา
3 วัฒนธรรม ส.2.1
ม.5/5
วัฒนธรรมไทยมีคุณค่าและ
ความสาคัญต่อการดาเนินชี
วิตของชาวไทย
ซึ่งจะต้องรู้จักการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลง
และอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
และเลือกรับวัฒนธรรมสาก
ลอย่างเหมาะสม
-
บรรยายความรู้
-
กระบวนการป
ฏิบัติ
5
4 พลเมืองดี ส.2.1
ม.5/3
การปฏิบัติตนเป็นพลเมือง
ดีของประเทศชาติและสังค
มโลกนั้น
ย่อมส่งผลต่อการอยู่ร่วมกั
นอย่างสันติสุข
-
บรรยายความรู้
-
กระบวนการป
ฏิบัติ
2
5 การปกครอง
ระบอบประ
ชาธิปไตยอั
นมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเ
ป็นประมุข
ส.2.2
ม.5/1
ม.5/3
ม.5/4
รัฐจะต้องประกอบด้วย
ประชากร ดินแดน รัฐบาล
และอธิปไตย
การปกครองในระบอบประ
ชาธิปไตยของไทย
มีองค์พระมหากษัตริย์ทรงเ
ป็นประมุข
โดยพระองค์ทรงมีพระราช
สถานะและพระราชอานาจ
หลายประการ
การตรวจสอบการใช้อานา
จรัฐเป็นกลไกในการตรวจ
-
บรรยายความรู้
-
กระบวนการป
ฏิบัติ
6
๑๕
สอบเพื่อป้ องกันมิให้ผู้ใช้
อานาจนี้กระทาการทุจริตห
รือกระทาในสิ่งที่ประชาชน
และประเทศชาติเสียประโย
ชน์
6 กฎหมาย ส 2.1
ม.5/1
การดาเนินชีวิตประ
จาวันของคนเราย่อมต้องเกี่
ยวข้องกับกฎหมายอยู่ตลอ
ดเวลา
การศึกษาเรื่องกฎหมาย
จะช่วยให้เรามีความเข้าใจ
และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง
-
บรรยายความรู้
-
กระบวนการป
ฏิบัติ
8
7 สิทธิมนุษยช
น
ส 2.1
ม.5/4
สิทธิมนุษยชนเกิดมาจากแ
นวคิดกฎหมายธรรมชาติ
และสิทธิตามธรรมชาติ
เป็นสิทธิที่มนุษย์ทุกคนพึงมี
อย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน
ปัจจุบันสิทธิมนุษยชนเป็นป
ระเด็นสาคัญของประเทศทั่
วโลก
ซึ่งองค์การสหประชาชาติไ
ด้จัดทาปฏิญญาสากลว่าด้ว
ยสิทธิมนุษยชนขึ้นเพื่อให้ป
ระเทศสมาชิกใช้เป็นมาตร
ฐานกลางในการในดาเนิน
การในเรื่องของสิทธิมนุษย
ชนในประเทศของตน
-
บรรยายความรู้
-
กระบวนการป
ฏิบัติ
6
8 ความสัมพัน
ธ์ระหว่างปร
ะเทศ
ส 2.2
ม.5/2
การร่วมมือกับการแก้ปัญห
าการเมืองการปกครอง
และการประสานประโยชน์
ร่วมกันระหว่างประเทศเป็
นส่วนสาคัญในการธารงรัก
ษาไว้ซึ่งการปกครองระบอ
บประชาธิปไตยอันมีพระม
หากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
-
บรรยายความรู้
-
กระบวนการป
ฏิบัติ
6
58 70
๑๖
สอบกลางภาค 1 10
สอบปลายภาค 1 20
รวม 60 100
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชา
สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม 4 (ส32102) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
เวลาเรียน 6 ชั่วโมง
ผู้สอน นางรุ่งภาณี ปิติยะ
โรงเรียนโกสัมพีวิทยา
.......................................................................................................
............................................................
1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สังคม
2. มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1
ตัวชี้วัด ม.5/2 วิเคราะห์ความสาคัญของโครงสร้างทางสังคม
การขัดเกลาทางสังคม และ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
โครงสร้างทางสังคมมีสถาบันทางสังคมเป็นส่วนสาคัญที่ทาหน้าที่ในการขั
ดเกลาทางสังคม และมีส่วนในการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม
4. สาระการเรียนรู้
1. โครงสร้างทางสังคม
2. การจัดระเบียบสังคม
3. การขัดเกลาทางสังคม
4. ลักษณะสังคมไทย
5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
๒. มุ่งมั่นในการทางาน
7. ชิ้นงาน/ภาระงาน
1. การทาแบบทดสอบ
2. การอภิปรายแสดงความคิดเห็น
3. การบันทึกความรู้
๑๗
4. การทาใบงาน
5. การสารวจ
8. การวัดและการประเมินผล
9. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
9.1 สื่อการเรียนรู้
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
2. ภาพครอบครัวและภาพกลุ่มเพื่อน
3. ใบงานเรื่อง โครงสร้างทางสังคม
๔. วิดีทัศน์เรื่อง โครงสร้างทางสังคม
๕
ภาพข่าวเกี่ยวกับนักเรียนที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสมเข้ารับการอบรมในค่ายทหา
ร ภาพข่าวเกี่ยวกับการประกาศสงครามกับยาเสพติด
๖ ใบงานเรื่อง การขัดเกลาทางสังคม
วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและป
1) การทดสอบ
2)
การประเมินผลงาน/กิจกรรมเป็ นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม
3) การประเมินเจตคติ
4) การประเมินด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม
๕) การประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ
1) แบบทดสอบก่อนเรียนและห
2)
แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเป
3) แบบประเมินเจตคติ
๔) แบบประเมินด้านคุณธรรม จ
๕) แบบประเมินด้านทักษะ/กระ
๑๘
๗. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม
และการดาเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 1 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพานิช
จากัด
๙.๒ แหล่งเรียนรู้
1. ห้องสมุดโรงเรียนโกสัมพีวิทยา
2. อินเทอร์เน็ต เช่น Youtube , Google และเวปไซต์ต่างๆ
10. กิจกรรมการเรียนรู้
- กิจกรรมนาสู่การเรียนรู้
- กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ ดังแนบมาพร้อมนี้
- กิจกรรมรวบยอด
เวลาเรียน จานวน 6 ชั่วโมง
11. กิจกรรมเสนอแนะ
12. บันทึกหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
การออกแบบการจัดการเรียนรู้
รหัสวิชา ส32102 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5 ภาคเรียนที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรื่อง สังคม เวลา 6
ชั่วโมง
แผนการจัดการ
เรียนรู้
สาระการเรียนรู้ ตัวชี้วัด / จุดประสงค์
การเรียนรู้
เวลา
(ชั่วโมง)
1 โครงสร้างทางสังคม ส 2.1 ม.5/2
วิเคราะห์ความสาคัญ
ของโครงสร้างทางสัง
คม
การขัดเกลาทางสังคม
และ
การเปลี่ยนแปลงทาง
สังคม
2
2 การจัดระเบียบทางสังคม ส 2.1 ม.5/2
วิเคราะห์ความสาคัญ
ของโครงสร้างทางสัง
2
๑๙
คม
การขัดเกลาทางสังคม
และ
การเปลี่ยนแปลงทาง
สังคม
3 การขัดเกลาทางสังคม ส 2.1 ม.5/2
วิเคราะห์ความสาคัญ
ของโครงสร้างทางสัง
คม
การขัดเกลาทางสังคม
และ
การเปลี่ยนแปลงทาง
สังคม
1
4 ลักษณะสังคมไทย ส 2.1 ม.5/2
วิเคราะห์ความสาคัญ
ของโครงสร้างทางสัง
คม
การขัดเกลาทางสังคม
และ
การเปลี่ยนแปลงทาง
สังคม
1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑
รหัสวิชา ส32102 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5 ภาคเรียนที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สังคม เวลา
6 ชั่วโมง
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง โครงสร้างสังคม เวลา 2
ชั่วโมง
๒๐
ครูผู้สอน นางรุ่งภาณี ปิติยะ
โรงเรียนโกสัมพีวิทยา
สอนวันที่...........................เดือน .................... พ.ศ. 2565
.......................................................................................................
...........................................................
1. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
โครงสร้างทางสังคมเป็นเค้าโครงความสัมพันธ์ของสังคมมนุษย์
มีองค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่ กลุ่มสังคม
ซึ่งเป็ นกลุ่มที่สมาชิกนั้นมีความรู้สึกร่วมกันและมีการกระทาระหว่างกัน
และสถาบันทางสังคมที่สาคัญ ได้แก่ สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา
สถาบันศาสนา สถาบันเศรษฐกิจ และสถาบันการเมืองการปกครอง
2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัด วิเคราะห์ความสาคัญของโครงสร้างทางสังคม
การขัดเกลาทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (ส 2.1 ม. 5/2)
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้(K)
- บอกความหมาย ความสาคัญ
และองค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคมได้
3.2 ด้านทักษะ( P)
- อภิปรายเกี่ยวกับความสาคัญของโครงสร้างทางสังคม
3.3 ด้านเจตคติ(A)
- เห็นความสาคัญของโครงสร้างทางสังคม
4. สาระการเรียนรู้
• โครงสร้างทางสังคม
1. ความหมายของโครงสร้างทางสังคม
2. ลักษณะของโครงสร้างทางสังคม
3. องค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคม
5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
๒. มุ่งมั่นในการทางาน
7. ทักษะในศตวรรษที่ 21 (3R ,8C)
7.1 ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R 8C
 Reading (อ่านออก)
๒๑
 (W) Riting (เขียนได้)
 (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น)
 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา
(Critical Thinking and Problem Solving)
 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and
Innovation)
 ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม
ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)
 ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีมและภาวะผู้นา
(Collaboration, Teamwork and Leadership)
 ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications,
Information, and Media Literacy)
 ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(Computing and ICT Literacy)
 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
 มีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบียบวินัย
ซึ่งเป็ นคุณลักษณะพื้นฐานสาคัญของทักษะขั้นต้นทั้งหมด
และเป็นคุณลักษณะที่เด็กไทยจาเป็นต้องมี (Compassion)
7.2 ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ของคนในศตวรรษที่ 21
 ความยืดหยุ่นและการปรับตัว
 การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง
 ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม
 การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity)
และความรับผิดชอบเชื่อถือได้
(Accountability)
 ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ (Responsibility)
7.3 คุณลักษณะของคนในศตวรรษที่ 21
 คุณลักษณะด้านการทางาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นา
 คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นาตนเอง
การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง
 คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ ความเคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์
ความสานึก
พลเมืองดี ความ
7.4 การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
7.4.1 ความพอเพียง
๒๒
1) ความพอประมาณ การปฏิบัติงานได้เป็ นระเบียบขั้นตอน
การวางแผนในการทางานที่มีความพอดี เหมาะสม ไม่มากเกินไป
ไม่น้อยเกินไป ไม่เบียดเบียนต่อตนเองและไม่เบียดเบียนผู้อื่น
2) ความมีเหตุผล รอบคอบ มีเหตุผลในการคิดและตัดสินใจ
3) การมีภูมิคุ้มกันที่ดี
มีการจัดองค์ประกอบของการดาเนินงานให้มีสภาพพร้อมรองรับต่อผลกระทบใ
ดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในได้เป็นอย่างดี
7.4.2 คุณธรรมกากับความรู้
1) เงื่อนไขคุณธรรม ความรับผิดชอบต่อการเรียน
2) เงื่อนไขความรู้ รู้โครงสร้างทางสังคม
8. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (เทคนิค 5 STep)
ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน
1. ครูแจ้งตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
2. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน
3. ครูนาภาพครอบครัวและภาพกลุ่มเพื่อนให้นักเรียนดู
แล้วถามนักเรียนว่าเกี่ยวข้องกับโครงสร้างทางสังคมอย่างไร
เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่จะเชื่อมโยงเข้าเนื้อหาที่จะเรียน
ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับโครงสร้างทางสังคม
2. ครูให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโครงสร้างทางสังคมตาม Qr โค้ด
3. ครูให้นักเรียนนั่งเป็นวงกลมแล้วอภิปรายร่วมกันในประเด็นต่อไปนี้
1) โครงทางสังคมหมายถึงอะไร และมีความสาคัญอย่างไร
2) โครงสร้างทางสังคมประกอบด้วยอะไรบ้าง
3)
การรวมกลุ่มของคนในสังคมจัดเป็ นโครงสร้างทางสังคมได้หรือไม่
4) ลักษณะของโครงสร้างทางสังคมเป็ นอย่างไร
5)
องค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคมประกอบด้วยอะไรบ้างจากนั้นบันทึกผลกา
รอภิปราย
4. ครูให้นักเรียนทาใบงาน เรื่อง โครงสร้างทางสังคม
ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน
1.
ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับโครงสร้างทางสังคมและช่วยกันเฉลยคาตอ
บ
ขั้นที่ 4 นาไปใช้
๒๓
1.
ครูให้นักเรียนจัดป้ ายนิเทศเพื่อเผยแพร่ความรู้เรื่องโครงสร้างทางสังคม
ขั้นที่ 5 สรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง โครงสร้างทางสังคม
โดยให้นักเรียนสรุปเป็นแผนที่ความคิด
9. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
9.1 สื่อการเรียนรู้
1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
๒. ครอบครัวและภาพกลุ่มเพื่อน
๓. วิดีทัศน์เรื่อง โครงสร้างทางสังคม
๔. ใบงานเรื่อง โครงสร้างทางสังคม
๕. สื่อการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม
สมบูรณ์แบบ ม. 4–6 เล่ม 1 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด
9.2 แหล่งเรียนรู้
1. ห้องสมุดโรงเรียนโกสัมพีวิทยา
2. อินเทอร์เน็ต เช่น Youtube , Google และเวปไซต์ต่างๆ
10. การวัดผลและประเมินผล
วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมิ
นผล
เกณฑ์การวัดและปร
ะเมินผล
ด้านความรู้ (K)
1.
ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
2. ประเมินใบงานที่ 1.1
1.
แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
2. แบบประเมินใบงาน
1. 50
คะแนนผ่านเกณฑ์
2.ระดับคุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
-
ประเมินการอภิปรายเกี่ยวกับ
ความสาคัญของโครงสร้างทา
งสังคม
1.แบบประเมินพฤติกร
รมการทางานเป็นกลุ่ม
1.ระดับคุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
ด้านเจตคติ (A)
-
ประเมินเจตคติเกี่ยวกับการเห็
-
แบบประเมินเจตคติการ
- ระดับคุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
๒๔
นความสาคัญของโครงสร้างท
างสังคม
เห็นความสาคัญของโคร
งสร้างทางสังคม
ด้านคุณธรรม จริยธรรม
-
ประเมินความรับผิดชอบต่อก
ารเรียน
-แบบประเมินคุณธรรม
จริยธรรมความรับผิดช
อบต่อการเรียน
- ระดับคุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
ด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรีย
น
ประเมินสมรรถนะสาคัญของ
ผู้เรียน
1.
ความสามารถในการสื่อสาร
2. ความสามารถในการคิด
-
แบบประเมินสมรรถนะ
สาคัญของผู้เรียน
1.
ความสามารถในการสื่
อสาร
2.
ความสามารถในการคิ
ด
- ระดับคุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสง
ค์
ประเมินคุณลักษณะอันพึงปร
ะสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
๒. มุ่งมั่นในการทางาน
แบบประเมินคุณลักษณ
ะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
๒. มุ่งมั่นในการทางาน
- ระดับคุณภาพ 2
ผ่านเกณฑ์
11. กิจกรรมเสนอแนะ
ครูให้นักเรียนศึกษาและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างทางสังคมเพิ่มเติ
มจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต
นาความรู้ที่ได้มาสรุปเป็นแผนผังความคิด
12 บันทึกหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
12.1 ด้านความรู้ (K)
๒๕
.......................................................................................................
.......................................................................................................
.......................................................................................................
...............
.......................................................................................................
............................................................
ด้านทักษะกระบวนการ(P)
.......................................................................................................
....................................................
.......................................................................................................
............................................................
.......................................................................................................
......................................................
ด้านเจตคติ(A)
.......................................................................................................
....................................................
.......................................................................................................
............................................................
.......................................................................................................
............................................................
12.2 ปัญหาอุปสรรค/แนวทางการแก้ไข
.......................................................................................................
..............................................
.......................................................................................................
..............................................
.......................................................................................................
...........................................
12.3 ข้อเสนอแนะ
.......................................................................................................
....................................................
.......................................................................................................
............................................................
.......................................................................................................
............................................................
๒๖
ลงชื่อ................................................ครูผู้สอน
(นางรุ่งภาณี ปิติยะ)
ครู คศ.3
โรงเรียนโกสัมพีวิทยา
.........../............................../...............
ภาพประกอบ
ภาพครอบครัว
๒๗
ภาพกลุ่มเพื่อน
ใบงานที่ 1
เรื่อง โครงสร้างทางสังคม
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามให้ถูกต้อง
1. โครงสร้างทางสังคมหมายถึงอะไร
โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ส่วนต่าง ๆ
ที่ประกอบกันเป็นระบบความสัมพันธ์ของสังคมมนุษย์
2. ลักษณะของโครงสร้างทางสังคมประกอบด้วยอะไรบ้าง
1) มีการรวมกลุ่มของคนในสังคม
2) มีแนวทางในการปฏิบัติอย่างเหมาะสม
หรือมีกฎเกณฑ์ระเบียบแบบแผนเป็นแนวทางในการยึดถือร่วมกัน
โดยยึดหลักประโยชน์สูงสุดของสังคม
3) มีจุดมุ่งหมายในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ที่ดี
และมีความเหมาะสมที่จะนามาใช้กับสังคมนั้น
3. กลุ่มเพื่อนของนักเรียนจัดเป็ นกลุ่มสังคมได้หรือไม่ อย่างไร
พิจารณาจากคาตอบของนักเรียน
๒๘
4. สถาบันครอบครัวมีหน้าที่อะไรบ้าง
1) สร้างสมาชิกใหม่แก่สังคม
2) เลี้ยงดูสมาชิกใหม่
3) ให้ความรัก ความอบอุ่น และกาลังใจแก่สมาชิก
4) อบรมปลูกฝังระเบียบสังคมแก่สมาชิก
5) กาหนดสถานภาพและบทบาทของสมาชิก
6) หน้าที่อื่น ๆ เช่น ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมแก่สมาชิก
ถ่ายทอดวัฒนธรรมแก่สมาชิก
5. นักเรียนคิดว่าหากไม่มีสถาบันทางศาสนาสังคมจะเป็ นอย่างไร
พิจารณาจากคาตอบของนักเรียน
แบบประเมินเจตคติการเห็นคุณค่าการเห็นความสาคัญของโครงสร้างทาง
สังคม
เลข
ที่
ชื่อ
-สกุล
เจตคติการเห็นคุณค่าและความสาคั
ญ
ของพระพุทธศาสนา
รว
ม
๓ ๒ ๑
๑
๒๙
๒
๓
๔
เกณฑ์การประเมินเจตคติการเห็นคุณค่าและความสาคัญของการเห็นความสาคัญ
ของโครงสร้างทางสังคม
รายการ
ประเมิน
คาอธิบายคุณภาพ
๓ คะแนน ๒ คะแนน ๑ คะแนน
๑.
การเห็นคุณค่า
และความสาคั
ญของพระพุท
ธศาสนา
ทุกครั้งเห็น
คุณค่าและความ
สาคัญของพระพุท
ธศาสนา
เห็นคุณค่าแล
ะความสาคัญของพ
ระพุทธศาสนาเป็นส่
วนใหญ่
เห็นคุณค่าแ
ละความสาคัญของ
พระพุทธศาสนาเป็
นบางครั้ง
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน ๓ คือ ดี (ระดับคุณภาพ ๓)
คะแนน ๒ คือ ปานกลาง (ระดับคุณภาพ ๒)
คะแนน ๑ คือ ปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑)
เกณฑ์การตัดสินผ่าน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ..............................................
ผู้ประเมิน
(.............................................)
แบบประเมินสมรรถนะผู้เรียน 5 ด้าน
๓๐
โรงเรียนโกสัมพีวิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้........................................................ภาคเรียน
ที่...................ปีการศึก
ชื่อ-
สกุลนักเรียน.....................................................................ห้อง............
..................เลขที่……. คาชี้แจง แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ชื่อ..............................................................นามสกุล..........................
......................ชั้น ........ เลขที่.....
คาชี้แจง :
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเ
รียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
สมรรถนะที่ประเมิน ระดับคะแนน
๓ ๒ ๑
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๑.๑ มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร
๑.๒ มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด
ความเข้าใจของตนเองโดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม
๑.๓ ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ
๑.๔ เจรจาต่อรอง
เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ได้
๑.๕
เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและถูกต้อง
๒. ความสามารถในการคิด
๒.๑ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์
๒.๒ มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้
เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ
คะแนน ๓ คะแนน หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้นอย่างสม่าเสมอ
คะแนน ๒ คะแนน หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้น เป็ นครั้งคราว
คะแนน ๑ คะแนน หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้นน้อยครั้ง
หมายเหตุ
การหาคะแนนเฉลี่ยหาได้จากการนาเอาคะแนนรวมในแต่ละช่องมาบวกกัน
แล้วหารด้วย
จานวนข้อ จากนั้นนาคะแนนเฉลี่ย
ที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
๓๑
ช่วงคะแนนเฉลี่ย ๒.๓๔–
๓.๐๐
๑.๖๗–
๒.๓๓
๑.๐๐–๑.๖๖
ระดับคุณภาพ ๓ =
ดีมาก, ดี
๒ =
พอใช้
๑ =
ควรปรับปรุง
สรุปผลการประเมิน (เขียนเครื่องหมาย  ลงใน )
ระดับคุณภาพที่ไ
ด้
๓ ๒ ๑
  
