SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 ระบบนิเวศน์ ; ศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ที่มีต่อกันและมีต่อ
สภาพแวดล้อที่สิ่งมีชีวิตเหล่านั้นดารงอยู่
 ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นของขวัญจากธรรมชาติทั้งที่เป็นสิ่งที่มีชีวิตและ
องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต
 เป็นสิ่งที่สามารถใช้ได้อย่างไม่จากัดจานวน และบางสิ่งบางอย่างต้องจากัดการใช้
 เป็นสิ่งที่สามารถใช้ประโยชน์ และหรือไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้
 การมีปฎิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติ
 ปฏิสัมพันธ์อาจจะมีรูปแบบต่างๆ
 เป็นผู้ใช้ประโยชน์(การบริโภค เช่น นาไปเป็นผลผลิต และไม่ใช่พื่อการ
บริโภค เช่น การพักผ่อนหย่อนใจ การบันเทิง
 การปกป้ องรักษาเช่น การสร้างหรือจัดการเพื่อการปกป้ องอนุรักษ์พื้นที่
 การปรับให้เกิดความเหมาะสม การจัดการให้เกิดความเหมาะสม เช่นการ
จัดการป่าไม้ เป็นต้น
 สองสานักคิดด้านการจัดการเพื่อการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ
○ การอนุรักษ์และปกป้ องรักษา
○ การเพิ่มปริมาณหรือการสูญพันธ์
การการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 แนวความคิดของสองสานักนี้มีความขัดแย้งกันอยู่ แต่ทว่า แนวคิดทั้งสอง
สามารถเชื่อมโยงเพื่อนาไปสู่ความยั่งยืนในการก่อให้เกิดความยั่งยืนของ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้
 ดังนั้นจึงนาไปสู่คาถามที่ว่า จะมีวิธีการจัดการอย่างไรจึงจะสามารถนาไปสู่
ความยั่งยืนได้
 ความยั่งยืนคือรูปแบบของการใช้ทรัพยากรที่มีความต่อเนื่องไม่ลดน้อยลง
 ข้อวิพากษ์ต่อความยั่งยืนซึ่งไม่เห็นด้วยกับความแตกต่างกันของทรัพยากร
 ความยั่งยืนสามารถมองจากมุมต่างๆได้แก่ ระบบนิเวศน์ เศรษฐศาสตร์การค้า และ
มุมมองทางสังคม
 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติแบบยั่งยืน จาเป็นต้องเข้าใจถึงกลไกที่นาไปสู่สิ่ง
ที่ทาให้เกิดความเข้าใจว่า ทรัพยากรคือผลผลิต
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
ทรัพยากร วัตถุประสงค์ของการ
พัฒนา
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบนิเวนน์ คาถามในการจัดการ
น้า(ชีวภาพ) น้าสะอาด การปกป้องแหล่งน้า สามารถจัดการเพื่อการ
ปกป้องแหล่งน้าได้หรือ
พืช(ผลผลิต
ชีวภาพ)
การสร้างความยั่งยืน ผลิตขึ้นมาใหม่ สร้างรุ่นใหม่ๆ;
การผสมเกสร ผู้ผสมมเกสรดอกไม้
อัตราการเจริญเติบโต
สุขภาวะ
จะจัดการอย่างไรต่อปัจจัย
ที่เป็นผลกระทบและทาให้
เกิดความสาเร็จ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านระบบนิเวศน์และการจัดการ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านระบบนิเวศน์และการจัดการ
ทรัพยากร วัตถุประสงค์ของการ
พัฒนา
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบนิเวนน์ คาถามในการจัดการ
สัตว์(ชีวภาพ) การสร้างความยั่งยืนให้
สายพันธ์
พลวัตรของประชากร, นิสัย,
ความหนาแน่นในถิ่นที่อยู่
จะจัดการกับปัจจัยที่มี
ผลกระทบอย่างไร
การอนุรักษ์
ระบบนิเวศน์
กลไก ที่มีต่อการสนับสนุนเพื่อการ
ดารงไว้ซึ่งความหลากหลายทาง
ชีวภาพ
อะไรคือผลกระทบของ
การจัดการ ด้านกลไก
ดังกล่าวและความ
หลากหลาย
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบ
นิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบ
นิเวศน์
 การจัดการระบบนิเวศน์
 กระบวนการที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อการอนุรักษ์ระบบนิเวศที่สาคัญและฟื้ นฟู
ทรัพยากรธรรมชาติ ในขณะเดียวกัน สามารถสนองความต้องการทางเศรษฐกิจ
และสังคมการเมืองและวัฒนธรรมและของคนรุ่นปัจจุบันและอนาคต
 วัตถุประสงค์หลักของการจัดการระบบนิเวศเป็นการบารุงรักษาที่มีประสิทธิภาพ
และมีจริยธรรมในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากร
 มีวิธีการที่หลากหลายและเป็นแบบองค์รวมซึ่งเป็นวิธีการเพื่อการเปลี่ยนแปลง
สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ โดยวิธีในการบริหารจัดการระบบนิเวศจะต้องมี
ประสิทธิภาพ มีการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทั้งในระดับท้องถิ่นหรือแนวนอน
และเกี่ยวข้องกับการจัดการเพื่อการปรับตัว การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
 การจัดการเชิงกลยุทธ์ การสั่งการและการควบคุม
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบ
นิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 การกาหนดนิยามการจัดการระบบนิเวศน์(Formulations)
 มีหลักการหลายหลักการ กาหนดนิยามการดาเนินงานเพื่อจัดการระบบนิเวศน์ไว้
หลายประการ
○ การจัดการระบบนิเวศน์เป็น สิ่งที่แสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการของค่านิยมทางสังคมและ
การให้ความสาคัญซึ่งไม่มีการเริ่มต้นหรือสิ้นสุด
○ การจัดการระบบนิเวศน์เป็น การดาเนินงานทีชัดเจนและมีการกาหนดอย่างเป็น
ทางการ ไม่ว่าจะเป็นสถานที่ที่ใช้ และขอบเขตในการจัดการ
○ การจัดการระบบนิเวศน์ควรเป็นการดารงไว้ซึ่งระบบนิเวศน์ตามเงื่อนไขที่เหมาะสม
และก่อให้เกิดความสาเร็จด้านผลประโยชน์ทางสังคม
○ การจัดการระบบนิเวศน์ ควรใช้ประโยชน์จากความสามารถของระบบนิเวศน์เพื่อ
ตอบสนองต่อสิ่งที่ทาให้เกิดสภาพตึงเครียดต่างๆ ตอบสนองต่อธรรมชาติของมนุษย์
และตอบสนองต่อสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น แต่ความสามารถของระบบนิเวศน์ทีข้อจากัดใน
การรองรับความตึงเครียดและมนุษย์ยังคงรักษาสถานะในสิ่งที่มนุษย์ต้องการไว้
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 การจัดการระบบนิเวศน์อาจจะหรือไม่อาจจะเน้นถึงผลของความ
หลากหลายทางชีวภาพ
 คาจากัดความของคามยั่งยืน หากนามาใช้ในการจัดการระบบนิเวศน์
ทั้งหมดควรมีความชัดเจนโดยเฉพาะ ความเกี่ยวข้องด้านกรอบของเวลา
ต้นทุนและผลประโยชน์ที่ได้รับ รวมทั้งการ ความสัมพันธ์ของการจัดลาดับ
ความสาคัญและต้นทุน
 การกาหนดอย่ามีระบบ มีความสาคัญอย่างมากต่อประสิทธิผลของการ
จัดการระบบนิเวศน์ แต่ยังคงเป็นองค์ประกอบหนึ่งในกระบวนการ
ตัดสินใจอันเป็นพื้นฐานอย่างหนึ่งของสาธารณะและการเมือง
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 ดังนั้น การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการระบบนิเวศน์ยังคงไม่มี
ความชัดเจนนัก และยังคงมีการโต้แย้ง ความขัดแย้งอยู่ เนื่องจากส่วน
หนึ่งถูกกาหนดด้วยกระบวนการทางนโยบาย และแนวคิดด้านวิทยาศาตร์
ของนักวิทยาศาสตร์ ก็แสดงออกในเชิงดื้อรั้นในแนวคิดของตนรวมทั้งการ
แข่งขันชิงดีชิงเด่น
 การมีจุดยืนในแนวคิดเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งต่อการจัดการทรัพยากรและต่อ
กาจัดการระบบนิเวศน์ ผู้จัดการซึ่งดาเนินงานภายใต้นโยบายของรัฐและ
ระบบราชการกับผู้จัดการซึ่งอยู่ในองค์กรที่ไม่ใช่องค์กรรัฐ มักจะโต้แย้ง
และเกิดข้อขัดแย้งกันเสมอ
 ทั้งหมดคือวิวัฒนาการที่ผ่านมาของแนวทางการจัดการระบบนิเวศน์และ
สิ่งแวดล้อม
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholders)
 เป็นบุคคลหรือกลุ่มคนที่ได้รับผลกระทบจากการตัดสินใจและการกระด้าน
สิ่งแวดล้อม แต่ อาจมีอานาจและอิทธิพลต่อผลลัพธ์ของการตัดสินใจด้าน
สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบนิเวศ
 เป็นการตัดสินใจต่อการบริหารจัดการระบบนิเวศจากท้องถิ่นที่มีความซับซ้อน
 มีการชั่งน้าหนักความสาคัญระหว่างผู้มีส่วนร่วม หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
 มีความหลากหลายของความรู้ การรับรู้และค่านิยมต่อ ระบบนิเวศน์และ
ทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลย
 ผู้มีส่วนได้เสียมักจะมีความสนใจที่แตกต่างกันต่อประโยชน์ที่ได้รับจากระบบ
นิเวศ
 ซึ่งหมายความว่าการจัดการที่มีประสิทธิภาพของระบบนิเวศ ต้องใช้ขั้นตอนการ
เจรจาต่อรองที่พัฒนาไปสู่ความไว้วางใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะในประเด็นที่
สนใจร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความร่วมมือและสานประโยชน์ร่วมกัน
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 การจัดการ การปรับเปลี่ยน(Adaptive management)
 การจัดการการปรับเปลี่ยน อยู่บนพื้นฐานของแนวคิดที่มีอิทธิพลต่อการทานาย
อนาคต
 มีอิทธิพลต่อระบบนิเวศน์ ในด้านการกระทาที่อาจก่อให้เกิดการชะงักงัน
(Disturbance)ต่อระบบนิเวศ
 มีข้อจากัด และยังไม่มีความชัดเจน
 ดังนั้นเป้าหมายของ การจัดการการปรับเปลี่ยนคือ การจัดการระบบนิเวศให้มีความ
ความสมบูรณ์ให้มากที่สุด
 ใช้ประโยชน์จากการปฏิบัติด้านการจัดการ ซึ่งจะสามารถทาเกิดการเปลี่ยนแปลงจาก
พื้นฐานของประสบการณ์ใหม่และข้อมูลเชิงลึก
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 The Resilience Alliance,2010.
 การจัดการการปรับเปลี่ยนพยายามค้นหาวิธีการที่ค่อนข้างก้าวร้าวของวิธีการจัดการ
เพื่อเข้าแทรกแซงระบบนเวศน์ ทั้งนี้ได้นากลยุทธ์ในการจัดการเพื่อนาไปทดลองใช้
กับหน้าที่ของระบบนิเวศน์
 การแทรกแซงอยู่บนพื้นฐานของสมมติฐานเพื่อเป็นแนวทางในการตรวจสอบหน้าที่
ของระบบนิเวศน์
 วิธีการมีความแตกต่างกันของ แนวทางการจัดการ วิธีการทางสถิติการยอมรับและ
ไม่ยอมรับ ซึ่งเกิดประโยชน์ด้านการเกิดความรู้ใหม่ๆ จากความสุ่มเสี่ยง วิธีการ
คาดเดาอย่างมีเหตุมีผล อันเป็นเป็นกลยุทธ์ ในการจัดการการปรับเปลี่ยน
 การตรวจสอบนาไปสู่ข้อมูลใหม่ๆของหน้าที่ของระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 องค์ประกอบที่ทาให้เห็นถึงความไม่ชัดเจนของการจัดการการปรับเปลี่ยน
 เป็นการจัดการที่เชื่อมกับช่วงเวลาและขอบเขตของพื้นที่ที่เหมาะสมเท่านั้น
 มุ่งเน้นการใช้วิธีการทางสถิติและการควบคุม
 ใช้คอมพิวเตอร์สร้างแบบจาลอง เพื่อสร้างข้อมูลเชิงสังเคราะห์และใช้ฉันทามติต่อ
ตัวตนของระบบนิเวศน์
 ฉันทามติต่อตัวตนของระบบนิเวศน์จะนาไปการประเมินทางเลือกของกลยุทธ์ในการ
จัดการ
 เลือกการสื่อสารของเวทีการเมืองมาเป็นเวทีในการเจรจาต่อรองเพื่อให้ได้ทางเลือก
ของกลยุทธ์ที่ต้องการ

