SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
43
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ครอบครัวสุขสันต์ เวลา 18 ชั่วโมง
เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า สอนวันที่ 8 พฤศจิกายน 2556 เวลา 1 ชั่วโมง
ผู้สอน นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
………………………….……………………………………..…………………………………
1. มาตรฐานการเรียนรู้
พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดาเนินชีวิต
2. ตัวชี้วัด
อธิบายความสาคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น
3. สาระสาคัญ
ความสัมพันธ์เป็นพื้นฐานสาคัญในการทางานร่วมกัน การสร้างและรักษาสัมพันธภาพ
กับผู้อื่น การอยู่ร่วมกัน ความสามัคคี ความรัก ช่วยเหลือกัน การเข้ากลุ่ม การวางตัว ความเสียสละ
ความเป็นผู้นา ผู้ตาม ความจริงใจ การยอมรับตนเองและผู้อื่น การเอาใจเขามาใส่ใจเรา เข้าใจ
และเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดาเนินชีวิต
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้ (K)
4.1 นักเรียนอธิบายความสาคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้
4.2 นักเรียนเข้าใจและเห็นคุณค่าของการสร้างสัมพันธภาพ
ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
4.3 นักเรียนมีความร่วมมือ ยอมรับฟังความคิดเห็น และตั้งใจทางาน
ด้านคุณลักษณะ (A)
4.4. นักเรียนมีความร่วมมือ รับผิดชอบ มีวินัย ในการศึกษาหนังสืออ่านเพิ่มเติม
5. สาระการเรียนรู้
5.1 ความหมายของสัมพันธภาพ
5.2 คุณค่าของการสร้างสัมพันธภาพ
5.3 วิธีการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น
44
6. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ขั้นนาสู่บทเรียน (10 นาที)
6.1 ครูนาเสนอด้วยเกม ชุด เกมใจเขาใจเรา จากใบกิจกรรม
6.2 สนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเพื่อนในชั้นเรียน
6.3 รวบรวมคาตอบจากนักเรียน สรุปในการอยู่ร่วมกันเราทุกคนต่างต้องทาสิ่งต่าง ๆ
ให้คนอื่น และมีคนอื่น ๆ ทาสิ่งต่าง ๆ ให้เรา เป็นการพึ่งพาซึ่งกันและกันในสังคมมนุษย์
ขั้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (40 นาที)
6.4 แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ
6.5 ครูนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 1 เรื่องสัมพันธภาพอันล้าค่า
ให้นักเรียนดูพร้อมทั้งชี้แจงว่าด้านในนั้นประกอบด้วย คานา คาชี้แจง บทบาทผู้เรียน เนื้อหา
คาศัพท์ คาถาม แบบทดสอบ เอกสารอ้างอิง สาหรับค้นคว้าเพิ่มเติม
6.6 ตัวแทนนักเรียนรับหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 1 เรื่อง
สัมพันธภาพอันล้าค่า และใบความรู้ เรื่อง ทักษะการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น แจกให้สมาชิก
ทุกคนศึกษา จากหน้าที่ 1-10
6.7 ให้นักเรียนสมมติตนเองว่าเป็นนักเรียนเข้าใหม่ ยังไม่มีใครพูดคุยด้วย นักเรียนจะมี
วิธีหาเพื่อนและสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้อย่างไร ให้อาสาสมัครนาเสนอหน้าชั้นเรียน
6.8 ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับความหมายของสัมพันธภาพ คุณค่าของการสร้าง
สัมพันธภาพและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น และสัมพันธภาพที่ดีสร้างได้อย่างไร
6.9 ตัวแทนนักเรียนรับใบงาน แจกให้สมาชิกทุกคน เมื่อนักเรียนทาใบงาน เสร็จแล้ว
ให้ตัวแทนนักเรียนรวบรวมส่งครู
6.10 นักเรียนทาแบบทดสอบท้ายบทเรียนที่ 1
ขั้นการสรุปกิจกรรมการเรียนรู้ (10 นาที)
6.11 นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับความหมายของสัมพันธภาพ คุณค่าของการสร้าง
สัมพันธภาพที่ดี วิธีการสร้างและรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น
6.12 ครูให้นักเรียนนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม เล่มที่ 1 เรื่อง สัมพันธภาพไปอ่านต่อที่บ้าน
จากหน้าที่ 11 เป็นต้นไป
7. กิจกรรมเสนอแนะ
ให้นักเรียนนาวิธีการสร้างและรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่นไปใช้ในชีวิตประจาวัน
45
8. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้
8.1 ใบกิจกรรม เรื่อง เกมใจเขาใจเรา
8.2 ใบความรู้ เรื่อง ทักษะการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น
8.3 ใบงาน
8.4 แบบทดสอบท้ายบทเรียน
8.5 หนังสืออ่านเพิ่มเติม เล่มที่ 1 เรื่องสัมพันธภาพอันล้าค่า
9. กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
9.1 สิ่งที่ต้องการวัดและประเมินผล
9.1.1 ทดสอบความรู้จากบทเรียน
9.1.2 ตรวจใบงาน
9.1.3 ประเมินพฤติกรรมในการเรียน
9.1.4 ประเมินคุณลักษณะอันพีงประสงค์
9.2 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
9.2.1 แบบทดสอบท้ายบทเรียน
9.2.2 ใบงาน
9.2.3 แบบประเมินพฤติกรรมในการเรียน
9.2.4 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
9.3 เกณฑ์การประเมิน
9.3.1 ทดสอบท้ายบทเรียนนักเรียนผ่านเกณฑ์ประเมิน คะแนนตั้งแต่พอใช้ขึ้นไป
9.3.2 ใบงาน นักเรียนผ่านเกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนนตั้งแต่พอใช้ ขึ้นไป
9.3.3 พฤติกรรมในการเรียนนักเรียนผ่านเกณฑ์ประเมินคะแนนตั้งแต่พอใช้ขึ้นไป
9.3.3.1 ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม (น้าหนัก 4 )
9.3.3.2 ความตั้งใจในการทางาน (น้าหนัก 3 )
9.3.3.3 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น (น้าหนัก 3)
9.3.4 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียนผ่านเกณฑ์ประเมิน ตั้งแต่พอใช้ ขึ้นไป
9.3.4.1 ความร่วมมือในการทางาน ( น้าหนัก 4 )
9.3.4.2 ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ( น้าหนัก 3 )
9.3.4.3 ความมีวินัย ( น้าหนัก 3 )
46
บันทึกการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้
1. ความถูกต้องและความสมบูรณ์ของแผนการจัดการเรียนรู้
 ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง
2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
 ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง
3. ภาพรวมของแผนการจัดการเรียนรู้
 นาไปใช้ได้จริง  ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้
4. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………….
ลงชื่อ
(นายเอกสิทธิ์ สิทธิชัย)
ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านต้นปรง
วันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2556
47
บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้
1.1 นักเรียนทาแบบทดสอบท้ายบทเรียน
ระดับคุณภาพ ดีมาก จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00
ระดับคุณภาพ ดี จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00
ระดับคุณภาพ พอใช้ จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ -
ระดับคุณภาพ ปรับปรุง จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ -
1.2 นักเรียนทาใบงาน
ระดับคุณภาพ ดีมาก จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 28.95
ระดับคุณภาพ ดี จานวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 71.05
ระดับคุณภาพ พอใช้ จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ -
ระดับคุณภาพ ปรับปรุง จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ -
1.3 พฤติกรรมในการเรียนของนักเรียน
ระดับคุณภาพ ดีมาก จานวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 100
ระดับคุณภาพ ดี จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ -
ระดับคุณภาพ พอใช้ จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ -
ระดับคุณภาพ ปรับปรุง จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ -
1.4 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน
ระดับคุณภาพ ดีมาก จานวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 100
ระดับคุณภาพ ดี จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ -
ระดับคุณภาพ พอใช้ จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ -
ระดับคุณภาพ ปรับปรุง จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ -
2. ปัญหา/อุปสรรค
-
3. แนวทางการแก้ไข/พัฒนา
-
ลงชื่อ ผู้สอน
(นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์)
48
ใบกิจกรรม
เกมใจเขาใจเรา
จุดประสงค์
การสร้างความคุ้นเคย ความสัมพันธ์ การอยู่ร่วมกัน ความสามัคคี ความรัก ช่วยเหลือกัน การเข้า
กลุ่ม การจัดวางตัว ความเสียสละ ความเป็นผู้นา ผู้ตาม ความจริงใจ การยอมรับตนเองและผู้อื่น
กติการเล่น
เกมใจเขาใจเรา ครูแจกบัตรคาคนละ 3 ใบ (อาจจะมากกว่านี้ก็ได้) ที่มีข้อความต่างๆ เขียน
อยู่ เป็นข้อความที่บ่งบอกพฤติกรรม บุคลิก ลักษณะนิสัย ที่มีทั้งดีและไม่ดีคละกัน เช่น ใจดี ฟันสวย
เรียนเก่ง มีน้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รักเพื่อน ตั้งใจเรียน ปากจัด ขี้เกียจ ขยัน อดทน มีวินัย ซื่อสัตย์ ขี้โกง
ฯลฯ แล้วเปิดโอกาสให้ทุกคนได้แลกกันภายในเวลาที่กาหนด เมื่อเริ่มการแลกเปลี่ยนบัตรคา ครู
สังเกตพฤติกรรมนักเรียนเห็นใบหน้าที่หลากหลายอารมณ์ของผู้เล่นเกิดขึ้น มีทั้งใบหน้าที่ยิ้มแย้ม
แสดงถึงความพอใจ ใบหน้าโกรธแค้นไม่พอใจ ใบหน้าสงสัยข้องใจ ใบหน้าเจ้าเล่ห์มีเลิศนัย เมื่อ
หมดเวลาจึงมาดูว่าแต่ละคนมีบัตรคาอะไรกันบ้าง และรู้สึกอย่างไรกับข้อความที่อยู่ในมือบางคน
รู้สึกพอใจมากเมื่อหมดเวลามีแต่ข้อความดีๆ อยู่ในมือ...บางคนรู้สึกไม่พอใจที่มีข้อความไม่ดีอยู่กับ
ตัว เพราะเป็นสิ่งที่ไม่อยากได้หรือไม่ตรงกับนิสัยของตัวเอง...บางคนบอกว่าตอนแรกสุดตัวเองได้
แต่ข้อความดี ๆ จนไม่อยากแลกกับใคร แต่พอมีการแลก เพื่อนเอาข้อความไม่ดีมาแลก รู้สึกไม่
อยากได้จนต้องรีบเอาไปแลกต่อกับเพื่อนคนอื่น...บางคนรู้สึกดี แกมรู้สึกผิดนิดๆ ที่เอาข้อความไม่