เกณฑ์การตัดสินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน
( ……………………………………)
๓๒
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
ชื่อ..............................................................นามสกุล..........................
......................ชั้น ........ เลขที่.....
คาชี้แจง :
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเ
รียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษณะ
อันพึงประสง
ค์ด้าน
รายการประเมิน ระดับคะแนน
๓ ๒ ๑
๑. ใฝ่เรียนรู้ ๑.๑ ตั้งใจเรียน
๑.๒
เอาใจใส่ในการเรียนแ
ละมีความเพียรพยายา
มในการเรียน
๑.๓
เข้าร่วมกิจกรรมการเรี
ยนรู้ต่างๆ
๑.๔ ศึกษาค้นคว้า
หาความรู้จากหนังสือ
เอกสาร สิ่งพิมพ์
สื่อเทคโนโลยีต่างๆ
แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน
และภายนอกโรงเรียน
และเลือกใช้สื่อได้อย่าง
เหมาะสม
๑.๕ บันทึกความรู้
วิเคราะห์
ตรวจสอบบางสิ่งที่เรีย
๓๓
นรู้
สรุปเป็นองค์ความรู้
๑.๖ แลกเปลี่ยนความรู้
ด้วยวิธีการต่างๆ
และนาไปใช้ในชีวิตปร
ะจาวัน
๒.
มุ่งมั่นในการ
ทางาน
๒.๑
มีความตั้งใจและพยาย
ามในการทางานที่ได้รั
บมอบหมาย
๒.๒
มีความอดทนและไม่ท้
อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อใ
ห้งานสาเร็จ
เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ
คะแนน ๓ คะแนน
หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้นอย่างสม่าเสมอ
คะแนน ๒ คะแนน หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้น
เป็นครั้งคราว
คะแนน ๑ คะแนน หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้นน้อยครั้ง
หมายเหตุ
การหาคะแนนเฉลี่ยหาได้จากการนาเอาคะแนนรวมในแต่ละช่องมาบวกกัน
แล้วหารด้วยจานวนข้อ จากนั้นนาคะแนนเฉลี่ย
ที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแน
นเฉลี่ย
๒.๓๔–
๓.๐๐
๑.๖๗–
๒.๓๓
๑.๐๐–๑.๖๖
ระดับคุณ
ภาพ
๓ =
ดีมาก, ดี
๒ =
พอใช้
๑ =
ควรปรับปรุง
สรุปผลการประเมิน (เขียนเครื่องหมาย  ลงใน )
๓๔
ระดับคุณภาพที่ไ
ด้
๓ ๒ ๑
  
