SlideShare a Scribd company logo
1 of 35
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖
รหัสวิชา ท 22๑๐1 รายวิชา ภาษาไทย 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์ คาขวัญอาเภอโกสัมพีนคร
เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นางโสภิญญา ดารา โรงเรียนโกสัมพีวิทยา
……………………………………………………………………..
๑. หน่วยการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่องการเขียนเชิงสร้างสรรค์
๒. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ
และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและ
รายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
ม.4/1 เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ ตรงตามวัตถุประสงค์
โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูล และสาระสาคัญชัดเจน
ม.4/4 ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่างๆ
ม.4/5 ประเมินงานเขียนของผู้อื่น แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง
ม.4/7 บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพื่อนาไปพัฒนาตนเองอย่างสม่าเสมอ
3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
การเขียนสื่อสารเป็นการเขียนเพื่อถ่ายทอดความรู้ ความคิด
ไปยังผู้อ่านซึ่งมีองค์ประกอบด้านผู้เขียน ผู้อ่าน เนื้อหาและสื่อเป็นสาคัญ
การเขียนสื่อสารมีหลายรูปแบบทั้งด้านข่าว บทความ สารคดี และการเขียนอธิบาย
การเขียนสื่อสารในรูปแบบอธิบายเป็นการเขียนเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจและรับรู้เรื่องคว
ามหมายของคา หรือเรื่องราวต่างๆ
อย่างละเอียดและเข้าใจถูกต้องจนสามารถนาไปใช้สื่อสารในชีวิตประจาวันได้ถูกต้อ
ง
4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การเขียนสื่อสารในรูปแบบการอธิบาย
- การเขียนบรรยาย และพรรณนา (คาขวัญอาเภอโกสัมพีนคร)
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้ามี)
- ท้องถิ่นอาเภอโกสัมพีนคร
5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๑. ความสามารถในการสื่อสาร ๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑. มีวินัย ๒. ใฝ่เรียนรู้ ๓. มุ่งมั่นในการทางาน ๔.
รักความเป็นไทย
7. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด/ระหว่างเรียน)
- การเขียนบรรยาย และพรรณนา (คาขวัญอาเภอโกสัมพีนคร)
8. การวัดผลและประเมินผล (รวบยอด/ระหว่างเรียน)
8.1 การประเมินก่อนเรียน
- ทดสอบก่อนเรียน
8.2 การประเมินระหว่างการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
- การทากิจกรรม
8.3 การประเมินหลังเรียน
- ทดสอบหลังเรียน
8.4 การประเมินชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด/ระหว่างเรียน)
- การเขียนบรรยาย และพรรณนา (คาขวัญอาเภอโกสัมพีนคร)
9. กิจกรรมการเรียนรู้
- กิจกรรมนาสู่การเรียนรู้
- กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ ดังแนบมาพร้อมนี้
- กิจกรรมรวบยอด
10. เวลาเรียน จานวน 3 ชั่วโมง
1๑. กิจกรรมเสนอแนะ
๑๒. บันทึกหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
การออกแบบการจัดการเรียนรู้
รหัสวิชา ท 22๑๐1 รายวิชา ภาษาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง การเขียนเชิงสร้างสรรค์
(คาขวัญอาเภอโกสัมพีนคร) เวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัด
การเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
ตัวชี้วัด / จุดประสงค์การเรียนรู้
๙ การเขียนบรรยาย
และพรรณนา
(คาขวัญอาเภอโกสัมพีนคร)
ท 2.1 ม.4/1 เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้
ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อ
มีข้อมูล และสาระสาคัญชัดเจน
ม.4/4 ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่างๆ
ม.4/5 ประเมินงานเขียนของผู้อื่น
แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง
ม.4/7
บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพื่อนาไปพัฒนาตนเองอย่า
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙ การจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5
Steps
รหัสวิชา ท 221๐1 รายวิชา ภาษาไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง การเขียนเชิงสร้างสรรค์
(คาขวัญอาเภอโกสัมพีนคร) เวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่องการเขียนบรรยาย
เขียนพรรณนา(คาขวัญอาเภอโกสัมพีนคร) เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นางโสภิญญา ดารา โรงเรียนโกสัมพีวิทยา
สอนวันที่...............เดือน............. พ.ศ. ................
----------------------------------------------------------------
1. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
การจะเขียนอธิบาย เขียนบรรยาย และเขียนพรรณนาได้ดี
ผู้เขียนต้องเป็นผู้ที่อ่านมาก ฟังมาก
ช่างสังเกตสิ่งรอบตัว และควรจดบันทึกข้อมูลที่ได้จากการอ่าน การฟัง
และการสังเกต สะสมถ้อยคา
สานวนที่น่าสนใจ และฝึกฝนการเขียนอธิบาย บรรยาย
และพรรณนาอย่างสม่าเสมอ นอกจากนั้น
การสามารถเลือกใช้กลวิธีในการอธิบาย บรรยาย
และพรรณนาก็เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้การเขียน
ประสบความสาเร็จ
2. มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด/ผลการเรียนรู้
ท 2.1 ใช้กระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ย่อความ
และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่างๆเขียนรายงานข้อมูลสารสนเทศและ
รายงานการศึกษาค้นคว้าอย่างมีประสิทธิภาพ
๑.เขียนสื่อสารในรูปแบบต่าง ๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์
โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง
มีข้อมูลและสาระสาคัญชัดเจน (ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๑)
๒.ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบต่าง ๆ (ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๔)
๓.ประเมินงานเขียนของผู้อื่น แล้วนามาพัฒนางานเขียนของตนเอง (ท
๒.๑ ม. ๔-๖/๕)
๔.มีมารยาทในการเขียน (ท ๒.๑ ม. ๔-๖/๘)
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้(K)
๑. นักเรียนอธิบายความสาคัญและกลวิธีของการเขียนบรรยาย
และพรรณนา
3.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ( P)
๑. นักเรียนวิเคราะห์และจาแนกการเขียนบรรยาย และพรรณนา
๒. เขียนบรรยาย และพรรณนา (คาขวัญอาเภอโกสัมพีนคร)
ได้ตรงตามวัตถุประสงค์
3.3 ด้านเจตคติ(A)
๑. เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- กลวิธีในการเขียนบรรยาย และเขียนพรรณนา(ท้องถิ่นของเรา)
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น (ถ้ามี)
- เมืองโกสัมพีนคร
5. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๑.ความสามารถในการสื่อสาร
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
๑. ใฝ่เรียนรู้
๒. มุ่งมั่นในการทางาน
๓. รักความเป็นไทย
7. ทักษะในศตวรรษที่ 21 (3R ,8C)
๗.๑ ทักษะของคนในศตวรรษที่ ๒๑ คือการเรียนรู้ ๓R ๘C
 Reading (อ่านออก)
 (W) Riting (เขียนได้)
 (A) Rithemetics (คิดเลขเป็น)
 ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณและทักษะในการแก้ไขปัญหา
(Critical Thinking and Problem Solving)
 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม (Creativity and
Innovation)
 ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ (Cross-
cultural Understanding)
 ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็นทีมและภาวะผู้นา (Collaboration,
Teamwork and Leadership)
 ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศและรู้เท่าทันสื่อ (Communications,
Information, and Media Literacy)
 ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
(Computing and ICT Literacy)
 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้ (Career and Learning)
 มีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบียบวินัย
ซึ่งเป็นคุณลักษณะพื้นฐานสาคัญของทักษะขั้นต้นทั้งหมด
และเป็นคุณลักษณะที่เด็กไทยจาเป็นต้องมี (Compassion)
๗.๒ ทักษะด้านชีวิตและอาชีพ ของคนในศตวรรษที่ ๒๑
 ความยืดหยุ่นและการปรับตัว
 การริเริ่มสร้างสรรค์และเป็นตัวของตัวเอง
 ทักษะสังคมและสังคมข้ามวัฒนธรรม
 การเป็นผู้สร้างหรือผู้ผลิต (Productivity)
และความรับผิดชอบเชื่อถือได้
(Accountability)
 ภาวะผู้นาและความรับผิดชอบ (Responsibility)
๗.๓ คุณลักษณะของคนในศตวรรษที่ ๒๑
 คุณลักษณะด้านการทางาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็นผู้นา
 คุณลักษณะด้านการเรียนรู้ ได้แก่ การชี้นาตนเอง
การตรวจสอบการเรียนรู้ของตนเอง
 คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ ความเคารพผู้อื่น ความซื่อสัตย์
ความสานึกพลเมือง
การบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
๑ ความพอเพียง
๑.๑ ความพอประมาณ
การใช้ชีวิตตามหลักการพอมีพอกินการดาเนินชีวิตของประชาชนในสมัยก่อ
น
ที่อยู่อย่างพอมีพอกิน
๑.๒ ความมีเหตุผล มีหลักเหตุผลในการยอมรับความแตกต่าง
ความเห็นต่างของแต่ละคน
๑.๓ การมีภูมิคุ้มกันที่ดี
รู้หลักการดาเนินชีวิตที่ให้ดาเนินไปด้วยความสุข
๒ คุณธรรมกากับความรู้
๒.๑ เงื่อนไขคุณธรรม ความรับผิดชอบ
๒.๒ เงื่อนไขความรู้
รอบรู้เรื่องและมีความชานาญในเรื่องการการเขียนบรรยาย
และเขียนพรรณนา(คาขวัญอาเภอโกสัมพีนคร)
Latency Thinking Skill
Writing : เขียนบรรยาย และพรรณนา (คาขวัญอาเภอโกสัมพีนคร)
Reading :เนื้อหาการเขียนและบรรยายพรรณนา
(คาขวัญอาเภอโกสัมพีนคร)
Oral :นาเสนอผลงาน
8. กระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ (เทคนิคการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5
Steps)
ชั่วโมงที่ 1
กิจกรรม Brain Gym ร้องเพลง จีบ แอล
ขั้นที่ ๑ G= Gathering : ขั้นสังเกตและรวบรวมข้อมูล
.. ๑. นักเรียนร่วมกันสนทนา โดยตอบคาถามดังนี้
• นักเรียนจะทา อย่างไรให้งานเขียนของตนเองน่าอ่าน (ตัวอย่างคา
ตอบ เรียบเรียงเนื้อหาให้ถูกต้องใช้ภาษาสละสลวยหรือใส่คาประพันธ์ในงานเขียน)
๒. นักเรียนศึกษาความรู้เรื่องการเขียนบรรยายและพรรณนา แล้วร่วมกัน
ขั้นที่ ๒ P= Processing: ขั้นคิดวิเคราะห์และสรุปความรู้
๓. นักเรียน ๔-๕ คน ออกมาบรรยาย ลักษณะของเพื่อนคนใดคนหนึ่ง
แล้วให้เพื่อน ๆ ในชั้นเรียนช่วยกัน
ทายว่าเป็นใคร
๔. นักเรียนร่วมกันประเมินว่าใครบรรยายลักษณะของเพื่อนได้ดีที่สุด
๕. นักเรียนจับคู่กัน แล้วเขียนบรรยายลักษณะของเพื่อน
จากนั้นสลับกันอ่านว่าตรงตามลักษณะของตน
หรือไม่และช่วยกันปรับปรุงการเขียนบรรยายให้ถูกต้อง
(โดยครูต้องคอยเน้นย้าว่าต้องไม่เขียนล้อเลียนเพื่อน
หรือเขียนถึงเพื่อนในเชิงเสียหาย)
๖. นักเรียนร่วมกันอ่านคาประพันธ์หรือข้อความหน้าชั้นเรียน
แล้วร่วมกันวิเคราะห์ว่าเป็นการเขียนพรรณนา
หรือไม่ เพราะอะไร
ตัวอย่างคาประพันธ์หรือข้อความ
จนผมโกร๋นโล้นเกลี้ยงถึงเพียงหู
ดูเงาในน้าแล้วร้องไห้
ฮึดฮัดคัดแค้นแน่นใจ
ตาแดงดั่งแสงไฟฟ้า
บทละครเรื่องรามเกียรติ์ตอน นารายณ์ปราบนนทก: รัชกาลที่๑
บ้านผมเป็นเรือนปั้นหยา ๒ หลังแฝด มีนอกชานแล่นกลางแบบโบราณ
แต่ตัวเรือน ไม่เหมือนกันหลังใหญ่อยู่ด้านซ้ายมือของประตู
เข้าจากหน้าบ้านทาสีเขียวใต้ถุนลาดซีเมนต์
เป็น บริเวณกว้าง เสาเรือนใช้ซุงทั้งต้นกลม ๆ ทาไม จึงต้องใช้ซุงทั้งต้นก็ไม่ทราบ
เห็นจะเป็นเพราะ
สมัยก่อนไม้สักราคาถูก
เด็กบ้านสวน: พ. เนตรรังษี
ยามเอ๋ยยามนี้ ปถพีมืดมัวทั่วสถาน
อากาศเย็นเยือกหนาวคราววิกาล สงัดปานป่าใหญ่ไร้สา
เนียง
มีก็แต่เสียงจังหรีดกระกรีดกริ่ง! เรไรหริ่ง!
ร้องขรมระงมเสียง
คอกควายวัวรัวเกราะเปาะแปะ! เพียง รู้ว่าเสียงเกราะแว่วแผ่วแผ่วเอย
กลอนดอกสร้อยรา พึงในป่าช้า :
พระยาอุปกิตศิลปสาร
๗.
นักเรียนแบ่งกลุ่มตามความเหมาะสมแล้วออกไปดูสิ่งแวดล้อมนอกห้องเรียนโดยครู
อาจให้เวลาประมาณ
๑๕-๒๐
นาทีจากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนพรรณนาสิ่งแวดล้อมที่พบเห็นอย่างน้อย ๕
บรรทัด
๘.
นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาอ่านงานเขียนพรรณนาสิ่งแวดล้อมของกลุ่มตนเองให้เพื่อ
นฟัง เพื่อน ๆ
ร่วมกันประเมิน และครูให้คาแนะนาเพิ่มเติม
๙. นักเรียนคิดประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าโดยตอบคาถาม ดังนี้
• การเขียนบรรยายมีประโยชน์อย่างไร (ตัวอย่างคา ตอบ ทา
ให้เห็นเรื่องราวที่เป็นลาดับชัดเจน ก่อให้เกิด
ความเข้าใจแก่ผู้อ่าน)
• การเขียนพรรณนามีประโยชน์อย่างไร (ตัวอย่างคา ตอบ
สร้างสรรค์งานเขียนให้มีความน่าสนใจมากขึ้น
และทาให้ผู้อ่านเกิดจินตภาพขณะอ่าน)
ชั่วโมงที่ ๒
๑๐. นักเรียนกลุ่มเดิม แต่ละกลุ่มออกมาจับฉลากหน้าชั้นเรียน
ป่าสวยน้าใส กล้วยไข่แสนหวาน
แม่ปิงไหลผ่าน
อุทยานคลองวังเจ้า
ชาวเขามากมี
โบราณคดีลือเลื่อง
เมืองแห่ง สาวงาม นามโกสัมพีนคร
๑๑. นักเรียนวางแผนการเขียนบรรยายและพรรณนา
โดยพิจารณาให้เหมาะสมกับหัวข้อที่ได้รับ เพื่อผลิต
งานเขียนที่มีคุณภาพ
ขั้นที่ ๓ A= Applying 1 (Applying and Constructing the Knowledge)
:ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้
หลังการปฏิบัติ
๑๒.
นักเรียนแต่ละกลุ่มเขียนบรรยายและพรรณนาตามแผนงานที่วางไว้ประเมินผลงาน
เพื่อปรับปรุงให้
สมบูรณ์
13. นักเรียนร่วมกันสรุปกลวิธีในการเขียนบรรยายเป็นแผนภาพความคิด ดังนี้
1๔. นักเรียนร่วมกันสรุปกลวิธีการเขียนพรรณนาเป็นแผนภาพความคิด
ดังนี้
บรรยายตามลาดับเวล
า
บรรยายเฉพาะเหตุการณ์สาคั
ญ
บรรยายโดยเรียงลาดับเหตุการ
ณ์
บรรยายให้ครบ
บรรยายแบบแทรก
การพรรณนา
บรรยายโดยเรียงเหตุการณ์
ที่สาคัญที่สุดไว้ท้ายเรื่อง
บรรยายแบบสนทนา บรรยายจากการตั้งคาถา
ม
กลวิธีการเขียน
บรรยาย
วิเคราะห์ส่วนประกอบของสิ่งที่จะพรรณนาและพรรณนาให้สัมพันธ์กั
น
เลือกใช้ถ้อยคาพรรณนาให้เหมาะส พรรณนาโดยเน้นลักษณะเ
ด่น
กลวิธีการเขียน
พรรณนา
1๕. นักเรียนร่วมกันคิดประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่า
โดยอภิปรายเกี่ยวกับแนวทางในการพัฒนา
ความสามารถในการเขียนอธิบาย บรรยาย และพรรณนาว่าควรทาอย่างไร
จากนั้นนักเรียนแต่ละคนเขียนตามประเภทที่ตนเองจับฉลากได้
ความยาวประมาณ ๑ หน้ากระดาษ
โดยให้นางานเขียนนั้นมาจัดทาเป็นนวัตกรรมเชิงสร้างสรรค์ อาทิเช่น แผ่นพับ
โปสเตอร์ อินโฟกราฟฟิคหรือรูปแบบที่นักเรียนออกแบบเป็ นนวัตกรรมใหม่
16. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้