ดีไปแลกกับเพื่อน แต่ได้รับข้อความดี ๆ จากเพื่อนกลับมา ส่วนใหญ่ คนมักจะนาข้อความไม่ดีไป
แลก เก็บข้อความดีๆ ไว้กับตัว และคาดหวังจะได้ข้อความดีๆ จากคนอื่น
“เมื่อเราได้รับรู้ถึงความรู้สึกของผู้รับ ว่าอยากรับสิ่งดี ๆ เราในฐานะผู้ให้ก็ควรมอบสิ่งดี
ให้กัน การให้และการรับไม่ได้มีความหมายแค่การให้สิ่งของเท่านั้น การเอาใจเขามาใส่ใจเรา
จะเป็นบ่อเกิดของความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้ง ซึ่งจะเป็นพื้นฐานของการทางานร่วมกัน
ที่มา : เกมใจเขาใจเรา http://www.women-family.go.th/wofa/modules/eeiku/files/eye-
website.pdf เกมใจเขาใจเรา สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2556
49
ใบความรู้
เรื่อง ทักษะการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น
การมีความสัมพันธ์อันดีกับผู้อื่นเป็นสิ่งจาเป็นในการมีชีวิตอยู่ของมนุษย์ พัฒนาการทาง
สังคม และความคิดความเข้าใจของบุคคล พัฒนาขึ้นจากการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น เอกลักษณ์ของ
แต่ละบุคคล ความสาเร็จในอาชีพ การค้นพบความหมายของชีวิตและสุขภาพจิต ล้วนได้รับ
ผลกระทบจากสัมพันธภาพระหว่างบุคคลมนุษย์แต่ละคนถูกหล่อหลอมจากประสบการณ์ให้มี
ความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ และค่านิยม ที่แตกต่างกัน ดังนั้นการเชื่อม ความสัมพันธ์ระหว่างกัน
ต้องอาศัยความเข้าใจถึงปัจจัยที่สาคัญที่ส่งผลต่อสัมพันธภาพที่มีระหว่างกัน เพื่อบุคคลทั้งสองฝ่าย
จะได้ประสบความสาเร็จในการสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อกันคุณค่าของสัมพันธภาพระหว่างบุคคล
รู้จุดเด่น และจุดด้อยของตนเอง รู้และเข้าใจถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล รวมทั้งเรียนรู้ความเป็น
จริงของโลก โดยสัมพันธภาพอันดีระหว่างบุคคล จะช่วยให้การเรียนรู้ เป็นไปโดยไม่บิดเบือน มี
การยอมรับและเข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างที่เป็นจริง การพัฒนาเอกลักษณ์ของตนเอง การมีความรู้สึก
ว่าชีวิตมีความหมายและมีคุณค่า และการมีสุขภาพจิตที่ดีและสามารถพัฒนาตนให้ไปถึงศักยภาพ
สูงสุดของตนได้ แต่บุคคลที่ไม่สามารถสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่นได้ จะรู้สึกอ้างว้าง โดดเดี่ยว
เกิดความรู้สึกว่าชีวิตไร้ความหมาย และนาไปสู่ความรู้สึกซึมเศร้า และท้อแท้ในชีวิต และการมี
พฤติกรรมที่เป็นปัญหาได้เช่น พฤติกรรมแยกตัวจากสังคม การติดยาเสพติด การสร้างและคงไว้ซึ่ง
สัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่นจะเกิดบรรลุผลได้ ต้องอาศัยคุณลักษณะที่สาคัญของบุคคล ในการยอมรับ
และส่งเสริมซึ่งกันและกัน ปัจจัย ที่สาคัญ คือ ทักษะการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น คือ การเปิดเผย
ตนเอง การไว้วางใจซึ่งกันและกัน และการสื่อสารความเข้าใจ
ดร.เอมอร กฤษณะรังสรรค์ จีน แบรี่. คู่มือการฝึกทักษะให้การปรึกษา. กรุงเทพมหานคร :
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2538.
ที่มา : http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Skill.htm สืบค้นเมื่อวันที่ 20 เมษายน2554
50
อ้อ! ทาอย่าง
นี้นะ
ใบงาน
สังเกตภาพแล้วตอบคาถาม
ขอบใจจ๊ะนี่หนังสือที่
เธอขอยืมจ๊ะ
ข้อนี้ทา
อย่างไรครับ
นักเรียนคิดว่า เด็กในภาพทั้ง 2 ภาพ
มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกันหรือไม่
สังเกตได้จากสิ่งใด
อ๋อ ทาอย่าง
นี้ค่ะ
51
แบบทดสอบท้ายบทเรียนที่ 1 เล่มที่ 1
1. ให้นักเรียนเขียนสรุปวิธีการสร้างสัมพันธภาพกับครอบครัว กับเพื่อน ๆ
และบุคคลทั่วไป
2. ให้นักเรียนเขียนตัวอย่างสถานการณ์ เพื่อแก้ปัญหาโดยใช้สัมพันธภาพ
3. ให้นักเรียนเขียนเรื่องราวที่เคยใช้สัมพันธภาพแก้ปัญหาอย่างได้ผลคนละ 1
เรื่อง
4. ให้นักเรียนทาผังความคิดคุณสมบัติของเพื่อนที่นักเรียนชอบ
5. ให้นักเรียนวิเคราะห์คุณสมบัติของตัวเองในการสร้างสัมพันธภาพที่จะต้อง
พัฒนาปรับปรุงแก้ไข
52
เฉลยใบงาน
แนวคาตอบ
เด็กในภาพทั้ง 2 ภาพ มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
สังเกตได้จาก นักเรียนทั้งสองคนมีน้าใจ ช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน เช่น ช่วยสอนการบ้าน
เพื่อนช่วยเพื่อน ให้คาปรึกษา ให้ยืมหนังสือ เป็นต้น
(อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
53
คุณสมบัติของเพื่อนที่ข้าพเจ้าชอบ จริงใจ
ณสมบัติของเพื่อนที่ข้าพเจ้าชอบ
1. สัมพันธภาพในครอบครัว เช่น แสดงความรัก ความห่วงใยต่อกัน ใช้คาพูดที่อ่อนหวาน
รู้จักช่วยเหลือครอบครัว มีความสามัคคี ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง รู้จักให้อภัย
สัมพันธภาพกับเพื่อน ๆ โดยการแสดงความมีน้าใจ รู้จักแบ่งปันช่วยเหลือเพื่อน
ไม่เล่นกับเพื่อนรุนแรง ไม่รังแกเพื่อน ช่วยเหลืองานกลุ่ม ยอมรับฟังความคิดเห็น
ไม่เอาแต่ใจตนเอง รู้จักให้อภัย
สัมพันธภาพกับบุคคลอื่น ต้องยิ้มแจ่มใส แสดงกิริยาที่สุภาพเรียบร้อย มีสัมมา
คารวะ ให้ความเคารพผู้ใหญ่ มีจิตอาสาช่วยเหลือ
2. ใช้คาพูดกิริยามารยาทที่ไพเราะอ่อนหวานและจริงใจ เช่น ถ้ารู้ว่าเพื่อนโกรธโดยไม่ทราบ
สาเหตุ เราก็เข้าไปพูดกับเขาโดยใช้คาพูดที่สุภาพและจริงใจ ไม่ดูหมิ่นดูแคลน
(อยู่ในดุลยพินิจของครู)
3. กรณีความเข้าใจผิดระหว่างคนสองคน คือ แก้ปัญหาโดยการติดต่อพูดคุย เปิดเผยตนเอง
เอาใจเขามาใส่ใจเรา คุยด้วยความจริงใจ ไว้วางใจซึ่งกันและกัน รู้จักยืดหยุ่น ทาให้เข้าอก
เข้าใจผู้อื่นและเข้าใจตนเองมากขึ้น จนทาให้เกิดการมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันตลอดไป (อยู่
ในดุลยพินิจของครู)
4.
เข้าอกเข้าใจผู้อื่น
(อยู่ในดุลยพินิจของครู)
5. พูดจาหยาบคาย ไม่รู้จักแบ่งปัน ขาดการเอาใจใส่ เอาแต่ใจตนเอง
(อยู่ในดุลยพินิจของครู)
เฉลยแบบทดสอบท้ายบทเรียนที่ 1 เล่มที่ 1
ใจดี
เสียสละ
พูดจาสุภาพ
54
เกณฑ์การประเมินใบงานและการทดสอบ
ระดับคุณภาพ
9 – 10 ดีมาก 7 – 8 ดี
5 – 6 พอใช้ 0 – 4 ปรับปรุง
ผ่านเกณฑ์ ระดับคะแนน ตั้งแต่พอใช้ขึ้นไป
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์)
55
แบบประเมิน
พฤติกรรมในการเรียน
ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
โรงเรียนบ้านต้นปรง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2
******************************
ชื่อ………………………………………………………………....เลขที่…………………….
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง………………………………………………..
ประเด็นการประเมิน
ระดับคะแนน
น้าหนัก
4 3 2 1
1. ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 4
2. ความตั้งใจในการทางาน 3
3. การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 3
รวมคะแนน ( น้าหนัก ) -
รวมคะแนนทั้งหมด ( 40 )
ระดับคุณภาพ
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์)
56
รายละเอียดเกณฑ์การให้ระดับคะแนนพฤติกรรมในการเรียน
ประเด็น
การประเมิน
เกณฑ์การให้ระดับคะแนน น้าหนัก
จุดเน้น4 3 2 1
1. ความร่วมมือ
ในการปฏิบัติ
กิจกรรม
มีพฤติกรรมนั้น ๆ
อย่างต่อเนื่อง
สม่าเสมอ
มีพฤติกรรมนั้น ๆ
เป็นประจา
มีพฤติกรรมนั้น ๆ
เป็นบางครั้ง
มีพฤติกรรม
นั้น ๆ น้อยมาก
4
2. ความตั้งใจ
ในการทางาน
มีพฤติกรรมนั้น ๆ
อย่างต่อเนื่อง
สม่าเสมอ
มีพฤติกรรมนั้น ๆ
เป็นประจา
มีพฤติกรรมนั้น ๆ
เป็นบางครั้ง
มีพฤติกรรม
นั้น ๆ น้อยมาก
3
3. การยอมรับฟัง
ความคิดเห็นผู้อื่น
มีพฤติกรรมนั้น ๆ
อย่างต่อเนื่อง
สม่าเสมอ
มีพฤติกรรมนั้น ๆ
เป็นประจา
มีพฤติกรรมนั้น ๆ
เป็นบางครั้ง
มีพฤติกรรม
นั้น ๆ น้อยมาก
3
ระดับคุณภาพ
คะแนน 31 – 40 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 21 – 30 หมายถึง ดี
คะแนน 11 – 20 หมายถึง พอใช้
คะแนน 1 – 10 หมายถึง ปรับปรุง
ผ่านเกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน ตั้งแต่ พอใช้ขึ้นไป
57
แบบประเมิน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
โรงเรียนบ้านต้นปรง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2
ชื่อ…………………………………………………………....เลขที่…………………….
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง…………………………...……………..
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์)
ประเด็นการประเมิน
ระดับคะแนน
น้าหนัก
4 3 2 1
1. ความร่วมมือในการทางาน 4
2. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ 3
3. ความมีวินัย 3
รวมคะแนน ( น้าหนัก ) -
รวมคะแนนทั้งหมด ( 40 )
ระดับคุณภาพ
58
รายละเอียดเกณฑ์การให้ระดับคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ประเด็น
การประเมิน
เกณฑ์การให้ระดับคะแนน น้าหนัก
จุดเน้น4 3 2 1
1. ความร่วมมือ
ในการทางาน
มีส่วนร่วมและให้
ความร่วมมืออย่าง
เต็มที่
ให้ความร่วมมือดี ให้ความร่วมมือ
พอใช้
ให้ความร่วมมือ
น้อย
4
2. ความรับ
ผิดชอบต่อหน้าที่
รู้หน้าที่และมีความ
รับผิดชอบ
ต่อหน้าที่ของตน
มีความรับผิดชอบ
ต่อหน้าที่อย่าง
ต่อเนื่องสม่าเสมอ
มีความรับผิดชอบ
ต่อหน้าที่เป็น
บางครั้ง
มีความรับ
ผิดชอบต่อ
หน้าที่น้อยมาก
3
3. ความมีวินัย - ขณะปฏิบัติ
กิจกรรม ปฏิบัติ
ตามกติกาที่ได้
ตกลงกัน
- ไม่รบกวนบุคคล
อื่นในขณะปฏิบัติ
กิจกรรม
ไม่รบกวนผู้อื่นแต่
ปฏิบัติตามกติกา
เป็นส่วนใหญ่
ไม่รบกวนผู้อื่นแต่
ปฏิบัติตามกติกา
เป็นบางครั้ง
ไม่ปฏิบัติตาม
กติกาและ
รบกวนผู้อื่น
3
ระดับคุณภาพ
คะแนน 31 – 40 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 21 – 30 หมายถึง ดี
คะแนน 11 – 20 หมายถึง พอใช้
คะแนน 1 – 10 หมายถึง ปรับปรุง
ผ่านเกณฑ์ ระดับคะแนน ตั้งแต่ พอใช้ขึ้นไป
59
ตารางบันทึกคะแนนตารางบันทึกคะแนนใบงานและทดสอบท้ายบทเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า
ที่ ชื่อ-สกุล
ใบงาน ระดับ
คุณภาพ
ทดสอบท้ายบทเรียน ระดับ
คุณภาพ9-10 7-8 5-6 0-4 9-10 7-8 5-6 0-4