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
วิถีการปรับเปลี่ยนและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภาครัฐ
กลยุทธ์การจัดการการปรับเปลี่ยน Adapted from Adger (2003a).การปรับกลยุทธ์ มิติที่จาเป็ นต่อการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ
การวางแผนของเมืองและจัดทาโซนนิ่งเพื่อหลีกเลี่ยง
ฤดูกาลเก็บเกี่ยว
ชุมชนธรรมาภิบาลและโครงสร้างการมีส่วนร่วม
ผลของวิธีการซึ่งเกี่ยวข้องกับสังคมเฉพาะกลุ่มและเมืองระดับล่าง
แผนระยะยาว
จานวนประชากร
การส่งผ่านไปสู่การบริโภค
ความเคลื่อนไหวทางสังคม, ความสอดคล้องต่อนยามในระดับภูมิภาค
ความอดกลั้นของสังคมและการผสมผสาน
การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่เพื่อการ
ปรับเปลี่ยน(เช่น เขื่อน การชลประทาน และการ
จัดการน้าที่สะดวก
การยอมรับทางสังคมต่อการพัฒนาเพื่อการแก้ไขเทคโนโลยีซึ่งมีผลต่อ
ความเสียหายต่อสภาพแวดล้อมหรือเกิดผลกระทบทางสังคม
ต่อกลุ่มคนในอดีต
เทคโนโลยีใหม่ของการเกษตรและธรรมชาติ การยอมรับทางสังคมต่อเทคโนโลยีที่มีความเสี่ยงและสกัดกั้นความร่วมมือ
ทางสังคม การยอมรับต่อภูมิปัญญาและเทคโนโลยีท้องถิ่น
นโยบายต่างๆและแผนสาหรับพื้นที่ธรรมชาติ และ
การอนุรักษ์ระบบนิเวศน์
โครงสร้างสถาบันใหม่เพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการนารูปแบบการปกป้อง
พื้นที่ในอดีตมาใช้ โดยใช้ประชาชนเป็นศูนย์กลางในการอนุรักษ์ การ
ยอมรับทางสังคมและการแบ่งปัน เป้าหมายเพื่อให้เกิดความยืดหยุ่น
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
วิถีการปรับเปลี่ยนและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภาครัฐ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
วิถีการปรับเปลี่ยนและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภาครัฐ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
วิถีการปรับเปลี่ยนและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภาครัฐ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
 คาว่าการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ มักใช้กับทรัพยากรที่มนุษย์สามารถ
นามาใช้ประโยชน์ได้ มากกว่าที่จะใช้กับระบบนิเวศน์ทั้งระบบ
 วัตถุประสงค์ของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ คือการสร้างความยั่งยืน
เพื่ออนาคตข้างหน้า
 เป็นการจัดการระบบนิเวศน์เพื่อสร้างความสมดุลแก่ทรัพยากรธรรมชาติ
เพื่อใช้ประโยชน์จากสิ่งดังกล่าวและเพื่ออนุรักษ์ ไว้โดยกาหนดกรอบ
ระยะเวลาให้ยาวนานที่สุด
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 มิติต่างๆของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติได้แก่
 แหล่งน้า(Watershed)
 ดิน(Soils)
 พรรณพืชและพันธ์สัตว์ในท้องถิ่น(Flora &Fauna)
 ทั้งนี้ต้องพิจารณาแต่ละประเภท และในระดับภูมิประเทศ
(Landscape) เพื่อการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในหลาย
ด้าน เช่น อาหาร ยา พลังงาน ที่อยู่อาศัย เป็นต้น
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 การจัดการระบบนิเวศน์ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความสัมพันธ์ระหว่างความยั่งยืน
และการธารงค์ไว้ซึ่งทรัพยากรซึ่งมนุษย์สามารถนามาใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาตินั้น
 ดังนั้น นัยสาคัญของปัจจัยทางเศรษฐสังคม(Socioeconomics)
จะมีผลต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ผู้จัดการทรัพยากรธรรมชาติจึงมี
เป้าหมายที่จะทาให้การจัดการดังกล่าวไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อระบบนิเวศน์ ใน
อนาคต
 ภาคีระหว่างผู้จัดการทรัพยากรธรรมชาติและผู้จัดการระบบนิเวศน์รวมทั้งผู้มี
ส่วนได้ส่วนเสียควรกาหนดแนวทางในให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันเพื่อกระตุ้น
ให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดความยั่งยืน
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติควรมีมาตรวัดที่ตรงไปตรงมาต่อสภาวะ
และสภาพของระบบนิเวศน์ ซึ่งเอื้อต่อทรัพยากรธรรมชาติโดยการสร้าง
สภาวะความพอเพียงในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและทา
ให้ระบบนิเวศน์สามารถดูแลฟื้ นฟูตนเองได้
 อย่างไรก็ตาม การเพิ่มขึ้นขงจานวนประชากร ทาให้เกิดความตึงเครียด
ต่อระบบนิเวศน์ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ การรุกรานของสาย
พันธ์ที่ไม่ต้องการ(เชื้อโรค สายพันธ์วัชพืช สายพันธ์พยาธิเป็นต้น) สิ่ง
เหล่านี้ทาให้ไม่สามารถทานายได้ว่าในอนาคต ทรัพยากรธรรมชาติใน
ระบบนิเวศน์ซึ่งมนุษย์มีความต้องการเพิ่มขึ้นนั้นจะเป็นอย่างไร
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 กลไกที่จะนามาใช้เพื่อประเมินหุตการณ์ดังกล่าวข้างต้น ในการจัดการระบบ
นิเวศน์และทรัพยากรธรรมชาติ มีหลายประการได้แก่
 ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์(Geographic Information Sytem;
GIS)
 การตรวจสอบระยะไกลจากดาวเทียม(Remote Sensing Application)
ซึ่งสามารถนามาใช้ในการประเมินทรัพยากรธรรมชาติและระบนิเวศน์ โดยการ
จัดทาเป็นแผนที่ ทั้งในระดับท้องภิ่น ภูมิภาคโลก ซฃ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 กลยุทธ์ในการจัดการ
 กลยุทธ์ในการจัดการทรัพยากรและระบบนิเวศน์ จะสามารถสร้างเป้าหมายในการ
จัดการเพื่อเอื้อประโยชน์ต่อระบบนิเวศน์ ในขณะเดียวกันสามารถเอื้อประโยชน์
ต่อเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งเอื้อต่อประเด็นที่มีความเกี่ยวข้องทางการเมือง
 การที่กลยุทธ์การจัดการมีความหลากหลายแตกต่างเพราะมาจากความต้อง
คานึงถึงความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและและสามารถจัดวางกลยุทธ์ใน
การพัฒนาระบบนิเวศน์ที่ดีที่สุดได้
 รูปแบบอื่นๆของกลยุทธ์การจัดการระบบนิเวศน์ มีลักษณะที่คล้ายกันกล่าวคือ ให้
ความสาคัญต่อการประเมินผล การทบทวนการเปลี่ยนแปลง ผลกระทบใน
ทางบวกและทางลบ ความยืดหยุ่นต่อการจัดลาดับความสาคัญ ในการใช้ข้อมูล
ใหม่ๆเพื่อการปรับตัวของการจัดการ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 องค์ประกอบสาคัญในการจัดการแบบยั่งยืน(โดยเฉพาะป่าไม้)7 ประการ
 ประเมินค่าหรือคุณค่าของทรัพยากร
 ความหลากหลายทางชีวภาพ
 สภาพของทรัพยากรหรือระบบนิเวศน์ ความอยู่รอด (เช่น ความสมบูรณ์ของป่า)
 หน้าที่ในการผลิต และทรัพยากร(ป่าไม้)
 หน้าที่ในการปกป้องของทรัพยากร(ป่าไม้)
 หน้าที่ทางเศรษฐกิจ-สังคม
 นโยบาย กฎหมาย และกรอบที่กาหนดของสถาบัน
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
NRC = Natural Resources Committee
WADCO = Ward Development Committee
VIDCO = Village Development Committee
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 การอนุรักษ์ในระดับพื้นที่หรือภูมิทัศน์(Landscape level conservation)
 เป็นวิธีการที่ต้องพิจารณาความต้องการของสิ่งมีชีวิตในระดับพื้นที่กว้างเพื่อการปฏิบัติการอนุรักษ์
 เกี่ยวข้องกับแนวทางด้านการจัดการระบบนิเวศน์เนื่องจากจาเป็นต้องพิจารณาถึงการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
ทรัพยากรธรรมชาติกับระบบนิเวศน์
 ต้องเข้าใจและรับทราบภาพรวมของระบบนิเวศน์และปัญหาสภาพแวดล้อม
 มีความโน้มเอียงไปทางการนาไปใช้เพื่อผลประโยชน์แก่มนุษย์
 วิธีการต่างๆในการอนุรักษ์เช่น
 แนวเชื่อมต่อสาหรับสัตว์ป่า(Wildlife Corridor)
 แนวเชื่อมต่อของพื้นที่ถิ่นที่อยู่(Habitat Corridor)
 แนวเชื่อมต่อของพื้นที่สีเขียว(Green Corridor)
○ ทั้งหมดนี้เกิดจากการที่มนุษย์เข้าไปจัดการเพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างประชากรในระบบนิเวสน์สามารถเชื่อ
เชื่อมต่อกันได้เพื่อ การขยายพันธ์ การป้องกันการผสมพันธ์ข้ามสายพันธ์เป็นต้น
○ ทั้งนี้ พื้นที่ที่ถูกพัฒนาโดยมนุษย์ได้กลายเป็นเสี่ยงเสี้ยว และตัดขาดจากกันทาให้ต้องเข้ามากระทาการจัดการ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
These production areas are increasing. Since
2008, the area harvested for palm oil has
increased by over 2.4 million hectares; soy has
increased by over 8 million; and cocoa by over
370,000. What do these numbers mean for
maintaining biodiversity of global significance?
What do these stories have in common? They
are all intertwined in global value chains for
major agricultural commodities: palm oil, soy,
and cocoa. Areas of production of these
commodities also happen to overlap with
biodiversity of global significance.
The solutions have inevitably ended up in two
main buckets: “land sparing” or “land sharing.” In
their most basic forms, land sparing is the idea that
production areas are maximized so other areas can be
set aside for conservation, and land sharing presents a
more complex mixed-use landscape where
conservation efforts can specifically support
agricultural production. Unfortunately, the world is
not binary, and therefore solutions cannot be either.
The Landscapes for People, Food and Nature Initiative is an international collaborative effort to
support and scale-up the practice of whole landscape approaches to address the full set of needs