• การจะเขียนบรรยาย และเขียนพรรณนาได้ดี
ผู้เขียนต้องเป็นผู้ที่อ่านมาก ฟังมาก ช่างสังเกตสิ่งรอบตัว
และควรจดบันทึกข้อมูลที่ได้จากการอ่าน การฟัง และการสังเกต
สะสมถ้อยคาสานวนที่น่าสนใจ และฝึกฝนการเขียนอธิบาย บรรยาย
และพรรณนาอย่างสม่าเสมอ นอกจากนั้นการสามารถเลือกใช้กลวิธีในการอธิบาย
บรรยาย และพรรณนา ก็เป็นปัจจัยสาคัญที่ทาให้การเขียนประสบความสาเร็จ
ชั่วโมงที่ ๓
ขั้นที่ ๔ A= Applying 2 (Applying and Communication Skill) :
การสื่อสารและนาเสนอ
17. นักเรียนแต่ละคนออกมานาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
นักเรียนและครูร่วมกันประเมินผลงาน เพื่อนาไปพัฒนาการเขียนอธิบาย บรรยาย
และพรรณนาให้ดีขึ้น
18. นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายสรุปความรู้และประเมินผลงาน
สรุปเกี่ยวกับวิธีการทางานให้เห็นการคิดเชิงระบบ และวิธีการทางานที่มีแบบแผน
ขั้นที่ ๕ S=Self – regulating :
ขั้นประเมินเพื่อเพิ่มคุณค่าบริการสังคมและจิตสาธารณะ
19. นักเรียนนาเรื่องที่ตน เขียนบรรยาย
และเขียนพรรณนาไปเผยแพร่ให้เพื่อนหรือบุคคลอื่น ๆ ได้อ่าน
โดยอาจนาไปโพสต์บนเฟซบุ๊ก เว็บไซต์ต่าง ๆ หรือช่องทางอื่น ๆ
ตามความเหมาะสม
20. นักเรียนประเมินตนเอง
โดยเขียนแสดงความรู้สึกหลังการเรียนและหลังการทากิจกรรม ในประเด็นต่อไปนี้
• สิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ในวันนี้คืออะไร
• นักเรียนมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• เพื่อนนักเรียนในกลุ่มมีส่วนร่วมกิจกรรมในกลุ่มมากน้อยเพียงใด
• นักเรียนพึงพอใจกับการเรียนในวันนี้หรือไม่ เพียงใด
• นักเรียนจะนาความรู้ที่ได้นี้ไปใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง ครอบครัว
และสังคมทั่วไปได้อย่างไร
จากนั้นแลกเปลี่ยนตรวจสอบขั้นตอนการทางานทุกขั้นตอนว่าจะเพิ่มคุณค่าไปสู่สั
งคม เกิดประโยชน์ต่อสังคมให้มากขึ้นกว่าเดิมในขั้นตอนใดบ้าง
สาหรับการทางานในครั้งต่อไป
๙. สื่อการเรียนรู้/แหล่งเรียนรู้
9.1 สื่อการเรียนรู้
๑. หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย :
หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
๒.แบบฝึกเสริมทักษะเพิ่มผลสัมฤทธิ์ O-NET :
หลักภาษาและการใช้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
๓. แถบข้อความ แถบหัวข้อเรื่อง
4. เอกสารประกอบการสอเรื่องการเขียนบรรยายและเขียนพรรณนา
9.2 แหล่งเรียนรู้
- เวปไซต์ต่างๆจากอินเตอร์เน็ต
- แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
10. การวัดผลและประเมินผล(รวบยอด/ระหว่างเรียน)
วิธีการ
ด้านความรู้(K)
๑. การเขียนบรรยายและพรรณนา แบบทดสอบ
ด้านทักษะ/กระบวนการ(P)
๑. ประเมินกระบวนการทางานกลุ่ม
2. ประเมินงานเขียนบรรยาย และพรรณนา
- ประเมินกระบวนกา
- ประเมินงานเขียนบ
ด้านเจตคติ(A)
เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
แบบประเมินเจตคติ
เห็นคุณค่าและใช้ภาษ
ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม
ประเมินคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม
ความรับผิดชอบ
แบบประเมินคุณธรรม
ความรับผิดชอบ
ด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
๑.ความสามารถในการสื่อสาร
แบบประเมินสมรรถน
๑.ความสามารถในกา
๒. ความสามารถในการคิด
๓. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
๒. ความสามารถในก
๓. ความสามารถในก
วิธีการ เครื่องมือ
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการทางาน
3. รักความเป็นไทย
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ใฝ่เรียนรู้
2. มุ่งมั่นในการทางาน
3. รักความเป็นไทย
ในระดับ 1
ขึ้นไปทุกข้อจึงจ
๑๑. กิจกรรมเสนอแนะ
-
สร้างค่านิยมการใฝ่หาความรู้หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรงและทางอ้อมครูอธิบายใ
ห้นักเรียนเห็นความ สาคัญของการแสวงหาความรู้จากแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
อย่างสม่าเสมอ และการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม
โดยนักเรียนไปสืบค้นข้อมูลที่เป็นประโยชน์ทางอินเทอร์เน็ต
เพื่อพัฒนาทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยีและรู้จักเลือกใช้ข้อมูลเพื่อพัฒนาตนเอ
งและสังคม
๑๒. บันทึกหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
๑๒.1 ด้านความรู้ (K)
....................................................................................................
.......................................................
............................................................................................................
.............................................................
............................................................................................................
.............................................................
ด้านทักษะกระบวนการ(P)
....................................................................................................
.......................................................
............................................................................................................
.............................................................
............................................................................................................
.............................................................
ด้านเจตคติ(A)
....................................................................................................
.......................................................
............................................................................................................
.............................................................
............................................................................................................
.............................................................
๑2.๒ ปัญหาอุปสรรค/แนวทางการแก้ไข
....................................................................................................
.......................................................
............................................................................................................
.............................................................
............................................................................................................
.............................................................
๑๒.๓ ข้อเสนอแนะ
....................................................................................................
.......................................................
............................................................................................................