เกณฑ์การตัดสินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน
( …………………………………………)
แบบประเมินการอภิปราย
เรื่อง......................................................................
ชื่อ..........................................................สกุล....................................
.................ชั้น...........เลขที่..........
รายการประเมิน ดี (๓) พอใช้
(๒)
ปรับปรุง (๑)
๑. การคิดวิเคราะห์
๒. การอภิปรายได้ใจความ
๓๕
๓. มีความคิดสร้างสรรค์
๔.
ประโยชน์ของการนาข้อมูลไปใช้
คะแนน ๑๒ คะแนน
ได้.................คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
- การคิดวิเคราะห์
๓ คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญ ขยายความ ยกตัวอย่าง
เปรียบเทียบและสรุปความคิดรวบยอดได้ดี
๒ คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญได้
แต่ขยายความหรือยกตัวอย่างไม่ได้
๑ คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญได้น้อย
- การเขียนสื่อความ
๓ คะแนน = ตอบสื่อความได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ตรงประเด็นและ
เข้าใจง่าย
๒ คะแนน = ตอบสื่อความไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี ๒-๓ แห่ง ตรงประเด็น
๑ คะแนน = ตอบสื่อความได้น้อย ไม่ตรงประเด็น
- มีความคิดสร้างสรรค์
๓ คะแนน = ผลงานมีรูปแบบน่าสนใจ มีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กาหนด
ระบายสีได้สวยงาม
๒ คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กาหนด
แต่ไม่ดึงดูดความสนใจ
๑ คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กาหนดน้อยมาก
- ประโยชน์ของการนาข้อมูลไปใช้
๓ คะแนน =
สามารถนาไปประยุกต์กับสถานการณ์ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม
๒ คะแนน =
สามารถนาไปประยุกต์กับสถานการณ์ในชีวิตประจาวันได้บ้าง
๑ คะแนน = สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้น้อยมาก
การประเมินผล
คะแนน ๑๒ - ๙ = ดี (๓)
คะแนน ๘ - ๕ = พอใช้ (๒)
คะแนน ๔ - ๐ = ควรปรับปรุง (๑)
เกณฑ์การตัดสินการตอบคาถาม
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
๓๖
ลงชื่อผู้ประเมิน...................................................
ครู
นักเรียน
เพื่อนนักเรียน
ผู้ปกครอง
๓๗
แบบประเมินความตระหนักรู้ด้านคุณธรรมความรับผิดชอบ
ลาดั
บที่ ชื่
อ-
ส
กุล
รว
ม
ความรับผิดช
อบต่อ
การเรียน
ความรับผิดช
อบต่อ
การปฏิบัติหน้
าที่
ความรับผิดช
อบต่อ
การกระทาขอ
งตน
ความรับผิด
ชอบ
ต่อเพื่อน
๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๓๘
แบบประเมินความตระหนักรู้ด้านคุณธรรมความรับผิดชอบต่อการเรียน
ลาดับที่ ชื่อ-สกุล
รายการ
รวม
ความรับผิดชอบต่อการเรียน
๓ ๒ ๑
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
๒๑
๒๒
๓๙
๒๓
๒๔
เกณฑ์การประเมินความตระหนักรู้คุณธรรมด้านความรับผิดชอบต่อการเ
รียน
รายการป
ระเมิน
คาอธิบายคุณภาพ
๓
คะแนน
๒
คะแนน
๑ คะแนน
๑.
ความเอา
ใจใส่ต่อ
การเรียน
เมื่อเกิดปัญหา
หรือไม่เข้าใจบ
ทเรียนทุกครั้ง
มักซักถามและ
มีความพยายา
มในการค้นหา
คาตอบ
อยู่เสมอ
ส่วนใหญ่เมื่อเกิ
ดปัญหาหรือไม่
เข้าใจบทเรียน
มักซักถามและ
มีความพยายา
มในการค้นหา
คาตอบ
เมื่อเกิดปัญหาหรือไม่เข้าใจบท
เรียนมักซักถามและมีความพย
ายามในการค้นหาคาตอบเป็น
บางครั้ง
๒.
การส่งงา
นที่ได้รับ
มอบหมา
ย
ส่งงานที่ได้รับ
มอบหมาย
ตรงตามเวลาทุ
กครั้ง
ส่งงานที่ได้รับ
มอบหมายตรง
ตามเวลา
ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงตา
มเวลาเป็ นบางครั้ง
๓.
การค้นค
ว้าแสวงห
าความรู้
การค้นคว้าแส
วงหาความรู้ที่เ
ป็นประโยชน์
จากแหล่งข้อมู
ลต่างๆ
ที่เชื่อถือได้อยู่เ
สมอ
การค้นคว้าแส
วงหาความรู้ที่เ
ป็นประโยชน์
จากแหล่งข้อมู
ลต่างๆ
การค้นคว้าแสวงหาความรู้ที่เป็
นประโยชน์
จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
เป็นบางครั้ง
เกณฑ์การประเมิน
คะแนน ๓ หมายถึง ดี ได้ ระดับ ๓
๔๐
คะแนน ๒ หมายถึง ปานกลาง ได้ ระดับ ๒
คะแนน ๑ หมายถึง ปรับปรุง ได้ ระดับ ๑
เกณฑ์การตัดสินผ่าน
นักเรียนต้องมีพฤติกรรมในระดับ ๒ ขึ้นไป จึงผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน
( ………………………………………………)
แบบประเมินใบงาน
เรื่อง......................................................................
ชื่อ..........................................................สกุล....................................
.................ชั้น...........เลขที่..........
รายการประเมิน ดี (๓) พอใช้
(๒)
ปรับปรุง (๑)
๑. การคิดวิเคราะห์
๒. การเขียนสื่อความ
๓. มีความคิดสร้างสรรค์
๔.
ประโยชน์ของการนาข้อมูลไปใช้
คะแนน ๑๒ คะแนน
ได้.................คะแนน
เกณฑ์การให้คะแนน
- การคิดวิเคราะห์
๓ คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญ ขยายความ ยกตัวอย่าง
เปรียบเทียบและสรุปความคิดรวบยอดได้ดี
๒ คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญได้
แต่ขยายความหรือยกตัวอย่างไม่ได้
๔๑
๑ คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญได้น้อย
- การเขียนสื่อความ
๓ คะแนน = เขียนสื่อความได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ตรงประเด็นและ
เข้าใจง่าย
๒ คะแนน = เขียนสื่อความไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี ๒-๓ แห่ง
ตรงประเด็น
๑ คะแนน = เขียนสื่อความได้น้อย ไม่ตรงประเด็น
- มีความคิดสร้างสรรค์
๓ คะแนน = ผลงานมีรูปแบบน่าสนใจ มีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กาหนด
ระบายสีได้สวยงาม
๒ คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กาหนด
แต่ไม่ดึงดูดความสนใจ
๑ คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กาหนดน้อยมาก
- ประโยชน์ของการนาข้อมูลไปใช้
๓ คะแนน =
สามารถนาไปประยุกต์กับสถานการณ์ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม
๒ คะแนน =
สามารถนาไปประยุกต์กับสถานการณ์ในชีวิตประจาวันได้บ้าง
๑ คะแนน = สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้น้อยมาก
การประเมินผล
คะแนน ๑๒ - ๙ = ดี (ระดับคุณภาพ ๓)
คะแนน ๘ - ๕ = พอใช้ (ระดับคุณภาพ ๒)
คะแนน ๔ - ๐ = ควรปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑)
เกณฑ์การตัดสินใบงาน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อผู้ประเมิน...................................................
ครู
นักเรียน
เพื่อนนักเรียน
ผู้ปกครอง
๔๒
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
รหัสวิชา ส32102 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
5 ภาคเรียนที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สังคม เวลา
6 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx

More Related Content

What's hot

บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1Parich Suriya
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309chanok
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Ch Khankluay
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ARM ARM
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 

What's hot (20)

บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
อจท.เศรษฐศาสตร์ ม.4-6-หน่วยที่-1
 
ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309ทวีปยุโรป309
ทวีปยุโรป309
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx

วิชา โลกศึกษา ปอ
วิชา  โลกศึกษา ปอวิชา  โลกศึกษา ปอ
วิชา โลกศึกษา ปอKittayaporn Changpan
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านprincess Thirteenpai
 
โครงการค่ายคุณธรรม
โครงการค่ายคุณธรรมโครงการค่ายคุณธรรม
โครงการค่ายคุณธรรมphochai
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านNattayaporn Dangjun
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านPlam Preeya
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 dockrupornpana55
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
มิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอมิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอsuperglag
 
มิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอมิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอsuperglag
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านjennysutthida
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านsuperglag
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx (20)

บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
วิชา โลกศึกษา ปอ
วิชา  โลกศึกษา ปอวิชา  โลกศึกษา ปอ
วิชา โลกศึกษา ปอ
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้านใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
ใบงานที่ประเด็นโลก 8 ด้าน
 
โครงการค่ายคุณธรรม
โครงการค่ายคุณธรรมโครงการค่ายคุณธรรม
โครงการค่ายคุณธรรม
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 docหลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
หลักสูตรส่วนนำต้น ปลาย. 55 doc
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
 
มิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอมิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอ
 
มิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอมิติโลก 8 ด้านปอ
มิติโลก 8 ด้านปอ
 
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรมมนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
มิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้านมิติโลก 8 ด้าน
มิติโลก 8 ด้าน
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 

More from ssuser6a0d4f

แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfssuser6a0d4f
 
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docxนวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docxssuser6a0d4f
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfssuser6a0d4f
 
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdfการสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdfssuser6a0d4f
 
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdfกิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdfssuser6a0d4f
 
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdfนวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdfssuser6a0d4f
 

More from ssuser6a0d4f (6)

แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdfแผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
แผน GPAS 5 STEP แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 วัฒนธรรมไทย PA 66 PLC.pdf
 
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docxนวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
นวัตกรรมเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นอำเภอโกสัมพีนคร.docx
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
 
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdfการสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
การสร้างความดีด้วยโครงงานคุณธรรมครูรุ่ง.pdf
 
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdfกิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
กิจกรรม-Calm-Classroom 2.1.pdf
 
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdfนวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
นวัตกรรม วันสำคัญและการปฏิบัติตนทางพระพุทธศาสนาในอำเภอโกสัมพีนคร.pdf
 

แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx

  • 1. ๑ ความนา สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลากลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึ กษา ศาสนาและวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจว่ามนุษย์ดารงชีวิตอย่างไรทั้งในฐานะปัจเจก บุคคล และการอยู่ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด นอกจากนี้ ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทาให้เกิดความเข้าใจในตนเอง และผู้อื่น มีความอดทน อดกลั้น ยอมรับในความแตกต่าง และมีคุณธรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ในการดาเนินชีวิต เป็นพลเมืองดีของประเทศชาติ และสังคมโลก
  • 2. ๒ วิสัยทัศน์กลุ่มสาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเป็นศาสตร์บูรณาการที่มุ่งให้ เยาวชนเป็นผู้มีการศึกษา พร้อมที่จะเป็ นผู้นาเป็นผู้มีส่วนร่วม และเป็นพลเมืองที่ดีมีความรับผิดชอบโดยนาความรู้จากอดีตมาสร้างความเข้าใ จในมรดกทางวัฒนธรรมของประเทศเพื่อการตัดสินใจในการเป็นพลเมืองดีนาค วามรู้เกี่ยวกับโลกของเรามาสร้างความเข้าใจในกระบวนการก่อเกิดสภาพแวดล้ อมของมนุษย์ เพื่อการตัดสินใจในการดารงชีวิตในสังคมนาความรู้เรื่องการเมืองการปกครองมาตั ดสินใจเกี่ยวกับการปกครอง ชุมชน ท้องถิ่น และประเทศชาติของตนนาความรู้เรื่องการผลิต การแจกจ่าย การบริโภคสินค้าและบริการมาตัดสินใจในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด เพื่อดารงชีวิต เพื่อการประกอบอาชีพ และการอยู่ในสังคมนาความรู้เกี่ยวกับคุณค่าของจริยธรรม ศาสนา มาตัดสินใจในการประพฤติปฏิบัติตนและการอยู่ร่วมกับผู้อื่นนาวิธีการทางสังค มศาสตร์มาค้นหาคาตอบเกี่ยวกับประเด็นปัญหาในสังคมและกาหนดแนวทางประพฤติ ปฏิบัติที่สร้างสรรค์ต่อส่วนรวมเยาวชนจาเป็ นต้องศึกษาสาระการเรียนรู้ของกลุ่มสั งคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมเพื่อให้เข้าใจสังคมโลกที่ซับซ้อน สามารถปกครองดูแลตนเอง รับผิดชอบ และเอาใจใส่ต่อสังคมและสิ่งแวดล้อมของโลกได้ ดังนั้น ตลอดระยะเวลาของการศึกษาขั้นพื้นฐาน ควรแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนกลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ได้ใช้ความรู้อย่างมีความหมาย เพื่อการตัดสินใจการสารวจตรวจสอบ การสืบค้น การสร้างสรรค์สิ่งต่างๆและนาทางตนเองและผู้อื่น เชื่อมโยงความรู้ที่เรียนสู่โลกแห่งความเป็นจริงในชีวิตได้ ๒. กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมได้บูรณาการสรรพความรู้ กระบวนการและปัจจัยต่างๆ เพื่อการเรียนรู้ตามเป้ าหมายของท้องถิ่นและประเทศชาติ การเรียนการสอนต้องใช้ข้อมูล ความรู้ทั้งในระดับท้องถิ่น ประเทศชาติ และระดับโลก เชื่อมโยงเข้าด้วยกัน ๓. ผู้เรียนอภิปรายประเด็นปัญหาร่วมสมัยร่วมกับเพื่อนและผู้ใหญ่ สามารถแสดงจุดยืน ในค่านิยม จริยธรรมของตนอย่างเปิดเผยและจริงใจ ขณะเดียวกันก็รับฟังเหตุผลของผู้อื่นที่แตกต่างจากตนอย่างตั้งใจ ๔. การเรียนการสอนเป็ นบรรยากาศของการส่งเสริมการคิดขั้นสูงในประเด็นหัวข้อ ที่ลึกซึ้งท้าทาย ผู้สอนปฏิบัติต่อผู้เรียน
  • 3. ๓ ที่จะทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนอย่างมีความหมาย ให้ผู้เรียนได้รับการประเมินที่เน้นการนาความรู้มาประยุกต์ใช้ทุกรายวิชา ๕. กลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีความจัดเตรียมโครงงานที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมเป็นจริงของสังคมที่ให้ ผู้เรียนได้นาสิ่งที่เรียนไปใช้ได้จริงในการดาเนินชีวิต สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ๑. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันเป็นประโยชน์ต่ อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัด และลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ การเลือกรับ หรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ โดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเอง และสังคมความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบเพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัด สินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม ๒. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่างที่เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมา ะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ความรู้มาใช้ในการป้ องกันและแก้ไขปัญหา มีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคม และสิ่งแวดล้อม
  • 4. ๔ ๓. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่างๆ ไปใช้ใน ชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางานและการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีระห ว่างบุคคล การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆอย่างเหมาะสม การปรับตัวให้เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง และผู้อื่น ๔. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้เทคโนโลยีด้านต่างๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสารการทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้องเหมาะสม และมีคุณธรรม สาระการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มีความเชื่อมสัมพันธ์กัน และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเองกับบริบทสภาพแวดล้อม เป็ นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้ ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม โดยได้กาหนดสาระต่างๆไว้ ดังนี้ ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ การนาหลักธรรมคาสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข เป็นผู้กระทาความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทั้งบาเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิต ระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอั นมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ลักษณะและความสาคัญ การเป็นพลเมืองดี ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ
  • 5. ๕ ปลูกฝังค่านิยมด้านประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและบริการ การบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดอย่างมีประสิทธิภาพ การดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนาหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในชีวิตประจาวัน ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์พัฒนาการของ มนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์สาคัญในอดีต บุคคลสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่างๆในอดีต ความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย แหล่งอารยธรรมที่สาคัญของโลก ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ แหล่งทรัพยากร และภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของโลก การใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของสิ่งต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น การนาเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สาระและมาตรฐานการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
  • 6. ๖ มาตรฐาน ส ๑.๑ รู้และเข้าใจประวัติ ความสาคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลักธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส ๑.๒ เข้าใจ ตระหนัก และปฏิบัติตนเป็นศาสนิกชนที่ดี และธารงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ สาระที่ ๒ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม มาตรฐาน ส ๒.๑ เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธารงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทย และสังคมโลกอย่างสันติสุข มาตรฐาน ส ๒.๒ เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธา และธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทร งเป็นประมุข สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร์ มาตรฐาน ส ๓.๑ เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทั้งเข้าใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดารงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ มาตรฐาน ส ๓.๒ เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ และความจาเป็ นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร์ มาตรฐาน ส ๔.๑ เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆอย่างเป็นระบบ มาตรฐาน ส ๔.๒ เข้าใจพัฒนาการของมนุษย์ชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึ้น มาตรฐาน ส ๔.๓ เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญา มีความรัก ความภูมิใจและธารงความเป็ นไทย สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร์ มาตรฐาน ส ๕.๑ เข้าใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ สรุป และใช้ข้อมูลภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 7. ๗ มาตรฐาน ส ๕.๒ เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิ ดการสร้างสรรค์ วัฒนธรรม มีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และจุดเน้นของโรงเรียน เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก ประกอบด้วย ๑. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ๒. ซื่อสัตย์สุจริต ๓. มีวินัย ๔ .ใฝ่เรียนรู้ ๕. อยู่อย่างพอเพียง ๖. มุ่งมั่นในการทางาน ๗. รักความเป็ นไทย ๘. มีจิตสาธารณะ คุณภาพผู้เรียน จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ ได้เรียนรู้และศึกษาความเป็ นไปของโลกอย่างกว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้นไ ด้รับการส่งเสริมสนับสนุนให้พัฒนาตนเองเป็นพลเมืองที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัติตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ รวมทั้งมีค่านิยมอันพึงประสงค์ สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นและอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข รวมทั้งมีศักยภาพเพื่อการศึกษาต่อในชั้นสูงตามความประสงค์ได้ ได้เรียนรู้เรื่องภูมิปัญญาไทย ความภูมิใจในความเป็ นไทย ประวัติศาสตร์ของชาติไทยยึดมั่นในวิถีชีวิต และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
  • 8. ๘ ได้รับการส่งเสริมให้มีนิสัยที่ดีในการบริโภค เลือกและตัดสินใจบริโภคได้อย่างเหมาะสมมีจิตสานึก และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ประเพณีวัฒนธรรมไทย และสิ่งแวดล้อม มีความรักท้องถิ่นและประเทศชาติ มุ่งทาประโยชน์ และสร้างสิ่งที่ดีงามให้กับสังคม เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ชี้นาตนเองได้ และสามารถแสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่างๆในสังคมได้ตลอดชีวิต คาอธิบายรายวิชาพื้นฐาน ส32102 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมงจานวน1หน่วยกิต ....................................................................................................... ............................................................ ศึกษา วิเคราะห์ ความสาคัญของโครงสร้างสังคม การขัดเกลาทางสังคมและการเปลี่ยนแปลงทางสังคม กรแก้ปัญหาและแนวทางการพัฒนาทางสังคม การปฏิบัติตนและสนับสนุนให้ผู้อื่นประพฤติปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีของประเท ศชาติและสังคมโลก วัฒนธรรมไทยที่สาคัญ การปรับปรุงเปลี่ยนแปลงและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และเลือกรับวัฒนธรรมสากล สถานการณ์สิทธิมนุษยชนในประเทศไทยและแนวทางการพัฒนา บทบัญญัติ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับเป็นปัจจุบันเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนปัญหาการเมืองที่สาคัญในประเทศไทย การเมือง การปกครอง การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ การแลกเปลี่ยนเพื่อช่วยเหลือและส่งเสริมด้านวัฒนธรรม การศึกษา เศรษฐกิจ สังคม ความสาคัญ