1 เด็กชายศุภชัย คงชุม 9 ดีมาก 9 ดีมาก
2 เด็กชายณัฐกร บุญเสน 9 ดีมาก 9 ดีมาก
3 เด็กชายธนธรณ์ เก้าซุ่น 7 ดี 7 ดี
4 เด็กชายพีรวิทย์ชอบชื่น 7 ดี 7 ดี
5 เด็กชายธนกร แซ่หลี 7 ดี 7 ดี
6 เด็กชายธนชัย นุ่นชูผล 8 ดี 9 ดีมาก
7 เด็กชายศุภชัย ยอดทอง 7 ดี 9 ดีมาก
8 เด็กชายธรรณธร บุญศิริ 7 ดี 8 ดี
9 เด็กชายกิตติภัฎ อินทรวิเศษ 7 ดี 9 ดีมาก
10 เด็กชายอัษฎาวุธ แสงสุวรรณ์ 8 ดี 9 ดีมาก
11 เด็กชายเพียวพงศ์ สมบูรณ์ 7 ดี 7 ดี
12 เด็กชายภัทรพล พยุงกุลอนันต์ 8 ดี 9 ดีมาก
13 เด็กชายทินกร นวลสม 8 ดี 9 ดีมาก
14 เด็กชายกฤตนัย เมืองสง 8 ดี 9 ดีมาก
15 เด็กชายนนธวัช สงสุวรรณ 9 ดีมาก 8 ดี
16 เด็กชายธนวัฒน์ ลือลั่น 9 ดีมาก 9 ดีมาก
17 เด็กหญิงอรัญญา สุขเสน 8 ดี 9 ดีมาก
18 เด็กหญิงณิชนันนท์ แท่นทอง 8 ดี 9 ดีมาก
19 เด็กหญิงจิราวรรณ เมืองราช 9 ดีมาก 10 ดีมาก
20 เด็กหญิงฝนทิพ เมืองแก้ว 8 ดี 10 ดีมาก
21 เด็กหญิงจอมขวัญ ปานแดง 8 ดี 8 ดี
22 เด็กหญิงณัฐนิช พิมมะทา 8 ดี 8 ดี
23 เด็กหญิงพลอยไพลิน ศรีสุวรรณ 8 ดี 8 ดี
60
ตารางบันทึกคะแนนตารางบันทึกคะแนนใบงานและทดสอบท้ายบทเรียน (ต่อ)
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า
ที่ ชื่อ-สกุล
ใบงาน ระดับ
คุณภาพ
ทดสอบท้ายบทเรียน ระดับ
คุณภาพ9-10 7-8 5-6 0-4 9-10 7-8 5-6 0-4
24 เด็กหญิงโสมระวี ณ นคร 9 ดีมาก 9 ดีมาก
25 เด็กหญิงชลิตา เหมทานนท์ 9 ดีมาก 9 ดีมาก
26 เด็กหญิงนุธามาส เพชรสวี 7 ดี 7 ดี
27 เด็กหญิงวนิสา สัพเจริญ 7 ดี 7 ดี
28 เด็กหญิงหทัยพัชร หยูศรี 7 ดี 7 ดี
29 เด็กหญิงจิราพัชร น้าเพชร 9 ดีมาก 8 ดี
30 เด็กหญิงญาสุมินทร์ สุขคง 9 ดีมาก 7 ดี
31 เด็กหญิงณัฐนรี แซ่ภู่ 7 ดี 8 ดี
32 เด็กหญิงณัฐณิชา ชุมทองโด 9 ดีมาก 7 ดี
33 เด็กหญิงรสนันท์ กันขันคา 9 ดีมาก 8 ดี
34 เด็กหญิงปัญญดา คงพล 7 ดี 7 ดี
35 เด็กหญิงพัชราภรณ์ ปราบเขต 8 ดี 9 ดีมาก
36 เด็กหญิงชีวาพร ไหมทอง 8 ดี 9 ดีมาก
37 เด็กหญิงมณีรัตน์ สีโย 8 ดี 9 ดีมาก
38 เด็กหญิงธัญลักษณ์ ทันเพื่อน 8 ดี 8 ดี
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์)
61
ตารางบันทึกคะแนนพฤติกรรมในการเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า
เลข
ที่
ชื่อ – สกุล
ประเด็นการประเมิน
1. ความร่วมมือ
ในการปฏิบัติ
กิจกรรม
2. ความตั้งใจ
ในการทางาน
3. การยอมรับฟัง
ความคิดเห็นผู้อื่น รวม ระดับ
คุณภาพ
16 12 12 40
1 เด็กชายศุภชัย คงชุม 16 9 9 34 ดีมาก
2 เด็กชายณัฐกร บุญเสน 16 9 9 34 ดีมาก
3 เด็กชายธนธรณ์ เก้าซุ่น 16 9 9 34 ดีมาก
4 เด็กชายพีรวิทย์ชอบชื่น 16 9 9 34 ดีมาก
5 เด็กชายธนกร แซ่หลี 16 9 9 34 ดีมาก
6 เด็กชายธนชัย นุ่นชูผล 16 9 9 34 ดีมาก
7 เด็กชายศุภชัย ยอดทอง 16 9 9 34 ดีมาก
8 เด็กชายธรรณธร บุญศิริ 16 9 9 34 ดีมาก
9 เด็กชายกิตติภัฎ อินทรวิเศษ 16 9 9 34 ดีมาก
10 เด็กชายอัษฎาวุธ แสงสุวรรณ์ 16 9 9 34 ดีมาก
11 เด็กชายเพียวพงศ์ สมบูรณ์ 16 9 9 34 ดีมาก
12 เด็กชายภัทรพล พยุงกุลอนันต์ 16 9 9 34 ดีมาก
13 เด็กชายทินกร นวลสม 16 9 9 34 ดีมาก
14 เด็กชายกฤตนัย เมืองสง 16 9 9 34 ดีมาก
15 เด็กชายนนธวัช สงสุวรรณ 16 9 9 34 ดีมาก
16 เด็กชายธนวัฒน์ ลือลั่น 16 9 9 34 ดีมาก
17 เด็กหญิงอรัญญา สุขเสน 16 9 9 34 ดีมาก
18 เด็กหญิงณิชนันนท์ แท่นทอง 16 9 9 34 ดีมาก
19 เด็กหญิงจิราวรรณ เมืองราช 16 9 9 34 ดีมาก
20 เด็กหญิงฝนทิพ เมืองแก้ว 16 9 9 34 ดีมาก
21 เด็กหญิงจอมขวัญ ปานแดง 16 9 9 34 ดีมาก
22 เด็กหญิงณัฐนิช พิมมะทา 16 9 9 34 ดีมาก
23 เด็กหญิงพลอยไพลิน ศรีสุวรรณ 16 9 9 34 ดีมาก
62
ตารางบันทึกคะแนนพฤติกรรมในการเรียน (ต่อ)
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า
เลขที่ ชื่อ – สกุล
ประเด็นการประเมิน
1. ความร่วมมือ
ในการปฏิบัติ
กิจกรรม
2. ความตั้งใจ
ในการทางาน
3. การยอมรับฟัง
ความคิดเห็นผู้อื่น รวม ระดับ
คุณภาพ
16 12 12 40
24 เด็กหญิงโสมระวี ณ นคร 16 9 9 34 ดีมาก
25 เด็กหญิงชลิตา เหมทานนท์ 16 9 9 34 ดีมาก
26 เด็กหญิงนุธามาส เพชรสวี 16 9 9 34 ดีมาก
27 เด็กหญิงวนิสา สัพเจริญ 16 9 9 34 ดีมาก
28 เด็กหญิงหทัยพัชร หยูศรี 16 9 9 34 ดีมาก
29 เด็กหญิงจิราพัชร น้าเพชร 16 9 9 34 ดีมาก
30 เด็กหญิงญาสุมินทร์ สุขคง 16 9 9 34 ดีมาก
31 เด็กหญิงณัฐนรี แซ่ภู่ 16 9 9 34 ดีมาก
32 เด็กหญิงณัฐณิชา ชุมทองโด 16 9 9 34 ดีมาก
33 เด็กหญิงรสนันท์ กันขันคา 16 9 9 34 ดีมาก
34 เด็กหญิงปัญญดา คงพล 16 9 9 34 ดีมาก
35 เด็กหญิงพัชราภรณ์ ปราบเขต 16 9 9 34 ดีมาก
36 เด็กหญิงชีวาพร ไหมทอง 16 9 9 34 ดีมาก
37 เด็กหญิงมณีรัตน์ สีโย 16 9 9 34 ดีมาก
38 เด็กหญิงธัญลักษณ์ ทันเพื่อน 16 9 9 34 ดีมาก
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์)
63
ตารางบันทึกคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า
เลขที่ ชื่อ – สกุล
ประเด็นการประเมิน
1. ความร่วมมือ
ในการทางาน
2. ความรับผิดชอบ
ต่อหน้าที่
3. ความมี
วินัย
รวม ระดับ
คุณภาพ
16 12 12 40
1 เด็กชายศุภชัย คงชุม 16 9 9 34 ดีมาก
2 เด็กชายณัฐกร บุญเสน 16 9 9 34 ดีมาก
3 เด็กชายธนธรณ์ เก้าซุ่น 16 9 9 34 ดีมาก
4 เด็กชายพีรวิทย์ชอบชื่น 16 7 8 31 ดีมาก
5 เด็กชายธนกร แซ่หลี 16 8 9 33 ดีมาก
6 เด็กชายธนชัย นุ่นชูผล 16 9 9 34 ดีมาก
7 เด็กชายศุภชัย ยอดทอง 16 7 8 31 ดีมาก
8 เด็กชายธรรณธร บุญศิริ 16 7 8 31 ดีมาก
9 เด็กชายกิตติภัฎ อินทรวิเศษ 16 9 9 34 ดีมาก
10 เด็กชายอัษฎาวุธ แสงสุวรรณ์ 16 9 9 34 ดีมาก
11 เด็กชายเพียวพงศ์ สมบูรณ์ 16 7 8 31 ดีมาก
12 เด็กชายภัทรพล พยุงกุลอนันต์ 16 9 9 34 ดีมาก
13 เด็กชายทินกร นวลสม 16 9 9 34 ดีมาก
14 เด็กชายกฤตนัย เมืองสง 16 9 9 34 ดีมาก
15 เด็กชายนนธวัช สงสุวรรณ 16 9 9 34 ดีมาก
16 เด็กชายธนวัฒน์ ลือลั่น 16 9 9 34 ดีมาก
17 เด็กหญิงอรัญญา สุขเสน 16 9 9 34 ดีมาก
18 เด็กหญิงณิชนันนท์ แท่นทอง 16 9 9 34 ดีมาก
19 เด็กหญิงจิราวรรณ เมืองราช 16 9 9 34 ดีมาก
20 เด็กหญิงฝนทิพ เมืองแก้ว 16 9 9 34 ดีมาก
21 เด็กหญิงจอมขวัญ ปานแดง 16 9 9 34 ดีมาก
22 เด็กหญิงณัฐนิช พิมมะทา 16 9 9 34 ดีมาก
23 เด็กหญิงพลอยไพลิน ศรีสุวรรณ 16 9 9 34 ดีมาก
64
ตารางบันทึกคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์(ต่อ)
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า
เลขที่ ชื่อ – สกุล
ประเด็นการประเมิน
1. ความร่วมมือ
ในการทางาน
2. ความรับผิดชอบ
ต่อหน้าที่
3. ความมี
วินัย
รวม ระดับ
คุณภาพ
16 12 12 40
24 เด็กหญิงโสมระวี ณ นคร 16 9 9 34 ดีมาก
25 เด็กหญิงชลิตา เหมทานนท์ 16 9 9 34 ดีมาก
26 เด็กหญิงนุธามาส เพชรสวี 16 9 9 34 ดีมาก
27 เด็กหญิงวนิสา สัพเจริญ 16 7 8 31 ดีมาก
28 เด็กหญิงหทัยพัชร หยูศรี 16 8 9 33 ดีมาก
29 เด็กหญิงจิราพัชร น้าเพชร 16 9 9 34 ดีมาก
30 เด็กหญิงญาสุมินทร์ สุขคง 16 7 8 31 ดีมาก
31 เด็กหญิงณัฐนรี แซ่ภู่ 16 7 8 31 ดีมาก
32 เด็กหญิงณัฐณิชา ชุมทองโด 16 9 9 34 ดีมาก
33 เด็กหญิงรสนันท์ กันขันคา 16 9 9 34 ดีมาก
34 เด็กหญิงปัญญดา คงพล 16 7 8 31 ดีมาก
35 เด็กหญิงพัชราภรณ์ ปราบเขต 16 9 9 34 ดีมาก
36 เด็กหญิงชีวาพร ไหมทอง 16 9 9 34 ดีมาก
37 เด็กหญิงมณีรัตน์ สีโย 16 9 9 34 ดีมาก
38 เด็กหญิงธัญลักษณ์ ทันเพื่อน 16 8 8 32 ดีมาก
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์)
65
ตารางบันทึกการประเมินการทางานกลุ่ม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า
ที่
ประเด็นการประเมิน
ความร่วมมือ
ขั้นตอนการ
ทางาน
หน้าที่
รับผิดชอบ
รวมคะแนน ระดับ
คุณภาพ
ชื่อ – สกุล 5 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 10 คะแนน
1 เด็กชายศุภชัย คงชุม 5 3 1 9 ดีมาก
2 เด็กชายณัฐกร บุญเสน 5 3 1 9 ดีมาก
3 เด็กชายธนธรณ์ เก้าซุ่น 5 3 1 9 ดีมาก
4 เด็กชายพีรวิทย์ชอบชื่น 4 3 1 8 ดี
5 เด็กชายธนกร แซ่หลี 4 3 1 8 ดี
6 เด็กชายธนชัย นุ่นชูผล 4 3 1 8 ดี
7 เด็กชายศุภชัย ยอดทอง 4 3 1 8 ดี
8 เด็กชายธรรณธร บุญศิริ 5 3 1 8 ดี
9 เด็กชายกิตติภัฎ อินทรวิเศษ 4 3 1 9 ดีมาก
10 เด็กชายอัษฎาวุธ แสงสุวรรณ์ 5 3 1 9 ดีมาก
11 เด็กชายเพียวพงศ์ สมบูรณ์ 4 3 1 8 ดีมาก
12 เด็กชายภัทรพล พยุงกุลอนันต์ 5 3 1 9 ดีมาก
13 เด็กชายทินกร นวลสม 5 3 1 9 ดีมาก
14 เด็กชายกฤตนัย เมืองสง 5 3 1 9 ดีมาก
15 เด็กชายนนธวัช สงสุวรรณ 5 3 1 9 ดีมาก
16 เด็กชายธนวัฒน์ ลือลั่น 5 3 1 9 ดีมาก
17 เด็กหญิงอรัญญา สุขเสน 5 3 1 9 ดีมาก
18 เด็กหญิงณิชนันนท์ แท่นทอง 5 3 1 9 ดีมาก
19 เด็กหญิงจิราวรรณ เมืองราช 5 3 1 9 ดีมาก
20 เด็กหญิงฝนทิพ เมืองแก้ว 5 3 1 9 ดีมาก
21 เด็กหญิงจอมขวัญ ปานแดง 5 3 1 9 ดีมาก
22 เด็กหญิงณัฐนิช พิมมะทา 5 3 1 9 ดีมาก
23 เด็กหญิงพลอยไพลิน ศรีสุวรรณ 5 3 1 9 ดีมาก
66
ตารางบันทึกการประเมินการทางานกลุ่ม (ต่อ)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า
ที่
ประเด็นการประเมิน
ความร่วมมือ
ขั้นตอนการ
ทางาน
หน้าที่
รับผิดชอบ
รวมคะแนน ระดับ
คุณภาพ
ชื่อ – สกุล 5 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 10 คะแนน
24 เด็กหญิงโสมระวี ณ นคร 5 3 1 9 ดีมาก
25 เด็กหญิงชลิตา เหมทานนท์ 5 3 1 9 ดีมาก
26 เด็กหญิงนุธามาส เพชรสวี 5 3 1 9 ดีมาก
27 เด็กหญิงวนิสา สัพเจริญ 4 3 1 8 ดี
28 เด็กหญิงหทัยพัชร หยูศรี 4 3 1 8 ดี
29 เด็กหญิงจิราพัชร น้าเพชร 4 3 1 8 ดี
30 เด็กหญิงญาสุมินทร์ สุขคง 4 3 1 8 ดี
31 เด็กหญิงณัฐนรี แซ่ภู่ 5 3 1 8 ดี
32 เด็กหญิงณัฐณิชา ชุมทองโด 4 3 1 9 ดีมาก
33 เด็กหญิงรสนันท์ กันขันคา 5 3 1 9 ดีมาก
34 เด็กหญิงปัญญดา คงพล 4 3 1 8 ดีมาก
35 เด็กหญิงพัชราภรณ์ ปราบเขต 5 3 1 9 ดีมาก
36 เด็กหญิงชีวาพร ไหมทอง 5 3 1 9 ดีมาก
37 เด็กหญิงมณีรัตน์ สีโย 5 3 1 9 ดีมาก
38 เด็กหญิงธัญลักษณ์ ทันเพื่อน 5 3 1 9 ดีมาก
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์)