from the rural land base – from sustainable, climate-resilient food and fiber production to
biodiversity conservation to rural livelihoods. As part of this Initiative, the Landscapes Blog serves
as a venue to learn about, share, and discuss topics related to landscape approaches. It seeks to
engage leaders in the field, highlight research, present examples of landscape approaches in
practice, and contribute to the discussions during major international events and policy processes.
 การบังคับบัญชาสั่งการและการจัดการการควบคุม(Command and
control management)
 การแก้ปัญหาเชิงเส้นตรง (linear problem solving approach)
เป็นวิธีการในการรับรู้ปัญหาแล้วแก้ไขผ่านกลไกต่างๆ เช่น กฎหมาย การทา
สัญญาหรือข้อตกลง
 วิธีการในแนวดิ่ง(Top-Down Approach) เป็นวิธีการซึ่งต้องอาศัยระเบียบ วินัย และเป็น
การทางานที่ดีที่สุดในการแก้ไขปัญหาง่ายๆไม่ซับซ้อนนักเช่น การหาสาเหตูและผลกระทบเป็นต้น
 การสั่งการและการควบคุมมักใช้กับการปรับปรุงการแยกผลผลิต ป้องกันพืชผล เพื่อความสามารถใน
การเก็บเกี่ยวพืชผลให้ได้มากที่สุด การคัดสรรสายพันธ์สัตว์ การอนุรักษ์ป่ และการป้องกันไฟป่า
 อย่างไรก็ตาม วิธีการข้างต้น มักได้ผลลัพธ์ที่ไม่พึงปรารถนานัก และมักได้ผลตรงข้ามกับ
เป้าหมาย ทาให้ต้องปรับเปลี่ยนและหาวิธีการที่ดีกว่า ดังนั้น วิธีการที่สามารถมอง
ภาพรวมได้ดีที่สุดและสามารถบูรณาการวิธีการไปสู่การอนุรักษ์ และการจัดการทั้งระบบ
นิเวศน์และทรัพยากรธรรมชาติ คือวิธีการที่เรียกว่า การจัดการการปรับเปลี่ยน
(Adaptive Management)
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
 วิธีการอนุรักษ์
 สายพันธ์ที่มีความอ่อนไหว เสี่ยงต่อการสูญพันธ์(Species Vulnerable)
○ จาเป็นต้องจัดการกับพื้นที่เพื่อการปกป้องระบบนิเวศน์ให้เกิดความสมบูรณ์เอื้อต่อการ
ดารงสายพันธ์
○ อย่างไรก็ตาม การจัดเตรียมพื้นที่สาหรับสายพันธ์จานวนมากเป็นสิ่งที่ยากต่อการ
ดาเนินการเนื่องจากต้องเข้าใจต่อวิธีการในการอนุรักษ์เชิงภูมิทัศน์ซึ่งมีหลายวิธีการต่อ
การอนุรักษ์ระบบนิเวศน์ในระดับพื้นที่หรือภูมิทัศน์
 การอนรักษ์ด้วยการกาหนดเป้าหมายเฉพาะกลุ่ม อันเป็นวิธีการแบบ
ดั้งเดิม(Traditional Approach) ซึ่งสามารถรองรับปัญหา
การทาลายระบบนิเวศน์ของมนุษย์ และทาให้ปัญหาขยายเป็นปัญหาระดับ
โลกาภิวัตน์(Global) โดยพิจารณาถึง ปัจจัยด้าน การทาลายและ
ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมธรรมชาติ
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
Reference
 Resilience Alliance, 2010. Adaptive Management. Viewed 8
September 2010. http://www.resalliance.org/600.php
 United States Department of Interior. Technical Guide: Chapter
1: What is Adaptive Management? Viewed 8 Sep. 2010
 Szaro, R., Sexton, W.T., and Malone C.R. 1998. The emergence
of ecosystem management as a tool for meeting people’s needs
and sustaining ecosystems. Landscape and Urban Planning 40:
1-7
 Brussard Peter F, Reed Michael J and Tracy C Richard 1998
Ecosystem Management: What is it really? Landscape and
Urban Planning 40: 9-20
 Lackey, R.T. 1998. Seven pillars of ecosystem management.
Landscape and Urban Planning 40: 21-30.
 Lackey, Robert T. 1999. Radically contested assertions in
ecosystem management. Journal of Sustainable Forestry. 9(1-2):
21-34.
Reference
 M.S., Graves, A., Dandy, N., Posthumus, H., Hubacek, K., Morris, J., Prell, C., Quinn, C.H., and
Stinger, L.C. 2009. Who’s in and why? A typology of stakeholder analysis methods for natural
resource management. Journal of Environmental Management 90: 1933-1949
 Billgren, C., and Holmen, H. 2008. Approaching reality: Comparing stakeholder analysis and cultural
theory in the context of natural resource management. Land Use Policy 25: 550-562
 M.S. 2008. Stakeholder participation for environmental management: A literature review. Biological
Conservation 141: 2417-2431
 Shepherd, G. (ed.) 2008. The Ecosystem Approach: Learning from Experience. International Union
for Conservation of Nature and Natural Resources, Gland, Switzerland
 Mushove, P., and Vogel, C. 2005. Heads or tails? Stakeholder analysis as a tool for conservation area
management. Global Environmental Change 15: 184-198
 Pahl-Wostl, 2007. “Transitions towards adaptive management of water facing climate and global
change.” Water Resource Management. Vol. 21. pp. 49–62.
 Holling, C. S. (1978). Adaptive Environmental Assessment and Management. Wiley, London.
Reprinted by Blackburn Press in 2005
 The Resilience Alliance, 2010. Adaptive Management. Viewed 8 September
2010. http://www.resalliance.org/600.php
 United States Department of Interior. Technical Guide: Chapter 1: What is Adaptive Management?
Viewed 8 Sep.
2010.http://www.doi.gov/initiatives/AdaptiveManagement/TechGuide/Chapter1.pdf
 United States Department of Interior. Technical Guide: Chapter 1: What is Adaptive Management?
Viewed 8 Sep.
2010.http://www.doi.gov/initiatives/AdaptiveManagement/TechGuide/Chapter1.pdf
 Gregory, R, Ohlson, D, Arvai, J, 2006. “Deconstructing adaptive management: criteria for
applications to environmental management.” Ecological Applications. Vol. 16(6). pp. 2411–2425.
 Kellert, Stephen R, J. N. Mehta, S. A. Ebbin, and L. L Lichtenfeld 2000. Community Natural Resource
Management: Promise, Rhetoric, and Reality. Society and Natural Resources 13:705-715.
Reference
 Ascher, W. (2001). Coping with complexity and Organizational Interests in Natural Resource Management. Ecosystem Vol.4, pp. 742–
757. Springer.
 Boyce, MS, Haney, A, 1997. Ecosystem Management: Applications for Sustainable Forest and Wildlife Resources. Yale University Press.
New Haven.
 Chapin, F.S.III, Kofinas, G.P. and Floke, C. (2009). Principles of Ecosystem Stewardship. Resilience-Based Natural Resource
Management in a Change World. Springer.
 Grimble, Robin and K. Wellard, 1997. Stakeholder methodologies in natural resource management: a review of principles, contexts,
experiences and opportunities. Agricultural Systems 55(2):173-193.
 Cork, S., Stoneham, G. and Lowe, K. (2007). Ecosystem Service and Australian Natural Resource Management (NRM) Futures. Paper to
the Natural Resource Policy and Programs Committee (NRPPC) and the Natural Resource Management Standing Committee
(NRMSC). Retrieved September 1, 2010 fromhttp://www.environment.gov.au/biodiversity/publications/ecosystem-services-nrm-
futures/pubs/ecosystem-services.pdf.
 Brussard Peter F, Reed Michael J and Tracy C Richard 1998 Ecosystem Management: What is it really? Landscape and Urban Planning
40: 9-20
 Shmelev, S.E, Powell, J.R, 2006. Ecological-economic modeling for strategic regional waste management. Ecological Economics 59(1):
115-130.
 African Wildlife Foundation. Protecting Land. African Wildlife Foundation website. Viewed 9 September
2010. http://www.awf.org/section/land
 Opdam, P, Wascher, D, 2003. “Climate change meets habitat fragmentation: linking landscape and biogeographical scale levels in
research and conservation.” Biological Conservation. Vol. 117: 285-297.
 Hudgens, BR, Haddad, NM, 2003. “Predicting Which Species Will Benefit from Corridors in Fragmented Landscapes from Population
Growth Models.” The American Naturalist. Vol. 161(5): 808-820.
 Lambeck, Robert J. "Focal species: a multi-species umbrella for nature conservation." Conservation Biology 11(4): 849-56.
 Vos, CC, Verboom, J, Opdam, PFM, Ter Braak, CJF, 2001. “Toward Ecologically Scaled Landscape Indices.” The American Naturalist.
Vol. 183(1): 24-41.
 Velazquez, A, Bocco, G, Romero, FJ, Perez Vega, A, 2003. “A Landscape Perspective on Biodiversity Conservation: The Case of Central
Mexico.” Mountain Research and Development. Vol. 23(3): 230-246.
 Holling, C. S., and Gary K. Meffe. "Command and control and the pathology of natural resource management." Conservation Biology 10
(1996): 328-37. Ebscohost. UIS, Springfield,IL. 26 Apr. 2009
<http://search.ebscohost.com.ezproxy.uis.edu:2048/login.aspx?direct=true&db=bjh&AN=BBAI96026297&site=ehost-live>.
 Knight Richard L & Meffe Gary K 1997 Ecosystem Management: Agency Liberation from Command and Control. Wildlife Society
Bulletin 25(3): 676-678.