  • 9. ๙ และความจาเป็ นที่ต้องธารงรักษาไว้ซึ่งการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอั นมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข การมีส่วนร่วมในการตรวจสอบ การใช้อานาจรัฐ กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับตนเองและครอบครัวกฎหมายแพ่งเกี่ยวกับนิติกรรมสัญญ า กฎหมายอาญาในเรื่องความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ความผิดเกี่ยวกับชีวิต และร่างกาย กฎหมายอื่นที่สาคัญ ข้อตกลงระหว่างประเทศ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิวัติ กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ กระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการกลุ่ม เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนาไปประยุกต์ปฏิบัติในการดาเนินชีวิต มีคุณธรรมจริยธรรมมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ รักความเป็นไทย มีจิตสาธารณะ สามารถดาเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก ตัวชี้วัด ส.2.1ม.5/1ม.5/2ม.5/3ม.5/4ม.5/5 ส.2.2ม.5/1ม.5/2ม.5/3ม.5/4 รวม 9 ตัวชี้วัด
  • 10. ๑๐ โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน ส32102 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมงจานวน 1 หน่วยกิต หน่ วยที่ ชื่อหน่วย การเรียน รู้ มาตรฐานก ารเรียนรู้/ตั วชี้วัด สาระสาคัญ เวลา (ชั่วโมง ) น้าหนั กคะแ นน 1 สังคม ส.2.1ม.5/ 2 โครงสร้างทางสังคมมีสถาบันทางสั งคมเป็นส่วนสาคัญที่ทาหน้าที่ในก ารขัดเกลาทางสังคม และมีส่วนในการแก้ปัญหาและพัฒ นาสังคม 6 6 2 การเปลี่ย นแปลงแ ละการพั ฒนาทาง สังคม ส.2.1ม.5/ 2 สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงจากอ ดีตหลาย ประการ เช่น การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างของปร ะชากรโครงสร้างทางสังคมและกา รเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมและพ ฤติกรรมและจาการเปลี่ยนแปลงเห ล่านี้ได้ก่อให้เกิดปัญหาทางสังคมขึ้ นหลายประการ ซึ่งสมาชิกในสังคมทุกคนจะต้องร่ว มมือกันหาแนวทางแก้ไขทั้งนี้การ แก้ไขปัญหาสังคมจะต้องช่วยกัน ทาในทุกระดับทั้งระดับบุคคล สังคม และประเทศชาติ สาหรับการพัฒนาสังคมไทยนั้นจะ ยึดแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติเป็นกรอบในการพัฒนา 6 4 3 วัฒนธรร ม ส.2.1ม.5/ 5 วัฒนธรรมไทยมีคุณค่าและความ สาคัญต่อการดาเนินชีวิตของชาวไ ทย ซึ่งจะต้องรู้จักการปรับปรุง 5 6
  • 11. ๑๑ เปลี่ยนแปลง และอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและเลือ กรับวัฒนธรรมสากลอย่างเหมาะส ม 4 พลเมืองดี ส.2.1ม.5/ 3 การปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีของปร ะเทศชาติและสังคมโลกนั้น ย่อมส่งผลต่อการอยู่ร่วมกันอย่างสั นติสุข 2 4 5 การปกคร องระบอบ ประชาธิป ไตยอันมี พระมหา กษัตริย์ท รงเป็ นปร ะมุข ส.2.2ม.5/ 1 ม.5/3 ม.5/4 รัฐจะต้องประกอบด้วย ประชากร ดินแดน รัฐบาล และอธิปไตย การปกครองในระบอบประชาธิปไ ตยของไทย มีองค์พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประ มุข โดยพระองค์ทรงมีพระราชสถานะ และพระราชอานาจหลายประการ การตรวจสอบการใช้อานาจรัฐเป็ น กลไกในการตรวจสอบเพื่อป้ องกัน มิให้ผู้ใช้อานาจนี้กระทาการทุจริต หรือกระทาในสิ่งที่ประชาชนและป ระเทศชาติเสียประโยชน์ 6 10
  • 12. ๑๒ โครงสร้างรายวิชาพื้นฐาน (ต่อ) ส32102 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1 หน่วยกิต หน่ วยที่ ชื่อหน่วยก ารเรียนรู้ มาตรฐาน การเรียน รู้/ตัวชี้วัด สาระสาคัญ เวลา (ชั่วโ มง) น้าหนัก คะแนน 6 กฎหมาย ส 2.1 ม.5/1 การดาเนินชีวิตประจาวันของค นเราย่อมต้องเกี่ยวข้องกับกฎหม ายอยู่ตลอดเวลา การศึกษาเรื่องกฎหมาย จะช่วยให้เรามีความเข้าใจและป ฏิบัติตนได้ถูกต้อง 5 8 7 สิทธิมนุษย ชน ส 2.1 ม.5/4 สิทธิมนุษยชนเกิดมาจากแนวคิ ดกฎหมายธรรมชาติ และสิทธิตามธรรมชาติ เป็นสิทธิที่มนุษย์ทุกคนพึงมีอย่า งเสมอภาคเท่าเทียมกัน ปัจจุบันสิทธิมนุษยชนเป็นประเ ด็นสาคัญของประเทศทั่วโลก ซึ่งองค์การสหประชาชาติได้จัด ทาปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุ ษยชนขึ้นเพื่อให้ประเทศสมาชิก ใช้เป็นมาตรฐานกลางในการใน ดาเนินการในเรื่องของสิทธิมนุษ ยชนในประเทศของตน 4 6 8 ความสัมพั นธ์ระหว่าง ประเทศ ส 2.2 ม.5/2 การร่วมมือกับการแก้ปัญหาการ เมืองการปกครอง และการประสานประโยชน์ร่วม กันระหว่างประเทศเป็นส่วนสาคั ญในการธารงรักษาไว้ซึ่งการปก ครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นปร ะมุข 4 6
  • 13. ๑๓ รวม 38 50 สอบกลางภาค 1 20 สอบปลายภาค 1 30 รวม 40 100 กาหนดการสอน ส32102 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 40 ชั่วโมง จานวน 1 หน่วยกิต หน่ว ยที่ ชื่อหน่วยกา รเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ กิจกรรมการเรี ยนรู้ เวลา (ชม. ) 1 สังคม ส.2.1 ม.5/2 โครงสร้างทางสังคมมีสถาบั นทางสังคมเป็ นส่วนสาคัญ ที่ทาหน้าที่ในการขัดเกลาท างสังคม และมีส่วนในการแก้ปัญหา และพัฒนาสังคม - บรรยายความรู้ - กระบวนการป ฏิบัติ 6 2 การเปลี่ยนแ ปลงและการ พัฒนาทางสั งคม ส.2. ม.5/2 สังคมไทยมีการเปลี่ยนแปล งจากอดีตหลายประการ เช่น การเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง ของประชากรโครงสร้างทา งสังคมและการเปลี่ยนแปล งของวัฒนธรรมและพฤติก รรมและจาการเปลี่ยนแปลง เหล่านี้ได้ก่อให้เกิดปัญหาท างสังคมขึ้นหลายประการ - บรรยายความรู้ - กระบวนการป ฏิบัติ 6
  • 14. ๑๔ ซึ่งสมาชิกในสังคมทุกคนจ ะต้องร่วมมือกันหาแนวทาง แก้ไขทั้งนี้การแก้ไขปัญหา สังคมจะต้องช่วยกันทาในทุ กระดับทั้งระดับบุคคล สังคม และประเทศชาติ สาหรับการพัฒนาสังคมไท ยนั้นจะยึดแผนพัฒนาเศรษ ฐกิจและสังคมแห่งชาติเป็น กรอบในการพัฒนา 3 วัฒนธรรม ส.2.1 ม.5/5 วัฒนธรรมไทยมีคุณค่าและ ความสาคัญต่อการดาเนินชี วิตของชาวไทย ซึ่งจะต้องรู้จักการปรับปรุง เปลี่ยนแปลง และอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และเลือกรับวัฒนธรรมสาก ลอย่างเหมาะสม - บรรยายความรู้ - กระบวนการป ฏิบัติ 5 4 พลเมืองดี ส.2.1 ม.5/3 การปฏิบัติตนเป็นพลเมือง ดีของประเทศชาติและสังค มโลกนั้น ย่อมส่งผลต่อการอยู่ร่วมกั นอย่างสันติสุข - บรรยายความรู้ - กระบวนการป ฏิบัติ 2 5 การปกครอง ระบอบประ ชาธิปไตยอั นมีพระมหา กษัตริย์ทรงเ ป็นประมุข ส.2.2 ม.5/1 ม.5/3 ม.5/4 รัฐจะต้องประกอบด้วย ประชากร ดินแดน รัฐบาล และอธิปไตย การปกครองในระบอบประ ชาธิปไตยของไทย มีองค์พระมหากษัตริย์ทรงเ ป็นประมุข โดยพระองค์ทรงมีพระราช สถานะและพระราชอานาจ หลายประการ การตรวจสอบการใช้อานา จรัฐเป็นกลไกในการตรวจ - บรรยายความรู้ - กระบวนการป ฏิบัติ 6
  • 15. ๑๕ สอบเพื่อป้ องกันมิให้ผู้ใช้ อานาจนี้กระทาการทุจริตห รือกระทาในสิ่งที่ประชาชน และประเทศชาติเสียประโย ชน์ 6 กฎหมาย ส 2.1 ม.5/1 การดาเนินชีวิตประ จาวันของคนเราย่อมต้องเกี่ ยวข้องกับกฎหมายอยู่ตลอ ดเวลา การศึกษาเรื่องกฎหมาย จะช่วยให้เรามีความเข้าใจ และปฏิบัติตนได้ถูกต้อง - บรรยายความรู้ - กระบวนการป ฏิบัติ 8 7 สิทธิมนุษยช น ส 2.1 ม.5/4 สิทธิมนุษยชนเกิดมาจากแ นวคิดกฎหมายธรรมชาติ และสิทธิตามธรรมชาติ เป็นสิทธิที่มนุษย์ทุกคนพึงมี อย่างเสมอภาคเท่าเทียมกัน ปัจจุบันสิทธิมนุษยชนเป็นป ระเด็นสาคัญของประเทศทั่ วโลก ซึ่งองค์การสหประชาชาติไ ด้จัดทาปฏิญญาสากลว่าด้ว ยสิทธิมนุษยชนขึ้นเพื่อให้ป ระเทศสมาชิกใช้เป็นมาตร ฐานกลางในการในดาเนิน การในเรื่องของสิทธิมนุษย ชนในประเทศของตน - บรรยายความรู้ - กระบวนการป ฏิบัติ 6 8 ความสัมพัน ธ์ระหว่างปร ะเทศ ส 2.2 ม.5/2 การร่วมมือกับการแก้ปัญห าการเมืองการปกครอง และการประสานประโยชน์ ร่วมกันระหว่างประเทศเป็ นส่วนสาคัญในการธารงรัก ษาไว้ซึ่งการปกครองระบอ บประชาธิปไตยอันมีพระม หากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข - บรรยายความรู้ - กระบวนการป ฏิบัติ 6 58 70
  • 16. ๑๖ สอบกลางภาค 1 10 สอบปลายภาค 1 20 รวม 60 100 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชา สังคมศึกษา ศาสนาและ วัฒนธรรม 4 (ส32102) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เวลาเรียน 6 ชั่วโมง ผู้สอน นางรุ่งภาณี ปิติยะ โรงเรียนโกสัมพีวิทยา ....................................................................................................... ............................................................ 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สังคม 2. มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1 ตัวชี้วัด ม.5/2 วิเคราะห์ความสาคัญของโครงสร้างทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม และ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม 3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด โครงสร้างทางสังคมมีสถาบันทางสังคมเป็นส่วนสาคัญที่ทาหน้าที่ในการขั ดเกลาทางสังคม และมีส่วนในการแก้ปัญหาและพัฒนาสังคม 4. สาระการเรียนรู้ 1. โครงสร้างทางสังคม 2. การจัดระเบียบสังคม 3. การขัดเกลาทางสังคม 4. ลักษณะสังคมไทย 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทางาน 7. ชิ้นงาน/ภาระงาน 1. การทาแบบทดสอบ 2. การอภิปรายแสดงความคิดเห็น 3. การบันทึกความรู้
  • 17. ๑๗ 4. การทาใบงาน 5. การสารวจ 8. การวัดและการประเมินผล 9. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน 2. ภาพครอบครัวและภาพกลุ่มเพื่อน 3. ใบงานเรื่อง โครงสร้างทางสังคม ๔. วิดีทัศน์เรื่อง โครงสร้างทางสังคม ๕ ภาพข่าวเกี่ยวกับนักเรียนที่มีพฤติกรรมไม่เหมาะสมเข้ารับการอบรมในค่ายทหา ร ภาพข่าวเกี่ยวกับการประกาศสงครามกับยาเสพติด ๖ ใบงานเรื่อง การขัดเกลาทางสังคม วิธีการวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและป 1) การทดสอบ 2) การประเมินผลงาน/กิจกรรมเป็ นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่ม 3) การประเมินเจตคติ 4) การประเมินด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม ๕) การประเมินด้านทักษะ/กระบวนการ 1) แบบทดสอบก่อนเรียนและห 2) แบบประเมินผลงาน/กิจกรรมเป 3) แบบประเมินเจตคติ ๔) แบบประเมินด้านคุณธรรม จ ๕) แบบประเมินด้านทักษะ/กระ
  • 18. ๑๘ ๗. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม ม. 4–6 เล่ม 1 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด ๙.๒ แหล่งเรียนรู้ 1. ห้องสมุดโรงเรียนโกสัมพีวิทยา 2. อินเทอร์เน็ต เช่น Youtube , Google และเวปไซต์ต่างๆ 10. กิจกรรมการเรียนรู้ - กิจกรรมนาสู่การเรียนรู้ - กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ ดังแนบมาพร้อมนี้ - กิจกรรมรวบยอด เวลาเรียน จานวน 6 ชั่วโมง 11. กิจกรรมเสนอแนะ 12. บันทึกหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การออกแบบการจัดการเรียนรู้ รหัสวิชา ส32102 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 หน่วยการเรียนรู้ ที่ 1 เรื่อง สังคม เวลา 6 ชั่วโมง แผนการจัดการ เรียนรู้ สาระการเรียนรู้ ตัวชี้วัด / จุดประสงค์ การเรียนรู้ เวลา (ชั่วโมง) 1 โครงสร้างทางสังคม ส 2.1 ม.5/2 วิเคราะห์ความสาคัญ ของโครงสร้างทางสัง คม การขัดเกลาทางสังคม และ การเปลี่ยนแปลงทาง สังคม 2 2 การจัดระเบียบทางสังคม ส 2.1 ม.5/2 วิเคราะห์ความสาคัญ ของโครงสร้างทางสัง 2
  • 19. ๑๙ คม การขัดเกลาทางสังคม และ การเปลี่ยนแปลงทาง สังคม 3 การขัดเกลาทางสังคม ส 2.1 ม.5/2 วิเคราะห์ความสาคัญ ของโครงสร้างทางสัง คม การขัดเกลาทางสังคม และ การเปลี่ยนแปลงทาง สังคม 1 4 ลักษณะสังคมไทย ส 2.1 ม.5/2 วิเคราะห์ความสาคัญ ของโครงสร้างทางสัง คม การขัดเกลาทางสังคม และ การเปลี่ยนแปลงทาง สังคม 1 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ รหัสวิชา ส32102 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สังคม เวลา 6 ชั่วโมง แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง โครงสร้างสังคม เวลา 2 ชั่วโมง