More Related Content

What's hot

แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนNan NaJa
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล krooKob
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6supap6259
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3teerachon
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3teerachon
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3Mam Chongruk
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์niralai
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำKu'kab Ratthakiat
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทราแบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทราบุญรักษา ของฉัน
 
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมบันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมJirathorn Buenglee
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2Pattama Poyangyuen
 
แบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.comแบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.competer dontoom
 

What's hot (20)

แบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอนแบบประเมินแผนการสอน
แบบประเมินแผนการสอน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล แผนการจัดการเรียนรู้ที่   1 วอลเลย์บอล
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 วอลเลย์บอล
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6สุขฯ ม.2 หน่วย 6
สุขฯ ม.2 หน่วย 6
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
แบบทดสอบ ดนตรี นาฏศิลป์ ม.3
 
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdfแผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
แผนวิทยาการคำนวณ ป.6.pdf
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทราแบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
 
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรมบันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
บันทึกการเยี่ยมชมนวัตกรรม
 
บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2บัตรลงคะแนน2
บัตรลงคะแนน2
 
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Homeแบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
 
แบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.comแบบริบบิ้น - Peterfineart.com
แบบริบบิ้น - Peterfineart.com
 

Viewers also liked

ใบงานเรื่องสัมพันธภาพ
ใบงานเรื่องสัมพันธภาพใบงานเรื่องสัมพันธภาพ
ใบงานเรื่องสัมพันธภาพtassanee chaicharoen
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)sonsukda
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
คะแนนนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 1 6
คะแนนนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 1  6คะแนนนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 1  6
คะแนนนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 1 6singha_koy
 
สัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนสัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนsupphawan
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555ทับทิม เจริญตา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์Mam Chongruk
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษาหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษาnontagon
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2tassanee chaicharoen
 
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...Prachoom Rangkasikorn
 
สุขศึกษา ป6
สุขศึกษา ป6สุขศึกษา ป6
สุขศึกษา ป6Kruthai Kidsdee
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 

Viewers also liked (20)

ใบงานเรื่องสัมพันธภาพ
ใบงานเรื่องสัมพันธภาพใบงานเรื่องสัมพันธภาพ
ใบงานเรื่องสัมพันธภาพ
 
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
แผนการสอนตัวจริง (ปรับปรุง)
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
คะแนนนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 1 6
คะแนนนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 1  6คะแนนนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 1  6
คะแนนนักเรียนชั้นประถมศึกษาที่ 1 6
 
สัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนนสัดส่วนคะแนน
สัดส่วนคะแนน
 
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
บันทึกข้อความเวียนข้อสอบ Pre o net ปี2555
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 
4ดุษณีย์ (1)
4ดุษณีย์ (1)4ดุษณีย์ (1)
4ดุษณีย์ (1)
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
1
11
1
 
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษาหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษา
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 2
 
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ รายชั่วโมง ประถม 1-3 หน่วย 1-3+409+dltvsocp1+T1 ...
 
สุขศึกษา ป6
สุขศึกษา ป6สุขศึกษา ป6
สุขศึกษา ป6
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 

Similar to แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ

หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนPitima Boonprasit
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์krupornpana55
 
แบบประเมินครูผู้ช่วย ตัวอย่าง
แบบประเมินครูผู้ช่วย ตัวอย่างแบบประเมินครูผู้ช่วย ตัวอย่าง
แบบประเมินครูผู้ช่วย ตัวอย่างdark-corner
 
หน่วยที่ 5 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยที่ 5  แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1หน่วยที่ 5  แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
หน่วยที่ 5 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Ummara Kijruangsri
 
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายใน
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายในโรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายใน
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายในแอมป์ ไชโย
 
ประวัติ ป.1
ประวัติ ป.1ประวัติ ป.1
ประวัติ ป.1krukung08
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรMontree Jareeyanuwat
 
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)thananew
 
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Ummara Kijruangsri
 

Similar to แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ (20)

หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียนหลักสูตร51สู่ห้องเรียน
หลักสูตร51สู่ห้องเรียน
 
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
Plan
PlanPlan
Plan
 
แบบประเมินครูผู้ช่วย ตัวอย่าง
แบบประเมินครูผู้ช่วย ตัวอย่างแบบประเมินครูผู้ช่วย ตัวอย่าง
แบบประเมินครูผู้ช่วย ตัวอย่าง
 
มาตราฐาน+..
มาตราฐาน+..มาตราฐาน+..
มาตราฐาน+..
 