.............................................................
ลงชื่อ..................................................
(นายราเชนทร์ เขตวิทย์)
ตาแหน่ง ครู ผู้ช่วย
แบบบันทึกสรุปผลการเรียนรู้สาหรับผู้เรียน
ชื่อ-นามสกุล...................................... เลขที่ ............................................
ชั้น ..................................
วันที่ ................................................ เดือน
........................................................... พ.ศ. ...................
คาชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกสรุปผลการเรียนรู้จากหน่วยการเรียนรู้นี้
นักเรียนมีความรู้สึกอย่าง
ไร
หลังจากที่เรียนหน่วยการเ
รียนรู้นี้แล้ว
.......................................
.......................................
.......................................
นักเรียนยังไม่เข้าใจเรื่อง
ใดอีกบ้างที่เกี่ยวกับหน่ว
ยการเรียนรู้นี้
ซึ่งต้องการให้ครูอธิบายเ
เอกสารประกอบการสอน
การเขียนบรรยายและพรรณนา
การเขียนบรรยาย
การเขียนบรรยาย เป็นการเขียนเล่าเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น
เพื่อให้ผู้อ่านเห็นภาพเหตุการณ์
ลาดับเวลา สถานที่ บุคคล ผู้เขียนควรกล่าวถึง เหตุการณ์ให้ชัดเจน
โดยมีข้อมูลและเนื้อหาสาระของเรื่อง
นักเรียนได้รับความรู้เรื่
องใดบ้างจากหน่วยการ
เรียนรู้นี้
...................................
...................................
...................................
...................................
...................................
..
...........................................................
นักเรียนจะสามารถนาคว
ามรู้
ความเข้าใจจากหน่วยกา
รเรียนรู้นี้ไปใช้ประโยชน์
ในชีวิตประจาวันได้อย่าง
ไรบ้าง
.....................................
.....................................
.....................................
.....................................
.....................................
.....................................
.............................
กิจกรรมที่นักเรียนชอบมา
กที่สุด
ในหน่วยการเรียนรู้นี้คือกิ
จกรรมใด เพราะอะไร
.......................................
.......................................
.......................................
.......................................
.......................................
.......................................
..............................
..........................................................
ผลงานที่นักเรียนชอบแล
ะต้องการคัดเลือกเป็นผล
งานดีเด่นจาก
หน่วยการเรียนรู้นี้คือผล
งานใดบ้าง
.....................................
.....................................
.....................................
.....................................
.....................................
...
หน่วยการเรียนรู้
ที่
.........................
ที่จะแสดงความคิด
บางครั้งอาจแทรกบทสนทนาตัวละครทาให้ผู้อ่านเข้าใจลักษณะอารมณ์ความคิดขอ
งตัว
ละครและเข้าใจเรื่องทั้งหมด
จุดมุ่งหมายของการเขียนบรรยาย
การเขียนบรรยายใช้แสดงความคิดเห็นได้หลายรูปแบบ เช่น
ใช้ในคาประพันธ์แบบเล่าเรื่อง เล่าเหตุการณ์การเขียนชีวประวัติ การเขียนบันทึก
การให้ข้อมูล การรายงานข่าวเป็นต้น
การเขียนบรรยายเป็นการเขียนเล่าข้อเท็จจริงหรือรายละเอียดของเรื่องตามที่เป็ นอยู่
โดยคานึงถึงความต่อเนื่อง
ประเภทของเรื่องที่ใช้วิธีการเขียนบรรยาย
งานเขียนที่ใช้กลวิธีการเขียนบรรยาย แบ่งออกเป็นประเภทต่างๆ ดังต่อไปนี้
๑. อัตชีวประวัติหรือการเล่าประวัติชีวิบุคคลต่างๆ
๒. ข้อเท็จจริงหรือเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
๓.เรื่องที่แต่งขึ้นหรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น
ข้อสังเกตการเขียนบรรยาย
การเขียนบรรยายกล่าวข้างต้น เป็นการเรียนบรรยายตามความจริง
สามารถใช้เป็นหลักฐานอ้างอิงไม่มีการ
สอดแทรกอารมณ์หรือความรู้สึกลงไปในงานเขียน
การเขียนพรรณนา
หมายถึงการเขียนที่เรียบเรียงถ้อยคาทั้งภาษาพูดและภาษาเขียนเพื่อให้
รายละเอียดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งไม่ว่าบุคคลสัตว์พืชวัตถุสถานที่หรือเหตุการณ์โ
ดยเน้นให้ผู้ฟังหรือผู้อ่าน
นึกเป็นภาพที่เด่นชัดและเกิดอารมณ์ความรู้สึกตามที่ผู้ส่งสารมุ่งหมาย
โวหารพรรณนามีลักษณะวรรณศิลป
์ มากกว่าโวหารอย่างอื่นเนื่องจากมีการใช้
ถ้อยคาที่ก่อให้เกิดภาพพจน์
และอารมณ์สะเทือนใจ
โวหารพรรณนามีลักษณะร่วมกันกับโวหารอธิบายตรงที่ต่างกล่าวถึงข้อเท็จจริ
ง ของสิ่งใดสิ่งหนึ่ง
ผิดแผกกันในประการสาคัญที่เจตนาของผู้ส่งสารถ้ามุ่งให้ความรู้ความ
เข้าใจตามธรรมดา
เป็นโวหารอธิบายหากเป็นการสร้างความนึกเห็นเป็นภาพใจที่ชัดเจนและ
อารมณ์ความรู้สึกก็เป็น
โวหารพรรณนาเรื่องเดียวกันอาจใช้โวหารต่างกันก็ได้ เช่นเรื่อง
อาหารการกินถ้ากล่าวถึงวิธีปรุง
หรือคุณค่าเป็นโวหารอธิบายในกรณีที่เน้นความน่า
รับประทานไม่ว่าเป็นรูปลักษณะ สีสัน กลิ่น รส
ก็เป็นโวหารพรรณนา
หลักการเขียนพรรณนา
การเรียบเรียงข้อความแบบพรรณนาโวหารเพื่อก่อให้เกิดภาพพจน์และอารม
ณ์สะเทือนใจควรดาเนินตามหลักเกณฑ์ดังนี้
๑.
วิเคราะห์สิ่งที่จะพรรณนาอย่างละเอียดว่าประกอบด้วยส่วนต่างๆอะไรบ้างส่วนใด
เป็นลักษณะเด่นส่วนใดเป็นลักษณะประกอบซึ่งเสริมลักษณะเด่นลักษณะเด่นและลั
กษณะประกอบมีความเกี่ยวเนื่องกันอย่างไร
๒.
เลือกพรรณนาลักษณะเด่นตามลาดับความสาคัญหรือลาดับความมากน้อยใหญ่
เล็กเช่นลักษณะบุคคลควรกล่าวถึงเรือนร่างใบหน้าและเครื่องแต่งกายตามลาดับกา
รพรรณนาต้นไม้โดยทั่วไปมักกล่าวถึงลาต้นก่อนดอกและใบแต่ถ้าต้องการเน้นสิ่งใ
ดเป็นพิเศษก็กล่าวถึงสิ่งนั้นก่อนหรือขยายความให้มากกว่าสิ่งอื่น
๓.
พรรณนาลักษณะประกอบโดยคานึงถึงความสัมพันธ์อันเหมาะสมกับลักษณะเด่นใน
กรณีใบหน้าควรพิจารณาว่าจะกล่าวถึงส่วนย่อยอะไรบ้างและอะไรก่อนอะไรหลัง
เป็นต้น
ว่าตาจมูกปากหูหน้าผากแก้มผมคิ้วฟันถ้าเป็นดอกไม้ก็เลือกพรรณนากลีบเกสรสีหรื
อกลิ่น ตามที่เห็นสมควร
๔.
การคัดสรรถ้อยคาที่เหมาะสมมีความสาคัญยิ่งสาหรับโวหารพรรณนาคาที่ใช้ควรมี
พลังสื่อความหมายสร้างภาพพจน์และปลุกอารมณ์ความรู้สึกกล่าวคือมีความเด่นกร
ะชับทั้ง
ความหมายและเสียงโดยเฉพาะคานามกริยาและวิเศษณ์ควรเลือกเฟ้นอย่างพิถีพิถัน
ให้ สอดคล้องกับเนื้อความ
๕. ใช้คาหรือกลุ่มคาที่เป็นภาษาภาพพจน์(figurative language)
ซึ่งได้แก่ภาษาที่ผิดแผกจากปกติหรือผิดจากภาษาตามตัวอักษรด้านการเรียบเรียงล
าดับคาหรือด้านความหมายของคาเพื่อให้เป็นสานวนแปลกใหม่และมีพลังทาให้มอ
งเห็นภาพและเร้าอารมณ์ความรู้สึกสานวนที่ทาให้เกิดภาษาภาพพจน์ต่างๆเช่น
อุปมา (simile)
คือสานวนภาษาที่นาสิ่งซึ่งต่างพวกกันสองสิ่งมาเปรียบเทียบกันโดยใช้คาเชื่อมเหมือ
นคล้ายดุจประหนึ่งราวกับกว่าเช่น
-
ดุเหมือนเสือร้ายกว่ายุงนัยน์ตาดุจดวงดาวถ้าเปรียบสิ่งที่เป็นพวกเดียวกันไม่จัดเป็น
อุปมาเช่นเชียงใหม่เหมือนกรุงเทพฯเป็นการเปรียบเทียบธรรมดาเป็นต้น
อุปลักษณ์(metaphor)
คือสานวนภาษาที่นาเอาสิ่งต่างกันสองสิ่งหรือมากกว่าแต่มีคุณสมบัติบางอย่างร่วมกั