  • 20. ๒๐ ครูผู้สอน นางรุ่งภาณี ปิติยะ โรงเรียนโกสัมพีวิทยา สอนวันที่...........................เดือน .................... พ.ศ. 2565 ....................................................................................................... ........................................................... 1. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด โครงสร้างทางสังคมเป็นเค้าโครงความสัมพันธ์ของสังคมมนุษย์ มีองค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่ กลุ่มสังคม ซึ่งเป็ นกลุ่มที่สมาชิกนั้นมีความรู้สึกร่วมกันและมีการกระทาระหว่างกัน และสถาบันทางสังคมที่สาคัญ ได้แก่ สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา สถาบันเศรษฐกิจ และสถาบันการเมืองการปกครอง 2. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ตัวชี้วัด วิเคราะห์ความสาคัญของโครงสร้างทางสังคม การขัดเกลาทางสังคม และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม (ส 2.1 ม. 5/2) 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ 3.1 ด้านความรู้(K) - บอกความหมาย ความสาคัญ และองค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคมได้ 3.2 ด้านทักษะ( P) - อภิปรายเกี่ยวกับความสาคัญของโครงสร้างทางสังคม 3.3 ด้านเจตคติ(A) - เห็นความสาคัญของโครงสร้างทางสังคม 4. สาระการเรียนรู้ • โครงสร้างทางสังคม 1. ความหมายของโครงสร้างทางสังคม 2. ลักษณะของโครงสร้างทางสังคม 3. องค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคม 5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทางาน 7. ทักษะในศตวรรษที่ 21 (3R ,8C) 7.1 ทักษะของคนในศตวรรษที่ 21 คือการเรียนรู้ 3R 8C  Reading (อ่านออก)
  • 21. ๒๑  (W) Riting (เขียนได้)  (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น)  ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา (Critical Thinking and Problem Solving)  ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and Innovation)  ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-cultural Understanding)  ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีมและภาวะผู้นา (Collaboration, Teamwork and Leadership)  ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications, Information, and Media Literacy)  ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (Computing and ICT Literacy)  ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)  มีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบียบวินัย ซึ่งเป็ นคุณลักษณะพื้นฐานสาคัญของทักษะขั้นต้นทั้งหมด และเป็นคุณลักษณะที่เด็กไทยจาเป็นต้องมี (Compassion) 7.2 ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ของคนในศตวรรษที่ 21  ความยืดหยุ่นและการปรับตัว  การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง  ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม  การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity) และความรับผิดชอบเชื่อถือได้ (Accountability)  ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ (Responsibility) 7.3 คุณลักษณะของคนในศตวรรษที่ 21  คุณลักษณะด้านการทางาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นา  คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นาตนเอง การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง  คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ ความเคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์ ความสานึก พลเมืองดี ความ 7.4 การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 7.4.1 ความพอเพียง
  • 22. ๒๒ 1) ความพอประมาณ การปฏิบัติงานได้เป็ นระเบียบขั้นตอน การวางแผนในการทางานที่มีความพอดี เหมาะสม ไม่มากเกินไป ไม่น้อยเกินไป ไม่เบียดเบียนต่อตนเองและไม่เบียดเบียนผู้อื่น 2) ความมีเหตุผล รอบคอบ มีเหตุผลในการคิดและตัดสินใจ 3) การมีภูมิคุ้มกันที่ดี มีการจัดองค์ประกอบของการดาเนินงานให้มีสภาพพร้อมรองรับต่อผลกระทบใ ดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในได้เป็นอย่างดี 7.4.2 คุณธรรมกากับความรู้ 1) เงื่อนไขคุณธรรม ความรับผิดชอบต่อการเรียน 2) เงื่อนไขความรู้ รู้โครงสร้างทางสังคม 8. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (เทคนิค 5 STep) ขั้นที่ 1 นาเข้าสู่บทเรียน 1. ครูแจ้งตัวชี้วัดและจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 2. ครูให้นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียน 3. ครูนาภาพครอบครัวและภาพกลุ่มเพื่อนให้นักเรียนดู แล้วถามนักเรียนว่าเกี่ยวข้องกับโครงสร้างทางสังคมอย่างไร เพื่อให้ได้ข้อสรุปที่จะเชื่อมโยงเข้าเนื้อหาที่จะเรียน ขั้นที่ 2 กิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับโครงสร้างทางสังคม 2. ครูให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโครงสร้างทางสังคมตาม Qr โค้ด 3. ครูให้นักเรียนนั่งเป็นวงกลมแล้วอภิปรายร่วมกันในประเด็นต่อไปนี้ 1) โครงทางสังคมหมายถึงอะไร และมีความสาคัญอย่างไร 2) โครงสร้างทางสังคมประกอบด้วยอะไรบ้าง 3) การรวมกลุ่มของคนในสังคมจัดเป็ นโครงสร้างทางสังคมได้หรือไม่ 4) ลักษณะของโครงสร้างทางสังคมเป็ นอย่างไร 5) องค์ประกอบของโครงสร้างทางสังคมประกอบด้วยอะไรบ้างจากนั้นบันทึกผลกา รอภิปราย 4. ครูให้นักเรียนทาใบงาน เรื่อง โครงสร้างทางสังคม ขั้นที่ 3 ฝึกฝนผู้เรียน 1. ครูให้นักเรียนทากิจกรรมที่เกี่ยวกับโครงสร้างทางสังคมและช่วยกันเฉลยคาตอ บ ขั้นที่ 4 นาไปใช้
  • 23. ๒๓ 1. ครูให้นักเรียนจัดป้ ายนิเทศเพื่อเผยแพร่ความรู้เรื่องโครงสร้างทางสังคม ขั้นที่ 5 สรุป 1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง โครงสร้างทางสังคม โดยให้นักเรียนสรุปเป็นแผนที่ความคิด 9. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้ 9.1 สื่อการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน ๒. ครอบครัวและภาพกลุ่มเพื่อน ๓. วิดีทัศน์เรื่อง โครงสร้างทางสังคม ๔. ใบงานเรื่อง โครงสร้างทางสังคม ๕. สื่อการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดาเนินชีวิตในสังคม สมบูรณ์แบบ ม. 4–6 เล่ม 1 บริษัท สานักพิมพ์วัฒนาพานิช จากัด 9.2 แหล่งเรียนรู้ 1. ห้องสมุดโรงเรียนโกสัมพีวิทยา 2. อินเทอร์เน็ต เช่น Youtube , Google และเวปไซต์ต่างๆ 10. การวัดผลและประเมินผล วิธีวัดและประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมิ นผล เกณฑ์การวัดและปร ะเมินผล ด้านความรู้ (K) 1. ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 2. ประเมินใบงานที่ 1.1 1. แบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 2. แบบประเมินใบงาน 1. 50 คะแนนผ่านเกณฑ์ 2.ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) - ประเมินการอภิปรายเกี่ยวกับ ความสาคัญของโครงสร้างทา งสังคม 1.แบบประเมินพฤติกร รมการทางานเป็นกลุ่ม 1.ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ด้านเจตคติ (A) - ประเมินเจตคติเกี่ยวกับการเห็ - แบบประเมินเจตคติการ - ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์
  • 24. ๒๔ นความสาคัญของโครงสร้างท างสังคม เห็นความสาคัญของโคร งสร้างทางสังคม ด้านคุณธรรม จริยธรรม - ประเมินความรับผิดชอบต่อก ารเรียน -แบบประเมินคุณธรรม จริยธรรมความรับผิดช อบต่อการเรียน - ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรีย น ประเมินสมรรถนะสาคัญของ ผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด - แบบประเมินสมรรถนะ สาคัญของผู้เรียน 1. ความสามารถในการสื่ อสาร 2. ความสามารถในการคิ ด - ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสง ค์ ประเมินคุณลักษณะอันพึงปร ะสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทางาน แบบประเมินคุณลักษณ ะอันพึงประสงค์ 1. ใฝ่เรียนรู้ ๒. มุ่งมั่นในการทางาน - ระดับคุณภาพ 2 ผ่านเกณฑ์ 11. กิจกรรมเสนอแนะ ครูให้นักเรียนศึกษาและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับโครงสร้างทางสังคมเพิ่มเติ มจากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ เช่น ห้องสมุด อินเทอร์เน็ต นาความรู้ที่ได้มาสรุปเป็นแผนผังความคิด 12 บันทึกหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 12.1 ด้านความรู้ (K)
  • 25. ๒๕ ....................................................................................................... ....................................................................................................... ....................................................................................................... ............... ....................................................................................................... ............................................................ ด้านทักษะกระบวนการ(P) ....................................................................................................... .................................................... ....................................................................................................... ............................................................ ....................................................................................................... ...................................................... ด้านเจตคติ(A) ....................................................................................................... .................................................... ....................................................................................................... ............................................................ ....................................................................................................... ............................................................ 12.2 ปัญหาอุปสรรค/แนวทางการแก้ไข ....................................................................................................... .............................................. ....................................................................................................... .............................................. ....................................................................................................... ........................................... 12.3 ข้อเสนอแนะ ....................................................................................................... .................................................... ....................................................................................................... ............................................................ ....................................................................................................... ............................................................
  • 27. ๒๗ ภาพกลุ่มเพื่อน ใบงานที่ 1 เรื่อง โครงสร้างทางสังคม คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามให้ถูกต้อง 1. โครงสร้างทางสังคมหมายถึงอะไร โครงสร้างทางสังคม หมายถึง ส่วนต่าง ๆ ที่ประกอบกันเป็นระบบความสัมพันธ์ของสังคมมนุษย์ 2. ลักษณะของโครงสร้างทางสังคมประกอบด้วยอะไรบ้าง 1) มีการรวมกลุ่มของคนในสังคม 2) มีแนวทางในการปฏิบัติอย่างเหมาะสม หรือมีกฎเกณฑ์ระเบียบแบบแผนเป็นแนวทางในการยึดถือร่วมกัน โดยยึดหลักประโยชน์สูงสุดของสังคม 3) มีจุดมุ่งหมายในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ที่ดี และมีความเหมาะสมที่จะนามาใช้กับสังคมนั้น 3. กลุ่มเพื่อนของนักเรียนจัดเป็ นกลุ่มสังคมได้หรือไม่ อย่างไร พิจารณาจากคาตอบของนักเรียน
  • 28. ๒๘ 4. สถาบันครอบครัวมีหน้าที่อะไรบ้าง 1) สร้างสมาชิกใหม่แก่สังคม 2) เลี้ยงดูสมาชิกใหม่ 3) ให้ความรัก ความอบอุ่น และกาลังใจแก่สมาชิก 4) อบรมปลูกฝังระเบียบสังคมแก่สมาชิก 5) กาหนดสถานภาพและบทบาทของสมาชิก 6) หน้าที่อื่น ๆ เช่น ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมแก่สมาชิก ถ่ายทอดวัฒนธรรมแก่สมาชิก 5. นักเรียนคิดว่าหากไม่มีสถาบันทางศาสนาสังคมจะเป็ นอย่างไร พิจารณาจากคาตอบของนักเรียน แบบประเมินเจตคติการเห็นคุณค่าการเห็นความสาคัญของโครงสร้างทาง สังคม เลข ที่ ชื่อ -สกุล เจตคติการเห็นคุณค่าและความสาคั ญ ของพระพุทธศาสนา รว ม ๓ ๒ ๑ ๑
  • 29. ๒๙ ๒ ๓ ๔ เกณฑ์การประเมินเจตคติการเห็นคุณค่าและความสาคัญของการเห็นความสาคัญ ของโครงสร้างทางสังคม รายการ ประเมิน คาอธิบายคุณภาพ ๓ คะแนน ๒ คะแนน ๑ คะแนน ๑. การเห็นคุณค่า และความสาคั ญของพระพุท ธศาสนา ทุกครั้งเห็น คุณค่าและความ สาคัญของพระพุท ธศาสนา เห็นคุณค่าแล ะความสาคัญของพ ระพุทธศาสนาเป็นส่ วนใหญ่ เห็นคุณค่าแ ละความสาคัญของ พระพุทธศาสนาเป็ นบางครั้ง เกณฑ์การให้คะแนน คะแนน ๓ คือ ดี (ระดับคุณภาพ ๓) คะแนน ๒ คือ ปานกลาง (ระดับคุณภาพ ๒) คะแนน ๑ คือ ปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑) เกณฑ์การตัดสินผ่าน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ลงชื่อ.............................................. ผู้ประเมิน (.............................................) แบบประเมินสมรรถนะผู้เรียน 5 ด้าน
  • 30. ๓๐ โรงเรียนโกสัมพีวิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้........................................................ภาคเรียน ที่...................ปีการศึก ชื่อ- สกุลนักเรียน.....................................................................ห้อง............ ..................เลขที่……. คาชี้แจง แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ชื่อ..............................................................นามสกุล.......................... ......................ชั้น ........ เลขที่..... คาชี้แจง : สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเ รียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน สมรรถนะที่ประเมิน ระดับคะแนน ๓ ๒ ๑ ๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๑.๑ มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร ๑.๒ มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความเข้าใจของตนเองโดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม ๑.๓ ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ ๑.๔ เจรจาต่อรอง เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ได้ ๑.๕ เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและถูกต้อง ๒. ความสามารถในการคิด ๒.๑ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ๒.๒ มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ คะแนน ๓ คะแนน หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้นอย่างสม่าเสมอ คะแนน ๒ คะแนน หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้น เป็ นครั้งคราว คะแนน ๑ คะแนน หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้นน้อยครั้ง หมายเหตุ การหาคะแนนเฉลี่ยหาได้จากการนาเอาคะแนนรวมในแต่ละช่องมาบวกกัน แล้วหารด้วย จานวนข้อ จากนั้นนาคะแนนเฉลี่ย ที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
  • 31. ๓๑ ช่วงคะแนนเฉลี่ย ๒.๓๔– ๓.๐๐ ๑.๖๗– ๒.๓๓ ๑.๐๐–๑.๖๖ ระดับคุณภาพ ๓ = ดีมาก, ดี ๒ = พอใช้ ๑ = ควรปรับปรุง สรุปผลการประเมิน (เขียนเครื่องหมาย  ลงใน ) ระดับคุณภาพที่ไ ด้ ๓ ๒ ๑    เกณฑ์การตัดสินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน ( ……………………………………)
  • 32. ๓๒ แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ชื่อ..............................................................นามสกุล.......................... ......................ชั้น ........ เลขที่..... คาชี้แจง : สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเ รียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสง ค์ด้าน รายการประเมิน ระดับคะแนน ๓ ๒ ๑ ๑. ใฝ่เรียนรู้ ๑.๑ ตั้งใจเรียน ๑.๒ เอาใจใส่ในการเรียนแ ละมีความเพียรพยายา มในการเรียน ๑.๓ เข้าร่วมกิจกรรมการเรี ยนรู้ต่างๆ ๑.๔ ศึกษาค้นคว้า หาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่างๆ แหล่งเรียนรู้ทั้งภายใน และภายนอกโรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้อย่าง เหมาะสม ๑.๕ บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบบางสิ่งที่เรีย
  • 33. ๓๓ นรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ ๑.๖ แลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยวิธีการต่างๆ และนาไปใช้ในชีวิตปร ะจาวัน ๒. มุ่งมั่นในการ ทางาน ๒.๑ มีความตั้งใจและพยาย ามในการทางานที่ได้รั บมอบหมาย ๒.๒ มีความอดทนและไม่ท้ อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อใ ห้งานสาเร็จ เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ คะแนน ๓ คะแนน หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้นอย่างสม่าเสมอ คะแนน ๒ คะแนน หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้น เป็นครั้งคราว คะแนน ๑ คะแนน หมายถึงนักเรียนแสดงพฤติกรรมนั้นน้อยครั้ง หมายเหตุ การหาคะแนนเฉลี่ยหาได้จากการนาเอาคะแนนรวมในแต่ละช่องมาบวกกัน แล้วหารด้วยจานวนข้อ จากนั้นนาคะแนนเฉลี่ย ที่ได้มาเทียบกับเกณฑ์การตัดสินคุณภาพและสรุปผลการประเมิน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ ช่วงคะแน นเฉลี่ย ๒.๓๔– ๓.๐๐ ๑.๖๗– ๒.๓๓ ๑.๐๐–๑.๖๖ ระดับคุณ ภาพ ๓ = ดีมาก, ดี ๒ = พอใช้ ๑ = ควรปรับปรุง สรุปผลการประเมิน (เขียนเครื่องหมาย  ลงใน )
  • 34. ๓๔ ระดับคุณภาพที่ไ ด้ ๓ ๒ ๑    เกณฑ์การตัดสินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน ( …………………………………………) แบบประเมินการอภิปราย เรื่อง...................................................................... ชื่อ..........................................................สกุล.................................... .................ชั้น...........เลขที่.......... รายการประเมิน ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑) ๑. การคิดวิเคราะห์ ๒. การอภิปรายได้ใจความ
  • 35. ๓๕ ๓. มีความคิดสร้างสรรค์ ๔. ประโยชน์ของการนาข้อมูลไปใช้ คะแนน ๑๒ คะแนน ได้.................คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน - การคิดวิเคราะห์ ๓ คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญ ขยายความ ยกตัวอย่าง เปรียบเทียบและสรุปความคิดรวบยอดได้ดี ๒ คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญได้ แต่ขยายความหรือยกตัวอย่างไม่ได้ ๑ คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญได้น้อย - การเขียนสื่อความ ๓ คะแนน = ตอบสื่อความได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ตรงประเด็นและ เข้าใจง่าย ๒ คะแนน = ตอบสื่อความไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี ๒-๓ แห่ง ตรงประเด็น ๑ คะแนน = ตอบสื่อความได้น้อย ไม่ตรงประเด็น - มีความคิดสร้างสรรค์ ๓ คะแนน = ผลงานมีรูปแบบน่าสนใจ มีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กาหนด ระบายสีได้สวยงาม ๒ คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กาหนด แต่ไม่ดึงดูดความสนใจ ๑ คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กาหนดน้อยมาก - ประโยชน์ของการนาข้อมูลไปใช้ ๓ คะแนน = สามารถนาไปประยุกต์กับสถานการณ์ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม ๒ คะแนน = สามารถนาไปประยุกต์กับสถานการณ์ในชีวิตประจาวันได้บ้าง ๑ คะแนน = สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้น้อยมาก การประเมินผล คะแนน ๑๒ - ๙ = ดี (๓) คะแนน ๘ - ๕ = พอใช้ (๒) คะแนน ๔ - ๐ = ควรปรับปรุง (๑) เกณฑ์การตัดสินการตอบคาถาม ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
  • 39. ๓๙ ๒๓ ๒๔ เกณฑ์การประเมินความตระหนักรู้คุณธรรมด้านความรับผิดชอบต่อการเ รียน รายการป ระเมิน คาอธิบายคุณภาพ ๓ คะแนน ๒ คะแนน ๑ คะแนน ๑. ความเอา ใจใส่ต่อ การเรียน เมื่อเกิดปัญหา หรือไม่เข้าใจบ ทเรียนทุกครั้ง มักซักถามและ มีความพยายา มในการค้นหา คาตอบ อยู่เสมอ ส่วนใหญ่เมื่อเกิ ดปัญหาหรือไม่ เข้าใจบทเรียน มักซักถามและ มีความพยายา มในการค้นหา คาตอบ เมื่อเกิดปัญหาหรือไม่เข้าใจบท เรียนมักซักถามและมีความพย ายามในการค้นหาคาตอบเป็น บางครั้ง ๒. การส่งงา นที่ได้รับ มอบหมา ย ส่งงานที่ได้รับ มอบหมาย ตรงตามเวลาทุ กครั้ง ส่งงานที่ได้รับ มอบหมายตรง ตามเวลา ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงตา มเวลาเป็ นบางครั้ง ๓. การค้นค ว้าแสวงห าความรู้ การค้นคว้าแส วงหาความรู้ที่เ ป็นประโยชน์ จากแหล่งข้อมู ลต่างๆ ที่เชื่อถือได้อยู่เ สมอ การค้นคว้าแส วงหาความรู้ที่เ ป็นประโยชน์ จากแหล่งข้อมู ลต่างๆ การค้นคว้าแสวงหาความรู้ที่เป็ นประโยชน์ จากแหล่งข้อมูลต่างๆ เป็นบางครั้ง เกณฑ์การประเมิน คะแนน ๓ หมายถึง ดี ได้ ระดับ ๓
  • 40. ๔๐ คะแนน ๒ หมายถึง ปานกลาง ได้ ระดับ ๒ คะแนน ๑ หมายถึง ปรับปรุง ได้ ระดับ ๑ เกณฑ์การตัดสินผ่าน นักเรียนต้องมีพฤติกรรมในระดับ ๒ ขึ้นไป จึงผ่านเกณฑ์ ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน ( ………………………………………………) แบบประเมินใบงาน เรื่อง...................................................................... ชื่อ..........................................................สกุล.................................... .................ชั้น...........เลขที่.......... รายการประเมิน ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑) ๑. การคิดวิเคราะห์ ๒. การเขียนสื่อความ ๓. มีความคิดสร้างสรรค์ ๔. ประโยชน์ของการนาข้อมูลไปใช้ คะแนน ๑๒ คะแนน ได้.................คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน - การคิดวิเคราะห์ ๓ คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญ ขยายความ ยกตัวอย่าง เปรียบเทียบและสรุปความคิดรวบยอดได้ดี ๒ คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญได้ แต่ขยายความหรือยกตัวอย่างไม่ได้
  • 41. ๔๑ ๑ คะแนน = มีการจับประเด็นสาคัญได้น้อย - การเขียนสื่อความ ๓ คะแนน = เขียนสื่อความได้ถูกต้องตามอักขรวิธี ตรงประเด็นและ เข้าใจง่าย ๒ คะแนน = เขียนสื่อความไม่ถูกต้องตามอักขรวิธี ๒-๓ แห่ง ตรงประเด็น ๑ คะแนน = เขียนสื่อความได้น้อย ไม่ตรงประเด็น - มีความคิดสร้างสรรค์ ๓ คะแนน = ผลงานมีรูปแบบน่าสนใจ มีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กาหนด ระบายสีได้สวยงาม ๒ คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กาหนด แต่ไม่ดึงดูดความสนใจ ๑ คะแนน = ผลงานมีความสัมพันธ์กับหัวข้อที่กาหนดน้อยมาก - ประโยชน์ของการนาข้อมูลไปใช้ ๓ คะแนน = สามารถนาไปประยุกต์กับสถานการณ์ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม ๒ คะแนน = สามารถนาไปประยุกต์กับสถานการณ์ในชีวิตประจาวันได้บ้าง ๑ คะแนน = สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้น้อยมาก การประเมินผล คะแนน ๑๒ - ๙ = ดี (ระดับคุณภาพ ๓) คะแนน ๘ - ๕ = พอใช้ (ระดับคุณภาพ ๒) คะแนน ๔ - ๐ = ควรปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑) เกณฑ์การตัดสินใบงาน ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์ ลงชื่อผู้ประเมิน................................................... ครู นักเรียน เพื่อนนักเรียน ผู้ปกครอง
  • 42. ๔๒ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 รหัสวิชา ส32102 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง สังคม เวลา 6 ชั่วโมง