แบบประเม น
แบบประเม นแบบประเม น
แบบประเม น
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
Event
EventEvent
Event
 
หน่วยที่ 5 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยที่ 5  แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1หน่วยที่ 5  แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1
หน่วยที่ 5 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Event2555
Event2555Event2555
Event2555
 
Standard54
Standard54Standard54
Standard54
 
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายใน
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายในโรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายใน
โรงเรียนบ้านบ่อไทยประเมินภายใน
 
งานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sarงานนำเสนอ Sar
งานนำเสนอ Sar
 
ประวัติ ป.1
ประวัติ ป.1ประวัติ ป.1
ประวัติ ป.1
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
คู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากรคู่มือครูและบุคลากร
คู่มือครูและบุคลากร
 
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (งานกลุ่ม)
 
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการเรียนรู้หน่วยที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 

More from สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์

บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯ
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯบทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯ
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 

More from สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์ (20)

บทคัดย่อระดับปฐมวัย
บทคัดย่อระดับปฐมวัยบทคัดย่อระดับปฐมวัย
บทคัดย่อระดับปฐมวัย
 
8กีฬาสัมพันธภาพ
8กีฬาสัมพันธภาพ8กีฬาสัมพันธภาพ
8กีฬาสัมพันธภาพ
 
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯ
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯบทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯ
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ สาระสุขฯ
 
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
 
2ครอบครัวสุขสันต์
2ครอบครัวสุขสันต์2ครอบครัวสุขสันต์
2ครอบครัวสุขสันต์
 
8กีฬาสัมพันธภาพ
8กีฬาสัมพันธภาพ8กีฬาสัมพันธภาพ
8กีฬาสัมพันธภาพ
 
7 ชีวิตการญจนาน่าเรียนรู้
7 ชีวิตการญจนาน่าเรียนรู้7 ชีวิตการญจนาน่าเรียนรู้
7 ชีวิตการญจนาน่าเรียนรู้
 
6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น
 
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
 
3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ 3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ
 
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
 
2ครอบครัวสุขสันต์
2ครอบครัวสุขสันต์ 2ครอบครัวสุขสันต์
2ครอบครัวสุขสันต์
 
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
1สัมพันธภาพออันล้ำค่า
 
6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น6ความรักวัยรุ่น
6ความรักวัยรุ่น
 
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง 5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
5เรื่องเด็กดีศรีต้นปรง
 
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
4เรื่องมองแง่ดีมีความสุข
 
3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ 3 สุขอยู่ที่ ใจ
3 สุขอยู่ที่ ใจ
 
2ครอบครัวสุขสันต์
2ครอบครัวสุขสันต์ 2ครอบครัวสุขสันต์
2ครอบครัวสุขสันต์
 
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
 
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
บทคัดย่อ การพัฒนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ กลุ่มสาระการเรียนร...
 

แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ

  • 1. 43 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ครอบครัวสุขสันต์ เวลา 18 ชั่วโมง เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า สอนวันที่ 8 พฤศจิกายน 2556 เวลา 1 ชั่วโมง ผู้สอน นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์ ………………………….……………………………………..………………………………… 1. มาตรฐานการเรียนรู้ พ 2.1 เข้าใจและเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดาเนินชีวิต 2. ตัวชี้วัด อธิบายความสาคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น 3. สาระสาคัญ ความสัมพันธ์เป็นพื้นฐานสาคัญในการทางานร่วมกัน การสร้างและรักษาสัมพันธภาพ กับผู้อื่น การอยู่ร่วมกัน ความสามัคคี ความรัก ช่วยเหลือกัน การเข้ากลุ่ม การวางตัว ความเสียสละ ความเป็นผู้นา ผู้ตาม ความจริงใจ การยอมรับตนเองและผู้อื่น การเอาใจเขามาใส่ใจเรา เข้าใจ และเห็นคุณค่าตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดาเนินชีวิต 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ ด้านความรู้ (K) 4.1 นักเรียนอธิบายความสาคัญของการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้ 4.2 นักเรียนเข้าใจและเห็นคุณค่าของการสร้างสัมพันธภาพ ด้านทักษะ/กระบวนการ (P) 4.3 นักเรียนมีความร่วมมือ ยอมรับฟังความคิดเห็น และตั้งใจทางาน ด้านคุณลักษณะ (A) 4.4. นักเรียนมีความร่วมมือ รับผิดชอบ มีวินัย ในการศึกษาหนังสืออ่านเพิ่มเติม 5. สาระการเรียนรู้ 5.1 ความหมายของสัมพันธภาพ 5.2 คุณค่าของการสร้างสัมพันธภาพ 5.3 วิธีการสร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น
  • 2. 44 6. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ขั้นนาสู่บทเรียน (10 นาที) 6.1 ครูนาเสนอด้วยเกม ชุด เกมใจเขาใจเรา จากใบกิจกรรม 6.2 สนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของเพื่อนในชั้นเรียน 6.3 รวบรวมคาตอบจากนักเรียน สรุปในการอยู่ร่วมกันเราทุกคนต่างต้องทาสิ่งต่าง ๆ ให้คนอื่น และมีคนอื่น ๆ ทาสิ่งต่าง ๆ ให้เรา เป็นการพึ่งพาซึ่งกันและกันในสังคมมนุษย์ ขั้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (40 นาที) 6.4 แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบ 6.5 ครูนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 1 เรื่องสัมพันธภาพอันล้าค่า ให้นักเรียนดูพร้อมทั้งชี้แจงว่าด้านในนั้นประกอบด้วย คานา คาชี้แจง บทบาทผู้เรียน เนื้อหา คาศัพท์ คาถาม แบบทดสอบ เอกสารอ้างอิง สาหรับค้นคว้าเพิ่มเติม 6.6 ตัวแทนนักเรียนรับหนังสืออ่านเพิ่มเติม ชุด ครอบครัวสุขสันต์ เล่มที่ 1 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า และใบความรู้ เรื่อง ทักษะการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น แจกให้สมาชิก ทุกคนศึกษา จากหน้าที่ 1-10 6.7 ให้นักเรียนสมมติตนเองว่าเป็นนักเรียนเข้าใหม่ ยังไม่มีใครพูดคุยด้วย นักเรียนจะมี วิธีหาเพื่อนและสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่นได้อย่างไร ให้อาสาสมัครนาเสนอหน้าชั้นเรียน 6.8 ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับความหมายของสัมพันธภาพ คุณค่าของการสร้าง สัมพันธภาพและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อื่น และสัมพันธภาพที่ดีสร้างได้อย่างไร 6.9 ตัวแทนนักเรียนรับใบงาน แจกให้สมาชิกทุกคน เมื่อนักเรียนทาใบงาน เสร็จแล้ว ให้ตัวแทนนักเรียนรวบรวมส่งครู 6.10 นักเรียนทาแบบทดสอบท้ายบทเรียนที่ 1 ขั้นการสรุปกิจกรรมการเรียนรู้ (10 นาที) 6.11 นักเรียนและครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับความหมายของสัมพันธภาพ คุณค่าของการสร้าง สัมพันธภาพที่ดี วิธีการสร้างและรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น 6.12 ครูให้นักเรียนนาหนังสืออ่านเพิ่มเติม เล่มที่ 1 เรื่อง สัมพันธภาพไปอ่านต่อที่บ้าน จากหน้าที่ 11 เป็นต้นไป 7. กิจกรรมเสนอแนะ ให้นักเรียนนาวิธีการสร้างและรักษาสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่นไปใช้ในชีวิตประจาวัน
  • 3. 45 8. สื่อการเรียนรู้ / แหล่งเรียนรู้ 8.1 ใบกิจกรรม เรื่อง เกมใจเขาใจเรา 8.2 ใบความรู้ เรื่อง ทักษะการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น 8.3 ใบงาน 8.4 แบบทดสอบท้ายบทเรียน 8.5 หนังสืออ่านเพิ่มเติม เล่มที่ 1 เรื่องสัมพันธภาพอันล้าค่า 9. กระบวนการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 9.1 สิ่งที่ต้องการวัดและประเมินผล 9.1.1 ทดสอบความรู้จากบทเรียน 9.1.2 ตรวจใบงาน 9.1.3 ประเมินพฤติกรรมในการเรียน 9.1.4 ประเมินคุณลักษณะอันพีงประสงค์ 9.2 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 9.2.1 แบบทดสอบท้ายบทเรียน 9.2.2 ใบงาน 9.2.3 แบบประเมินพฤติกรรมในการเรียน 9.2.4 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 9.3 เกณฑ์การประเมิน 9.3.1 ทดสอบท้ายบทเรียนนักเรียนผ่านเกณฑ์ประเมิน คะแนนตั้งแต่พอใช้ขึ้นไป 9.3.2 ใบงาน นักเรียนผ่านเกณฑ์ประเมิน ระดับคะแนนตั้งแต่พอใช้ ขึ้นไป 9.3.3 พฤติกรรมในการเรียนนักเรียนผ่านเกณฑ์ประเมินคะแนนตั้งแต่พอใช้ขึ้นไป 9.3.3.1 ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม (น้าหนัก 4 ) 9.3.3.2 ความตั้งใจในการทางาน (น้าหนัก 3 ) 9.3.3.3 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น (น้าหนัก 3) 9.3.4 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียนผ่านเกณฑ์ประเมิน ตั้งแต่พอใช้ ขึ้นไป 9.3.4.1 ความร่วมมือในการทางาน ( น้าหนัก 4 ) 9.3.4.2 ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ( น้าหนัก 3 ) 9.3.4.3 ความมีวินัย ( น้าหนัก 3 )
  • 4. 46 บันทึกการตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ 1. ความถูกต้องและความสมบูรณ์ของแผนการจัดการเรียนรู้  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง 2. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ  ดีมาก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง 3. ภาพรวมของแผนการจัดการเรียนรู้  นาไปใช้ได้จริง  ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้ 4. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………. …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………. ลงชื่อ (นายเอกสิทธิ์ สิทธิชัย) ตาแหน่ง ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านต้นปรง วันที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2556
  • 5. 47 บันทึกผลหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ผลการเรียนรู้ 1.1 นักเรียนทาแบบทดสอบท้ายบทเรียน ระดับคุณภาพ ดีมาก จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ระดับคุณภาพ ดี จานวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 50.00 ระดับคุณภาพ พอใช้ จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ระดับคุณภาพ ปรับปรุง จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ - 1.2 นักเรียนทาใบงาน ระดับคุณภาพ ดีมาก จานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 28.95 ระดับคุณภาพ ดี จานวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 71.05 ระดับคุณภาพ พอใช้ จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ระดับคุณภาพ ปรับปรุง จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ - 1.3 พฤติกรรมในการเรียนของนักเรียน ระดับคุณภาพ ดีมาก จานวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ระดับคุณภาพ ดี จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ระดับคุณภาพ พอใช้ จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ระดับคุณภาพ ปรับปรุง จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ - 1.4 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียน ระดับคุณภาพ ดีมาก จานวน 38 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ระดับคุณภาพ ดี จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ระดับคุณภาพ พอใช้ จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ - ระดับคุณภาพ ปรับปรุง จานวน - คน คิดเป็นร้อยละ - 2. ปัญหา/อุปสรรค - 3. แนวทางการแก้ไข/พัฒนา - ลงชื่อ ผู้สอน (นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์)
  • 6. 48 ใบกิจกรรม เกมใจเขาใจเรา จุดประสงค์ การสร้างความคุ้นเคย ความสัมพันธ์ การอยู่ร่วมกัน ความสามัคคี ความรัก ช่วยเหลือกัน การเข้า กลุ่ม การจัดวางตัว ความเสียสละ ความเป็นผู้นา ผู้ตาม ความจริงใจ การยอมรับตนเองและผู้อื่น กติการเล่น เกมใจเขาใจเรา ครูแจกบัตรคาคนละ 3 ใบ (อาจจะมากกว่านี้ก็ได้) ที่มีข้อความต่างๆ เขียน อยู่ เป็นข้อความที่บ่งบอกพฤติกรรม บุคลิก ลักษณะนิสัย ที่มีทั้งดีและไม่ดีคละกัน เช่น ใจดี ฟันสวย เรียนเก่ง มีน้าใจ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ รักเพื่อน ตั้งใจเรียน ปากจัด ขี้เกียจ ขยัน อดทน มีวินัย ซื่อสัตย์ ขี้โกง ฯลฯ แล้วเปิดโอกาสให้ทุกคนได้แลกกันภายในเวลาที่กาหนด เมื่อเริ่มการแลกเปลี่ยนบัตรคา ครู สังเกตพฤติกรรมนักเรียนเห็นใบหน้าที่หลากหลายอารมณ์ของผู้เล่นเกิดขึ้น มีทั้งใบหน้าที่ยิ้มแย้ม แสดงถึงความพอใจ ใบหน้าโกรธแค้นไม่พอใจ ใบหน้าสงสัยข้องใจ ใบหน้าเจ้าเล่ห์มีเลิศนัย เมื่อ หมดเวลาจึงมาดูว่าแต่ละคนมีบัตรคาอะไรกันบ้าง และรู้สึกอย่างไรกับข้อความที่อยู่ในมือบางคน รู้สึกพอใจมากเมื่อหมดเวลามีแต่ข้อความดีๆ อยู่ในมือ...บางคนรู้สึกไม่พอใจที่มีข้อความไม่ดีอยู่กับ ตัว เพราะเป็นสิ่งที่ไม่อยากได้หรือไม่ตรงกับนิสัยของตัวเอง...บางคนบอกว่าตอนแรกสุดตัวเองได้ แต่ข้อความดี ๆ จนไม่อยากแลกกับใคร แต่พอมีการแลก เพื่อนเอาข้อความไม่ดีมาแลก รู้สึกไม่ อยากได้จนต้องรีบเอาไปแลกต่อกับเพื่อนคนอื่น...บางคนรู้สึกดี แกมรู้สึกผิดนิดๆ ที่เอาข้อความไม่ ดีไปแลกกับเพื่อน แต่ได้รับข้อความดี ๆ จากเพื่อนกลับมา ส่วนใหญ่ คนมักจะนาข้อความไม่ดีไป แลก เก็บข้อความดีๆ ไว้กับตัว และคาดหวังจะได้ข้อความดีๆ จากคนอื่น “เมื่อเราได้รับรู้ถึงความรู้สึกของผู้รับ ว่าอยากรับสิ่งดี ๆ เราในฐานะผู้ให้ก็ควรมอบสิ่งดี ให้กัน การให้และการรับไม่ได้มีความหมายแค่การให้สิ่งของเท่านั้น การเอาใจเขามาใส่ใจเรา จะเป็นบ่อเกิดของความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้ง ซึ่งจะเป็นพื้นฐานของการทางานร่วมกัน ที่มา : เกมใจเขาใจเรา http://www.women-family.go.th/wofa/modules/eeiku/files/eye- website.pdf เกมใจเขาใจเรา สืบค้นเมื่อวันที่ 18 สิงหาคม 2556