นมาเปรียบเทียบโดยเปรียบว่าสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่งโดยตรงใช้คากริยาเป็นหรือคือเ
ช่น
- ลูกเป็นแก้วตาและดวงใจของพ่อแม่เขาคือวีรบุรุษแห่งทุ่งนาแก
บุคลาธิษฐาน (personification)
หรือบุคคลวัตคือสานวนที่สมมุติสิ่งไม่มีชีวิตความคิดนามธรรมหรือสัตว์ให้มีสติปัญ
ญาอารมณ์หรือกิริยาอาการเหมือนมนุษย์เช่น
- ลมหนาวมาเยือนคลื่นน้อยค่อยๆกระซิบกับฝั่งความอาฆาตเกาะกินหัวใจ
การเลียนเสียงธรรมชาติ(onomatopoeia)
คือสานวนภาษาที่ใช้คาเพื่อเลียนเสียงต่างๆ เช่น
- ไฟลุกคึ่กๆเสียงคนพูดหึ่งๆบัดเดี๋ยวดังหงั่งเหง่งวังเวงแว่ว
ประเภทของการเขียนพรรณนา
การเขียนพรรณนาใช้ได้ทั่วไปกับเรื่องต่างๆดังกล่าวมาแล้วสาหรับระดับชั้นนี้
ควรจะได้ฝึกเขียนเรื่องเกี่ยวกับบุคคลสถานที่ธรรมชาติและเหตุการณ์ทั้งที่เป็นจริงแ
ละเป็นจินตนาการ
๑.
ในการพรรณนาบุคคลจาเป็นต้องสังเกตรูปร่างหน้าตาการเดินน้าเสียงการพูดจากิริ
ยาอาการลักษณะนิสัยอารมณ์ความรู้สึกไม่ว่าจะเป็ นบุคคลประเภทใดหรืออยู่ในฐาน
ะใดเช่นตัวตลกในบทละครหรือเด็กที่เล่นตามหาดทรายพยายามเฟ้นหาบุคลิกลักษ
ณะเฉพาะอาจร่าเริงแจ่มใสเคร่งขรึมหวีผมเรียบไม่มีเส้นแตกหรือยืนหลังค่อม
การพรรณนาบุคคลกระทาได้สองวิธีคือการพรรณนาโดยตรงและพรรณนาโดยอ้อม
ในการพรรณนาโดยตรงผู้เขียนกล่าวถึงลักษณะกิริยาอาการนิสัยใจคอหรือความคิด
นึกของตัวละครเสียเองสาหรับการพรรณนาโดยอ้อมตัวละครเป็นผู้เผยลักษณะต่าง
ๆของตนด้วยคาพูดกิริยาท่าทางหรือให้ตัวละครอื่นกล่าวพาดพิงถึง
๒. สถานที่
ในการพรรณนาสถานที่ควรจะได้สังเกตลักษณะที่เด่นของสถานที่ไม่ว่าจะเป็น
ที่คุ้นเคยมาแล้วเช่นโรงเรียนหรือสถานที่ที่เพิ่งเคยเห็นเป็นครั้งแรกจะต้องพิจารณา
สีรูปร่างขนาดและการจัดวางสิ่งของสิ่งที่ประทับใจทั่วไปและเฟ้นหาลักษณะเฉพาะ
ที่ทาให้เกิดความประทับใจนั้นเมื่อสังเกตอย่างถี่ถ้วนแล้วจึงเลือกพรรณนาเฉพาะลัก
ษณะที่เด่นชัดที่จะเร้าความสนใจของผู้อ่านและเรียงลาดับการพรรณนาตามความเ
หมาะสมเช่นเริ่มต้นจากใกล้ไปหาไกลหรือจากบน
ลงล่างการพรรณนาพระพุทธรูปในพระอุโบสถเป็นตัวอย่างการพรรณนาสถานที่ใช้
คาที่เหมาะเจาะชัดเจนก่อให้เกิดจินตนาการประกอบด้วยโวหารเปรียบเทียบทาให้เ
กิดภาพพจน์เด่นชัดดังตัวอย่างต่อไปนี้
๓. ธรรมชาติ
การพรรณนาธรรมชาติทั่วไปควรจะได้กล่าวถึงทิวทัศน์บรรยากาศตลอดจ
นพืชสัตว์ต่างๆเช่นนกแมลงถ้า
เป็นชายทะเลควรเน้นหาดทรายสีน้าทะเลคลื่นลมสภาพใต้ทะเลหากเกี่ยวกับฤดูกาล
ควรเพ่งเล็งลักษณะพิเศษของแต่ละฤดูกาล
๔. เหตุการณ์
ในการพรรณนาเหตุการณ์ควรเลือกเหตุการณ์ที่เด่นชวนเร้าความตื่นเต้นสะเทือน
อารมณ์และควรใช้การบรรยายประกอบเพื่อให้เนื้อเรื่องแจ่มแจ้ง
การเขียนเชิงสร้างสรรค์
การเขียนเชิงสร้างสรรค์คือการเขียนที่เกิดจากความคิดสร้างสรรค์ ประสมประสาน
กับประสบการณ์ ความรู้สึกและอารมณ์ ซึ่งผู้เขียนสามารถ
เเสดงออกในรูปแบบของงานประพันธ์ที่ใช้ถ้อยคาสละสลวยประทับใจผู้อ่าน ผู้ฟัง
และให้ความรู้สึกในทางจรรโลงใจหรือความคิดสร้างสรรค์
องค์ประกอบของการเขียนเชิงสร้างสรรค์
๑. ความคิดคานึงดี คือ
จินตนาการที่ผู้เขียนเลือกสรรขึ้นมาแล้วใช้ภาษาทาให้เกิดภาพขึ้น ในใจของ
ให้ชัดเจน ในขณะเดียวกันก็ทาให้ผู้อ่านได้รับรสจากภาษาและเกิดอารมณ์
ความรู้สึกคล้อยตามไปด้วย
๒. ถ้อยคาสานวนภาษาคือ
ผู้เขียนจะต้องพิถีพิถันเลือกสรรถ้อยคามาเรียบเรียงให้ไพเราะสละสลวย ชวนอ่าน
มีท่วงท่าทานองการเขียนดี
๓. ให้คุณค่าคือ ให้คุณค่าทางสติปัญญาและจิตใจ โดยปลูกฝังคุณธรรม
ให้เกิดขึ้นจิตใจของผู้อ่าน ทาให้ผู้อ่านเปลี่ยนแปลงความคิดไปในทางที่ดี
ให้ความรู้ความคิดเกิดขึ้นในใจของผู้อ่าน อันเป็นประโยชน์ต่อสังคมและส่วนร่วม
ข้อควรปฏิบัติในการเขียนเชิงสร้างสรรค์
๑. เลือกเรื่องที่จะเขียน ซึ่งควรเป็นเรื่องที่ตนเองชอบและสนใจ
๒. รวบรวมความคิด หรือความรู้ที่เกี่ยวข้อง
๓. วางโครงเรื่อง และลาดับความคิดเกี่ยวกับเหตุการณ์หรือเรื่องราวที่จะเขียน
๔. เรียบเรียงให้เป็นเรื่องราวที่สมบูรณ
แบบทดสอบก่อน-หลัง เรียนเรื่อง การเขียนบรรยายและพรรณนา
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดแล้วกาเครื่องหมาย (X)
ลงในกระดาษคาตอบ
๑. ข้อใดใช้ภาษาดีเด่นในด้านการพรรณนา
ก. เด็ดผักหักรากกระชากฉุดเผลาะผลุดรากเลื้อยอะล่อนจ้อน
ข. ล่วงประถมยามราตรีเธอเปล่งรัศมีอันเรืองระยับจับเนตร
ค. มโหรีจากราวป่ามาเรื่อยรี่ราชินีแห่งน้าค้างจะห่างหิน
ง. เสียงผีป่าโป่งศัพท์อุโฆษโขมดนางไม้กู่ก้องคะนองไพรไหวหวั่นหวาด
๒. ข้อใดไม่ใช่การเขียนพรรณนา
ก.
ดวงอาทิตย์สีส้มกลมโตกาลังโผล่ขึ้นเหนือพื้นน้าท้องฟ้าเริ่มมีสีชมพูเรื่อตัดกับน้าทะเ
ลสีครามใส
ข. กาแพงน้าโถมปะทะต้นไม้ริมฝั่งน้าพุ่งสูงซัดต้นไม้ใหญ่โค่นชั่วพริบตา
ค.
เมฆสีดาเป็นกลุ่มก้อนซับซ้อนเคลื่อนไหวรวดเร็วปั่นป่วนหมุนวนไม่เป็นทิศเป็ นทาง
ง.
สายลมยามเย็นพัดผ่านชายน้าฝูงปลาวนเวียนกันเข้ามาตอดอาหารนกกระเต็นโผบิ
นจากฟากนี้ไปฟากโน้น
๓. ข้อใดเป็นการเขียนพรรณนา
ก.
สิ่งแวดล้อมที่ใกล้ตัวของเราที่สุดที่เราควรช่วยกันอนุรักษ์คือสิ่งแวดล้อมรอบๆโรงเรี
ยนของเรานั่นเอง
ข.
ป่าภูหลวงที่รกทึบไปด้วยพรรณไม้ขนาดใหญ่เป็ นเครื่องยืนยันว่าป่าแห่งนี้ยังอยู่ห่าง
ไกลจากน้ามือของผู้ทาลาย
ค.
นอกจากภาพของป่าเขาที่ทาให้เราพิศวงในความงามแล้วอากาศหนาวและลมอ่อนๆ
ก็ดูเหมือนเป็นสิ่งที่หา ได้ยากในสังคมเมืองเบื้องล่าง
ง.
ต้นไม้ใบหญ้าไม้ดอกไม้ใบทุกชนิดหลังจากที่ได้หยุดปรุงอาหารและนอนพักผ่อนมา
ตลอดคืนเมื่อถึงยามเช้าจะอยู่ในสภาพที่เบิกบานชูกิ่งก้านสล้าง
๔. ข้อใดไม่ใช่การเขียนแบบพรรณนา
ก.
อุทยานรอบมหาสถานนั้นเล่าก็งามไม่น้อยเต็มไปด้วยต้นไม้นานาพันธุ์ไม้ดอกและล
ดาวัลย์งามน่าทัศนา
ข.
ทุกๆตึกนั้นแบ่งออกเป็นสองบ้านทุกๆบ้านมีขนาดและการจัดแบ่งห้องเหมือนกันทุก
ๆห้องมีขนาดเล็กคับแคบมากราวหนึ่งในสี่ของห้องนอนข้าพเจ้าที่วังปารุสก์
ค.
ภาพแสดงโคมที่ห้อยจากเพดานรวมทั้งแสงเทียนบนแท่นที่บูชาภาพพระประธานอง
ค์ใหญ่ทรงไว้ซึ่งรัศมีอันไพโรจน์ล้วนเป็นภาพที่สุดใสตระการตาน่าชมยิ่งนัก
ง.
โลหิตคือสายธารแห่งชีวิตถ้าร่างกายขาดโลหิตชีวิตก็อยู่ไม่ได้โลหิตจึงเป็นน้าหล่อเลี้
ยงร่างกายที่จาเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้มีชีวิตอยู่
๕. “อากาศยามเช้าในสวนของคฤหาสน์บดินทราช...ดูสดใสผีเสื้อแสนสวยกรีดปี ก
ระยับในสายแดดอ่อนยามเช้าจากดอกหนึ่งไปที่ดอกไม้นานาพันธุ์อีกหลายๆดอก
สีของกุหลาบปักกิ่ง...แดงสดสว่างจ้าตัดกับสีเขียวสดของสนามหญ้าประกายของ
น้าค้างต้องแดดวาววับราวกับอัญมณีเรียงรายอยู่บนพื้นสนาม”
จากข้อความข้างบนเป็นการกล่าวพรรณนาแบบใด
ก. พรรณนาสถานที่
ข. พรรณนาบุคคล
ค. พรรณนาธรรมชาติ
ง. พรรณนาเหตุการณ์
๖. ข้อใดเด่นด้านพรรณนา
ก. พอประสบพบหน้าเยนเนอรัล ก็ชวนกันขึ้นรถไฟครรไลจร
ข. ส่งประทานให้ลอร์ดกรมท่า กลับออกมาชี้แจงแถลงไข
ค. อยู่สี่วันลอร์ดแซลบนขุนนางใหญ่ บัญชาให้คนขานาอักษร
ง. ใส่สายสร้อยพระศอลออเพรา ช่างงามเงาย้อยหยาดเพียงบาดตา
๗. ข้อใดไม่ใช่แนวทางในการพัฒนาความสามารถในการเขียนพรรณนา
ก. การอ่านมากฟังมาก
ข. ความช่างสังเกต
ค. การรวบรวบถ้อยคาสานวน
ง. การฝึกท่องจาจากตัวอย่าง
๘. ข้อใดเป็นหลักการเขียนพรรณนา
ก. เขียนแสดงความหรือหรือข้อเท็จจริงเท่านั้น
ข. เขียนลาดับเรื่องตามเหตุการณ์
ค. ใช้ภาษาที่เข้าใจง่ายตามความหมายของคาศัพท์เฉพาะที่นามาใช้