More Related Content

What's hot

ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Krishna Rama
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6supphawan
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนInfinity FonFn
 
Halal Highlight02
Halal Highlight02Halal Highlight02
Halal Highlight02Anis Toleb
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)Araya Toonton
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือrungnapa4523
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติnaleesaetor
 
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)niralai
 
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2Green Greenz
 
การจัดรายการอาหาร
การจัดรายการอาหารการจัดรายการอาหาร
การจัดรายการอาหารunreunwattananapakas
 

What's hot (20)

ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
Halal Highlight02
Halal Highlight02Halal Highlight02
Halal Highlight02
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ภัยพิบัติ
ภัยพิบัติภัยพิบัติ
ภัยพิบัติ
 
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
274เกมทายภาพ (สุภาษิตไทย)
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
สรุประบบการย่อยอาหารและการหายใจระดับเซลล์
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
 
การจัดรายการอาหาร
การจัดรายการอาหารการจัดรายการอาหาร
การจัดรายการอาหาร
 

Viewers also liked

ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย4315609
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศGreen Greenz
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศN'apple Naja
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2taveena
 
ละบบนิเวด
ละบบนิเวดละบบนิเวด
ละบบนิเวดbenandboy
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาJaratpong Moonjai
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาheroohm
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาjuriporn chuchanakij
 
Presentation: Valuing Ecosystem Services, Methods and Practices
Presentation: Valuing Ecosystem Services, Methods and PracticesPresentation: Valuing Ecosystem Services, Methods and Practices
Presentation: Valuing Ecosystem Services, Methods and PracticesSteve Puma
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืนWatcharin Chongkonsatit
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศmaleela
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 

Viewers also liked (20)

ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทยระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศ
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 
ละบบนิเวด
ละบบนิเวดละบบนิเวด
ละบบนิเวด
 
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
Biome of the world
Biome of the worldBiome of the world
Biome of the world
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
3p
3p3p
3p
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
The Value of Nature
The Value of NatureThe Value of Nature
The Value of Nature
 
Presentation: Valuing Ecosystem Services, Methods and Practices
Presentation: Valuing Ecosystem Services, Methods and PracticesPresentation: Valuing Ecosystem Services, Methods and Practices
Presentation: Valuing Ecosystem Services, Methods and Practices
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 

Similar to ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมkasarin rodsi
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตWichai Likitponrak
 
Conservation of natural resources
Conservation of natural resourcesConservation of natural resources
Conservation of natural resourcesPakarattaWongsri
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3juejan boonsom
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551Weerachat Martluplao
 

Similar to ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ (6)

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
Conservation of natural resources
Conservation of natural resourcesConservation of natural resources
Conservation of natural resources
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
 
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
หลักสูตรแกนกลาง สาระและตัวชี้วัดชั้นปี หลักสูตรแกนกลาง 2551
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชนมคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
มคอ. 3 องค์กรเอกชนและการจัดการเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นและชุมชน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 

ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ

  • 2. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์  ระบบนิเวศน์ ; ศึกษาเรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต ที่มีต่อกันและมีต่อ สภาพแวดล้อที่สิ่งมีชีวิตเหล่านั้นดารงอยู่  ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นของขวัญจากธรรมชาติทั้งที่เป็นสิ่งที่มีชีวิตและ องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต  เป็นสิ่งที่สามารถใช้ได้อย่างไม่จากัดจานวน และบางสิ่งบางอย่างต้องจากัดการใช้  เป็นสิ่งที่สามารถใช้ประโยชน์ และหรือไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้  การมีปฎิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติ
  • 3.  ปฏิสัมพันธ์อาจจะมีรูปแบบต่างๆ  เป็นผู้ใช้ประโยชน์(การบริโภค เช่น นาไปเป็นผลผลิต และไม่ใช่พื่อการ บริโภค เช่น การพักผ่อนหย่อนใจ การบันเทิง  การปกป้ องรักษาเช่น การสร้างหรือจัดการเพื่อการปกป้ องอนุรักษ์พื้นที่  การปรับให้เกิดความเหมาะสม การจัดการให้เกิดความเหมาะสม เช่นการ จัดการป่าไม้ เป็นต้น  สองสานักคิดด้านการจัดการเพื่อการเปลี่ยนแปลงของทรัพยากรธรรมชาติ ○ การอนุรักษ์และปกป้ องรักษา ○ การเพิ่มปริมาณหรือการสูญพันธ์ การการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 4.  แนวความคิดของสองสานักนี้มีความขัดแย้งกันอยู่ แต่ทว่า แนวคิดทั้งสอง สามารถเชื่อมโยงเพื่อนาไปสู่ความยั่งยืนในการก่อให้เกิดความยั่งยืนของ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้  ดังนั้นจึงนาไปสู่คาถามที่ว่า จะมีวิธีการจัดการอย่างไรจึงจะสามารถนาไปสู่ ความยั่งยืนได้  ความยั่งยืนคือรูปแบบของการใช้ทรัพยากรที่มีความต่อเนื่องไม่ลดน้อยลง  ข้อวิพากษ์ต่อความยั่งยืนซึ่งไม่เห็นด้วยกับความแตกต่างกันของทรัพยากร  ความยั่งยืนสามารถมองจากมุมต่างๆได้แก่ ระบบนิเวศน์ เศรษฐศาสตร์การค้า และ มุมมองทางสังคม  การจัดการทรัพยากรธรรมชาติแบบยั่งยืน จาเป็นต้องเข้าใจถึงกลไกที่นาไปสู่สิ่ง ที่ทาให้เกิดความเข้าใจว่า ทรัพยากรคือผลผลิต การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 5. ทรัพยากร วัตถุประสงค์ของการ พัฒนา ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบนิเวนน์ คาถามในการจัดการ น้า(ชีวภาพ) น้าสะอาด การปกป้องแหล่งน้า สามารถจัดการเพื่อการ ปกป้องแหล่งน้าได้หรือ พืช(ผลผลิต ชีวภาพ) การสร้างความยั่งยืน ผลิตขึ้นมาใหม่ สร้างรุ่นใหม่ๆ; การผสมเกสร ผู้ผสมมเกสรดอกไม้ อัตราการเจริญเติบโต สุขภาวะ จะจัดการอย่างไรต่อปัจจัย ที่เป็นผลกระทบและทาให้ เกิดความสาเร็จ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านระบบนิเวศน์และการจัดการ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 6. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านระบบนิเวศน์และการจัดการ ทรัพยากร วัตถุประสงค์ของการ พัฒนา ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับระบบนิเวนน์ คาถามในการจัดการ สัตว์(ชีวภาพ) การสร้างความยั่งยืนให้ สายพันธ์ พลวัตรของประชากร, นิสัย, ความหนาแน่นในถิ่นที่อยู่ จะจัดการกับปัจจัยที่มี ผลกระทบอย่างไร การอนุรักษ์ ระบบนิเวศน์ กลไก ที่มีต่อการสนับสนุนเพื่อการ ดารงไว้ซึ่งความหลากหลายทาง ชีวภาพ อะไรคือผลกระทบของ การจัดการ ด้านกลไก ดังกล่าวและความ หลากหลาย การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบ นิเวศน์
  • 8.  การจัดการระบบนิเวศน์  กระบวนการที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อการอนุรักษ์ระบบนิเวศที่สาคัญและฟื้ นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ ในขณะเดียวกัน สามารถสนองความต้องการทางเศรษฐกิจ และสังคมการเมืองและวัฒนธรรมและของคนรุ่นปัจจุบันและอนาคต  วัตถุประสงค์หลักของการจัดการระบบนิเวศเป็นการบารุงรักษาที่มีประสิทธิภาพ และมีจริยธรรมในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ทรัพยากร  มีวิธีการที่หลากหลายและเป็นแบบองค์รวมซึ่งเป็นวิธีการเพื่อการเปลี่ยนแปลง สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ โดยวิธีในการบริหารจัดการระบบนิเวศจะต้องมี ประสิทธิภาพ มีการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทั้งในระดับท้องถิ่นหรือแนวนอน และเกี่ยวข้องกับการจัดการเพื่อการปรับตัว การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ  การจัดการเชิงกลยุทธ์ การสั่งการและการควบคุม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบ นิเวศน์
  • 15.  การกาหนดนิยามการจัดการระบบนิเวศน์(Formulations)  มีหลักการหลายหลักการ กาหนดนิยามการดาเนินงานเพื่อจัดการระบบนิเวศน์ไว้ หลายประการ ○ การจัดการระบบนิเวศน์เป็น สิ่งที่แสดงให้เห็นถึงวิวัฒนาการของค่านิยมทางสังคมและ การให้ความสาคัญซึ่งไม่มีการเริ่มต้นหรือสิ้นสุด ○ การจัดการระบบนิเวศน์เป็น การดาเนินงานทีชัดเจนและมีการกาหนดอย่างเป็น ทางการ ไม่ว่าจะเป็นสถานที่ที่ใช้ และขอบเขตในการจัดการ ○ การจัดการระบบนิเวศน์ควรเป็นการดารงไว้ซึ่งระบบนิเวศน์ตามเงื่อนไขที่เหมาะสม และก่อให้เกิดความสาเร็จด้านผลประโยชน์ทางสังคม ○ การจัดการระบบนิเวศน์ ควรใช้ประโยชน์จากความสามารถของระบบนิเวศน์เพื่อ ตอบสนองต่อสิ่งที่ทาให้เกิดสภาพตึงเครียดต่างๆ ตอบสนองต่อธรรมชาติของมนุษย์ และตอบสนองต่อสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น แต่ความสามารถของระบบนิเวศน์ทีข้อจากัดใน การรองรับความตึงเครียดและมนุษย์ยังคงรักษาสถานะในสิ่งที่มนุษย์ต้องการไว้ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 16.  การจัดการระบบนิเวศน์อาจจะหรือไม่อาจจะเน้นถึงผลของความ หลากหลายทางชีวภาพ  คาจากัดความของคามยั่งยืน หากนามาใช้ในการจัดการระบบนิเวศน์ ทั้งหมดควรมีความชัดเจนโดยเฉพาะ ความเกี่ยวข้องด้านกรอบของเวลา ต้นทุนและผลประโยชน์ที่ได้รับ รวมทั้งการ ความสัมพันธ์ของการจัดลาดับ ความสาคัญและต้นทุน  การกาหนดอย่ามีระบบ มีความสาคัญอย่างมากต่อประสิทธิผลของการ จัดการระบบนิเวศน์ แต่ยังคงเป็นองค์ประกอบหนึ่งในกระบวนการ ตัดสินใจอันเป็นพื้นฐานอย่างหนึ่งของสาธารณะและการเมือง การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 17.  ดังนั้น การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการระบบนิเวศน์ยังคงไม่มี ความชัดเจนนัก และยังคงมีการโต้แย้ง ความขัดแย้งอยู่ เนื่องจากส่วน หนึ่งถูกกาหนดด้วยกระบวนการทางนโยบาย และแนวคิดด้านวิทยาศาตร์ ของนักวิทยาศาสตร์ ก็แสดงออกในเชิงดื้อรั้นในแนวคิดของตนรวมทั้งการ แข่งขันชิงดีชิงเด่น  การมีจุดยืนในแนวคิดเป็นสิ่งสาคัญอย่างยิ่งต่อการจัดการทรัพยากรและต่อ กาจัดการระบบนิเวศน์ ผู้จัดการซึ่งดาเนินงานภายใต้นโยบายของรัฐและ ระบบราชการกับผู้จัดการซึ่งอยู่ในองค์กรที่ไม่ใช่องค์กรรัฐ มักจะโต้แย้ง และเกิดข้อขัดแย้งกันเสมอ  ทั้งหมดคือวิวัฒนาการที่ผ่านมาของแนวทางการจัดการระบบนิเวศน์และ สิ่งแวดล้อม การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 19.  ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย(Stakeholders)  เป็นบุคคลหรือกลุ่มคนที่ได้รับผลกระทบจากการตัดสินใจและการกระด้าน สิ่งแวดล้อม แต่ อาจมีอานาจและอิทธิพลต่อผลลัพธ์ของการตัดสินใจด้าน สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับการจัดการระบบนิเวศ  เป็นการตัดสินใจต่อการบริหารจัดการระบบนิเวศจากท้องถิ่นที่มีความซับซ้อน  มีการชั่งน้าหนักความสาคัญระหว่างผู้มีส่วนร่วม หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  มีความหลากหลายของความรู้ การรับรู้และค่านิยมต่อ ระบบนิเวศน์และ ทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลย  ผู้มีส่วนได้เสียมักจะมีความสนใจที่แตกต่างกันต่อประโยชน์ที่ได้รับจากระบบ นิเวศ  ซึ่งหมายความว่าการจัดการที่มีประสิทธิภาพของระบบนิเวศ ต้องใช้ขั้นตอนการ เจรจาต่อรองที่พัฒนาไปสู่ความไว้วางใจซึ่งกันและกัน โดยเฉพาะในประเด็นที่ สนใจร่วมกัน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความร่วมมือและสานประโยชน์ร่วมกัน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 21.  การจัดการ การปรับเปลี่ยน(Adaptive management)  การจัดการการปรับเปลี่ยน อยู่บนพื้นฐานของแนวคิดที่มีอิทธิพลต่อการทานาย อนาคต  มีอิทธิพลต่อระบบนิเวศน์ ในด้านการกระทาที่อาจก่อให้เกิดการชะงักงัน (Disturbance)ต่อระบบนิเวศ  มีข้อจากัด และยังไม่มีความชัดเจน  ดังนั้นเป้าหมายของ การจัดการการปรับเปลี่ยนคือ การจัดการระบบนิเวศให้มีความ ความสมบูรณ์ให้มากที่สุด  ใช้ประโยชน์จากการปฏิบัติด้านการจัดการ ซึ่งจะสามารถทาเกิดการเปลี่ยนแปลงจาก พื้นฐานของประสบการณ์ใหม่และข้อมูลเชิงลึก การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 22.  The Resilience Alliance,2010.  การจัดการการปรับเปลี่ยนพยายามค้นหาวิธีการที่ค่อนข้างก้าวร้าวของวิธีการจัดการ เพื่อเข้าแทรกแซงระบบนเวศน์ ทั้งนี้ได้นากลยุทธ์ในการจัดการเพื่อนาไปทดลองใช้ กับหน้าที่ของระบบนิเวศน์  การแทรกแซงอยู่บนพื้นฐานของสมมติฐานเพื่อเป็นแนวทางในการตรวจสอบหน้าที่ ของระบบนิเวศน์  วิธีการมีความแตกต่างกันของ แนวทางการจัดการ วิธีการทางสถิติการยอมรับและ ไม่ยอมรับ ซึ่งเกิดประโยชน์ด้านการเกิดความรู้ใหม่ๆ จากความสุ่มเสี่ยง วิธีการ คาดเดาอย่างมีเหตุมีผล อันเป็นเป็นกลยุทธ์ ในการจัดการการปรับเปลี่ยน  การตรวจสอบนาไปสู่ข้อมูลใหม่ๆของหน้าที่ของระบบนิเวศน์ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 23.  องค์ประกอบที่ทาให้เห็นถึงความไม่ชัดเจนของการจัดการการปรับเปลี่ยน  เป็นการจัดการที่เชื่อมกับช่วงเวลาและขอบเขตของพื้นที่ที่เหมาะสมเท่านั้น  มุ่งเน้นการใช้วิธีการทางสถิติและการควบคุม  ใช้คอมพิวเตอร์สร้างแบบจาลอง เพื่อสร้างข้อมูลเชิงสังเคราะห์และใช้ฉันทามติต่อ ตัวตนของระบบนิเวศน์  ฉันทามติต่อตัวตนของระบบนิเวศน์จะนาไปการประเมินทางเลือกของกลยุทธ์ในการ จัดการ  เลือกการสื่อสารของเวทีการเมืองมาเป็นเวทีในการเจรจาต่อรองเพื่อให้ได้ทางเลือก ของกลยุทธ์ที่ต้องการ  การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 24. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์ วิถีการปรับเปลี่ยนและประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภาครัฐ กลยุทธ์การจัดการการปรับเปลี่ยน Adapted from Adger (2003a).การปรับกลยุทธ์ มิติที่จาเป็ นต่อการนากลยุทธ์ไปปฏิบัติ การวางแผนของเมืองและจัดทาโซนนิ่งเพื่อหลีกเลี่ยง ฤดูกาลเก็บเกี่ยว ชุมชนธรรมาภิบาลและโครงสร้างการมีส่วนร่วม ผลของวิธีการซึ่งเกี่ยวข้องกับสังคมเฉพาะกลุ่มและเมืองระดับล่าง แผนระยะยาว จานวนประชากร การส่งผ่านไปสู่การบริโภค ความเคลื่อนไหวทางสังคม, ความสอดคล้องต่อนยามในระดับภูมิภาค ความอดกลั้นของสังคมและการผสมผสาน การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหญ่เพื่อการ ปรับเปลี่ยน(เช่น เขื่อน การชลประทาน และการ จัดการน้าที่สะดวก การยอมรับทางสังคมต่อการพัฒนาเพื่อการแก้ไขเทคโนโลยีซึ่งมีผลต่อ ความเสียหายต่อสภาพแวดล้อมหรือเกิดผลกระทบทางสังคม ต่อกลุ่มคนในอดีต เทคโนโลยีใหม่ของการเกษตรและธรรมชาติ การยอมรับทางสังคมต่อเทคโนโลยีที่มีความเสี่ยงและสกัดกั้นความร่วมมือ ทางสังคม การยอมรับต่อภูมิปัญญาและเทคโนโลยีท้องถิ่น นโยบายต่างๆและแผนสาหรับพื้นที่ธรรมชาติ และ การอนุรักษ์ระบบนิเวศน์ โครงสร้างสถาบันใหม่เพื่อการอนุรักษ์และเพื่อการนารูปแบบการปกป้อง พื้นที่ในอดีตมาใช้ โดยใช้ประชาชนเป็นศูนย์กลางในการอนุรักษ์ การ ยอมรับทางสังคมและการแบ่งปัน เป้าหมายเพื่อให้เกิดความยืดหยุ่น
  • 32.
  • 38.  การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ  คาว่าการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ มักใช้กับทรัพยากรที่มนุษย์สามารถ นามาใช้ประโยชน์ได้ มากกว่าที่จะใช้กับระบบนิเวศน์ทั้งระบบ  วัตถุประสงค์ของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ คือการสร้างความยั่งยืน เพื่ออนาคตข้างหน้า  เป็นการจัดการระบบนิเวศน์เพื่อสร้างความสมดุลแก่ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อใช้ประโยชน์จากสิ่งดังกล่าวและเพื่ออนุรักษ์ ไว้โดยกาหนดกรอบ ระยะเวลาให้ยาวนานที่สุด การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 39.  มิติต่างๆของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติได้แก่  แหล่งน้า(Watershed)  ดิน(Soils)  พรรณพืชและพันธ์สัตว์ในท้องถิ่น(Flora &Fauna)  ทั้งนี้ต้องพิจารณาแต่ละประเภท และในระดับภูมิประเทศ (Landscape) เพื่อการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในหลาย ด้าน เช่น อาหาร ยา พลังงาน ที่อยู่อาศัย เป็นต้น การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 40.  การจัดการระบบนิเวศน์ ตั้งอยู่บนพื้นฐานของความสัมพันธ์ระหว่างความยั่งยืน และการธารงค์ไว้ซึ่งทรัพยากรซึ่งมนุษย์สามารถนามาใช้ประโยชน์จาก ทรัพยากรธรรมชาตินั้น  ดังนั้น นัยสาคัญของปัจจัยทางเศรษฐสังคม(Socioeconomics) จะมีผลต่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ผู้จัดการทรัพยากรธรรมชาติจึงมี เป้าหมายที่จะทาให้การจัดการดังกล่าวไม่ก่อให้เกิดอันตรายต่อระบบนิเวศน์ ใน อนาคต  ภาคีระหว่างผู้จัดการทรัพยากรธรรมชาติและผู้จัดการระบบนิเวศน์รวมทั้งผู้มี ส่วนได้ส่วนเสียควรกาหนดแนวทางในให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันเพื่อกระตุ้น ให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดความยั่งยืน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 41.  การจัดการทรัพยากรธรรมชาติควรมีมาตรวัดที่ตรงไปตรงมาต่อสภาวะ และสภาพของระบบนิเวศน์ ซึ่งเอื้อต่อทรัพยากรธรรมชาติโดยการสร้าง สภาวะความพอเพียงในการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและทา ให้ระบบนิเวศน์สามารถดูแลฟื้ นฟูตนเองได้  อย่างไรก็ตาม การเพิ่มขึ้นขงจานวนประชากร ทาให้เกิดความตึงเครียด ต่อระบบนิเวศน์ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศ การรุกรานของสาย พันธ์ที่ไม่ต้องการ(เชื้อโรค สายพันธ์วัชพืช สายพันธ์พยาธิเป็นต้น) สิ่ง เหล่านี้ทาให้ไม่สามารถทานายได้ว่าในอนาคต ทรัพยากรธรรมชาติใน ระบบนิเวศน์ซึ่งมนุษย์มีความต้องการเพิ่มขึ้นนั้นจะเป็นอย่างไร การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 42.  กลไกที่จะนามาใช้เพื่อประเมินหุตการณ์ดังกล่าวข้างต้น ในการจัดการระบบ นิเวศน์และทรัพยากรธรรมชาติ มีหลายประการได้แก่  ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์(Geographic Information Sytem; GIS)  การตรวจสอบระยะไกลจากดาวเทียม(Remote Sensing Application) ซึ่งสามารถนามาใช้ในการประเมินทรัพยากรธรรมชาติและระบนิเวศน์ โดยการ จัดทาเป็นแผนที่ ทั้งในระดับท้องภิ่น ภูมิภาคโลก ซฃ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 43.  กลยุทธ์ในการจัดการ  กลยุทธ์ในการจัดการทรัพยากรและระบบนิเวศน์ จะสามารถสร้างเป้าหมายในการ จัดการเพื่อเอื้อประโยชน์ต่อระบบนิเวศน์ ในขณะเดียวกันสามารถเอื้อประโยชน์ ต่อเศรษฐกิจและสังคม รวมทั้งเอื้อต่อประเด็นที่มีความเกี่ยวข้องทางการเมือง  การที่กลยุทธ์การจัดการมีความหลากหลายแตกต่างเพราะมาจากความต้อง คานึงถึงความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและและสามารถจัดวางกลยุทธ์ใน การพัฒนาระบบนิเวศน์ที่ดีที่สุดได้  รูปแบบอื่นๆของกลยุทธ์การจัดการระบบนิเวศน์ มีลักษณะที่คล้ายกันกล่าวคือ ให้ ความสาคัญต่อการประเมินผล การทบทวนการเปลี่ยนแปลง ผลกระทบใน ทางบวกและทางลบ ความยืดหยุ่นต่อการจัดลาดับความสาคัญ ในการใช้ข้อมูล ใหม่ๆเพื่อการปรับตัวของการจัดการ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 44.  องค์ประกอบสาคัญในการจัดการแบบยั่งยืน(โดยเฉพาะป่าไม้)7 ประการ  ประเมินค่าหรือคุณค่าของทรัพยากร  ความหลากหลายทางชีวภาพ  สภาพของทรัพยากรหรือระบบนิเวศน์ ความอยู่รอด (เช่น ความสมบูรณ์ของป่า)  หน้าที่ในการผลิต และทรัพยากร(ป่าไม้)  หน้าที่ในการปกป้องของทรัพยากร(ป่าไม้)  หน้าที่ทางเศรษฐกิจ-สังคม  นโยบาย กฎหมาย และกรอบที่กาหนดของสถาบัน การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 51.
  • 57. NRC = Natural Resources Committee WADCO = Ward Development Committee VIDCO = Village Development Committee การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 58.  การอนุรักษ์ในระดับพื้นที่หรือภูมิทัศน์(Landscape level conservation)  เป็นวิธีการที่ต้องพิจารณาความต้องการของสิ่งมีชีวิตในระดับพื้นที่กว้างเพื่อการปฏิบัติการอนุรักษ์  เกี่ยวข้องกับแนวทางด้านการจัดการระบบนิเวศน์เนื่องจากจาเป็นต้องพิจารณาถึงการปฏิสัมพันธ์ระหว่าง ทรัพยากรธรรมชาติกับระบบนิเวศน์  ต้องเข้าใจและรับทราบภาพรวมของระบบนิเวศน์และปัญหาสภาพแวดล้อม  มีความโน้มเอียงไปทางการนาไปใช้เพื่อผลประโยชน์แก่มนุษย์  วิธีการต่างๆในการอนุรักษ์เช่น  แนวเชื่อมต่อสาหรับสัตว์ป่า(Wildlife Corridor)  แนวเชื่อมต่อของพื้นที่ถิ่นที่อยู่(Habitat Corridor)  แนวเชื่อมต่อของพื้นที่สีเขียว(Green Corridor) ○ ทั้งหมดนี้เกิดจากการที่มนุษย์เข้าไปจัดการเพื่อให้เกิดการเชื่อมโยงระหว่างประชากรในระบบนิเวสน์สามารถเชื่อ เชื่อมต่อกันได้เพื่อ การขยายพันธ์ การป้องกันการผสมพันธ์ข้ามสายพันธ์เป็นต้น ○ ทั้งนี้ พื้นที่ที่ถูกพัฒนาโดยมนุษย์ได้กลายเป็นเสี่ยงเสี้ยว และตัดขาดจากกันทาให้ต้องเข้ามากระทาการจัดการ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 59. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์ These production areas are increasing. Since 2008, the area harvested for palm oil has increased by over 2.4 million hectares; soy has increased by over 8 million; and cocoa by over 370,000. What do these numbers mean for maintaining biodiversity of global significance? What do these stories have in common? They are all intertwined in global value chains for major agricultural commodities: palm oil, soy, and cocoa. Areas of production of these commodities also happen to overlap with biodiversity of global significance. The solutions have inevitably ended up in two main buckets: “land sparing” or “land sharing.” In their most basic forms, land sparing is the idea that production areas are maximized so other areas can be set aside for conservation, and land sharing presents a more complex mixed-use landscape where conservation efforts can specifically support agricultural production. Unfortunately, the world is not binary, and therefore solutions cannot be either.
  • 60. The Landscapes for People, Food and Nature Initiative is an international collaborative effort to support and scale-up the practice of whole landscape approaches to address the full set of needs from the rural land base – from sustainable, climate-resilient food and fiber production to biodiversity conservation to rural livelihoods. As part of this Initiative, the Landscapes Blog serves as a venue to learn about, share, and discuss topics related to landscape approaches. It seeks to engage leaders in the field, highlight research, present examples of landscape approaches in practice, and contribute to the discussions during major international events and policy processes.
  • 61.  การบังคับบัญชาสั่งการและการจัดการการควบคุม(Command and control management)  การแก้ปัญหาเชิงเส้นตรง (linear problem solving approach) เป็นวิธีการในการรับรู้ปัญหาแล้วแก้ไขผ่านกลไกต่างๆ เช่น กฎหมาย การทา สัญญาหรือข้อตกลง  วิธีการในแนวดิ่ง(Top-Down Approach) เป็นวิธีการซึ่งต้องอาศัยระเบียบ วินัย และเป็น การทางานที่ดีที่สุดในการแก้ไขปัญหาง่ายๆไม่ซับซ้อนนักเช่น การหาสาเหตูและผลกระทบเป็นต้น  การสั่งการและการควบคุมมักใช้กับการปรับปรุงการแยกผลผลิต ป้องกันพืชผล เพื่อความสามารถใน การเก็บเกี่ยวพืชผลให้ได้มากที่สุด การคัดสรรสายพันธ์สัตว์ การอนุรักษ์ป่ และการป้องกันไฟป่า  อย่างไรก็ตาม วิธีการข้างต้น มักได้ผลลัพธ์ที่ไม่พึงปรารถนานัก และมักได้ผลตรงข้ามกับ เป้าหมาย ทาให้ต้องปรับเปลี่ยนและหาวิธีการที่ดีกว่า ดังนั้น วิธีการที่สามารถมอง ภาพรวมได้ดีที่สุดและสามารถบูรณาการวิธีการไปสู่การอนุรักษ์ และการจัดการทั้งระบบ นิเวศน์และทรัพยากรธรรมชาติ คือวิธีการที่เรียกว่า การจัดการการปรับเปลี่ยน (Adaptive Management) การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 62.  วิธีการอนุรักษ์  สายพันธ์ที่มีความอ่อนไหว เสี่ยงต่อการสูญพันธ์(Species Vulnerable) ○ จาเป็นต้องจัดการกับพื้นที่เพื่อการปกป้องระบบนิเวศน์ให้เกิดความสมบูรณ์เอื้อต่อการ ดารงสายพันธ์ ○ อย่างไรก็ตาม การจัดเตรียมพื้นที่สาหรับสายพันธ์จานวนมากเป็นสิ่งที่ยากต่อการ ดาเนินการเนื่องจากต้องเข้าใจต่อวิธีการในการอนุรักษ์เชิงภูมิทัศน์ซึ่งมีหลายวิธีการต่อ การอนุรักษ์ระบบนิเวศน์ในระดับพื้นที่หรือภูมิทัศน์  การอนรักษ์ด้วยการกาหนดเป้าหมายเฉพาะกลุ่ม อันเป็นวิธีการแบบ ดั้งเดิม(Traditional Approach) ซึ่งสามารถรองรับปัญหา การทาลายระบบนิเวศน์ของมนุษย์ และทาให้ปัญหาขยายเป็นปัญหาระดับ โลกาภิวัตน์(Global) โดยพิจารณาถึง ปัจจัยด้าน การทาลายและ ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมธรรมชาติ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศน์
  • 63. Reference  Resilience Alliance, 2010. Adaptive Management. Viewed 8 September 2010. http://www.resalliance.org/600.php  United States Department of Interior. Technical Guide: Chapter 1: What is Adaptive Management? Viewed 8 Sep. 2010  Szaro, R., Sexton, W.T., and Malone C.R. 1998. The emergence of ecosystem management as a tool for meeting people’s needs and sustaining ecosystems. Landscape and Urban Planning 40: 1-7  Brussard Peter F, Reed Michael J and Tracy C Richard 1998 Ecosystem Management: What is it really? Landscape and Urban Planning 40: 9-20  Lackey, R.T. 1998. Seven pillars of ecosystem management. Landscape and Urban Planning 40: 21-30.  Lackey, Robert T. 1999. Radically contested assertions in ecosystem management. Journal of Sustainable Forestry. 9(1-2): 21-34.
  • 64. Reference  M.S., Graves, A., Dandy, N., Posthumus, H., Hubacek, K., Morris, J., Prell, C., Quinn, C.H., and Stinger, L.C. 2009. Who’s in and why? A typology of stakeholder analysis methods for natural resource management. Journal of Environmental Management 90: 1933-1949  Billgren, C., and Holmen, H. 2008. Approaching reality: Comparing stakeholder analysis and cultural theory in the context of natural resource management. Land Use Policy 25: 550-562  M.S. 2008. Stakeholder participation for environmental management: A literature review. Biological Conservation 141: 2417-2431  Shepherd, G. (ed.) 2008. The Ecosystem Approach: Learning from Experience. International Union for Conservation of Nature and Natural Resources, Gland, Switzerland  Mushove, P., and Vogel, C. 2005. Heads or tails? Stakeholder analysis as a tool for conservation area management. Global Environmental Change 15: 184-198  Pahl-Wostl, 2007. “Transitions towards adaptive management of water facing climate and global change.” Water Resource Management. Vol. 21. pp. 49–62.  Holling, C. S. (1978). Adaptive Environmental Assessment and Management. Wiley, London. Reprinted by Blackburn Press in 2005  The Resilience Alliance, 2010. Adaptive Management. Viewed 8 September 2010. http://www.resalliance.org/600.php  United States Department of Interior. Technical Guide: Chapter 1: What is Adaptive Management? Viewed 8 Sep. 2010.http://www.doi.gov/initiatives/AdaptiveManagement/TechGuide/Chapter1.pdf  United States Department of Interior. Technical Guide: Chapter 1: What is Adaptive Management? Viewed 8 Sep. 2010.http://www.doi.gov/initiatives/AdaptiveManagement/TechGuide/Chapter1.pdf  Gregory, R, Ohlson, D, Arvai, J, 2006. “Deconstructing adaptive management: criteria for applications to environmental management.” Ecological Applications. Vol. 16(6). pp. 2411–2425.  Kellert, Stephen R, J. N. Mehta, S. A. Ebbin, and L. L Lichtenfeld 2000. Community Natural Resource Management: Promise, Rhetoric, and Reality. Society and Natural Resources 13:705-715.
  • 65. Reference  Ascher, W. (2001). Coping with complexity and Organizational Interests in Natural Resource Management. Ecosystem Vol.4, pp. 742– 757. Springer.  Boyce, MS, Haney, A, 1997. Ecosystem Management: Applications for Sustainable Forest and Wildlife Resources. Yale University Press. New Haven.  Chapin, F.S.III, Kofinas, G.P. and Floke, C. (2009). Principles of Ecosystem Stewardship. Resilience-Based Natural Resource Management in a Change World. Springer.  Grimble, Robin and K. Wellard, 1997. Stakeholder methodologies in natural resource management: a review of principles, contexts, experiences and opportunities. Agricultural Systems 55(2):173-193.  Cork, S., Stoneham, G. and Lowe, K. (2007). Ecosystem Service and Australian Natural Resource Management (NRM) Futures. Paper to the Natural Resource Policy and Programs Committee (NRPPC) and the Natural Resource Management Standing Committee (NRMSC). Retrieved September 1, 2010 fromhttp://www.environment.gov.au/biodiversity/publications/ecosystem-services-nrm- futures/pubs/ecosystem-services.pdf.  Brussard Peter F, Reed Michael J and Tracy C Richard 1998 Ecosystem Management: What is it really? Landscape and Urban Planning 40: 9-20  Shmelev, S.E, Powell, J.R, 2006. Ecological-economic modeling for strategic regional waste management. Ecological Economics 59(1): 115-130.  African Wildlife Foundation. Protecting Land. African Wildlife Foundation website. Viewed 9 September 2010. http://www.awf.org/section/land  Opdam, P, Wascher, D, 2003. “Climate change meets habitat fragmentation: linking landscape and biogeographical scale levels in research and conservation.” Biological Conservation. Vol. 117: 285-297.  Hudgens, BR, Haddad, NM, 2003. “Predicting Which Species Will Benefit from Corridors in Fragmented Landscapes from Population Growth Models.” The American Naturalist. Vol. 161(5): 808-820.  Lambeck, Robert J. "Focal species: a multi-species umbrella for nature conservation." Conservation Biology 11(4): 849-56.  Vos, CC, Verboom, J, Opdam, PFM, Ter Braak, CJF, 2001. “Toward Ecologically Scaled Landscape Indices.” The American Naturalist. Vol. 183(1): 24-41.  Velazquez, A, Bocco, G, Romero, FJ, Perez Vega, A, 2003. “A Landscape Perspective on Biodiversity Conservation: The Case of Central Mexico.” Mountain Research and Development. Vol. 23(3): 230-246.  Holling, C. S., and Gary K. Meffe. "Command and control and the pathology of natural resource management." Conservation Biology 10 (1996): 328-37. Ebscohost. UIS, Springfield,IL. 26 Apr. 2009 <http://search.ebscohost.com.ezproxy.uis.edu:2048/login.aspx?direct=true&db=bjh&AN=BBAI96026297&site=ehost-live>.  Knight Richard L & Meffe Gary K 1997 Ecosystem Management: Agency Liberation from Command and Control. Wildlife Society Bulletin 25(3): 676-678.