  • 7. 49 ใบความรู้ เรื่อง ทักษะการสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่น การมีความสัมพันธ์อันดีกับผู้อื่นเป็นสิ่งจาเป็นในการมีชีวิตอยู่ของมนุษย์ พัฒนาการทาง สังคม และความคิดความเข้าใจของบุคคล พัฒนาขึ้นจากการมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น เอกลักษณ์ของ แต่ละบุคคล ความสาเร็จในอาชีพ การค้นพบความหมายของชีวิตและสุขภาพจิต ล้วนได้รับ ผลกระทบจากสัมพันธภาพระหว่างบุคคลมนุษย์แต่ละคนถูกหล่อหลอมจากประสบการณ์ให้มี ความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ และค่านิยม ที่แตกต่างกัน ดังนั้นการเชื่อม ความสัมพันธ์ระหว่างกัน ต้องอาศัยความเข้าใจถึงปัจจัยที่สาคัญที่ส่งผลต่อสัมพันธภาพที่มีระหว่างกัน เพื่อบุคคลทั้งสองฝ่าย จะได้ประสบความสาเร็จในการสร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อกันคุณค่าของสัมพันธภาพระหว่างบุคคล รู้จุดเด่น และจุดด้อยของตนเอง รู้และเข้าใจถึง ความแตกต่างระหว่างบุคคล รวมทั้งเรียนรู้ความเป็น จริงของโลก โดยสัมพันธภาพอันดีระหว่างบุคคล จะช่วยให้การเรียนรู้ เป็นไปโดยไม่บิดเบือน มี การยอมรับและเข้าใจสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างที่เป็นจริง การพัฒนาเอกลักษณ์ของตนเอง การมีความรู้สึก ว่าชีวิตมีความหมายและมีคุณค่า และการมีสุขภาพจิตที่ดีและสามารถพัฒนาตนให้ไปถึงศักยภาพ สูงสุดของตนได้ แต่บุคคลที่ไม่สามารถสร้างสัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่นได้ จะรู้สึกอ้างว้าง โดดเดี่ยว เกิดความรู้สึกว่าชีวิตไร้ความหมาย และนาไปสู่ความรู้สึกซึมเศร้า และท้อแท้ในชีวิต และการมี พฤติกรรมที่เป็นปัญหาได้เช่น พฤติกรรมแยกตัวจากสังคม การติดยาเสพติด การสร้างและคงไว้ซึ่ง สัมพันธภาพที่ดีกับผู้อื่นจะเกิดบรรลุผลได้ ต้องอาศัยคุณลักษณะที่สาคัญของบุคคล ในการยอมรับ และส่งเสริมซึ่งกันและกัน ปัจจัย ที่สาคัญ คือ ทักษะการสร้างสัมพันธภาพกับผู้อื่น คือ การเปิดเผย ตนเอง การไว้วางใจซึ่งกันและกัน และการสื่อสารความเข้าใจ ดร.เอมอร กฤษณะรังสรรค์ จีน แบรี่. คู่มือการฝึกทักษะให้การปรึกษา. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย , 2538. ที่มา : http://www.novabizz.com/NovaAce/Relationship/Skill.htm สืบค้นเมื่อวันที่ 20 เมษายน2554
  • 9. 51 แบบทดสอบท้ายบทเรียนที่ 1 เล่มที่ 1 1. ให้นักเรียนเขียนสรุปวิธีการสร้างสัมพันธภาพกับครอบครัว กับเพื่อน ๆ และบุคคลทั่วไป 2. ให้นักเรียนเขียนตัวอย่างสถานการณ์ เพื่อแก้ปัญหาโดยใช้สัมพันธภาพ 3. ให้นักเรียนเขียนเรื่องราวที่เคยใช้สัมพันธภาพแก้ปัญหาอย่างได้ผลคนละ 1 เรื่อง 4. ให้นักเรียนทาผังความคิดคุณสมบัติของเพื่อนที่นักเรียนชอบ 5. ให้นักเรียนวิเคราะห์คุณสมบัติของตัวเองในการสร้างสัมพันธภาพที่จะต้อง พัฒนาปรับปรุงแก้ไข
  • 10. 52 เฉลยใบงาน แนวคาตอบ เด็กในภาพทั้ง 2 ภาพ มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน สังเกตได้จาก นักเรียนทั้งสองคนมีน้าใจ ช่วยเหลือ ซึ่งกันและกัน เช่น ช่วยสอนการบ้าน เพื่อนช่วยเพื่อน ให้คาปรึกษา ให้ยืมหนังสือ เป็นต้น (อยู่ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)
  • 11. 53 คุณสมบัติของเพื่อนที่ข้าพเจ้าชอบ จริงใจ ณสมบัติของเพื่อนที่ข้าพเจ้าชอบ 1. สัมพันธภาพในครอบครัว เช่น แสดงความรัก ความห่วงใยต่อกัน ใช้คาพูดที่อ่อนหวาน รู้จักช่วยเหลือครอบครัว มีความสามัคคี ไม่ทะเลาะเบาะแว้ง รู้จักให้อภัย สัมพันธภาพกับเพื่อน ๆ โดยการแสดงความมีน้าใจ รู้จักแบ่งปันช่วยเหลือเพื่อน ไม่เล่นกับเพื่อนรุนแรง ไม่รังแกเพื่อน ช่วยเหลืองานกลุ่ม ยอมรับฟังความคิดเห็น ไม่เอาแต่ใจตนเอง รู้จักให้อภัย สัมพันธภาพกับบุคคลอื่น ต้องยิ้มแจ่มใส แสดงกิริยาที่สุภาพเรียบร้อย มีสัมมา คารวะ ให้ความเคารพผู้ใหญ่ มีจิตอาสาช่วยเหลือ 2. ใช้คาพูดกิริยามารยาทที่ไพเราะอ่อนหวานและจริงใจ เช่น ถ้ารู้ว่าเพื่อนโกรธโดยไม่ทราบ สาเหตุ เราก็เข้าไปพูดกับเขาโดยใช้คาพูดที่สุภาพและจริงใจ ไม่ดูหมิ่นดูแคลน (อยู่ในดุลยพินิจของครู) 3. กรณีความเข้าใจผิดระหว่างคนสองคน คือ แก้ปัญหาโดยการติดต่อพูดคุย เปิดเผยตนเอง เอาใจเขามาใส่ใจเรา คุยด้วยความจริงใจ ไว้วางใจซึ่งกันและกัน รู้จักยืดหยุ่น ทาให้เข้าอก เข้าใจผู้อื่นและเข้าใจตนเองมากขึ้น จนทาให้เกิดการมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันตลอดไป (อยู่ ในดุลยพินิจของครู) 4. เข้าอกเข้าใจผู้อื่น (อยู่ในดุลยพินิจของครู) 5. พูดจาหยาบคาย ไม่รู้จักแบ่งปัน ขาดการเอาใจใส่ เอาแต่ใจตนเอง (อยู่ในดุลยพินิจของครู) เฉลยแบบทดสอบท้ายบทเรียนที่ 1 เล่มที่ 1 ใจดี เสียสละ พูดจาสุภาพ
  • 12. 54 เกณฑ์การประเมินใบงานและการทดสอบ ระดับคุณภาพ 9 – 10 ดีมาก 7 – 8 ดี 5 – 6 พอใช้ 0 – 4 ปรับปรุง ผ่านเกณฑ์ ระดับคะแนน ตั้งแต่พอใช้ขึ้นไป ลงชื่อ ผู้ประเมิน (นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์)
  • 13. 55 แบบประเมิน พฤติกรรมในการเรียน ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านต้นปรง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2 ****************************** ชื่อ………………………………………………………………....เลขที่……………………. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง……………………………………………….. ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน น้าหนัก 4 3 2 1 1. ความร่วมมือในการปฏิบัติกิจกรรม 4 2. ความตั้งใจในการทางาน 3 3. การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น 3 รวมคะแนน ( น้าหนัก ) - รวมคะแนนทั้งหมด ( 40 ) ระดับคุณภาพ ลงชื่อ ผู้ประเมิน (นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์)
  • 14. 56 รายละเอียดเกณฑ์การให้ระดับคะแนนพฤติกรรมในการเรียน ประเด็น การประเมิน เกณฑ์การให้ระดับคะแนน น้าหนัก จุดเน้น4 3 2 1 1. ความร่วมมือ ในการปฏิบัติ กิจกรรม มีพฤติกรรมนั้น ๆ อย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ มีพฤติกรรมนั้น ๆ เป็นประจา มีพฤติกรรมนั้น ๆ เป็นบางครั้ง มีพฤติกรรม นั้น ๆ น้อยมาก 4 2. ความตั้งใจ ในการทางาน มีพฤติกรรมนั้น ๆ อย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ มีพฤติกรรมนั้น ๆ เป็นประจา มีพฤติกรรมนั้น ๆ เป็นบางครั้ง มีพฤติกรรม นั้น ๆ น้อยมาก 3 3. การยอมรับฟัง ความคิดเห็นผู้อื่น มีพฤติกรรมนั้น ๆ อย่างต่อเนื่อง สม่าเสมอ มีพฤติกรรมนั้น ๆ เป็นประจา มีพฤติกรรมนั้น ๆ เป็นบางครั้ง มีพฤติกรรม นั้น ๆ น้อยมาก 3 ระดับคุณภาพ คะแนน 31 – 40 หมายถึง ดีมาก คะแนน 21 – 30 หมายถึง ดี คะแนน 11 – 20 หมายถึง พอใช้ คะแนน 1 – 10 หมายถึง ปรับปรุง ผ่านเกณฑ์การประเมิน ระดับคะแนน ตั้งแต่ พอใช้ขึ้นไป
  • 15. 57 แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านต้นปรง สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 2 ชื่อ…………………………………………………………....เลขที่……………………. กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา เรื่อง…………………………...…………….. ลงชื่อ ผู้ประเมิน (นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์) ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน น้าหนัก 4 3 2 1 1. ความร่วมมือในการทางาน 4 2. ความรับผิดชอบต่อหน้าที่ 3 3. ความมีวินัย 3 รวมคะแนน ( น้าหนัก ) - รวมคะแนนทั้งหมด ( 40 ) ระดับคุณภาพ
  • 16. 58 รายละเอียดเกณฑ์การให้ระดับคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ประเด็น การประเมิน เกณฑ์การให้ระดับคะแนน น้าหนัก จุดเน้น4 3 2 1 1. ความร่วมมือ ในการทางาน มีส่วนร่วมและให้ ความร่วมมืออย่าง เต็มที่ ให้ความร่วมมือดี ให้ความร่วมมือ พอใช้ ให้ความร่วมมือ น้อย 4 2. ความรับ ผิดชอบต่อหน้าที่ รู้หน้าที่และมีความ รับผิดชอบ ต่อหน้าที่ของตน มีความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่อย่าง ต่อเนื่องสม่าเสมอ มีความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่เป็น บางครั้ง มีความรับ ผิดชอบต่อ หน้าที่น้อยมาก 3 3. ความมีวินัย - ขณะปฏิบัติ กิจกรรม ปฏิบัติ ตามกติกาที่ได้ ตกลงกัน - ไม่รบกวนบุคคล อื่นในขณะปฏิบัติ กิจกรรม ไม่รบกวนผู้อื่นแต่ ปฏิบัติตามกติกา เป็นส่วนใหญ่ ไม่รบกวนผู้อื่นแต่ ปฏิบัติตามกติกา เป็นบางครั้ง ไม่ปฏิบัติตาม กติกาและ รบกวนผู้อื่น 3 ระดับคุณภาพ คะแนน 31 – 40 หมายถึง ดีมาก คะแนน 21 – 30 หมายถึง ดี คะแนน 11 – 20 หมายถึง พอใช้ คะแนน 1 – 10 หมายถึง ปรับปรุง ผ่านเกณฑ์ ระดับคะแนน ตั้งแต่ พอใช้ขึ้นไป
  • 17. 59 ตารางบันทึกคะแนนตารางบันทึกคะแนนใบงานและทดสอบท้ายบทเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า ที่ ชื่อ-สกุล ใบงาน ระดับ คุณภาพ ทดสอบท้ายบทเรียน ระดับ คุณภาพ9-10 7-8 5-6 0-4 9-10 7-8 5-6 0-4 1 เด็กชายศุภชัย คงชุม 9 ดีมาก 9 ดีมาก 2 เด็กชายณัฐกร บุญเสน 9 ดีมาก 9 ดีมาก 3 เด็กชายธนธรณ์ เก้าซุ่น 7 ดี 7 ดี 4 เด็กชายพีรวิทย์ชอบชื่น 7 ดี 7 ดี 5 เด็กชายธนกร แซ่หลี 7 ดี 7 ดี 6 เด็กชายธนชัย นุ่นชูผล 8 ดี 9 ดีมาก 7 เด็กชายศุภชัย ยอดทอง 7 ดี 9 ดีมาก 8 เด็กชายธรรณธร บุญศิริ 7 ดี 8 ดี 9 เด็กชายกิตติภัฎ อินทรวิเศษ 7 ดี 9 ดีมาก 10 เด็กชายอัษฎาวุธ แสงสุวรรณ์ 8 ดี 9 ดีมาก 11 เด็กชายเพียวพงศ์ สมบูรณ์ 7 ดี 7 ดี 12 เด็กชายภัทรพล พยุงกุลอนันต์ 8 ดี 9 ดีมาก 13 เด็กชายทินกร นวลสม 8 ดี 9 ดีมาก 14 เด็กชายกฤตนัย เมืองสง 8 ดี 9 ดีมาก 15 เด็กชายนนธวัช สงสุวรรณ 9 ดีมาก 8 ดี 16 เด็กชายธนวัฒน์ ลือลั่น 9 ดีมาก 9 ดีมาก 17 เด็กหญิงอรัญญา สุขเสน 8 ดี 9 ดีมาก 18 เด็กหญิงณิชนันนท์ แท่นทอง 8 ดี 9 ดีมาก 19 เด็กหญิงจิราวรรณ เมืองราช 9 ดีมาก 10 ดีมาก 20 เด็กหญิงฝนทิพ เมืองแก้ว 8 ดี 10 ดีมาก 21 เด็กหญิงจอมขวัญ ปานแดง 8 ดี 8 ดี 22 เด็กหญิงณัฐนิช พิมมะทา 8 ดี 8 ดี 23 เด็กหญิงพลอยไพลิน ศรีสุวรรณ 8 ดี 8 ดี
  • 18. 60 ตารางบันทึกคะแนนตารางบันทึกคะแนนใบงานและทดสอบท้ายบทเรียน (ต่อ) กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า ที่ ชื่อ-สกุล ใบงาน ระดับ คุณภาพ ทดสอบท้ายบทเรียน ระดับ คุณภาพ9-10 7-8 5-6 0-4 9-10 7-8 5-6 0-4 24 เด็กหญิงโสมระวี ณ นคร 9 ดีมาก 9 ดีมาก 25 เด็กหญิงชลิตา เหมทานนท์ 9 ดีมาก 9 ดีมาก 26 เด็กหญิงนุธามาส เพชรสวี 7 ดี 7 ดี 27 เด็กหญิงวนิสา สัพเจริญ 7 ดี 7 ดี 28 เด็กหญิงหทัยพัชร หยูศรี 7 ดี 7 ดี 29 เด็กหญิงจิราพัชร น้าเพชร 9 ดีมาก 8 ดี 30 เด็กหญิงญาสุมินทร์ สุขคง 9 ดีมาก 7 ดี 31 เด็กหญิงณัฐนรี แซ่ภู่ 7 ดี 8 ดี 32 เด็กหญิงณัฐณิชา ชุมทองโด 9 ดีมาก 7 ดี 33 เด็กหญิงรสนันท์ กันขันคา 9 ดีมาก 8 ดี 34 เด็กหญิงปัญญดา คงพล 7 ดี 7 ดี 35 เด็กหญิงพัชราภรณ์ ปราบเขต 8 ดี 9 ดีมาก 36 เด็กหญิงชีวาพร ไหมทอง 8 ดี 9 ดีมาก 37 เด็กหญิงมณีรัตน์ สีโย 8 ดี 9 ดีมาก 38 เด็กหญิงธัญลักษณ์ ทันเพื่อน 8 ดี 8 ดี ลงชื่อ ผู้ประเมิน (นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์)
  • 19. 61 ตารางบันทึกคะแนนพฤติกรรมในการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า เลข ที่ ชื่อ – สกุล ประเด็นการประเมิน 1. ความร่วมมือ ในการปฏิบัติ กิจกรรม 2. ความตั้งใจ ในการทางาน 3. การยอมรับฟัง ความคิดเห็นผู้อื่น รวม ระดับ คุณภาพ 16 12 12 40 1 เด็กชายศุภชัย คงชุม 16 9 9 34 ดีมาก 2 เด็กชายณัฐกร บุญเสน 16 9 9 34 ดีมาก 3 เด็กชายธนธรณ์ เก้าซุ่น 16 9 9 34 ดีมาก 4 เด็กชายพีรวิทย์ชอบชื่น 16 9 9 34 ดีมาก 5 เด็กชายธนกร แซ่หลี 16 9 9 34 ดีมาก 6 เด็กชายธนชัย นุ่นชูผล 16 9 9 34 ดีมาก 7 เด็กชายศุภชัย ยอดทอง 16 9 9 34 ดีมาก 8 เด็กชายธรรณธร บุญศิริ 16 9 9 34 ดีมาก 9 เด็กชายกิตติภัฎ อินทรวิเศษ 16 9 9 34 ดีมาก 10 เด็กชายอัษฎาวุธ แสงสุวรรณ์ 16 9 9 34 ดีมาก 11 เด็กชายเพียวพงศ์ สมบูรณ์ 16 9 9 34 ดีมาก 12 เด็กชายภัทรพล พยุงกุลอนันต์ 16 9 9 34 ดีมาก 13 เด็กชายทินกร นวลสม 16 9 9 34 ดีมาก 14 เด็กชายกฤตนัย เมืองสง 16 9 9 34 ดีมาก 15 เด็กชายนนธวัช สงสุวรรณ 16 9 9 34 ดีมาก 16 เด็กชายธนวัฒน์ ลือลั่น 16 9 9 34 ดีมาก 17 เด็กหญิงอรัญญา สุขเสน 16 9 9 34 ดีมาก 18 เด็กหญิงณิชนันนท์ แท่นทอง 16 9 9 34 ดีมาก 19 เด็กหญิงจิราวรรณ เมืองราช 16 9 9 34 ดีมาก 20 เด็กหญิงฝนทิพ เมืองแก้ว 16 9 9 34 ดีมาก 21 เด็กหญิงจอมขวัญ ปานแดง 16 9 9 34 ดีมาก 22 เด็กหญิงณัฐนิช พิมมะทา 16 9 9 34 ดีมาก 23 เด็กหญิงพลอยไพลิน ศรีสุวรรณ 16 9 9 34 ดีมาก
  • 20. 62 ตารางบันทึกคะแนนพฤติกรรมในการเรียน (ต่อ) กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า เลขที่ ชื่อ – สกุล ประเด็นการประเมิน 1. ความร่วมมือ ในการปฏิบัติ กิจกรรม 2. ความตั้งใจ ในการทางาน 3. การยอมรับฟัง ความคิดเห็นผู้อื่น รวม ระดับ คุณภาพ 16 12 12 40 24 เด็กหญิงโสมระวี ณ นคร 16 9 9 34 ดีมาก 25 เด็กหญิงชลิตา เหมทานนท์ 16 9 9 34 ดีมาก 26 เด็กหญิงนุธามาส เพชรสวี 16 9 9 34 ดีมาก 27 เด็กหญิงวนิสา สัพเจริญ 16 9 9 34 ดีมาก 28 เด็กหญิงหทัยพัชร หยูศรี 16 9 9 34 ดีมาก 29 เด็กหญิงจิราพัชร น้าเพชร 16 9 9 34 ดีมาก 30 เด็กหญิงญาสุมินทร์ สุขคง 16 9 9 34 ดีมาก 31 เด็กหญิงณัฐนรี แซ่ภู่ 16 9 9 34 ดีมาก 32 เด็กหญิงณัฐณิชา ชุมทองโด 16 9 9 34 ดีมาก 33 เด็กหญิงรสนันท์ กันขันคา 16 9 9 34 ดีมาก 34 เด็กหญิงปัญญดา คงพล 16 9 9 34 ดีมาก 35 เด็กหญิงพัชราภรณ์ ปราบเขต 16 9 9 34 ดีมาก 36 เด็กหญิงชีวาพร ไหมทอง 16 9 9 34 ดีมาก 37 เด็กหญิงมณีรัตน์ สีโย 16 9 9 34 ดีมาก 38 เด็กหญิงธัญลักษณ์ ทันเพื่อน 16 9 9 34 ดีมาก ลงชื่อ ผู้ประเมิน (นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์)
  • 21. 63 ตารางบันทึกคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า เลขที่ ชื่อ – สกุล ประเด็นการประเมิน 1. ความร่วมมือ ในการทางาน 2. ความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่ 3. ความมี วินัย รวม ระดับ คุณภาพ 16 12 12 40 1 เด็กชายศุภชัย คงชุม 16 9 9 34 ดีมาก 2 เด็กชายณัฐกร บุญเสน 16 9 9 34 ดีมาก 3 เด็กชายธนธรณ์ เก้าซุ่น 16 9 9 34 ดีมาก 4 เด็กชายพีรวิทย์ชอบชื่น 16 7 8 31 ดีมาก 5 เด็กชายธนกร แซ่หลี 16 8 9 33 ดีมาก 6 เด็กชายธนชัย นุ่นชูผล 16 9 9 34 ดีมาก 7 เด็กชายศุภชัย ยอดทอง 16 7 8 31 ดีมาก 8 เด็กชายธรรณธร บุญศิริ 16 7 8 31 ดีมาก 9 เด็กชายกิตติภัฎ อินทรวิเศษ 16 9 9 34 ดีมาก 10 เด็กชายอัษฎาวุธ แสงสุวรรณ์ 16 9 9 34 ดีมาก 11 เด็กชายเพียวพงศ์ สมบูรณ์ 16 7 8 31 ดีมาก 12 เด็กชายภัทรพล พยุงกุลอนันต์ 16 9 9 34 ดีมาก 13 เด็กชายทินกร นวลสม 16 9 9 34 ดีมาก 14 เด็กชายกฤตนัย เมืองสง 16 9 9 34 ดีมาก 15 เด็กชายนนธวัช สงสุวรรณ 16 9 9 34 ดีมาก 16 เด็กชายธนวัฒน์ ลือลั่น 16 9 9 34 ดีมาก 17 เด็กหญิงอรัญญา สุขเสน 16 9 9 34 ดีมาก 18 เด็กหญิงณิชนันนท์ แท่นทอง 16 9 9 34 ดีมาก 19 เด็กหญิงจิราวรรณ เมืองราช 16 9 9 34 ดีมาก 20 เด็กหญิงฝนทิพ เมืองแก้ว 16 9 9 34 ดีมาก 21 เด็กหญิงจอมขวัญ ปานแดง 16 9 9 34 ดีมาก 22 เด็กหญิงณัฐนิช พิมมะทา 16 9 9 34 ดีมาก 23 เด็กหญิงพลอยไพลิน ศรีสุวรรณ 16 9 9 34 ดีมาก
  • 22. 64 ตารางบันทึกคะแนนคุณลักษณะอันพึงประสงค์(ต่อ) กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า เลขที่ ชื่อ – สกุล ประเด็นการประเมิน 1. ความร่วมมือ ในการทางาน 2. ความรับผิดชอบ ต่อหน้าที่ 3. ความมี วินัย รวม ระดับ คุณภาพ 16 12 12 40 24 เด็กหญิงโสมระวี ณ นคร 16 9 9 34 ดีมาก 25 เด็กหญิงชลิตา เหมทานนท์ 16 9 9 34 ดีมาก 26 เด็กหญิงนุธามาส เพชรสวี 16 9 9 34 ดีมาก 27 เด็กหญิงวนิสา สัพเจริญ 16 7 8 31 ดีมาก 28 เด็กหญิงหทัยพัชร หยูศรี 16 8 9 33 ดีมาก 29 เด็กหญิงจิราพัชร น้าเพชร 16 9 9 34 ดีมาก 30 เด็กหญิงญาสุมินทร์ สุขคง 16 7 8 31 ดีมาก 31 เด็กหญิงณัฐนรี แซ่ภู่ 16 7 8 31 ดีมาก 32 เด็กหญิงณัฐณิชา ชุมทองโด 16 9 9 34 ดีมาก 33 เด็กหญิงรสนันท์ กันขันคา 16 9 9 34 ดีมาก 34 เด็กหญิงปัญญดา คงพล 16 7 8 31 ดีมาก 35 เด็กหญิงพัชราภรณ์ ปราบเขต 16 9 9 34 ดีมาก 36 เด็กหญิงชีวาพร ไหมทอง 16 9 9 34 ดีมาก 37 เด็กหญิงมณีรัตน์ สีโย 16 9 9 34 ดีมาก 38 เด็กหญิงธัญลักษณ์ ทันเพื่อน 16 8 8 32 ดีมาก ลงชื่อ ผู้ประเมิน (นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์)
  • 23. 65 ตารางบันทึกการประเมินการทางานกลุ่ม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า ที่ ประเด็นการประเมิน ความร่วมมือ ขั้นตอนการ ทางาน หน้าที่ รับผิดชอบ รวมคะแนน ระดับ คุณภาพ ชื่อ – สกุล 5 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 10 คะแนน 1 เด็กชายศุภชัย คงชุม 5 3 1 9 ดีมาก 2 เด็กชายณัฐกร บุญเสน 5 3 1 9 ดีมาก 3 เด็กชายธนธรณ์ เก้าซุ่น 5 3 1 9 ดีมาก 4 เด็กชายพีรวิทย์ชอบชื่น 4 3 1 8 ดี 5 เด็กชายธนกร แซ่หลี 4 3 1 8 ดี 6 เด็กชายธนชัย นุ่นชูผล 4 3 1 8 ดี 7 เด็กชายศุภชัย ยอดทอง 4 3 1 8 ดี 8 เด็กชายธรรณธร บุญศิริ 5 3 1 8 ดี 9 เด็กชายกิตติภัฎ อินทรวิเศษ 4 3 1 9 ดีมาก 10 เด็กชายอัษฎาวุธ แสงสุวรรณ์ 5 3 1 9 ดีมาก 11 เด็กชายเพียวพงศ์ สมบูรณ์ 4 3 1 8 ดีมาก 12 เด็กชายภัทรพล พยุงกุลอนันต์ 5 3 1 9 ดีมาก 13 เด็กชายทินกร นวลสม 5 3 1 9 ดีมาก 14 เด็กชายกฤตนัย เมืองสง 5 3 1 9 ดีมาก 15 เด็กชายนนธวัช สงสุวรรณ 5 3 1 9 ดีมาก 16 เด็กชายธนวัฒน์ ลือลั่น 5 3 1 9 ดีมาก 17 เด็กหญิงอรัญญา สุขเสน 5 3 1 9 ดีมาก 18 เด็กหญิงณิชนันนท์ แท่นทอง 5 3 1 9 ดีมาก 19 เด็กหญิงจิราวรรณ เมืองราช 5 3 1 9 ดีมาก 20 เด็กหญิงฝนทิพ เมืองแก้ว 5 3 1 9 ดีมาก 21 เด็กหญิงจอมขวัญ ปานแดง 5 3 1 9 ดีมาก 22 เด็กหญิงณัฐนิช พิมมะทา 5 3 1 9 ดีมาก 23 เด็กหญิงพลอยไพลิน ศรีสุวรรณ 5 3 1 9 ดีมาก
  • 24. 66 ตารางบันทึกการประเมินการทางานกลุ่ม (ต่อ) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพอันล้าค่า ที่ ประเด็นการประเมิน ความร่วมมือ ขั้นตอนการ ทางาน หน้าที่ รับผิดชอบ รวมคะแนน ระดับ คุณภาพ ชื่อ – สกุล 5 คะแนน 3 คะแนน 2 คะแนน 10 คะแนน 24 เด็กหญิงโสมระวี ณ นคร 5 3 1 9 ดีมาก 25 เด็กหญิงชลิตา เหมทานนท์ 5 3 1 9 ดีมาก 26 เด็กหญิงนุธามาส เพชรสวี 5 3 1 9 ดีมาก 27 เด็กหญิงวนิสา สัพเจริญ 4 3 1 8 ดี 28 เด็กหญิงหทัยพัชร หยูศรี 4 3 1 8 ดี 29 เด็กหญิงจิราพัชร น้าเพชร 4 3 1 8 ดี 30 เด็กหญิงญาสุมินทร์ สุขคง 4 3 1 8 ดี 31 เด็กหญิงณัฐนรี แซ่ภู่ 5 3 1 8 ดี 32 เด็กหญิงณัฐณิชา ชุมทองโด 4 3 1 9 ดีมาก 33 เด็กหญิงรสนันท์ กันขันคา 5 3 1 9 ดีมาก 34 เด็กหญิงปัญญดา คงพล 4 3 1 8 ดีมาก 35 เด็กหญิงพัชราภรณ์ ปราบเขต 5 3 1 9 ดีมาก 36 เด็กหญิงชีวาพร ไหมทอง 5 3 1 9 ดีมาก 37 เด็กหญิงมณีรัตน์ สีโย 5 3 1 9 ดีมาก 38 เด็กหญิงธัญลักษณ์ ทันเพื่อน 5 3 1 9 ดีมาก ลงชื่อ ผู้ประเมิน (นายสุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์)