ง. ใช้คาหรือกลุ่มคาที่เป็นภาษาภาพพจน์
๙. การเขียนพรรณนาที่ดีควรเขียนอย่างไร
ก. เขียนเหตุการณ์ตามลาดับใช้คาแสดงข้อเท็จจริง
ข. เขียนเหตุการณ์ที่เด่นชวนเร้าความตื่นเต้นสะเทือนอารมณ์
ค. เขียนเหตุการณ์ที่ใช้ถ้อยคาสานวนเปรียบเทียบที่ถูกต้อง
ง. เขียนเรียงลาดับเหตุการณ์ตามความเหมาะสมพร้อมยกตัวอย่างเปรียบเทียบ
๑๐. ข้อใดไม่เหมาะสมที่จะใช้เป็นถ้อยคาในการเขียนพรรณนา
ก. ใช้คากระชับตรงตามความหมายของคาศัพท์
ข. ใช้คาที่ให้รายละเอียดเสริมลักษณะเด่นให้ชัดเจน
ค. ใช้คาที่สื่อความหมายปลุกเร้าอารมณ์ความรู้สึก
ง. ใช้คาที่สื่อความหมายมองเห็นภาพ
แบบประเมินการเขียนบรรยาย พรรณนา
เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน เรื่อง การเขียนบรรยาย และพรรณนา
๑. ก ๒. ง ๓. ง ๔. ง ๕. ค
๖. ง ๗. ง ๘. ง ๙. ข ๑๐. ก
การประเมินผลรวม มีระดับคุณภาพดังนี้
คะแนน 10-12 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 7-9 หมายถึง ดี
คะแนน 4-6 หมายถึง พอใช้
คะแนน ๐-3 หมายถึง ปรับปรุง
รายการประเ
มิน
เกณฑ์การให้คะแนน
๔ ๓ ๒ ๑
เนื้อหา
การเขียน
เขียนเรื่องได้สมบู
รณ์เนื้อหาสอดคล้
องตรงตามข้อมูล
มีการเรียงลาดับ
เนื้อเรื่องได้อย่าง
ต่อเนื่องเหมาะสม
ไม่วกวน
เขียนเรื่องได้สมบู
รณ์เนื้อหาสอดคล้
องตรงตามข้อมูล
มีการเรียงลาดับ
เนื้อเรื่องไม่ต่อเนื่
อง
เขียนเรื่องได้ไ
ม่สมบูรณ์เนื้อห
าสอดคล้องตรง
ตามข้อมูล
มีการเรียงลาดั
บ
เนื้อเรื่องวกวน
เขียนเรื่องได้ไม่ส
มบูรณ์เนื้อหาไม่ต
รงตามข้อมูล
การใช้ภาษา ใช้ถ้อยคาสานวน
ถูกต้องเหมาะสมเ
ขียนสื่อความหมา
ยได้ชัดเจน
ใช้ภาษาถูกต้องต
ามอักขรวิธี
เขียนแสดงความ
คิดเชื่อมโยงข้อมู
ลได้
ใช้ถ้อยคาสานวน
ถูกต้องเขียนสื่อค
วามหมายได้ชัดเ
จน
ใช้ภาษาถูกต้องต
ามอักขรวิธี
ใช้ถ้อยคาสานว
นถูกต้องเหมาะ
สมเขียนสื่อควา
มหมายยังไม่ชั
ดเจน
ใช้ภาษาแบบง่า
ยๆมีข้อผิดบ้างเ
ล็กน้อย
ใช้ถ้อยคาสานวน
สื่อความหมายไม่
ชัดเจน
การใช้ภาษาแบบ
ง่ายๆมีข้อผิดมาก
องค์ประกอบ
ของการเขีย
น
องค์ประกอบของ
การเขียนรายงาน
ครบถ้วนจัดวางรู
ปแบบได้อย่างเห
มาะสม
องค์ประกอบของ
การเขียนรายงาน
ครบถ้วนจัดวางรู
ปแบบได้อย่างเห
มาะสม
องค์ประกอบข
องการเขียนรา
ยงานครบถ้วน
จัดวางรูปแบบ
ได้อย่างเหมาะ
สม
องค์ประกอบของ
การเขียนรายงาน
ครบถ้วน
จัดวางรูปแบบได้
อย่างเหมาะสม
แบบประเมินเจตคติการเห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเห
มาะสม
เลข
ที่
ชื่อ
-
สกุ
ล
เจตคติการเห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูก
ต้องเหมาะสม
รว
ม
๓ ๒ ๑
๑
๒
๓
๔
เกณฑ์การประเมินเจตคติการรักและหวงแหนในภาษาไทยซึ่งเป็นภาษาประจาชาติแ
ละมีมารยาทในการอ่าน
รายการประเมิน
คาอธิบายคุณภาพ
๓ คะแนน ๒ คะแนน ๑ คะแนน
๑.
การเห็นคุณค่าแล
ะใช้ภาษาไทยใน
การสื่อสารได้อย่า
งถูกต้องเหมาะส
ม
ทุกครั้งเห็นคุณค่า
และใช้ภาษาไทยใ
นการสื่อสารได้อย่
างถูกต้องเหมาะส
ม
เห็นคุณค่าและใช้
ภาษาไทยในการสื่
อสารได้อย่างถูกต้
องเหมาะสมบ่อยค
รั้ง
เห็นคุณค่าและใช้ภ
าษาไทยในการสื่อส
ารได้อย่างถูกต้องเ
หมาะสมเป็นบางครั้
ง
เกณฑ์การให้คะแนน
คะแนน ๓ คือ ดี (ระดับคุณภาพ ๓)
คะแนน ๒ คือ ปานกลาง (ระดับคุณภาพ ๒)
คะแนน ๑ คือ ปรับปรุง (ระดับคุณภาพ ๑)
เกณฑ์การตัดสินผ่าน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ..............................................ผู้ประเมิน
(.............................................)
แบบประเมินความตระหนักรู้ด้านคุณธรรมความรับผิดชอบ
เกณฑ์การประเมินความตระหนักรู้คุณธรรมด้านความรับผิดชอบต่อการเรียน
คาอธิบายคุณภาพ
๓ คะแนน ๒ คะแนน ๑ คะแนน
ลาดั
บที่ ชื่อ
-
สกุ
ล
รายการ
ความรับผิดชอบ
รว
ม
ความเอาใจใ
ส่ต่อ
การเรียน
การส่งงานที่ได้รับมอ
บหมาย
การค้นคว้าแสวงหา
ความรู้
๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑ ๓ ๒ ๑
๑
๒
๓
๔
๕
๖
๗
๘
๙
๑๐
๑๑
๑๒
๑๓
๑๔
๑๕
๑๖
๑๗
๑๘
๑๙
๒๐
๒๑
๒๒
รายการป
ระเมิน
๑.
ความเอาใ
จใส่ต่อ
การเรียน
เมื่อเกิดปัญหา
หรือไม่เข้าใจบ
ทเรียนทุกครั้ง
มักซักถามและ
มีความพยายา
มในการค้นหา
คาตอบ
อยู่เสมอ
ส่วนใหญ่เมื่อเกิ
ดปัญหาหรือไม่เ
ข้าใจบทเรียน
มักซักถามและมี
ความพยายามใ
นการค้นหา
คาตอบ
เมื่อเกิดปัญหาหรือไม่เข้าใจบทเรี
ยนมักซักถามและมีความพยายา
มในการค้นหาคาตอบเป็น
บางครั้ง
๒.
การส่งงา
นที่ได้รับ
มอบหมา
ย
ส่งงานที่ได้รับม
อบหมาย
ตรงตามเวลาทุ
กครั้ง
ส่งงานที่ได้รับม
อบหมายตรงตา
มเวลา
ส่งงานที่ได้รับมอบหมายตรงตา
มเวลาเป็นบางครั้ง
๓.
การค้นคว้
าแสวงหา
ความรู้
การค้นคว้าแสว
งหาความรู้ที่เป็
นประโยชน์
จากแหล่งข้อมูล
ต่างๆ
ที่เชื่อถือได้อยู่เ
สมอ
การค้นคว้าแสว
งหาความรู้ที่เป็
นประโยชน์
จากแหล่งข้อมูล
ต่างๆบ่อยครั้ง
การค้นคว้าแสวงหาความรู้ที่เป็น
ประโยชน์
จากแหล่งข้อมูลต่างๆ
เป็นบางครั้ง
เกณฑ์การประเมิน คะแนนเต็ม ๙
คะแนน ๗-๙ หมายถึง ดี
คะแนน ๕-๖ หมายถึง ปานกลาง
คะแนน ๒-๔ หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน
ได้ ๖ คะแนน ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน
(
………………………………………………)
แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ชื่อ..............................................................นามสกุล..............................
..................ชั้น ........ เลขที่.....
คาชี้แจง :
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรีย
น แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
สมรรถนะที่ประเมิน ระดับคะแนน
3 2 1 0
๑. ความสามารถในการสื่อสาร
๑.๑ มีความสามารถในการรับ-ส่งสาร
๑.๒ มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด
ความเข้าใจของตนเองโดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม
๑.๓ ใช้วิธีการสื่อสารที่เหมาะสม มีประสิทธิภาพ
๑.๔ เจรจาต่อรอง
เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่างๆ ได้
๑.๕
เลือกรับและไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยเหตุผลและถูกต้อง
สรุปผลการประเมิน
2. ความสามารถในการคิด
2.1 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์
2.2 มีทักษะในการคิดนอกกรอบอย่างสร้างสรรค์
2.3 สามารถคิดอย่างมีวิจารณญาณ
2.4 มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้
2.5
ตดัสินใจแก้ปัญหาเกี่ยวกับตนเองได้อย่างเหมาะสม
สรุปผลการประเมิน
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3.1 เลือกและใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสมตามวัย
3.2 มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี
3.3 สามารถนาเทคโนโลยีไปใช้พัฒนาตนเอง
3.4 ใช้เทคโนโลยีในการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์
3.5 มีคุณธรรม จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี
สรุปผลการประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ
ดีมาก – พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ดี - พฤติกรรมทีปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
พอใช้ – พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
ต้องปรับปรุง – ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน
เกณฑ์การสรุปผล
ดีมาก 13 – 15 คะแนน
ดี 9 – 12 คะแนน
พอใช้ 1 – 8 คะแนน
ต้องปรับปรุง 0 คะแนน
เกณฑ์การตัดสินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
ระดับคุณภาพ ๒ ผ่านเกณฑ์
ลงชื่อ................................................ผู้ประเมิน
(.............................................)
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
ชื่อ..............................................................นามสกุล..............................
..................ชั้น ........ เลขที่.....
คาชี้แจง :
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรีย
น แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
1. ใ ฝ่ เ รีย นรู้ ห มาย ถึง คุณลักษณะที่แสด งออ กถึงค วาม ตั้ง ใ จ
เ พี ย ร พ ย า ย า ม ใ น ก า ร เ รี ย น
แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
ผู้ ที่ ใ ฝ่ เ รี ย น รู้ คื อ ผู้ที่ มี ลัก ษ ณ ะ แ ส ด ง อ อ ก ถึ ง ค ว า ม ตั้ ง ใ จ
เ พี ย ร พ ย า ย า ม ใ น ก า ร เ รี ย น แ ล ะ เ ข้า ร่ว ม กิจ ก ร ร ม ก า ร เ รี ย น รู้
แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียนอย่างสม่าเสมอ
ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม บันทึกความรู้ วิเคราะห์ สรุปเป็ นองค์ความรู้
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ถ่ายทอด เผยแพร่ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้
1.1. ตั้งใจ
เพียรพยายามในการเรียน
และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
1.1.1 ตั้งใจเรียน
1.1.2
เอาใจใส่และมีความเพียรพยายามในการเรียนรู้
1.3 สนใจเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่างๆ
1.2.
แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ
ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
ด้วยการเลือกใช้สื่ออย่างเหมาะสม
บันทึกความรู้ วิเคราะห์
สรุปเป็นองค์ความรู้
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
1.2.1 ศึกษาค้นคว้าหาความรู้จากหนังสือ
เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่างๆ
แหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
และเลือกใช้สื่อได้อย่างเหมาะสม
1.2.2 บันทึกความรู้ วิเคราะห์
ตรวจสอบจากสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้
1.2.3 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้วยวิธีการต่างๆ
และนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผู้สอน)
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1)
ตามข้อ 1.1 –
1.2
ไม่ตั้งใจเรียนไม่ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เข้าเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียน
เอาใจใส่ในการเรียน
และมีส่วนร่วมในการเรียนรู้
และเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต
เป็นบางครั้ง
2. มุ่งมั่นในการทางาน หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ
และรับผิดชอบในการทาหน้าที่ การงานด้วยความเพียรพยายาม อดทน
เพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย
ผู้ ที่ มุ่ ง มั่ น ใ น ก า ร ท า ง า น คื อ
ผู้ที่มีลักษณะซึ่งแสดงออกถึงความตั้งใจปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายด้วยความเพี
ย รพ ย าย าม ทุ่มเทกาลัง กาย กาลังใจ ในการปฏิบัติกิจ ก ร รม ต่า ง ๆ
ใ ห้ ส า เ ร็ จ ลุ ล่ ว ง ต า ม เ ป้ า ห ม า ย ที่ ก า ห น ด ด้ ว ย ค ว า ม รับ ผิ ด ช อ บ
และมีความภาคภูมิใจในผลงาน
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พฤติกรรมบ่งชี้
2.1
ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่การงาน
2.2 ทางานด้วยความเพียรพยายาม
และอดทนเพื่อให้งานสาเร็จตามเป้าหมาย
2.1.1 เอาใจใส่ต่อการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้ร
2.1.2 ตั้งใจและรับผิดชอบในการทางาน
2.1.3 ปรับปรุงและพัฒนาการทางานด้วย
2.2.1 ทุ่มเททางาน อดทน
ไม่ย่อท้อต่อปัญหาและอุปสรรคในการทา
2.2.2
พยายามแก้ปัญหาและอุปสรรคในการทา
2.2.3 ชื่นชมผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผู้สอน)
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1)
ตามข้อ 2.1 –
2.2
ไม่ตั้งใจปฏิบัติหน้าที่การงาน ตั้งใจและรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได
3. รักความเป็ นไทย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ
เห็นคุณค่า ร่วมอนุรักษ์สืบทอด ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี
ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม
ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ผู้ที่รักความเป็ นไทย คือ ผู้ที่มีความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ชื่นชม
มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ สืบทอด เผยแพร่ภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี
ศิ ล ป ะ แ ล ะ วั ฒ น ธ ร ร ม ไ ท ย มี ค ว า ม ก ตั ญ ญู ก ต เ ว ที
ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารอย่างถูกต้องเหมาะสม
ตัวชี้วัดและพฤติกรรมบ่งชี้
ตัวชี้วัด พ
3.1 ภาคภูมิใจในขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะ วัฒนธรรมไทย
และมีความกตัญญูกตเวที
3.1.1 แต่งกายและมีมา
กตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระค
3.1.2 ร่วมกิจกรรมที่เกี่ย
และวัฒนธรรมไทย
แนะนาให้ผู้อื่นปฏิบัติตาม
ศิลปะและวัฒนธรรมไทย
3.2
เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยในการสื่อสารได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
3.2.1.
ใช้ภาษาไทยและเลขไทย
3.2.2 ชักชวน
แนะนาให้ผู้อื่นเห็นคุณค
3.3 อนุรักษ์และสืบทอดภูมิปัญญาไทย 3.3.1 นาภูมิปัญญาไทยม
3.3.2 ร่วมกิจกรรมที่เกี่ย
3.3.3 แนะนา มีส่วนร่วม
เกณฑ์การให้คะแนน (ใช้ข้อมูลจากการสังเกตตามสภาพจริงของครูผู้สอน)
พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1)
ตามข้อ 3.1 –
3.3
ไม่มีสัมมาคารวะต่อครูอาจารย์ มีสัมมาคารวะต่อครูอาจารย์
ใช้ภาษาไทย
เลขไทยในการสื่อสารได้ถูกต้อง
มีสัมมา
ปฏิบัต
เลขไท
ภูมิปัญ
หมายเหตุ ข้อมูลนี้ได้รับจากงานกิจกรรมที่เกี่ยวกับประเพณี ศิลปะ
และวัฒนธรรมไทย,แหล่งเรียนรู้ภูมิปัญญาไทย,การใช้ตัวเลขไทย,แบบสังเกตพฤติ
กรรม
ระดับคุณภาพ
ระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ระดับดีเยี่ยม
ระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ระดับดี
ระดับคุณภาพ 1 หมายถึง ระดับผ่าน
ระดับคุณภาพ 0 หมายถึง ระดับไม่ผ่าน
เกณฑ์พิจารณาสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของนักเรียนรายบุคค
ล ดังนี้
คะแนน 19 - 24 หมายถึง ระดับคุณภาพ ดีเยี่ยม
(3)
คะแนน 13 - 18 หมายถึง ระดับคุณภาพ ดี
(2)
คะแนน 7 - 12 หมายถึง ระดับคุณภาพ ผ่าน
(1)
คะแนน 0 - 6 หมายถึง ระดับคุณภาพ ไม่ผ่าน
(0)
หมายเหตุ นักเรียนต้องได้รับการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ใ น ร ะ ดั บ 1
ขึ้นไปทุกข้อจึงจะอนุมัติให้ผ่านเกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ลงชื่อ ………………………………………. ผู้ประเมิน
( …………………………………………)

More Related Content

What's hot

ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
srkschool
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
พัน พัน
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
bambookruble
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
pacharawalee
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
sapatchanook
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
teerachon
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
wangasom
 

What's hot (20)

ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Designตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
แบบทดสอบ สุขศึกษา ม.3
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx

หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
srkschool
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
srkschool
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
พัน พัน
 
16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค
16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค
16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค
krupornpana55
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx (20)

หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
หน่วยการเรียนรู้บูรณาการ๑๑
 
962
962962
962
 
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
หน่วยที่ ๕ การ์ตูนสร้างสรรค์
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
Pan14
Pan14Pan14
Pan14
 
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษหลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
หลักสูตรท้องถิ่นภาษาอังกฤษ
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานคิมพิวเตอร์ (เดี่ยว)
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
2562 final-project -3-16
2562 final-project -3-162562 final-project -3-16
2562 final-project -3-16
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ที่ ๓ บูรณาการ
 
มาตราแม่ กน
มาตราแม่ กนมาตราแม่ กน
มาตราแม่ กน
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
10
1010
10
 
1
11
1
 
Work1 charrissara
Work1 charrissara Work1 charrissara
Work1 charrissara
 
Rpg thesis
Rpg thesisRpg thesis
Rpg thesis
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค
16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค
16คำสั่งสมรรถนะ หลักสูตร 51 2 56 7 ต.ค
 

More from SophinyaDara

เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
SophinyaDara
 
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญาภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
SophinyaDara
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
SophinyaDara
 

More from SophinyaDara (13)

แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdfแบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
แบบรายงานการสร้างนวัตกรรม โสภิญญา.pdf
 
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdfวิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
 
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdfวิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
วิจัยห้องเรียนแห่งสติ.pdf
 
ปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรม
 
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดีเอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
เอกสารประกอบการพิจารณาส่งเสริมและคัดเลือกนวัตกรรมสร้างสรรค์คนดี
 
บทเพลงบอกเรื่องราว
บทเพลงบอกเรื่องราวบทเพลงบอกเรื่องราว
บทเพลงบอกเรื่องราว
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาxu 256464
 
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญาภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
ภาพหน้าปกแบบขอรับรางวัลคุรุชนคนคุณธรรม ครูโสภิญญา
 
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญาเผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
เผยแพร่แผนการจัดการเรียนรู้วิชาหลักภาษาไทย ม.5 โดยครูโสภิญญา
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
เกมตอบได้ให้เลย เครดิตโดยครูโสภิญญา..
เกมตอบได้ให้เลย เครดิตโดยครูโสภิญญา..เกมตอบได้ให้เลย เครดิตโดยครูโสภิญญา..
เกมตอบได้ให้เลย เครดิตโดยครูโสภิญญา..
 
รายงานการอบรมออนไลน์หน้าเดียวทักษะการสอนออนไลน์ของ สพฐ.วันที่- 14-15 สิงหาคม ...
รายงานการอบรมออนไลน์หน้าเดียวทักษะการสอนออนไลน์ของ สพฐ.วันที่- 14-15 สิงหาคม ...รายงานการอบรมออนไลน์หน้าเดียวทักษะการสอนออนไลน์ของ สพฐ.วันที่- 14-15 สิงหาคม ...
รายงานการอบรมออนไลน์หน้าเดียวทักษะการสอนออนไลน์ของ สพฐ.วันที่- 14-15 สิงหาคม ...
 
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญาแบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
แบบรายงานคุรุชนคนคุณธรรม เครดิตโดยครูโสภิญญา
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx