SlideShare a Scribd company logo
1 of 78
Download to read offline
(Natural Resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources) หมายถึง สิ่ง
ต่างๆที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และเป็นสิ่งที่สามารถนามาใช้ให้
เกิดประโยชน์ต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ ในหลายๆด้าน เช่น นามา
ประกอบอาหาร ใช้เป็นเครื่องนุ่งห่ม ใช้เป็นยารักษาโรค หรือนามา
ดัดแปลงเป็นที่อยู่อาศัย
สามารถแบ่งตามการนามาใช้งานและผลที่เกิดขึ้นได้ 3 ประเภท ดังนี้
1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดหรือไม่สูญหาย (inexhaustible natural
resources) หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วมีระบบที่ผลิตขึ้นมาใหม่หรือขึ้นมา
ทดแทนอย่างรวดเร็ว และเป็นสิ่งที่มีอยู่มากเกินความต้องการหากรู้จักใช้อย่างถูกวิธีก็จะไม่
มีวันหมดไปหรือไม่เสื่อมคุณภาพลง ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ ได้แก่ บรรยากาศ น้า
ในวัฏจักร แสงอาทิตย์ เป็นต้น
2. ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้หรือรักษาไว้ได้ (replaceable and maintainable
natural resources) หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติที่นาไปใช้แล้ว ธรรมชาติสามารถสร้าง
ทดแทนขึ้นมาเองได้แต่ต้องใช้เวลานาน หากมีการดูแลและนามาใช้อย่างถูกวิธีทรัพยากร
ธรรมชาติเหล่านั้นก็จะมีปริมาณที่เพียงต่อความต้องการของมนุษย์ และนาไปใช้เพื่อการ
ดารงชีวิตได้อย่างยาวนานโดยไม่เดือดร้อน เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า สัตว์น้า ดิน แหล่งน้า อากาศ
เป็นต้น
3. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป (exhaustible natural resources) หมายถึง
ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจากัด หากนามาใช้ให้หมดไปแล้วก็ไม่สามารถสร้างขึ้นมา
ทดแทนได้ หรือบางสิ่งบางอย่างอาจสร้างทดแทนได้แต่ต้องใช้ระยะเวลานาวนานนับเป็น
พันๆปี หรือมากกว่านั้น ได้แก่ แร่ธาตุ พลังงาน ถ่านหิน แก๊สธรรมชาติ
อากาศ (Air) คือ ของผสมที่เกิดจากก๊าซหลายชนิด อากาศบริสุทธิ์จะไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และไม่มีรส
บรรยากาศ (Atmosphere) คือ มวลก๊าซที่ห่อหุ้มตั้งแต่ผิวโลกจนสูงขึ้นไปประมาณ 900 กิโลเมตร โดย
จะเกิดร่วมกับลักษณะทางกายภาพอื่น ได้แก่ อุณหภูมิ ความกดอากาศ ความชื้น ลม และอนุภาคฝุ่นผง
หรือมลสาร (Pollutant)
1. โทรโพสเฟียร์ ( Troposhere) อยู่ระหว่าง 0- 10
กิโลเมตร แหล่งกาเนิดความร้อนของโทรโพสเฟียร์ คือพื้นผิวโลก
ซึ่ง ดูดกลืนรังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ และแผ่รังสีอินฟราเรด
ออกมา ชั้นโทรโพสเฟียร์มีไอน้ามหาศาล ก่อให้เกิดเมฆ หมอก
พายุ และฝน
2. สตราโตสเฟียร์ ( Stratoshere) อยู่ระหว่าง 12- 50
กิโลเมตร เมีไอน้าเล็กน้อย ไม่มีเมฆ อากาศมีการเคลื่อนตัวอย่าง
ช้าๆ จึงเหมาะกับการเดินทางทางอากาศ แก๊สสาคัญในชั้นนี้ คือ
แก๊สโอโซน ซึ่งช่วยดูดซับรังสี UV จากดวงอาทิตย์ อุณหภูมิของ
ชั้นนี้อยู่ระหว่าง -60 ถึง 10 องศาเซลเซียส โดยอุณหภูมิจะ
เพิ่มขึ้นเมื่อระดับความสูงเพิ่มขึ้น
3. มีโซสเฟียร์ ( Mesosphere) อยู่ระหว่าง 50-85 กิโลเมตร
มีอากาศเบาบางมาก แต่ก็มากพอที่จะทาให้ดาวตกเกิดการเผาไหม้ และ
เป็นชั้นที่ช่วยดูดซับรังสี UV จากดวงอาทิตย์ อุณหภูมิในชั้นนี้จะลดลง
มาอยู่ที่ -120 องศาเซลเซียส
4. เทอร์โมสเฟียร์( Thermoshere)อยู่ระหว่าง 85-700
กิโลเมตร มีอากาศเบาบางมากกว่าชั้นมีโซสเฟียร์ แต่เป็นชั้นหลักที่ช่วย
ดูดซับรังสี UV จากดวงอาทิตย์ ทาให้มีอุณหภูมิในชั้นนี้มากถึง 2,000
องศาเซลเซียส ที่ระดับความสูง 700 กม. อนุภาคในชั้นนี้เป็นอนุภาคที่มี
ประจุไฟฟ้าที่เรียกว่า "อิออน" ที่เกิดจากการแตกตัว เมื่ออนุภาคใน
สภาวะปกติถูกกระตุ้นด้วยรังสี UV จากดวงอาทิตย์ อิออนเหล่านี้จะมี
คุณสมบัติสะท้อนคลื่นวิทยุได้ จึงเป็นชั้นที่ใช้ส่งสัญญาณวิทยุสื่อสาร
รวมถึงการเกิดแสงเหนือและแสงใต้ หรือ "ออโรล่า"
5. เอ็กโซสเฟียร์
(Exosphere) อยู่ระหว่าง 700-800
กิโลเมตร อากาศค่อยๆ เจือจางลง
เมื่อความสูงเพิ่มขึ้น และเจือจางจน
เข้าสู่อวกาศ
โลกของเราประกอบขึ้นด้วยพื้นดินและพื้นน้า โดยส่วนที่เป็นฝืนน้านั้น มีอยู่ประมาณ 3 ส่วน
(75%) และเป็นพื้นดิน 1 ส่วน (25%) น้ามีความสาคัญอย่างยิ่งกับชีวิตของพืชและสัตว์บนโลกรวมทั้ง
มนุษย์เราด้วย
น้าเป็นทรัพยากรที่มีความสาคัญต่อชีวิตคน พืช และสัตว์มากที่สุดแต่ก็มีค่าน้อยที่สุดเมื่อ
เปรียบเทียบกับทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ น้าเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์และเป็น
องค์ประกอบที่สาคัญของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย
1. ใช้สาหรับการบริโภคและอุปโภค เพื่อดื่มกิน ประกอบอาหาร ชาระร่างกาย ฯลฯ
2. ใช้สาหรับการเกษตร ได้ แก่ การเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ แหล่งน้าเป็นที่อยู่อาศัยของปลา
และสัตว์น้าอื่น ๆ ซึ่งคนเราใช้เป็นอาหาร
3. ด้านอุตสาหกรรม ต้องใช้น้าในกระบวนการผลิต ล้างของเสีย หล่อเครื่องจักร และ
ระบายความร้อน ฯลฯ
4. การทานาเกลือ โดยการระเหยน้าเค็มจากทะเล หรือระเหยน้าที่ใช้ละลายเกลือสินเธาว์
5. น้าเป็นแหล่งพลังงานในการผลิตกระแสไฟฟ้า
6. เป็นเส้นทางคมนาคมที่สาคัญ แม่น้า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร เป็นเส้นทางคมนาคม
ที่สาคัญมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
7. เป็นสถานที่ท่องเที่ยว ทัศนียภาพของริมฝั่งทะเล และแหล่งน้าที่ใสสะอาดเป็นสถานที่
ท่องเที่ยวของมนุษย์
ความสาคัญของทรัพยากรน้า
น้าเป็นแหล่งกาเนิดชีวิตของสัตว์และพืชคนเรามีชีวิตอยู่โดยขาดน้าได้ไม่เกิน 3 วัน และน้ายังมีความจาเป็นทั้งใน
ภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ซึ่งมีความสาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาประเทศ
1. ปัญหาการมีน้าน้อยเกินไป เกิดการขาดแคลนอันเป็นผลเนื่องจากการตัดไม้
ทาลายป่า ทาให้ปริมาณน้าฝนน้อยลง เกิดความแห้งแล้งเสียหายต่อพืชเพาะปลูกและ
การเลี้ยงสัตว์
2. ปัญหาการมีน้ามากเกินไป เป็นผลมาจากการตัดไม้มากเกินไป ทาให้เกิดน้า
ท่วมไหลบ่าในฤดูฝน สร้างความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สิน
3. ปัญหาน้าเสีย เป็นปัญหาใหม่ในปัจจุบัน สาเหตุที่ทาให้เกิดน้าเสีย ได้แก่
-น้าทิ้งจากบ้านเรือน ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลที่ถูกทิ้งสู่แม่น้าลาคลอง
-น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
-น้าฝนพัดพาเอาสารพิษที่ตกค้างจากแหล่งเกษตรกรรมลงสู่แม่น้าลาคลอง
-น้าเสียที่เกิดขึ้นนี้ส่งผลเสียหายทั้งต่อสุขภาพอนามัย เป็นอันตรายต่อสัตว์น้า
และมนุษย์ ส่งกลิ่นเหม็น รบกวน ทาให้ไม่สามารถนาแหล่งน้านั้นมาใช้ประโยชน์ได้ทั้ง
การอุปโภค บริโภค เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม
ปัญหาของทรัพยากรน้า
ดิน หมายถึง เทหวัตถุธรรมชาติที่ปกคลุมผิวโลก เกิดจากการแปรสภาพหรือสลายตัวของหินแร่
ธาตุ และอินทรีย์วัตถุผสมคลุกเคล้ากันตามธรรมชาติรวมกันเป็นชั้นบาง ๆ เมื่อมีน้าและอากาศที่เหมาะสม
ก็จะทาให้พืชเจริญเติบโตและยังชีพอยู่ได้
1. ใช้ในการเกษตรกรรม ดินเป็นต้นกาเนิดของการเกษตรกรรม เป็น
แหล่งผลิตอาหารของมนุษย์ อาหารที่มนุษย์เราบริโภคทุกวันนี้มาจากการ
เกษตรกรรมถึง 90 %
2. ใช้ในการเลี้ยงสัตว์ พืชและหญ้าที่ขึ้นอยู่บนดินเป็นแหล่งอาหารสัตว์
ตลอดจนเป็น แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์บางชนิด เช่น งู หนู แมลง นาก ฯลฯ
3. เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย พื้นดินเป็นแหล่งที่ตั้งของเมือง บ้านเรือน ทาให้
เกิดวัฒนธรรม และอารยธรรมของชุมชนต่าง ๆ มากมาย
4. เป็นแหล่งกักเก็บน้า ถ้าน้าซึ่งอยู่ในรูปของความชื้นในดินมีอยู่มาก ๆ
ก็จะกลายเป็นน้าซึมอยู่ในดิน คือน้าใต้ดิน น้าเหล่านี้จะค่อย ๆ ซึมลงที่ต่า เช่น
แม่น้า ลาคลอง ทาให้เรามีน้าใช้ตลอดปี
ความสาคัญของทรัพยากรดิน
1. การกัดเซาะดิน อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทด้วยกัน คือ
1.1 การกัดเซาะโดยธรรมชาติ หมายถึง การกัดเซาะซึ่งเกิดขึ้นตามธรรมชาติ โดยการกระทา
ของน้า ลม แรงดึงดูดของโลก และน้าแข็ง เช่นการชะล้าง แผ่นดินเลื่อน การไหลของธาร น้า คลื่น เป็น
ต้น
1.2 การกัดเซาะที่มีตัวเร่ง หมายถึง การกัดเซาะที่มนุษย์หรือสัตว์เลี้ยงเข้ามาช่วยเร่งให้มีการ
พังทลายเพิ่มขึ้นจากธรรมชาติที่เกิดขึ้นเป็นประจาอยู่แล้ว เช่น การตัดต้นไม้ทาลายป่า การทาการ
เพาะปลูกอย่างขาดหลักวิชา ทาให้ดินไม่มีสิ่งปกคลุม จึงทาให้น้า ลม ซึ่งเป็นตัวการ กัดเซาะที่สาคัญพัด
พาอนุภาคดินสูญหายไป
2. การเพาะปลูกและเตรียมดินอย่างไม่ถูกวิธี จะก่อให้เกิดความเสียหายกับดินได้มาก เช่น การปลูกพืช
บางชนิดจะทาให้ดินเสื่อมเร็ว การเผาป่าไม้หรือตอข้าวในนา จะทาให้ฮิวมัสในดินเสื่อม สลายเกิดผลเสีย
กับดินมาก
ประโยชน์ทางตรง (Direct Benefits) ได้แก่ ปัจจัย 4
ประการ
1. จากการนาไม้มาสร้างอาคารบ้านเรือนและ
ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น เฟอร์นิเจอร์ กระดาษ ไม้ขีดไฟ ฟืน
เป็นต้น
2. ใช้เป็นอาหารจากส่วนต่าง ๆ ของพืชและผล
3. ใช้เส้นใย ที่ได้จากเปลือกไม้และเถาวัลย์มาถัก
ทอ เป็นเครื่องนุ่งห่ม เชือกและอื่น ๆ
4. ใช้ทายารักษาโรคต่าง ๆ
2. ประโยชน์ทางอ้อม (Indirect benefits)
1. ป่าไม้เป็นแหล่งกาเนิดต้นน้าลาธาร เพราะต้นไม้จานวนมากในป่า จะทาให้น้าฝนที่ตกลงมาค่อย ๆ
ซึมซับลงในดิน กลายเป็นน้าใต้ดินซึ่งจะไหลซึมมาหล่อเลี้ยงให้แม่น้าลาธารมีน้าไหลอยู่ตลอดปี
2. ป่าไม้ทาให้เกิดความชุมชื้นและควบคุมสภาวะอากาศ
3. ป่าไม้เป็นแหล่งพักผ่อนและศึกษาหาความรู้ บริเวณป่าไม้จะมีภูมิประเทศที่ สวยงามจากธรรมชาติ
รวมทั้งสัตว์ป่าจึงเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจได้ดี
4. ป่าไม้ช่วยบรรเทาความรุนแรงของลมพายุและป้ องกันอุทกภัย โดยช่วยลดความเร็วของลมพายุที่พัด
ผ่านได้ตั้งแต่ 11-44% ตามลักษณะของป่าไม้แต่ละชนิดจึงช่วยให้บ้านเมือง รอดพ้นจากวาตภัยได้
5. ป่าไม้ช่วยป้ องกันการกัดเซาะและพัดพาหน้าดิน จากน้าฝนและลมพายุโดยลดแรงปะทะลง การหลุด
เลื่อนของดินจึงเกิดขึ้นน้อย และยังเป็นการช่วยให้แม่น้าลาธารต่าง ๆ ไม่ ตื้นเขินขึ้นอีกด้วย
6. ช่วยให้เกิดวัฏจักรของน้า (Water Cycling) วัฏจักรของออกซิเจน วัฏจักรของคาร์บอน และวัฏจักร
ของไนโตรเจน ในเขตนิเวศ(Ecosphere)
7.ช่วยดูดซับมลพิษของอากาศ
1. การลักลอบตัดไม้ทาลายป่า
2. การบุกรุกพื้นที่ป่าไม้เพื่อเข้าครอบครองที่ดิน
3. การส่งเสริมการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจเพื่อการ
ส่งออกในพื้นที่ป่าที่ไม่เหมาะสม เช่น มันสาปลัง ปอ เป็น
ต้น
4. การกาหนดแนวเขตพื้นที่ป่ากระทาไม่ชัดเจน หรือไม่
กระทาเลยในหลายๆ พื้นที่
5. การจัดสร้างสาธารณูปโภคของรัฐ เช่น เขื่อน อ่างเก็บน้า
เส้นทางคมนาคม การสร้างเขื่อนขวางลา
6. ไฟไหม้ป่า
7. การทาเหมืองแร่ แหล่งแร่ที่พบบริเวณที่มีป่าไม้ปกคลุม
อยู่ มีความจาเป็นที่จะต้องเปิดหน้าดินก่อน จึงทาให้ป่าไม้ที่
ขึ้นปกคลุมถูกทาลายลง
สัตว์ป่า คือ สัตว์ทุกชนิดไม่ว่า สัตว์บก สัตว์น้า สัตว์ปีก แมลง หรือแมง ซึ่งโดยภาพธรรมชาติย่อมเกิด
และดารงชีวิตอยู่ในป่าหรือในน้าและให้หมายความรวมถึงไข่ของสัตว์ป่าเหล่านั้นทุกชนิดด้วย แต่ไม่หมายความ
รวมถึงสัตว์พาหนะที่ได้จดทะเบียนทาตั๋วรูปพรรณตามกฎหมาย ว่าด้วยสัตว์พาหนะแล้วและสัตว์พาหนะที่ได้มา
จากการสืบพันธุ์ของสัตว์พาหนะ ดังกล่าว ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ป่าไม้ อันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าได้
ถูกทาลายลงไปมาก ตลอดจนการไล่ล่าของมนุษย์จึงทาให้ปริมาณสัตว์ป่ามีจานวนลดน้อยลงทุกปีจนบางชนิด
สูญพันธุ์บางชนิดก็ใกล้จะสูญพันธุ์เพื่อรักษาความสมดุลทางธรรมชาติจึงจาเป็นที่เราจะต้องช่วยกันอนุรักษ์สัตว์
ป่าไว้โดยเร่งด่วน
เพื่อเป็นการปกป้องรักษาสัตว์ป่าให้มีชีวิตสืบต่อไปถึงอนุชนรุ่นหลังจึงมีการออกพระราชบัญญัติ
สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ภูมิพลอดุลเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2535 เป็นปีที่
47 ในรัชกาลปัจจุบัน แบ่งสัตว์ป่าออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. สัตว์ป่าสงวน เป็นสัตว์ป่าที่หายากและปัจจุบันมีจานวนน้อยมากบางชนิดสูญพันธุ์ไปแล้วมีอยู่
15 ชนิด คือ นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร แรด กระซู่ กูปรีหรือโคไพร ควายป่า ละองหรือละมั่ง สมันหรือเนื้อ
สมัน เลียงผา กวางผา นกแต้วแล้วท้องดา นกกระเรียน แมวลายหินอ่อน สมเสร็จ เก้งหม้อ และพะยูนหรือ
หมูน้า
ต่อมาในวันที่ 9 ตุลาคม 2558 ที่ประชุมสงวนคุ้มครองสัตว์ป่ามีมติเห็นชอบให้เพิ่มสัตว์ 4 ชนิด
เป็นสัตว์สงวน คือ วาฬบรูด้า วาฬโอมูระ เต่ามะเฟือง ปลาฉลามวาฬ รวมสัตว์ป่าสงวนมีทั้งสิ้น 19 ชนิด
2. สัตว์ป่าคุ้มครอง เป็นสัตว์ทั้งที่ปกติไม่นิยมใช้เป็นอาหารและใช้เป็นอาหารทั้งที่ไม่ใช่ล่าเพื่อ
การกีฬาและล่าเพื่อการกีฬา ตามที่กฎกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กาหนดไว้ มากกว่า 200 ชนิด เช่น
ค่าง ชะนี อีเห็น ไก่ฟ้า เหยี่ยว ช้างป่า แร้ง กระทิง กวาง หมีควาย อีเก้ง นกเป็ดน้า เป็นต้น
บทลงโทษ ทั้งสัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าคุ้มครอง
และซากของสัตว์ป่าสงวนหรือซากของสัตว์
ป่าคุ้มครอง ห้ามมิให้ผู้ใดทาการล่ามีไว้ใน
ครอบครอง ค้าขายและนาเข้าหรือส่งออก
หากผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสี่
ปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจาทั้ง
ปรับ
1. ด้านเศรษฐกิจ ประโยชน์ด้านเศรษฐกิจที่มนุษย์ได้จากสัตว์ป่าก็ได้แก่การค้าสัตว์ป่า หรือซากของสัตว์ป่าโดยเฉพาะหนังสือป่าใน
ปีหนึ่ง ๆ ทารายได้ให้กับประเทศและมีเงินหมุนเวียนภายในประเทศจานวนไม่น้อย คุณค่าทางด้านเศรษฐกิจจะรวมถึงรายได้ต่าง ๆ
จากการท่องเที่ยวในการชมสัตว์ด้วย
2. การเป็นอาหาร มนุษย์ได้ใช้เนื้อของสัตว์ป่าเป็นอาหารเป็นเวลาช้านานแล้ว ก็ยังมีผู้นิยมดัดแปลงเป็นอาหาร หรือใช้เป็นเครื่อง
ยาสมุนไพรอีกด้วย
3. เครื่องใช้เครื่องประดับ เช่น หนังใช้ทากระเป๋า รองเท้า เครื่องนุ่งห่ม เป็นต้น
4. การนันทนาการและด้านจิตใจ
5. ด้านวิทยาศาสตร์ การศึกษา และการแพทย์ โดยขั้นแรกเขาทดลองกับสัตว์ป่าเสียก่อน เช่น ทดลองกับหนู กระแต ลิง จากนั้น
จึงนาไปใช้กับคนการค้นคว้า ทดลองเหล่านี้หากไม่มีสัตว์ป่าเป็นเครื่องทดลองก่อนแล้ว ก็อาจจะมีผลสะท้อนถึงคนอย่างมา
6. เป็นตัวควบคุมสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ สัตว์ป่านับได้ว่าเป็นตัวควบคุมสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์ด้วยกันเอง ทาให้ผลกระทบ
ต่อคนบรรเทาเบาบางลงไปไม่มากก็น้อย
7. คุณค่าของสัตว์ป่าต่อทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ เช่น สัตว์ป่าช่วยทาลายศัตรูป่าไม้ สัตว์ป่าช่วยผสมเกสรดอกไม้ ต้นไม้ผสมเกสร
ได้นั้นอาศัยปัจจัยหลายอย่างช่วย สัตว์ป่าช่วยในการกระจายเมล็ดพันธุ์ไม้ สัตว์ป่าบางชนิดสัตว์ป่าช่วยทาให้ดินอุดมสมบูรณ์ยิ่งขึ้น
มูลของสัตว์เกือบทุกชนิดใช้เป็นปุ๋ยได้อย่างดี
1. ถูกทาลายโดยการล่าโดยตรงไม่ว่าจะล่าเพื่ออาหารหรือเพื่อการกีฬาหรือเพื่ออาชีพ
2. การสูญพันธุ์หรือลดน้อยลงไปตามธรรมชาติของสัตว์ป่าเอง ถ้าหากไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับความ
เปลี่ยนของสภาพแวดล้อมได้ หรือจากสาเหตุภัยธรรมชาติต่าง ๆ เช่น น้าท่วม ไฟป่า
3. การนาสัตว์ป่าต่างถิ่น (Exotic animal) เข้าไปในระบบนิเวศสัตว์ป่าประจาถิ่น ทาให้เกิดผลกระทบต่อ
ระบบนิเวศ ความสมดุลของสัตว์ป่าประจาถิ่นจนอาจเกิดการสูญพันธุ์
4. การทาลายถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ซึ่งก็ได้แก่การที่ป่าไม้ถูกทาลายด้วยวิธีการต่าง ๆ ไม่ว่าจะโดย
ถากถางและเผาเพื่อทาการเกษตรกิจกรรมการพัฒนา เช่น การตัดถนนผ่านเขตป่า การสร้างเขื่อน ฯลฯ
ทาให้สัตว์ป่าบางส่วนต้องอพยพไปอยู่ที่อื่นหรือไม่ก็เสียชีวิตขณะที่ถิ่นที่อยู่อาศัยถูกทาลาย
5. การสูญเสียเนื่องจากสารพิษตกค้าง เมื่อเกษตรกรใช้สารเคมีในการเพาะปลูก เช่น ยาปราบศัตรูพืชจะ
ทาให้เกิดการสะสมพิษในร่างกายทาให้บางชนิดถึงกับสูญพันธุ์ได้
แร่ เป็นทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมีความสาคัญและมีบทบาทที่สนองความต้องการ
ทางด้านปัจจัยต่าง ๆ ของประชากร ทั้งทางด้านอุตสาหกรรมและพลังงาน ความสาคัญและประโยชน์
ของแร่ธาตุที่จะนามาใช้ขึ้นอยู่กับระยะเวลาความเจริญทางเทคโนโลยี ตลอดจนความต้องการในการ
นาไปใช้ของมนุษย์
ทรัพยากรแร่ธาตุ ที่มนุษย์เราใช้ส่วนใหญ่มาจากแผ่นดิน ซึ่งค่อยๆ ลดจานวนลงทาให้มีการ
สารวจค้นคว้าหาแหล่งทรัพยากรแร่ธาตุใหม่ๆ อยู่เสมอ ปัจจุบันได้มีการบุกเบิกหาแหล่งทรัพยากรแร่ธาตุ
ในทะเล เช่น น้ามันปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ
ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และระยะเวลาทาให้ความสาคัญของแร่ธาตุเปลี่ยนแปลงไป
จากชนิดหนึ่งไปใช้อีกชนิดหนึ่ง เช่น จากการใช้ถ่านหินมาใช้น้ามันปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติจากการ
ใช้เหล็กมาใช้อลูมิเนียมแทน
1. แร่โลหะ เป็นแร่ที่มีความเหนียว เป็นตัวทนความร้อน และไฟฟ้าได้ดีหลอมตัวได้ และมีความทึบแสง
ได้แก่ แร่ดีบุก เหล็ก แมงกานีส ทองแดง ตะกั่ว อลูมิเนียม แมกนีเซียม ทองคา เงิน วุลแฟรม ฯลฯ
ประเภทของแร่
แร่เป็นทรัพยากรที่มนุษย์ นามาใช้ประโยชน์มากมาย แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ
แร่ดีบุก
2. แร่อโลหะ เป็นแร่ที่ไม่เป็นตัวนาความร้อนมีลักษณะโปร่งแสง เปราะแตกหักง่าย ได้แก่
ฟลูออไรท์ ฟอสเฟส หิน ทราย เกลือ กามะถัน โปแตสเซียม แคลเซียม ดินขาว ฯลฯ
กามะถัน
แคลเซียม
3. แร่พลังงาน หรือแร่เชื้อเพลิงเป็นแร่ที่สาคัญถูกนามาใช้มากเกิดจากซากสิ่งมีชีวิตใน
อดีต ได้แก่ ถ่านหิน น้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ
1. ประโยชน์ทางด้านความมั่นคง และมั่งคั่งของประเทศ ประเทศที่มีแร่ธาตุต่าง ๆ มากมายและ
สามารถนาไปใช้แปรรูปเป็นผลผลิตต่าง ๆ ที่ทาประโยชน์ต่อมนุษย์ เช่น ด้านอาวุธ ด้าน
อุตสาหกรรม
2. ประโยชน์ด้านความเป็นอยู่ของมนุษย์ นาแร่ธาตุต่างๆ มาสร้างขึ้นเป็นภาชนะใช้สอยพาหนะที่
ช่วยในการคมนาคม อาคารบ้านเรือน ก๊าซหุงต้ม พลังงานไฟฟ้า
3. ประโยชน์ด้านการสร้างงานแก่ประชาชน ทาให้ประชาชนมีรายได้จากการขุดแร่ ไปจนถึงแปรรูป
เป็นผลิตภัณฑ์ไปสู่ผู้บริโภค
ประโยชน์แร่
แร่รัตนชาติ แร่รัตนชาติส่วนใหญ่มีลักษณะ
เป็นรูปผลึกต่างๆ มีคุณสมบัติพิเศษ คือ โปร่งแสง และ
สะท้อนแสงได้ แข็งทนทาน มักใช้เป็นเครื่องประดับต่างๆ
เช่น เพชรมรกต ทับทิม พลอย ไข่มุก นิล บุษราคัม โอ
ปอ โกเมน เป็นต้น แร่รัตนชาติ หรือที่เรียกว่า อัญมณี
ส่วนมากเกิดในรูปของผลึก ประกอบด้วย แร่ชนิดเดียว มี
สีสวย ความแข็ง สูง เมื่อนามาขัดมัน หรือเจียระไนแล้ว
ทาให้เกิด การกระจายแสง เป็นประกายแวววาว งดงาม
ตารับเก่าแก่ของไทย ระบุรัตนชาติในตาราแก้วเก้า
ประการ
นอกจากนี้ แร่ธาตุชนิดต่าง ๆ มีคุณสมบัติลักษณะต่างกัน จึงมีประโยชน์แตกต่างกัน เช่น แร่วุลแฟรม
นามาทาไส้หลอดไฟฟ้า ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องแก้ว แร่พลวงนามาใช้ทาตัวพิมพ์หนังสือ ทาสี แบตเตอรี่ รัตนชาติ
เป็นแร่ที่มีลักษณะสีสันสวยงาม นามาใช้ทาเครื่องประดับต่าง ๆ มากมาย
ปัญหาทรัพยากรแร่
1. ปัญหาสิ่งแวดล้อมบริเวณที่ทาเหมืองแร่แล้วทาให้สภาพดินไม่อุดมสมบูรณ์ สกปรกพื้นที่ขรุขระมีหลุมบ่อ
มากมายจึงถูกปล่อยทิ้งใช้ประโยชน์ไม่เต็มที่
2. ปัญหาการใช้แร่ธาตุบางประเภทเป็นจานวนมาก เช่น แร่เหล็กถูกนามาใช้มากและแพร่หลายที่สุด ถ่านหิน
น้ามันปิโตรเลียม ดีบุก ฯลฯ
3. ปัญหาการใช้แร่ไม่คุ้มค่า ได้แก่ พวกแร่ที่ใช้แล้วยังเหลืออยู่ ยังสามารถนากลับไปใช้อีก เช่น เหล็ก ส่วนแร่
ที่นาไปใช้แล้วหมดไป เช่น ถ่านหิน น้ามัน ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ เราจึงต้องใช้อย่างคุ้มค่า และประหยัด
พลังงาน คือ ความสามารถที่จะทางานได้ ความสามารถดังกล่าวนี้เป็นความสามารถของวัตถุ
ใดมีพลังงานวัตถุนั้นก็สามารถทางานได้และคาว่างานในทีนี้เป็นผลของการกระทาของแรง ซึ่งทาให้
วัตถุเคลื่อนที่ไปในแนวของแรงสิ่งใดก็ตามที่สามารถทาให้วัตถุเปลี่ยนตาแหน่งหรือเคลื่อนที่ไปจากที่เดิม
ได้สิ่งนั้นย่อมมีพลังงานอยู่ภายใน
พลังงาน คือ ความสามารถที่จะทางานได้โดยอาศัยแรงงานที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติโดยตรง
และที่มนุษย์ใช้ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดัดแปลงใช้จากพลังงานตามธรรมชาติ ตามคานิยาม
ของนักวิทยาศาสตร์ พลังงาน (Energy) คือ ความสามารถในการทางาน (Ability to do work) โดย
การทางานนี้อาจจะอยู่ในรูปของการเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนรูปของวัตถุก็ได้
พลังงาน คือ ความสามารถของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่จะทางานได้ ซึ่งงานเป็นผลจากการกระทาของ
แรงเป็นเหตุให้สิ่งนั้นเคลื่อนที่ซึ่งคุณสมบัติโดยทั่วไปของพลังงานมีอยู่ 2 ประการ คือ ทางานได้และ
เปลี่ยนรูปได้
แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
ประเภทของทรัพยากรพลังงาน
1. พลังงานประเภทที่เกิดทดแทนใหม่ได้ หรือพลังงานหมุนเวียน (Renewable energy resources)
ได้แก่ พลังงานจากฟืนและถ่าน แกลบ พลังน้า พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานจากชีวมวล
พลังงานความร้อนใต้พิภพ เป็นต้น
2.พลังงานประเภทที่ใช้แล้วหมดไป หรือพลังงานสิ้นเปลือง(Non - renewable energy resources) ได้แก่
ถ่านหิน หินน้ามัน และทรายน้ามัน น้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ เป็นต้น พลังงานดังกล่าวนี้เกิดจากซาง
พืชซากสัตว์ถูกทับถมไว้ใต้ชั้นตะกอน ทราย หิน ปูน โคลน ที่ซ้อน ๆ กันอยู่นานเป็นล้าน ๆ ปี
แกลบ แกลบได้มาจากผลผลิตของข้าวที่ชาวนาได้ปลูกกันไว้กินสาหรับ
ในประเทศไทยก็ยังมีการปลูกอยู่มากมายทั่วทุกภาค การนาแกลลบมาใช้
ทางด้านความร้อน ได้แก่ โรงสีข้าวที่ใช้หม้อไอน้าและใช้ฉุดเครื่องเพื่อสี
ข้าว ใช้ในการเผาอิฐ ใช้ในการหุงต้มและผลิตถ่าน แกลบยังมีอยู่อีก
มากมายที่ตราบใดชาวนายังปลูกข้าวอยู่
• ฟืนและถ่าน เป็นหนึ่งในเชื้อเพลิงที่
เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ และถือเป็น
เชื้อเพลิงหมุนเวียนชนิดหนึ่ง ซึ่งจะ
ทดแทนได้เองเมื่อต้นไม้เติบโตขึ้นอีกครั้ง
แต่มักจะมีปัญหาจากความต้องการที่มี
มากกว่าอัตราการทดแทน
1.พลังงานประเภทที่เกิดทดแทนใหม่ได้ หรือพลังงานหมุนเวียน
ฟืนและถ่าน
แกลบ
แหล่งพลังน้า
พลังน้า (Hydropower) มนุษย์รู้จักนาพลังจากกระแสน้ามาใช้ประโยชน์โดยเปลี่ยนเป็นพลังงานกลตั้งแต่สมัย
โรมัน และในปัจจุบันก็มีการพลังน้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ากันอย่างกว้างขวาง เนื่องจากพลังงานที่ได้จากกระแสน้าไม่
ก่อให้เกิดมลภาวะ ไม่มีการเผาไหม้เชื้อเพลิง และไม่ทาให้เกิดสารพิษอื่น ๆ การใช้พลังงานน้าเพื่อสร้างพลังงานอื่นนั้น ก็
สามารถทาได้โดยการสร้างเขื่อนปิดกั้นเส้นทางไหลของกระแสน้า ทาให้ระดับน้าในเส้นทางที่จะไหลต่อไปมีระดับต่า แล้ว
จัดทาให้น้าเหนือเขื่อนไหลไปหมุนกังหันน้าซึ่งจะทาให้ได้กระแสไฟฟ้าต่อไป ในปัจจุบัน การใช้พลังงานน้าเพื่อผลิต
กระแสไฟฟ้ามีอยู่ประมาณ 4 เปอร์เซ็นต์ ของพลังงานที่ใช้อยู่ทั้งหมดในโลก
ประเทศไทยใช้พลังน้าผลิตกระแสไฟฟ้าโดยการ
สร้างเขื่อน เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 นอกจากเรา
จะใช้พลังน้าที่ได้จากการสร้างเขื่อนแล้ว พลังน้า
จากกระแสคลื่นและจากน้าขึ้นน้าลงก็นามาใช้
ประโยชน์ได้เช่นกัน แต่ขณะนี้ยังไม่ได้มีการ
นามาใช้ประโยชน์กันแพร่หลายนก เนื่องจากมี
ข้อจากัดหลายประการ
พลังงานแสงอาทิตย์
ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานของโลกที่สาคัญที่สุด มนุษย์ได้อาศัยพลังงานจากดวงอาทิตย์มาตั้งแต่ดึกดาบรรพ์
สิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่อุบัติขึ้นในโลกซึ่งได้มีวิวัฒนาการมาจนปัจจุบัน จะต้องอาศัยพลังงานจากดวงอาทิตย์เป็นปัจจัยสาคัญ
ในการดารงชีวิตทั้งสิ้น เพราะพลังงานจากดวงอาทิตย์ทาให้เกิดกระบวนการต่างๆ มากมาย เช่น การสังเคราะห์แสงใน
พืช (Photosynthesis) การทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต และทาให้ร่างกายของสิ่งมีชีวิตกระทากิจกรรม
ต่างๆ อยู่ได้
ปัจจุบันได้มีการศึกษาวิจัยเพื่อที่จะพัฒนา
นาเอาพลังงานจากแสงอาทิตย์มาใช้โดยการสร้างแผง
สาหรับรับความร้อน หรือเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์
ไปเป็นพลังงานไฟฟ้า (เซลล์แสงอาทิตย์) เพื่อ
นาไปใช้ในการสูบน้า ไฟฟ้าแสงสว่าง สาหรับชนบท
และอื่น ๆ ซึ่งส่วนใหญ่ยังอยู่ในขั้นการทดลอง ทั้งนี้
เพื่อหาทางทดแทนพลังงานประเภทที่ใช้แล้วหมดไป
เช่น น้ามัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ฯลฯ
พลังงานลม
ลม ก็คือ พลังงานที่มีกาเนิดมาจากแสงอาทิตย์
นั่นเอง มนุษย์เรารู้จักใช้กังหันลมในการสูบน้าเพื่อการ
เกษตรกรรมมานานแล้ว เช่น ในประเทศไทยเราก็มีการใช้
กังหันลมในการผันน้าทะเลเข้านาเกลือหรือผันน้าจากลา
คลองเข้านาข้าว เป็นต้น ปัจจุบันก็ได้มีการค้นคว้าหา
วิธีการที่จะออกแบบกังหันลมที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขั้น
เพื่อใช้แทนการใช้เครื่องสูบน้าที่ใช้น้ามันเป็นเชื้อเพลิง
นอกจากจะใช้ในการสูบน้าแล้ว เรายังสามารถใช้กังหันลม
ในการผลิตกระแสไฟฟ้าได้
ถ้าหากที่ในบริเวณนั้นมีลมพัดแรงและสม่าเสมอ เช่น แถบชายฝั่งทะเล ทั้งนี้การออกแบบกังหันลมก็จะแตกต่างไปจาก
กังหันลมที่ใช้สูบน้าเพราะลักษณะการหมุนจะเร็วและแรงมาก ได้มีการทดลองใช้กังหันลมเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าที่เกาะบาง
แห่งทางภาคเหนือของประเทศอังกฤษ คือ แถบบสกอตแลนด์ได้เป็นผลสาเร็จแล้ว
พลังงานจากชีวมวล
ชีวมวล (Biomass) หมายถึง สิ่งที่ได้มาจากสิ่งมีชีวิต เช่น ต้นไม้ อ้อย มันสาปะหลัง ถ่ายฟืนแกลบ วัชพืชต่าง ๆ หรือแม้กระทั่ง
ขยะและมูลสัตว์ ประเทศไทยมีแหล่งพลังงานอยู่มาก หากรู้จักนามาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เราจะสามารถลดการใช้พลังงานด้านอื่น อาทิ
พลังงานจากน้ามัน ไฟฟ้า แก๊ส ถ่านหิน ฯลฯ ซึ่งจะช่วยลดการใช้พลังงานที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และช่วยลดการสูญเสียเงินตราของ
ประเทศ ในการนาเข้าเชื้อเพลิงดังกล่าวอีกด้วย ดังนั้นการคิดค้นและพัฒนาการนาชีวมวลมาใช้เป็นพลังงานทดแทนในรูปแบบต่าง ๆ จึงเป็น
การแสวงหาหนทางใหม่ ในการใช้พลังงานเพื่ออนาคต ในขณะเดียวกันก็ต้องพยายาม ลดความสูญเสีย และเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้
พลังงานด้วยเช่นกัน
พลังงานชีวมวล (Bio-energy) หมายถึง พลังงานที่ได้จากชีวมวลชนิดต่างๆ โดยกระบวนการแปรรูปชีวมวลไปเป็นพลังงาน
รูปแบบต่าง ๆ
พลังงานปรมาณู
พลังงานปรมาณูหรือพลังงานนิวเคลียร์ (Nuclear Energy) เป็น
พลังงานที่เกิดจากการแตกตัวหรือรวมตัวของนิวเคลียสของอะตอม
ของธาตุบางชนิดอย่างต่อเนื่อง ทาให้ได้พลังงานปล่อยออกมา เป็น
แหล่งพลังงานที่ได้รับการพัฒนาและใช้กันมากในประเทศที่พัฒนา
แล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต ญี่ปุ่น ฯลฯ บางครั้งก็เรียก
พลังงานปรมาณูว่าพลังงานจากอะตอม พลังงานนิเคลียร์สามารถ
นาไปใช้ในกิจการหลายอย่าง
เช่น การทาอาหาร การแพทย์ การเกษตร การผลิตกระแสไฟฟ้าและ
ในการอุตสาหกรรมอื่นๆ ส่วนธาตุที่นามาใช้ในการก่อให้เกิดพลังาน
ปรมาณูที่สาคัญในปัจจุบันได้แก่ เรเดียม-226 ยูเรเนียม-238
คาร์บอน-14 ไอโอไดน์-137 และพลูโทเนียม-239 แต่การผลิต
พลังงานปรมาณูจะทาให้เกิดกัมมันตภาพรังสีซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อ
สิ่งแวดล้อมและมนุษย์อย่างมาก ถ้ามิได้มีกรรมวิธีที่ใช้ป้องกันการ
แพร่กระจายของกัมมันตภาพรังสีดีพอ และกากของกัมมันตภาพรังสี
ที่เหลือจากการผลิตพลังงานปรมาณูซึ่งยังคงมีกัมมันตภาพรังสีที่เป็น
อันตรายอยู่ ก็ยังเป็นปัญหาในการกาจัดในปัจจุบัน
เนื่องจากความร้องการไฟฟ้าได้เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงมีหลาย
ประเทศหันไปใช้พลังงานปรมาณูเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าแทนการใช้
ถ่านหินและน้ามัน และคาดว่าพลังงานปรมาณูจะเป็นแหล่งพลังงาน
ที่สาคัญของโลกต่อไปในอนาคต ถ้าสามารถป้องกันปัญหาจาก
กัมมันตภาพรังสี และมีวิธีกาจัดกากของสารกัมมันตภาพรังสีได้ดีกว่า
ในปัจจุบัน
พลังงานใต้พิภพ (Geothermal Energy)
เป็นแหล่งพลังงานตามธรรมชาติที่มีอยู่ใต้พื้นโลก และนับเป็นแหล่งพลังงานที่ได้มีการนามาใช้ได้โดยไม่ก่อให้เกิด
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างพลังงานปรมาณู พลังน้า พลังงานจากน้ามัน และถ่านหิน ในปัจจุบัน ได้มีการนา
พลังงานใต้พิภพมาใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ากันบ้างแล้ว เช่นในสหภาพโซเวียต ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ อิตาลี สหรัฐอเมริกา
และเม็กซิโก แต่ก็นับว่าพลังงานใต้พิภพได้ถูกนามาใช้น้อยมาก คือน้อยกว่า 1 เปอร์เซ็นต์ของพลังงานที่ใช้อยู่ทั้งหมด
พลังงานจากสิ่งมีชีวิต
พลังงานจากสิ่งมีชีวิตหรือทีเรียกว่า Fossil Fuel เป็นพลังงานที่เกิด
จากซากสัตว์ที่ทับถมกันมาเป็นเวลานานนับล้านปี ซึ่งเมื่อถูกสันดาปก็จะทาให้
พลังงานที่สะสมไว้ถูกปลดปล่อยออกมา พลังงานจากสิ่งมีชีวิตนี้ได้มีการ
นามาใช้กันอย่างกว้างขวาง และใช้อยู่ในปริมาณมากกว่าพลังงานจากแหล่งอื่น
ๆ คือใช้อยู่ถึง 90 เปอร์เซ็นต์ของพลังงานที่มนุษย์ใช้อยู่ในโลกทั้งหมด พลังงาน
จากสิ่งมีชีวิตที่เรารู้จักกันดีได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ หรือที่ผู้ใช้เรียกติดปากว่า แก๊ส
น้ามันดิบ ถ่านหิน หินน้ามัน ถ่าน ฟืน เป็นต้น ในปัจจุบันการใช้พลังงาน
ประเภทนี้โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติและน้ามันกาลังเป็นที่นิยมใช้กันมาก
ในขณะที่ปริมาณก๊าซธรรมชาติและน้ามันที่มีอยู่กาลังลดปริมาณลงเหลือน้อย
เต็มที จึงคาดว่าก๊าซธรรมชาติและน้ามันที่มีอยู่กาลังลดปริมาณลงเหลือน้อย
เต็มที จึงคาดว่าก๊าซธรรมชาติและน้ามันคงจะขาดแคลนลงในอีกไม่เกิน 20 ปี
ข้างหน้านี้ แต่สาหรับพลังงานอย่างอื่น เช่น ถ่านหิน ประมาณว่า มีปริมาณ
มากพอที่จะใช้ได้ถึง 200-300 ปีข้างหน้า
2. พลังงานประเภทที่ใช้แล้วหมดไป หรือพลังงานสิ้นเปลือง
น้ามันและก๊าซธรรมชาติ
ปิโตรเลียม เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนอันสลับซับซ้อน ที่เกิดขึ้นเองตาม
ธรรมชาติในชั้นหินใต้พื้นผิวโลก มีธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลักคือ ไฮโดรเจน และ
คาร์บอน ได้จากการสลายตัวของอินทรีย์สารจานวนมาก ทับถมกันในหินตะกอน
ภายใต้ความร้อนและความดันมหาศาล เมื่อนามากลั่นจะได้ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น
ก๊าซหุงต้ม น้ามันเบนซิน น้ามันก๊าด น้ามันดีเซล น้ามันเตา ยางมะตอย รวมทั้ง
เคมีภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ปุ๋ยเคมี ยาปราบศัตรูพืช พลาสติก และยางสังเคราะห์ เป็น
ต้น
ชนิดของปิโตรเลียม
น้ามันดิบ
น้ามันดิบประกอบด้วยสารไฮโดรคาร์บอนชนิดระเหยง่ายเป็นส่วนใหญ่ แบ่งออกได้
เป็น 3 ชนิด ตามคุณสมบัติและชนิดของไฮโดรคาร์บอน ที่ประกอบอยู่ คือ
• น้ามันดิบชนิดที่ไม่มีไขมาก (paraffin base)
• น้ามันดิบชนิดที่มียางมะตอยมาก (asphalt/naphthenic base)
• น้ามันดิบชนิดผสม (mixed base) เป็นน้ามันดิบพื้นฐานชนิดผสมกัน
ระหว่างชนิดมีไขมากและชนิดที่มียางมะตอยมาก
น้ามันดิบโดยทั่วไปจะมีสีดาหรือสีน้าตาล มีกลิ่นคล้ายน้ามันเชื้อเพลิง
สาเร็จรูป
เมื่อน้ามันดิบรวมอยู่กับน้า น้ามันดิบจะลอยอยู่เหนือน้า
ภายหลังจากผ่านกระบวนการกลั่นน้ามันแล้วจะได้ผลิตภัณฑ์น้ามันต่างๆ ซึ่ง
สามารถนาไปใช้ประโยชน์ เป็นเชื้อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์ รถยนต์ รวมทั้งเตาเผา
และเตาอบต่างๆ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงเครื่องบินใบพัดและ
น้ามันเชื้อเพลิงเครื่องบินไอพ่น เป็นน้ามันก๊าด เป็นส่วนผสมของยาฆ่าแมลง สีทาบ้าน
น้ามันชักเงา น้ายาทาความสะอาด เป็นเชื้อเพลิงบ่มยาสูบ อบพืชผลและใช้ใน
อุตสาหกรรมเซรามิก
แก๊สธรรมชาติ
โดยทั่วไปสามารถแบ่งหลักๆ ได้ 2 ประเภท ดังนี้
Dry gas หมายถึงแก๊สธรรมชาติที่ไม่มีส่วนผสมของแก๊สธรรมชาติเหลว (condensate) มีแต่แก๊สมีเทนเกือบ
ร้อยเปอร์เซ็นต์ ทาให้มีราคาสูงกว่าแก๊สธรรมชาติชนิดอื่นๆ
Wet gas หมายถึง แก๊สธรรมชาติที่มีส่วนประกอบหลักเป็นพวกแก๊สธรรมชาติเหลว ได้แก่ โพรเพน บิวเทน
เพนเทน และเฮกเซน แก๊สเหล่านี้จะกลายเป็นของเหลวได้ง่ายที่อุณหภูมิต่าและความดันสูง ทาให้เกิดปัญหาในการ
ขนส่งชนิดของก๊าซธรรมชาติ
ก๊าซมีเทนใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรม เป็นวัตถุดิบสา
หรับการผลิตปุ๋ย และอัดใส่ถังใช้เป็นเชื้อเพลิงรถโดยสาร
เอ็นจีวี ( Natural gas for vehicles - NGV) อีเทน และโพรเพน
ใช้เป็นวัตถุดิบในโรงงานอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (Liquefied petroleum gas - LPG) ซึ่ง
ประกอบด้วยโพรเพนและบิวเทน ใช้เป็นเชื้อเพลิงหุงต้ม เชื้อเพลิง
สาหรับรถและอุตสาหกรรม
แก๊สโซลีนธรรมชาติ (Natural gas liquid - NGL) ส่งเข้าโรงกลั่น
เพื่อกลั่นเป็นน้ามันเบนซินแก๊สธรรมชาติ
ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas) คือ ก๊าซชีวภาพชนิดหนึ่ง กาเนิดจากการทับถมของซากสิ่งมีชีวิตทั้งพืช
และสัตว์เป็นเวลานับหลายล้านปี โดยซากพืชซากสัตว์เหล่านี้จะแปรสภาพเป็นก๊าซและน้ามัน เนื่องจาก
ความร้อนและความกดดันของผิวโลกและสะสมอยู่ในชั้นดินก๊าซธรรมชาติจึงจัดเป็นสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่ง (มีสูตรทางเคมีเป็น CnH2n+2) โดยทั่ว ๆ ไปจะประกอบด้วยก๊าซมีเทน
(Methane, CH4) ประมาณ 70 % ขึ้นไป ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของแหล่งก๊าซธรรมชาติแต่ละแหล่ง
เป็นสาคัญ
แหล่งกาเนิดก๊าซธรรมชาติในประเทศไทย
แหล่งกาเนิดก๊าซธรรมชาติในประเทศไทยมี 2 แหล่งด้วยกันคือ
1. ในทะเล (มีปริมาณมาก) ได้แก่ บริเวณอ่าวไทย (ผู้ผลิต : UNOCAL, TOTAL, THAIPO)
2. บนบก (มีปริมาณน้อย) ได้แก่ อ.น้าพอง จ.ขอนแก่น (ผู้ผลิต : ESSO)
การแยกก๊าซธรรมชาติ
คือ การแยกสารประกอบ
ไฮโดรคาร์บอน ซึ่งปะปนกัน
หลายชนิดตามธรรมชาติ
ออกจากก๊าซธรรมชาติมา
เป็นก๊าซชนิดต่างๆ เพื่อ
นาไปใช้ให้เกิดประโยชน์
สูงสุด ตามคุณค่าของก๊าซ
นั้นๆ
ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกก๊าซธรรมชาติ
ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ประโยชน์
• ใช้ในอุตสาหกรรมหล่อเหล็ก อุตสาหกรรมถนอมอาหาร
อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม
• ใช้ทาน้ายาดับเพลิง ฝนเทียม ฯลฯ
ก๊าซโซลีนธรรมชาติ ประโยชน์
• ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมตัวทาละลาย
• ใช้ผสมเป็นน้ามันเบนซินสาเร็จรูป
• ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ประโยชน์
• เป็นเชื้อเพลิงหรือก๊าซหุงต้มในครัวเรือน และเชื้อเพลิงในรถยนต์
• เป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อนในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ
• ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เช่นเดียวกับก๊าซอีเทน
และก๊าซโพรเพน
ก๊าซบิวเทน ประโยชน์
• ใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี
• นามาผสมกับโพรเพนเป็นก๊าซปิโตรเลียมเหลว (ก๊าซหุงต้ม)
ก๊าซอีเทน ประโยชน์
• ใช้ผลิตเอทีลีน ซึ่งเป็นสารตั้งต้นสาหรับเม็ดพลาสติก โพลิเอทีลีน
(PE) เพื่อใช้ผลิตถุงพลาสติก หลอดยาสีฟัน โพลิโพรพิลีน (PP) เช่น
ยางในห้องเครื่องรถยนต์ หม้อแบตเตอรี่ กาว สารเพิ่มคุณภาพ
น้ามันเครื่อง
• ใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม
ก๊าซมีเทน ประโยชน์
• ใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า และให้ความร้อนใน
โรงงานอุตสาหกรรม
• ใช้เป็นเชื้อเพลิงในยานพาหนะ
• ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยเคมี
ถ่านหิน
ถ่านหิน คือ หินตะกอนชนิดหนึ่งและเป็นแร่เชื้อเพลิงสามารถติดไฟได้ มีสีนาตาลอ่อนจนถึงสีดา มีทั้งชนิดผิวมันและผิวด้าน
น้าหนักเบา ถ่านหินประกอบด้วยธาตุที่สาคัญ 4 อย่าง ได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน นอกจากนั้นมีธาตุหรือสารอื่น เช่น
กามะถัน เจือปนเล็กน้อย ถ่านหินที่มีจานวนคาร์บอนสูงและมีธาตุอื่น ๆ ต่า เมื่อนามาเผาจะให้ความร้อนมา ถือว่าเป็นถ่านหินคุณภาพดี
ถ่านหินสามารถแยกประเภทตามลาดับชั้นได้เป็น 5 ประเภท คือ
1. พีต(Peat) เป็นขั้นแรกในกระบวนการเกิดถ่านหิน ประกอบด้วยซากพืชซึ่งบางส่วนได้สลายตัวไปแล้วสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้
2. ลิกไนต์(Lignite) มีซากพืชหลงเหลืออยู่เล็กน้อย มีความชื้นมาก เป็นถ่านหินที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง
3. ซับบิทูมินัส(Subbituminous) มีสีดา เป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพเหมาะสมในการผลิตกระแสไฟฟ้า
4. บิทูมินัส(Bituminous) เป็นถ่านหินเนื้อแน่น แข็ง ประกอบด้วยชั้นถ่านหินสีดามันวาว ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อการถลุงโลหะ
5. แอนทราไซต์(Anthracite) เป็นถ่านหินที่มีลักษณะดาเป็นเงา มันวาวมาก มีรอยแตกเว้าแบบก้นหอย ติดไฟยาก
ถ่านหิน ปริมาณความร้อน ปริมาณความชื้น ปริมารขี้เถ้า ปริมาณกามะถัน
1.แอนทราไซต์ สูง ต่า ต่า ต่า
2.บิทูมินัส สูง ต่า ต่า ต่า
3.ซับบิทูมินัส ปานกลาง-สูง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง
4.ลิกไนต์ ต่า-ปานกลาง สูง สูง ต่า-สูง
ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติต่างๆ ของถ่านหินแต่ละชนิด
1.สหภาพโซเวียด 241,000 ล้านตัน
2.สหรัฐอเมริกา 240,560 ล้านตัน
3.จีน 114,500 ล้านตัน
4.ออสเตรเลีย 90,940 ล้านตัน
5.เยอรมัน(ตะวันตก) 80,069 ล้านตัน
ปริมาณสารองถ่านหินทั่วโลก
การใช้ประโยชน์จากถ่านหิน มีดังต่อไปนี้
1. ใช้เป็นเชื้อเพลิง เช่น เป็นเชื้อเพลิงเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้า การถลุงโลหะ การผลิตปูนซีเมนต์ บ่มใบยาสูบ อุตสาหกรรม
ผลิตอาหาร อุตสาหกรรมที่ต้องใช้หม้อน้าร้อนในกระบวนการ
2. ใช้ในการทาถ่านสังเคราะห์ เป็นสารดูดกลิ่น ใช้ในเครื่องกรองน้า และเครื่องใช้ต่างๆ ที่ต้องการประโยชน์ด้านการดูดซับ
กลิ่น
3. ใช้ทาคาร์บอนไฟเบอร์ ซึ่งเป็นวัสดุที่มีความแข็งแรงแต่มีน้าหนักเบา เช่น การทาเครื่องร่อน การทาอุปกรณ์กีฬา เช่น ด้าม
ไม้กอล์ฟ ไม้เทนนิส ไม้แบดมินตัน
ข้อจากถ่านหิน มีดังต่อไปนี้
1. ทาให้เกิดมลภาวะในอากาศ เนื่อง
จากควันที่ถูกปล่อยจากปล่องประกอบ
ด้วย ก๊าซ CO2 SO2และ NOx
2. ทาให้เกิดปัญหากับสุขภาพของ ชุมชนแบบเรื้อรัง
3 กากของแข็งที่เหลือจากการเผาไหม้ จะเป็น “เถ้า” และมีปริมาณมาก
4. ไม่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้
5. เป็นทรัพยากรที่มีจานวนจากัด
หินน้ามันและทรายน้ามัน
หินน้ามัน เป็นพลังงานที่ได้จากวัตถุที่เรียกว่า เคโรเจน (Kerogen)
ซึ่งปนอยู่กับหิน เป็นสารประกอบของไฮโดรคาร์บอน โดยมีกามะถัน
ผสมอยู่ด้วย กรรมวิธีการผลิตจะนาหินที่มีเคโรเจนมาแยกน้ามันออก
ด้วยความร้อน 462 องศาเซลเซียส จะได้ไอระเหยเป็นน้ามันที่
เรียกว่า Dhale Oil หินน้ามันนี้มีอยู่ในสหรัฐอเมริกามากกว่าแหล่ง
อื่น แต่กรรมวิธีการผลิตน้ามันค่อนข้างจะเป็นปัญหายุ่งยากและได้ผล
ไม่คุ้มค่า กล่าวคือ หิน 1 ตัน ที่พบว่ามีเคโรเจนอยู่ เมื่อนามาผลิต
น้ามันจะได้น้ามันเพียง 20-40 แกลลอนเท่านั้น จึงยังไม่นิยมผลิต
น้ามันจากหินน้ามัน
ทรายน้ามัน เป็นน้ามันดิบที่ปะปนอยู่ในรูปของทรายที่เรียกว่า
หินทราย (Sandstone หรือ Linestone) ซึ่งเป็นหินทรายที่กึ่ง
แข็งกึ่งเหลวและคล้ายน้ามันดิบ คือมีสีดา มีคาร์บอนเป็น
ส่วนผสมราว 83 เปอร์เซ็นต์ และมีกามะถันอยู่มาก การผลิต
น้ามันจากหินทรายก็คล้ายกับการผลิตจากหินน้ามัน และยังมี
ปัญหาจากกระบวนการผลิตที่ต้องใช้ต้นทุนสูงแหล่งทรายน้ามัน
ที่สาคัญและมีปริมาณมากในปัจจุบันอยู่ในประเทศแคนาดา
และสหรัฐอเมริกา
หินน้ามัน
ทรายน้ามัน
สาเหตุ ผลกระทบจากการผลิต และการใช้พลังงาน
สภาพความเสื่อมโทรมของสภาวะแวดล้อมส่วนใหญ่ อาจกล่าวได้ว่ามีสาเหตุมาจากการผลิตและ
การใช้พลังงานของมนุษย์แทบทั้งสิ้น ดังนั้นการเสาะแสวงหาทรัพยากรพลังงานมาเพื่อตอบสนองความ
ต้องการพลังงานสูงขึ้นเรื่อยๆ จึงควรระมัดระวังและพิจารณาให้รอบคอบก่อนนามาใช้นักสิ่งแวดล้อมได้
กล่าวถึงผลกระทบจากการใช้ทรัพยากรพลังงาน ดังนี้
1. ทาให้เกิดการเจ็บป่วย ล้มตาย
2. ทาให้สิ่งของและทรัพยากรธรรมชาติเสียหาย
3. ทาลายสภาพแวดล้อมและสิ่งมีชีวิต
4. เกิดภาวะมลพิษทั้งทางดิน น้า และอากาศ
ป่าชายเลน เป็นระบบนิเวศของป่าชายฝั่งที่ทนต่อสภาพความเค็มได้และเป็นกลุ่มแรกของสิ่งมีชีวิตที่
บุกเบิกชีวิตความเป็นอยู่ลงไปสู่ทะเลพร้อม ๆ กับการชักนาพื้นแผ่นดินให้รุกล้าตามลงไปในทะเล จึง
นับเป็นปราการด่านแรกระหว่างบกกับทะเล โดยจะประกอบด้วยพันธุ์ไม้ สัตว์นานาชนิด ตลอดจน
สภาพแวดล้อมอื่น ๆ เช่น การขึ้นลงของน้าทะเล ดินเลนที่มีอินทรียสารเป็นจานวนมาก ฯลฯ อยู่
รวมกันเป็นระบบ
ป่าชายเลน เป็นกลุ่มของสังคมพืช ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นไม้ไม่ผลัดใบ มีลักษณะทางเสรีวิทยาและการ
ปรับตัวทางโครงสร้าง ที่คล้ายคลึงกันและการขึ้นของพรรณไม้ในป่าชายเลน จะขึ้นอยู่กับแนวเขต ซึ่ง
ผิดแปลกไปจากสังคมพืชป่าบก ทั้งนี้เพราะอิทธิพลจากลักษณะของดิน ความเค็มของน้าทะเลและ
การขึ้นลงของน้าทะเลเป็นสาคัญสาหรับแนวเขตที่เด่นชัด ของป่าชายเลน ได้แก่
โกงกาง ทั้งโกงกางใบเล็กและโกงกางใบใหญ่ จะขึ้นอยู่หนาแน่นบนพื้นที่ใกล้ฝั่งทะเล
ไม้แสมและประสัก จะอยู่ถัดจากแนวเขตของโกงกาง
ไม้ตะบูน จะอยู่ลึกเข้าไปจากแนวเขตของไม้แสมและประสัก เป็นพื้นที่ที่มีดินเลน แต่
มักจะแข็ง ส่วนบนพื้นที่ดินเลนที่ไม่แข็งมากนักและมีน้าทะเลท่วมถึงเสมอ จะมีไม้โปรง รังกะแท้ และ
ฝาด ขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น
ไม้เสม็ด จะขึ้นอยู่แนวเขตสุดท้าย ซึ่งเป็นพื้นที่เลนแข็งที่มีน้าทะเลท่วมถึงเป็นครั้งคราว
เมื่อระดับน้าทะเลขึ้นสูงสุดเท่านั้น และแนวเขตนี้ถือว่าเป็นแนวติดต่อระหว่างป่าชายเลนกับป่าบก
สาหรับพวกปรง จะพบทั่ว ๆ ไปในป่าชายเลน แต่จะขึ้นอย่างหนาแน่นในพื้นที่ถูกถาง
โกงกาง
ไม้แสม
ไม้เสม็ด
ปรงทะเล ปรงหนู ตะบูนดาตะบูนขาว
1. การนาไม้มาใช้ประโยชน์ ไม้ที่ได้จากป่าชายเลน นอกจากนามาใช้เพื่อการเผาถ่านแล้วยังสามารถใช้
เพื่อเป็นไม้ฟืน ไม้เสาเข็ม ไม้ค้ายันเฟอร์นิเจอร์
2. เป็นที่ป้องกันชายทะเล โดยป่าชายเลนจะทาหน้าที่เสมือนเขื่อนป้องกันคลื่นลมพายุไม่ให้เกิดอันตราย
ต่อมนุษย์และระบบนิเวศอื่น ๆ
3. ทาหน้าที่เป็นแหล่งกักตะกอนสิ่งปฏิกูลและสารมลพิษต่าง ๆ จากบนบกไม่ให้ลงสู่ทะเล
4. ช่วยให้มีการงอกตัวของแผ่นดิน จากการที่ตะกอนดินทราบซึ่งไหลมากับแม่น้า เมื่อถูกขวางกั้นด้วย
แนวป่าชายเลน ทาให้กระแสดน้าลดความเร็วลงเกิดตะกอนทับถม
5. นิเวศวิทยาป่าชายเลน เป็นระบบนิเวศที่เหมาะสมกับการวางไข่ การหาอาหาร และการเจริญเติบโต
ของสัตว์น้าเศรษฐกิจหลายชนิดและเป็นแหล่งชุมชมของนก สัตว์ป่าหลายชนิด
6. เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ ความสวยงานจากพรรณไม้ต่าง ๆ ตั้งแต่เฟิร์น กล้วยไม้ และต้นไม้ใหญ่ที่
เพิ่มความแปลกตาแก่ทิวทัศน์ทางทะเล
ความสาคัญของป่ าชายเลน
1. การป่าไม้ หมายถึง ทั้งการทาไม้สัมปทาน ตามวิธีการที่รัฐ
กาหนดการทาป่าไม้ในเขตสัมปทาน แต่หลีกเลี่ยงไม่ทาตามข้อกาหนด
ของรัฐ รวมทั้งการบุกรุกทาลายป่า โดยตัดฟันไม้เพื่อนามาใช้ประโยชน์
2. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า หมายถึง เฉพาะการทาบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้า
และสถานีเพาะพันธุ์สัตว์น้าในพื้นที่ป่าชายเลนบริเวณพื้นที่โครงการ
3. การเกษตรกรรมในพื้นที่ป่าชายเลน
4. การทาเหมืองแร่ในพื้นที่ป่าชายเลน
5. การขยายตัวของชุมชน
6. การก่อสร้างท่าเทียบเรือทุกขนาด การก่อสร้างอู่ต่อเรือและสะพาน
ปลา
7. การก่อสร้างถนน รวมทั้งสายส่งไฟฟ้า
8. การก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม
9. การขุดลอกร่องน้า
สาเหตุและผลกระทบปัญหาที่ทรัพยากรป่ าชายเลน
1. ผลกระทบทางกายภาพ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศป่าชายเลน คือ อุณหภูมิปริมาณธาตุ
อาหาร ความเค็ม สภาพทางอุทกวิทยาการตกตะกอน ปริมาณมลพิษในน้าเป็นต้น
2. ผลกระทบทางชีววิทยา ได้แก่ การลดปริมาณพรรณไม้ส่วนรวม การลดการสืบพันธุ์ตามธรรมชาติ การ
ลดปริมาณหรือการสูญเสียพันธุ์ไม้มีค่าหรือหายาก การสะสมพิษในห่วงโซ่อาหาร การเกิดโรคระบาด การ
ทาลายถิ่นที่อยู่อาศัยธรรมชาติ
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่ าชายเลน
ปะการัง (Corals) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมซีเลนเตอราต้า (Phylum Coelenterata) ขนาดเล็ก
มีโครงสร้างหินปูนห้อหุ้มตัวอ่อนนุ่มไว้ชั้นนอก ดารงชีพ 2 แบบ คือ อยู่ตัวเดือย (Solitary) หรืออยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม
(Colony) มีรูปทรงต่าง ๆ เป็นแผ่น เป็นก้อนหรือกิ่งก้านซึ่งเกิดจากปะการังนับล้านตัวที่มาเกาะกันอยู่ โดยมีการ
สร้างโครงสร้างหินปูนแผ่ขยายไปเรื่อย ๆ กลายเป็นแนวปะการัง ปะการังจะเติบโตได้ดีเฉพาะบริเวณที่มีน้าทะเลที่มี
อุณหภูมิตั้งแต่ 18-27 องศาเซลเซียส มี แสงแดดพอประมาณไม่ใช่แดดจัด น้าไม่ขุ่นและมีความของน้าไม่เกิน 50
เมตร ดังนั้นแนวปะการังจะเจริญเติบโตและมีอยู่เฉพาะน่านน้าเขตอบอุ่นของโลกเท่านั้น
ตัวปะการัง มีรูปเป็นทรงกระบอก มีขนาดเพียง 1 มิลลิลิตร ถึง 1
เซนติเมตร มีส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ ส่วนฐานซึ่งอยู่ติดกับ
โครงสร้างแข็ง ส่วนลาตัวรูปทรงกระบอกและส่วนปากที่มีหนวด
ล้อมรอบ ในตอนกลางวันปะการังจะเก็บตัวอยู่ในโครงแข็ง พอ
กลางคืนก็จะแผ่ขยายหนวดออกดักจับเหยี่อตัวเล็ก ๆ ที่ล่องลอยมา
กับกระแสน้า
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)

More Related Content

What's hot

บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซมPinutchaya Nakchumroon
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์bio2014-5
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรมThanyamon Chat.
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่Apinya Phuadsing
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์Wichai Likitponrak
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2Wichai Likitponrak
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานratanapornwichadee
 

What's hot (20)

บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
บทที่  16  ยีนและโครโมโซมบทที่  16  ยีนและโครโมโซม
บทที่ 16 ยีนและโครโมโซม
 
Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์Lec การแบ่งเซลล์
Lec การแบ่งเซลล์
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรมPower point   การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
Power point การถ่ายทอดทางพันธุกรรม
 
01เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 1601เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 16
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartokการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมตามกฎเมนเดล by pitsanu duangkartok
 
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่เรื่องที่2การเคลื่อนที่
เรื่องที่2การเคลื่อนที่
 
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
5.แหล่งน้ำgs ผิวดินบาดาลใช้ประโยชน์
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
Kingdom protista
Kingdom protistaKingdom protista
Kingdom protista
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
 

Similar to ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมkasarin rodsi
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3juejan boonsom
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติApinun Nadee
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงsavokclash
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรvarut
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริtipfylovely
 

Similar to ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource) (20)

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงการวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
การวิเคราะห์โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดิน
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดิน
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดิน
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
Pw ecosystem
Pw ecosystemPw ecosystem
Pw ecosystem
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 

ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)

  • 2. ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural Resources) หมายถึง สิ่ง ต่างๆที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ และเป็นสิ่งที่สามารถนามาใช้ให้ เกิดประโยชน์ต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ ในหลายๆด้าน เช่น นามา ประกอบอาหาร ใช้เป็นเครื่องนุ่งห่ม ใช้เป็นยารักษาโรค หรือนามา ดัดแปลงเป็นที่อยู่อาศัย
  • 3. สามารถแบ่งตามการนามาใช้งานและผลที่เกิดขึ้นได้ 3 ประเภท ดังนี้ 1. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดหรือไม่สูญหาย (inexhaustible natural resources) หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วมีระบบที่ผลิตขึ้นมาใหม่หรือขึ้นมา ทดแทนอย่างรวดเร็ว และเป็นสิ่งที่มีอยู่มากเกินความต้องการหากรู้จักใช้อย่างถูกวิธีก็จะไม่ มีวันหมดไปหรือไม่เสื่อมคุณภาพลง ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนี้ ได้แก่ บรรยากาศ น้า ในวัฏจักร แสงอาทิตย์ เป็นต้น
  • 4. 2. ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้หรือรักษาไว้ได้ (replaceable and maintainable natural resources) หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติที่นาไปใช้แล้ว ธรรมชาติสามารถสร้าง ทดแทนขึ้นมาเองได้แต่ต้องใช้เวลานาน หากมีการดูแลและนามาใช้อย่างถูกวิธีทรัพยากร ธรรมชาติเหล่านั้นก็จะมีปริมาณที่เพียงต่อความต้องการของมนุษย์ และนาไปใช้เพื่อการ ดารงชีวิตได้อย่างยาวนานโดยไม่เดือดร้อน เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า สัตว์น้า ดิน แหล่งน้า อากาศ เป็นต้น
  • 5. 3. ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป (exhaustible natural resources) หมายถึง ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่อย่างจากัด หากนามาใช้ให้หมดไปแล้วก็ไม่สามารถสร้างขึ้นมา ทดแทนได้ หรือบางสิ่งบางอย่างอาจสร้างทดแทนได้แต่ต้องใช้ระยะเวลานาวนานนับเป็น พันๆปี หรือมากกว่านั้น ได้แก่ แร่ธาตุ พลังงาน ถ่านหิน แก๊สธรรมชาติ
  • 6. อากาศ (Air) คือ ของผสมที่เกิดจากก๊าซหลายชนิด อากาศบริสุทธิ์จะไม่มีสี ไม่มีกลิ่น และไม่มีรส บรรยากาศ (Atmosphere) คือ มวลก๊าซที่ห่อหุ้มตั้งแต่ผิวโลกจนสูงขึ้นไปประมาณ 900 กิโลเมตร โดย จะเกิดร่วมกับลักษณะทางกายภาพอื่น ได้แก่ อุณหภูมิ ความกดอากาศ ความชื้น ลม และอนุภาคฝุ่นผง หรือมลสาร (Pollutant)
  • 7. 1. โทรโพสเฟียร์ ( Troposhere) อยู่ระหว่าง 0- 10 กิโลเมตร แหล่งกาเนิดความร้อนของโทรโพสเฟียร์ คือพื้นผิวโลก ซึ่ง ดูดกลืนรังสีคลื่นสั้นจากดวงอาทิตย์ และแผ่รังสีอินฟราเรด ออกมา ชั้นโทรโพสเฟียร์มีไอน้ามหาศาล ก่อให้เกิดเมฆ หมอก พายุ และฝน 2. สตราโตสเฟียร์ ( Stratoshere) อยู่ระหว่าง 12- 50 กิโลเมตร เมีไอน้าเล็กน้อย ไม่มีเมฆ อากาศมีการเคลื่อนตัวอย่าง ช้าๆ จึงเหมาะกับการเดินทางทางอากาศ แก๊สสาคัญในชั้นนี้ คือ แก๊สโอโซน ซึ่งช่วยดูดซับรังสี UV จากดวงอาทิตย์ อุณหภูมิของ ชั้นนี้อยู่ระหว่าง -60 ถึง 10 องศาเซลเซียส โดยอุณหภูมิจะ เพิ่มขึ้นเมื่อระดับความสูงเพิ่มขึ้น
  • 8. 3. มีโซสเฟียร์ ( Mesosphere) อยู่ระหว่าง 50-85 กิโลเมตร มีอากาศเบาบางมาก แต่ก็มากพอที่จะทาให้ดาวตกเกิดการเผาไหม้ และ เป็นชั้นที่ช่วยดูดซับรังสี UV จากดวงอาทิตย์ อุณหภูมิในชั้นนี้จะลดลง มาอยู่ที่ -120 องศาเซลเซียส 4. เทอร์โมสเฟียร์( Thermoshere)อยู่ระหว่าง 85-700 กิโลเมตร มีอากาศเบาบางมากกว่าชั้นมีโซสเฟียร์ แต่เป็นชั้นหลักที่ช่วย ดูดซับรังสี UV จากดวงอาทิตย์ ทาให้มีอุณหภูมิในชั้นนี้มากถึง 2,000 องศาเซลเซียส ที่ระดับความสูง 700 กม. อนุภาคในชั้นนี้เป็นอนุภาคที่มี ประจุไฟฟ้าที่เรียกว่า "อิออน" ที่เกิดจากการแตกตัว เมื่ออนุภาคใน สภาวะปกติถูกกระตุ้นด้วยรังสี UV จากดวงอาทิตย์ อิออนเหล่านี้จะมี คุณสมบัติสะท้อนคลื่นวิทยุได้ จึงเป็นชั้นที่ใช้ส่งสัญญาณวิทยุสื่อสาร รวมถึงการเกิดแสงเหนือและแสงใต้ หรือ "ออโรล่า"
  • 9. 5. เอ็กโซสเฟียร์ (Exosphere) อยู่ระหว่าง 700-800 กิโลเมตร อากาศค่อยๆ เจือจางลง เมื่อความสูงเพิ่มขึ้น และเจือจางจน เข้าสู่อวกาศ
  • 10.
  • 11. โลกของเราประกอบขึ้นด้วยพื้นดินและพื้นน้า โดยส่วนที่เป็นฝืนน้านั้น มีอยู่ประมาณ 3 ส่วน (75%) และเป็นพื้นดิน 1 ส่วน (25%) น้ามีความสาคัญอย่างยิ่งกับชีวิตของพืชและสัตว์บนโลกรวมทั้ง มนุษย์เราด้วย น้าเป็นทรัพยากรที่มีความสาคัญต่อชีวิตคน พืช และสัตว์มากที่สุดแต่ก็มีค่าน้อยที่สุดเมื่อ เปรียบเทียบกับทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ น้าเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์และเป็น องค์ประกอบที่สาคัญของสิ่งมีชีวิตทั้งหลาย
  • 12. 1. ใช้สาหรับการบริโภคและอุปโภค เพื่อดื่มกิน ประกอบอาหาร ชาระร่างกาย ฯลฯ 2. ใช้สาหรับการเกษตร ได้ แก่ การเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ แหล่งน้าเป็นที่อยู่อาศัยของปลา และสัตว์น้าอื่น ๆ ซึ่งคนเราใช้เป็นอาหาร 3. ด้านอุตสาหกรรม ต้องใช้น้าในกระบวนการผลิต ล้างของเสีย หล่อเครื่องจักร และ ระบายความร้อน ฯลฯ 4. การทานาเกลือ โดยการระเหยน้าเค็มจากทะเล หรือระเหยน้าที่ใช้ละลายเกลือสินเธาว์ 5. น้าเป็นแหล่งพลังงานในการผลิตกระแสไฟฟ้า 6. เป็นเส้นทางคมนาคมที่สาคัญ แม่น้า ลาคลอง ทะเล มหาสมุทร เป็นเส้นทางคมนาคม ที่สาคัญมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน 7. เป็นสถานที่ท่องเที่ยว ทัศนียภาพของริมฝั่งทะเล และแหล่งน้าที่ใสสะอาดเป็นสถานที่ ท่องเที่ยวของมนุษย์ ความสาคัญของทรัพยากรน้า น้าเป็นแหล่งกาเนิดชีวิตของสัตว์และพืชคนเรามีชีวิตอยู่โดยขาดน้าได้ไม่เกิน 3 วัน และน้ายังมีความจาเป็นทั้งใน ภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม ซึ่งมีความสาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาประเทศ
  • 13. 1. ปัญหาการมีน้าน้อยเกินไป เกิดการขาดแคลนอันเป็นผลเนื่องจากการตัดไม้ ทาลายป่า ทาให้ปริมาณน้าฝนน้อยลง เกิดความแห้งแล้งเสียหายต่อพืชเพาะปลูกและ การเลี้ยงสัตว์ 2. ปัญหาการมีน้ามากเกินไป เป็นผลมาจากการตัดไม้มากเกินไป ทาให้เกิดน้า ท่วมไหลบ่าในฤดูฝน สร้างความเสียหายแก่ชีวิตและทรัพย์สิน 3. ปัญหาน้าเสีย เป็นปัญหาใหม่ในปัจจุบัน สาเหตุที่ทาให้เกิดน้าเสีย ได้แก่ -น้าทิ้งจากบ้านเรือน ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลที่ถูกทิ้งสู่แม่น้าลาคลอง -น้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม -น้าฝนพัดพาเอาสารพิษที่ตกค้างจากแหล่งเกษตรกรรมลงสู่แม่น้าลาคลอง -น้าเสียที่เกิดขึ้นนี้ส่งผลเสียหายทั้งต่อสุขภาพอนามัย เป็นอันตรายต่อสัตว์น้า และมนุษย์ ส่งกลิ่นเหม็น รบกวน ทาให้ไม่สามารถนาแหล่งน้านั้นมาใช้ประโยชน์ได้ทั้ง การอุปโภค บริโภค เกษตรกรรม และอุตสาหกรรม ปัญหาของทรัพยากรน้า
  • 14. ดิน หมายถึง เทหวัตถุธรรมชาติที่ปกคลุมผิวโลก เกิดจากการแปรสภาพหรือสลายตัวของหินแร่ ธาตุ และอินทรีย์วัตถุผสมคลุกเคล้ากันตามธรรมชาติรวมกันเป็นชั้นบาง ๆ เมื่อมีน้าและอากาศที่เหมาะสม ก็จะทาให้พืชเจริญเติบโตและยังชีพอยู่ได้
  • 15. 1. ใช้ในการเกษตรกรรม ดินเป็นต้นกาเนิดของการเกษตรกรรม เป็น แหล่งผลิตอาหารของมนุษย์ อาหารที่มนุษย์เราบริโภคทุกวันนี้มาจากการ เกษตรกรรมถึง 90 % 2. ใช้ในการเลี้ยงสัตว์ พืชและหญ้าที่ขึ้นอยู่บนดินเป็นแหล่งอาหารสัตว์ ตลอดจนเป็น แหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์บางชนิด เช่น งู หนู แมลง นาก ฯลฯ 3. เป็นแหล่งที่อยู่อาศัย พื้นดินเป็นแหล่งที่ตั้งของเมือง บ้านเรือน ทาให้ เกิดวัฒนธรรม และอารยธรรมของชุมชนต่าง ๆ มากมาย 4. เป็นแหล่งกักเก็บน้า ถ้าน้าซึ่งอยู่ในรูปของความชื้นในดินมีอยู่มาก ๆ ก็จะกลายเป็นน้าซึมอยู่ในดิน คือน้าใต้ดิน น้าเหล่านี้จะค่อย ๆ ซึมลงที่ต่า เช่น แม่น้า ลาคลอง ทาให้เรามีน้าใช้ตลอดปี ความสาคัญของทรัพยากรดิน
  • 16.
  • 17. 1. การกัดเซาะดิน อาจแบ่งได้เป็น 2 ประเภทด้วยกัน คือ 1.1 การกัดเซาะโดยธรรมชาติ หมายถึง การกัดเซาะซึ่งเกิดขึ้นตามธรรมชาติ โดยการกระทา ของน้า ลม แรงดึงดูดของโลก และน้าแข็ง เช่นการชะล้าง แผ่นดินเลื่อน การไหลของธาร น้า คลื่น เป็น ต้น 1.2 การกัดเซาะที่มีตัวเร่ง หมายถึง การกัดเซาะที่มนุษย์หรือสัตว์เลี้ยงเข้ามาช่วยเร่งให้มีการ พังทลายเพิ่มขึ้นจากธรรมชาติที่เกิดขึ้นเป็นประจาอยู่แล้ว เช่น การตัดต้นไม้ทาลายป่า การทาการ เพาะปลูกอย่างขาดหลักวิชา ทาให้ดินไม่มีสิ่งปกคลุม จึงทาให้น้า ลม ซึ่งเป็นตัวการ กัดเซาะที่สาคัญพัด พาอนุภาคดินสูญหายไป 2. การเพาะปลูกและเตรียมดินอย่างไม่ถูกวิธี จะก่อให้เกิดความเสียหายกับดินได้มาก เช่น การปลูกพืช บางชนิดจะทาให้ดินเสื่อมเร็ว การเผาป่าไม้หรือตอข้าวในนา จะทาให้ฮิวมัสในดินเสื่อม สลายเกิดผลเสีย กับดินมาก
  • 18. ประโยชน์ทางตรง (Direct Benefits) ได้แก่ ปัจจัย 4 ประการ 1. จากการนาไม้มาสร้างอาคารบ้านเรือนและ ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น เฟอร์นิเจอร์ กระดาษ ไม้ขีดไฟ ฟืน เป็นต้น 2. ใช้เป็นอาหารจากส่วนต่าง ๆ ของพืชและผล 3. ใช้เส้นใย ที่ได้จากเปลือกไม้และเถาวัลย์มาถัก ทอ เป็นเครื่องนุ่งห่ม เชือกและอื่น ๆ 4. ใช้ทายารักษาโรคต่าง ๆ
  • 19. 2. ประโยชน์ทางอ้อม (Indirect benefits) 1. ป่าไม้เป็นแหล่งกาเนิดต้นน้าลาธาร เพราะต้นไม้จานวนมากในป่า จะทาให้น้าฝนที่ตกลงมาค่อย ๆ ซึมซับลงในดิน กลายเป็นน้าใต้ดินซึ่งจะไหลซึมมาหล่อเลี้ยงให้แม่น้าลาธารมีน้าไหลอยู่ตลอดปี 2. ป่าไม้ทาให้เกิดความชุมชื้นและควบคุมสภาวะอากาศ 3. ป่าไม้เป็นแหล่งพักผ่อนและศึกษาหาความรู้ บริเวณป่าไม้จะมีภูมิประเทศที่ สวยงามจากธรรมชาติ รวมทั้งสัตว์ป่าจึงเป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจได้ดี 4. ป่าไม้ช่วยบรรเทาความรุนแรงของลมพายุและป้ องกันอุทกภัย โดยช่วยลดความเร็วของลมพายุที่พัด ผ่านได้ตั้งแต่ 11-44% ตามลักษณะของป่าไม้แต่ละชนิดจึงช่วยให้บ้านเมือง รอดพ้นจากวาตภัยได้ 5. ป่าไม้ช่วยป้ องกันการกัดเซาะและพัดพาหน้าดิน จากน้าฝนและลมพายุโดยลดแรงปะทะลง การหลุด เลื่อนของดินจึงเกิดขึ้นน้อย และยังเป็นการช่วยให้แม่น้าลาธารต่าง ๆ ไม่ ตื้นเขินขึ้นอีกด้วย 6. ช่วยให้เกิดวัฏจักรของน้า (Water Cycling) วัฏจักรของออกซิเจน วัฏจักรของคาร์บอน และวัฏจักร ของไนโตรเจน ในเขตนิเวศ(Ecosphere) 7.ช่วยดูดซับมลพิษของอากาศ
  • 20. 1. การลักลอบตัดไม้ทาลายป่า 2. การบุกรุกพื้นที่ป่าไม้เพื่อเข้าครอบครองที่ดิน 3. การส่งเสริมการปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตว์เศรษฐกิจเพื่อการ ส่งออกในพื้นที่ป่าที่ไม่เหมาะสม เช่น มันสาปลัง ปอ เป็น ต้น 4. การกาหนดแนวเขตพื้นที่ป่ากระทาไม่ชัดเจน หรือไม่ กระทาเลยในหลายๆ พื้นที่ 5. การจัดสร้างสาธารณูปโภคของรัฐ เช่น เขื่อน อ่างเก็บน้า เส้นทางคมนาคม การสร้างเขื่อนขวางลา 6. ไฟไหม้ป่า 7. การทาเหมืองแร่ แหล่งแร่ที่พบบริเวณที่มีป่าไม้ปกคลุม อยู่ มีความจาเป็นที่จะต้องเปิดหน้าดินก่อน จึงทาให้ป่าไม้ที่ ขึ้นปกคลุมถูกทาลายลง
  • 21. สัตว์ป่า คือ สัตว์ทุกชนิดไม่ว่า สัตว์บก สัตว์น้า สัตว์ปีก แมลง หรือแมง ซึ่งโดยภาพธรรมชาติย่อมเกิด และดารงชีวิตอยู่ในป่าหรือในน้าและให้หมายความรวมถึงไข่ของสัตว์ป่าเหล่านั้นทุกชนิดด้วย แต่ไม่หมายความ รวมถึงสัตว์พาหนะที่ได้จดทะเบียนทาตั๋วรูปพรรณตามกฎหมาย ว่าด้วยสัตว์พาหนะแล้วและสัตว์พาหนะที่ได้มา จากการสืบพันธุ์ของสัตว์พาหนะ ดังกล่าว ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ป่าไม้ อันเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่าได้ ถูกทาลายลงไปมาก ตลอดจนการไล่ล่าของมนุษย์จึงทาให้ปริมาณสัตว์ป่ามีจานวนลดน้อยลงทุกปีจนบางชนิด สูญพันธุ์บางชนิดก็ใกล้จะสูญพันธุ์เพื่อรักษาความสมดุลทางธรรมชาติจึงจาเป็นที่เราจะต้องช่วยกันอนุรักษ์สัตว์ ป่าไว้โดยเร่งด่วน
  • 22. เพื่อเป็นการปกป้องรักษาสัตว์ป่าให้มีชีวิตสืบต่อไปถึงอนุชนรุ่นหลังจึงมีการออกพระราชบัญญัติ สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ภูมิพลอดุลเดช ป.ร. ให้ไว้ ณ วันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2535 เป็นปีที่ 47 ในรัชกาลปัจจุบัน แบ่งสัตว์ป่าออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. สัตว์ป่าสงวน เป็นสัตว์ป่าที่หายากและปัจจุบันมีจานวนน้อยมากบางชนิดสูญพันธุ์ไปแล้วมีอยู่ 15 ชนิด คือ นกเจ้าฟ้าหญิงสิรินธร แรด กระซู่ กูปรีหรือโคไพร ควายป่า ละองหรือละมั่ง สมันหรือเนื้อ สมัน เลียงผา กวางผา นกแต้วแล้วท้องดา นกกระเรียน แมวลายหินอ่อน สมเสร็จ เก้งหม้อ และพะยูนหรือ หมูน้า ต่อมาในวันที่ 9 ตุลาคม 2558 ที่ประชุมสงวนคุ้มครองสัตว์ป่ามีมติเห็นชอบให้เพิ่มสัตว์ 4 ชนิด เป็นสัตว์สงวน คือ วาฬบรูด้า วาฬโอมูระ เต่ามะเฟือง ปลาฉลามวาฬ รวมสัตว์ป่าสงวนมีทั้งสิ้น 19 ชนิด
  • 23.
  • 24. 2. สัตว์ป่าคุ้มครอง เป็นสัตว์ทั้งที่ปกติไม่นิยมใช้เป็นอาหารและใช้เป็นอาหารทั้งที่ไม่ใช่ล่าเพื่อ การกีฬาและล่าเพื่อการกีฬา ตามที่กฎกระทรวงเกษตรและสหกรณ์กาหนดไว้ มากกว่า 200 ชนิด เช่น ค่าง ชะนี อีเห็น ไก่ฟ้า เหยี่ยว ช้างป่า แร้ง กระทิง กวาง หมีควาย อีเก้ง นกเป็ดน้า เป็นต้น บทลงโทษ ทั้งสัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าคุ้มครอง และซากของสัตว์ป่าสงวนหรือซากของสัตว์ ป่าคุ้มครอง ห้ามมิให้ผู้ใดทาการล่ามีไว้ใน ครอบครอง ค้าขายและนาเข้าหรือส่งออก หากผู้ใดฝ่าฝืนต้องระวางโทษจาคุกไม่เกินสี่ ปีหรือปรับไม่เกินสี่หมื่นบาทหรือทั้งจาทั้ง ปรับ
  • 25. 1. ด้านเศรษฐกิจ ประโยชน์ด้านเศรษฐกิจที่มนุษย์ได้จากสัตว์ป่าก็ได้แก่การค้าสัตว์ป่า หรือซากของสัตว์ป่าโดยเฉพาะหนังสือป่าใน ปีหนึ่ง ๆ ทารายได้ให้กับประเทศและมีเงินหมุนเวียนภายในประเทศจานวนไม่น้อย คุณค่าทางด้านเศรษฐกิจจะรวมถึงรายได้ต่าง ๆ จากการท่องเที่ยวในการชมสัตว์ด้วย 2. การเป็นอาหาร มนุษย์ได้ใช้เนื้อของสัตว์ป่าเป็นอาหารเป็นเวลาช้านานแล้ว ก็ยังมีผู้นิยมดัดแปลงเป็นอาหาร หรือใช้เป็นเครื่อง ยาสมุนไพรอีกด้วย 3. เครื่องใช้เครื่องประดับ เช่น หนังใช้ทากระเป๋า รองเท้า เครื่องนุ่งห่ม เป็นต้น 4. การนันทนาการและด้านจิตใจ 5. ด้านวิทยาศาสตร์ การศึกษา และการแพทย์ โดยขั้นแรกเขาทดลองกับสัตว์ป่าเสียก่อน เช่น ทดลองกับหนู กระแต ลิง จากนั้น จึงนาไปใช้กับคนการค้นคว้า ทดลองเหล่านี้หากไม่มีสัตว์ป่าเป็นเครื่องทดลองก่อนแล้ว ก็อาจจะมีผลสะท้อนถึงคนอย่างมา 6. เป็นตัวควบคุมสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ สัตว์ป่านับได้ว่าเป็นตัวควบคุมสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์ด้วยกันเอง ทาให้ผลกระทบ ต่อคนบรรเทาเบาบางลงไปไม่มากก็น้อย 7. คุณค่าของสัตว์ป่าต่อทรัพยากรธรรมชาติอื่น ๆ เช่น สัตว์ป่าช่วยทาลายศัตรูป่าไม้ สัตว์ป่าช่วยผสมเกสรดอกไม้ ต้นไม้ผสมเกสร ได้นั้นอาศัยปัจจัยหลายอย่างช่วย สัตว์ป่าช่วยในการกระจายเมล็ดพันธุ์ไม้ สัตว์ป่าบางชนิดสัตว์ป่าช่วยทาให้ดินอุดมสมบูรณ์ยิ่งขึ้น มูลของสัตว์เกือบทุกชนิดใช้เป็นปุ๋ยได้อย่างดี
  • 26. 1. ถูกทาลายโดยการล่าโดยตรงไม่ว่าจะล่าเพื่ออาหารหรือเพื่อการกีฬาหรือเพื่ออาชีพ 2. การสูญพันธุ์หรือลดน้อยลงไปตามธรรมชาติของสัตว์ป่าเอง ถ้าหากไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับความ เปลี่ยนของสภาพแวดล้อมได้ หรือจากสาเหตุภัยธรรมชาติต่าง ๆ เช่น น้าท่วม ไฟป่า 3. การนาสัตว์ป่าต่างถิ่น (Exotic animal) เข้าไปในระบบนิเวศสัตว์ป่าประจาถิ่น ทาให้เกิดผลกระทบต่อ ระบบนิเวศ ความสมดุลของสัตว์ป่าประจาถิ่นจนอาจเกิดการสูญพันธุ์ 4. การทาลายถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ซึ่งก็ได้แก่การที่ป่าไม้ถูกทาลายด้วยวิธีการต่าง ๆ ไม่ว่าจะโดย ถากถางและเผาเพื่อทาการเกษตรกิจกรรมการพัฒนา เช่น การตัดถนนผ่านเขตป่า การสร้างเขื่อน ฯลฯ ทาให้สัตว์ป่าบางส่วนต้องอพยพไปอยู่ที่อื่นหรือไม่ก็เสียชีวิตขณะที่ถิ่นที่อยู่อาศัยถูกทาลาย 5. การสูญเสียเนื่องจากสารพิษตกค้าง เมื่อเกษตรกรใช้สารเคมีในการเพาะปลูก เช่น ยาปราบศัตรูพืชจะ ทาให้เกิดการสะสมพิษในร่างกายทาให้บางชนิดถึงกับสูญพันธุ์ได้
  • 27. แร่ เป็นทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติมีความสาคัญและมีบทบาทที่สนองความต้องการ ทางด้านปัจจัยต่าง ๆ ของประชากร ทั้งทางด้านอุตสาหกรรมและพลังงาน ความสาคัญและประโยชน์ ของแร่ธาตุที่จะนามาใช้ขึ้นอยู่กับระยะเวลาความเจริญทางเทคโนโลยี ตลอดจนความต้องการในการ นาไปใช้ของมนุษย์ ทรัพยากรแร่ธาตุ ที่มนุษย์เราใช้ส่วนใหญ่มาจากแผ่นดิน ซึ่งค่อยๆ ลดจานวนลงทาให้มีการ สารวจค้นคว้าหาแหล่งทรัพยากรแร่ธาตุใหม่ๆ อยู่เสมอ ปัจจุบันได้มีการบุกเบิกหาแหล่งทรัพยากรแร่ธาตุ ในทะเล เช่น น้ามันปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติ ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี และระยะเวลาทาให้ความสาคัญของแร่ธาตุเปลี่ยนแปลงไป จากชนิดหนึ่งไปใช้อีกชนิดหนึ่ง เช่น จากการใช้ถ่านหินมาใช้น้ามันปิโตรเลียมและก๊าซธรรมชาติจากการ ใช้เหล็กมาใช้อลูมิเนียมแทน
  • 28. 1. แร่โลหะ เป็นแร่ที่มีความเหนียว เป็นตัวทนความร้อน และไฟฟ้าได้ดีหลอมตัวได้ และมีความทึบแสง ได้แก่ แร่ดีบุก เหล็ก แมงกานีส ทองแดง ตะกั่ว อลูมิเนียม แมกนีเซียม ทองคา เงิน วุลแฟรม ฯลฯ ประเภทของแร่ แร่เป็นทรัพยากรที่มนุษย์ นามาใช้ประโยชน์มากมาย แบ่งเป็น 3 ประเภท คือ แร่ดีบุก
  • 29. 2. แร่อโลหะ เป็นแร่ที่ไม่เป็นตัวนาความร้อนมีลักษณะโปร่งแสง เปราะแตกหักง่าย ได้แก่ ฟลูออไรท์ ฟอสเฟส หิน ทราย เกลือ กามะถัน โปแตสเซียม แคลเซียม ดินขาว ฯลฯ กามะถัน แคลเซียม
  • 31. 1. ประโยชน์ทางด้านความมั่นคง และมั่งคั่งของประเทศ ประเทศที่มีแร่ธาตุต่าง ๆ มากมายและ สามารถนาไปใช้แปรรูปเป็นผลผลิตต่าง ๆ ที่ทาประโยชน์ต่อมนุษย์ เช่น ด้านอาวุธ ด้าน อุตสาหกรรม 2. ประโยชน์ด้านความเป็นอยู่ของมนุษย์ นาแร่ธาตุต่างๆ มาสร้างขึ้นเป็นภาชนะใช้สอยพาหนะที่ ช่วยในการคมนาคม อาคารบ้านเรือน ก๊าซหุงต้ม พลังงานไฟฟ้า 3. ประโยชน์ด้านการสร้างงานแก่ประชาชน ทาให้ประชาชนมีรายได้จากการขุดแร่ ไปจนถึงแปรรูป เป็นผลิตภัณฑ์ไปสู่ผู้บริโภค ประโยชน์แร่
  • 32. แร่รัตนชาติ แร่รัตนชาติส่วนใหญ่มีลักษณะ เป็นรูปผลึกต่างๆ มีคุณสมบัติพิเศษ คือ โปร่งแสง และ สะท้อนแสงได้ แข็งทนทาน มักใช้เป็นเครื่องประดับต่างๆ เช่น เพชรมรกต ทับทิม พลอย ไข่มุก นิล บุษราคัม โอ ปอ โกเมน เป็นต้น แร่รัตนชาติ หรือที่เรียกว่า อัญมณี ส่วนมากเกิดในรูปของผลึก ประกอบด้วย แร่ชนิดเดียว มี สีสวย ความแข็ง สูง เมื่อนามาขัดมัน หรือเจียระไนแล้ว ทาให้เกิด การกระจายแสง เป็นประกายแวววาว งดงาม ตารับเก่าแก่ของไทย ระบุรัตนชาติในตาราแก้วเก้า ประการ นอกจากนี้ แร่ธาตุชนิดต่าง ๆ มีคุณสมบัติลักษณะต่างกัน จึงมีประโยชน์แตกต่างกัน เช่น แร่วุลแฟรม นามาทาไส้หลอดไฟฟ้า ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องแก้ว แร่พลวงนามาใช้ทาตัวพิมพ์หนังสือ ทาสี แบตเตอรี่ รัตนชาติ เป็นแร่ที่มีลักษณะสีสันสวยงาม นามาใช้ทาเครื่องประดับต่าง ๆ มากมาย
  • 33. ปัญหาทรัพยากรแร่ 1. ปัญหาสิ่งแวดล้อมบริเวณที่ทาเหมืองแร่แล้วทาให้สภาพดินไม่อุดมสมบูรณ์ สกปรกพื้นที่ขรุขระมีหลุมบ่อ มากมายจึงถูกปล่อยทิ้งใช้ประโยชน์ไม่เต็มที่ 2. ปัญหาการใช้แร่ธาตุบางประเภทเป็นจานวนมาก เช่น แร่เหล็กถูกนามาใช้มากและแพร่หลายที่สุด ถ่านหิน น้ามันปิโตรเลียม ดีบุก ฯลฯ 3. ปัญหาการใช้แร่ไม่คุ้มค่า ได้แก่ พวกแร่ที่ใช้แล้วยังเหลืออยู่ ยังสามารถนากลับไปใช้อีก เช่น เหล็ก ส่วนแร่ ที่นาไปใช้แล้วหมดไป เช่น ถ่านหิน น้ามัน ปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ เราจึงต้องใช้อย่างคุ้มค่า และประหยัด
  • 34. พลังงาน คือ ความสามารถที่จะทางานได้ ความสามารถดังกล่าวนี้เป็นความสามารถของวัตถุ ใดมีพลังงานวัตถุนั้นก็สามารถทางานได้และคาว่างานในทีนี้เป็นผลของการกระทาของแรง ซึ่งทาให้ วัตถุเคลื่อนที่ไปในแนวของแรงสิ่งใดก็ตามที่สามารถทาให้วัตถุเปลี่ยนตาแหน่งหรือเคลื่อนที่ไปจากที่เดิม ได้สิ่งนั้นย่อมมีพลังงานอยู่ภายใน พลังงาน คือ ความสามารถที่จะทางานได้โดยอาศัยแรงงานที่มีอยู่แล้วตามธรรมชาติโดยตรง และที่มนุษย์ใช้ความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีดัดแปลงใช้จากพลังงานตามธรรมชาติ ตามคานิยาม ของนักวิทยาศาสตร์ พลังงาน (Energy) คือ ความสามารถในการทางาน (Ability to do work) โดย การทางานนี้อาจจะอยู่ในรูปของการเคลื่อนที่หรือเปลี่ยนรูปของวัตถุก็ได้ พลังงาน คือ ความสามารถของสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่จะทางานได้ ซึ่งงานเป็นผลจากการกระทาของ แรงเป็นเหตุให้สิ่งนั้นเคลื่อนที่ซึ่งคุณสมบัติโดยทั่วไปของพลังงานมีอยู่ 2 ประการ คือ ทางานได้และ เปลี่ยนรูปได้
  • 35. แบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ประเภทของทรัพยากรพลังงาน 1. พลังงานประเภทที่เกิดทดแทนใหม่ได้ หรือพลังงานหมุนเวียน (Renewable energy resources) ได้แก่ พลังงานจากฟืนและถ่าน แกลบ พลังน้า พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานลม พลังงานจากชีวมวล พลังงานความร้อนใต้พิภพ เป็นต้น 2.พลังงานประเภทที่ใช้แล้วหมดไป หรือพลังงานสิ้นเปลือง(Non - renewable energy resources) ได้แก่ ถ่านหิน หินน้ามัน และทรายน้ามัน น้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ เป็นต้น พลังงานดังกล่าวนี้เกิดจากซาง พืชซากสัตว์ถูกทับถมไว้ใต้ชั้นตะกอน ทราย หิน ปูน โคลน ที่ซ้อน ๆ กันอยู่นานเป็นล้าน ๆ ปี
  • 36. แกลบ แกลบได้มาจากผลผลิตของข้าวที่ชาวนาได้ปลูกกันไว้กินสาหรับ ในประเทศไทยก็ยังมีการปลูกอยู่มากมายทั่วทุกภาค การนาแกลลบมาใช้ ทางด้านความร้อน ได้แก่ โรงสีข้าวที่ใช้หม้อไอน้าและใช้ฉุดเครื่องเพื่อสี ข้าว ใช้ในการเผาอิฐ ใช้ในการหุงต้มและผลิตถ่าน แกลบยังมีอยู่อีก มากมายที่ตราบใดชาวนายังปลูกข้าวอยู่ • ฟืนและถ่าน เป็นหนึ่งในเชื้อเพลิงที่ เก่าแก่ที่สุดของมนุษย์ และถือเป็น เชื้อเพลิงหมุนเวียนชนิดหนึ่ง ซึ่งจะ ทดแทนได้เองเมื่อต้นไม้เติบโตขึ้นอีกครั้ง แต่มักจะมีปัญหาจากความต้องการที่มี มากกว่าอัตราการทดแทน 1.พลังงานประเภทที่เกิดทดแทนใหม่ได้ หรือพลังงานหมุนเวียน ฟืนและถ่าน แกลบ
  • 37. แหล่งพลังน้า พลังน้า (Hydropower) มนุษย์รู้จักนาพลังจากกระแสน้ามาใช้ประโยชน์โดยเปลี่ยนเป็นพลังงานกลตั้งแต่สมัย โรมัน และในปัจจุบันก็มีการพลังน้าเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้ากันอย่างกว้างขวาง เนื่องจากพลังงานที่ได้จากกระแสน้าไม่ ก่อให้เกิดมลภาวะ ไม่มีการเผาไหม้เชื้อเพลิง และไม่ทาให้เกิดสารพิษอื่น ๆ การใช้พลังงานน้าเพื่อสร้างพลังงานอื่นนั้น ก็ สามารถทาได้โดยการสร้างเขื่อนปิดกั้นเส้นทางไหลของกระแสน้า ทาให้ระดับน้าในเส้นทางที่จะไหลต่อไปมีระดับต่า แล้ว จัดทาให้น้าเหนือเขื่อนไหลไปหมุนกังหันน้าซึ่งจะทาให้ได้กระแสไฟฟ้าต่อไป ในปัจจุบัน การใช้พลังงานน้าเพื่อผลิต กระแสไฟฟ้ามีอยู่ประมาณ 4 เปอร์เซ็นต์ ของพลังงานที่ใช้อยู่ทั้งหมดในโลก ประเทศไทยใช้พลังน้าผลิตกระแสไฟฟ้าโดยการ สร้างเขื่อน เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ. 2507 นอกจากเรา จะใช้พลังน้าที่ได้จากการสร้างเขื่อนแล้ว พลังน้า จากกระแสคลื่นและจากน้าขึ้นน้าลงก็นามาใช้ ประโยชน์ได้เช่นกัน แต่ขณะนี้ยังไม่ได้มีการ นามาใช้ประโยชน์กันแพร่หลายนก เนื่องจากมี ข้อจากัดหลายประการ
  • 38. พลังงานแสงอาทิตย์ ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานของโลกที่สาคัญที่สุด มนุษย์ได้อาศัยพลังงานจากดวงอาทิตย์มาตั้งแต่ดึกดาบรรพ์ สิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่อุบัติขึ้นในโลกซึ่งได้มีวิวัฒนาการมาจนปัจจุบัน จะต้องอาศัยพลังงานจากดวงอาทิตย์เป็นปัจจัยสาคัญ ในการดารงชีวิตทั้งสิ้น เพราะพลังงานจากดวงอาทิตย์ทาให้เกิดกระบวนการต่างๆ มากมาย เช่น การสังเคราะห์แสงใน พืช (Photosynthesis) การทาให้เกิดปฏิกิริยาเคมีในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต และทาให้ร่างกายของสิ่งมีชีวิตกระทากิจกรรม ต่างๆ อยู่ได้ ปัจจุบันได้มีการศึกษาวิจัยเพื่อที่จะพัฒนา นาเอาพลังงานจากแสงอาทิตย์มาใช้โดยการสร้างแผง สาหรับรับความร้อน หรือเปลี่ยนพลังงานแสงอาทิตย์ ไปเป็นพลังงานไฟฟ้า (เซลล์แสงอาทิตย์) เพื่อ นาไปใช้ในการสูบน้า ไฟฟ้าแสงสว่าง สาหรับชนบท และอื่น ๆ ซึ่งส่วนใหญ่ยังอยู่ในขั้นการทดลอง ทั้งนี้ เพื่อหาทางทดแทนพลังงานประเภทที่ใช้แล้วหมดไป เช่น น้ามัน ก๊าซธรรมชาติ ถ่านหิน ฯลฯ
  • 39. พลังงานลม ลม ก็คือ พลังงานที่มีกาเนิดมาจากแสงอาทิตย์ นั่นเอง มนุษย์เรารู้จักใช้กังหันลมในการสูบน้าเพื่อการ เกษตรกรรมมานานแล้ว เช่น ในประเทศไทยเราก็มีการใช้ กังหันลมในการผันน้าทะเลเข้านาเกลือหรือผันน้าจากลา คลองเข้านาข้าว เป็นต้น ปัจจุบันก็ได้มีการค้นคว้าหา วิธีการที่จะออกแบบกังหันลมที่มีประสิทธิภาพมากยิ่งขั้น เพื่อใช้แทนการใช้เครื่องสูบน้าที่ใช้น้ามันเป็นเชื้อเพลิง นอกจากจะใช้ในการสูบน้าแล้ว เรายังสามารถใช้กังหันลม ในการผลิตกระแสไฟฟ้าได้ ถ้าหากที่ในบริเวณนั้นมีลมพัดแรงและสม่าเสมอ เช่น แถบชายฝั่งทะเล ทั้งนี้การออกแบบกังหันลมก็จะแตกต่างไปจาก กังหันลมที่ใช้สูบน้าเพราะลักษณะการหมุนจะเร็วและแรงมาก ได้มีการทดลองใช้กังหันลมเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าที่เกาะบาง แห่งทางภาคเหนือของประเทศอังกฤษ คือ แถบบสกอตแลนด์ได้เป็นผลสาเร็จแล้ว
  • 40. พลังงานจากชีวมวล ชีวมวล (Biomass) หมายถึง สิ่งที่ได้มาจากสิ่งมีชีวิต เช่น ต้นไม้ อ้อย มันสาปะหลัง ถ่ายฟืนแกลบ วัชพืชต่าง ๆ หรือแม้กระทั่ง ขยะและมูลสัตว์ ประเทศไทยมีแหล่งพลังงานอยู่มาก หากรู้จักนามาใช้อย่างมีประสิทธิภาพ เราจะสามารถลดการใช้พลังงานด้านอื่น อาทิ พลังงานจากน้ามัน ไฟฟ้า แก๊ส ถ่านหิน ฯลฯ ซึ่งจะช่วยลดการใช้พลังงานที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และช่วยลดการสูญเสียเงินตราของ ประเทศ ในการนาเข้าเชื้อเพลิงดังกล่าวอีกด้วย ดังนั้นการคิดค้นและพัฒนาการนาชีวมวลมาใช้เป็นพลังงานทดแทนในรูปแบบต่าง ๆ จึงเป็น การแสวงหาหนทางใหม่ ในการใช้พลังงานเพื่ออนาคต ในขณะเดียวกันก็ต้องพยายาม ลดความสูญเสีย และเพิ่มประสิทธิภาพในการใช้ พลังงานด้วยเช่นกัน พลังงานชีวมวล (Bio-energy) หมายถึง พลังงานที่ได้จากชีวมวลชนิดต่างๆ โดยกระบวนการแปรรูปชีวมวลไปเป็นพลังงาน รูปแบบต่าง ๆ
  • 41. พลังงานปรมาณู พลังงานปรมาณูหรือพลังงานนิวเคลียร์ (Nuclear Energy) เป็น พลังงานที่เกิดจากการแตกตัวหรือรวมตัวของนิวเคลียสของอะตอม ของธาตุบางชนิดอย่างต่อเนื่อง ทาให้ได้พลังงานปล่อยออกมา เป็น แหล่งพลังงานที่ได้รับการพัฒนาและใช้กันมากในประเทศที่พัฒนา แล้ว เช่น สหรัฐอเมริกา สหภาพโซเวียต ญี่ปุ่น ฯลฯ บางครั้งก็เรียก พลังงานปรมาณูว่าพลังงานจากอะตอม พลังงานนิเคลียร์สามารถ นาไปใช้ในกิจการหลายอย่าง เช่น การทาอาหาร การแพทย์ การเกษตร การผลิตกระแสไฟฟ้าและ ในการอุตสาหกรรมอื่นๆ ส่วนธาตุที่นามาใช้ในการก่อให้เกิดพลังาน ปรมาณูที่สาคัญในปัจจุบันได้แก่ เรเดียม-226 ยูเรเนียม-238 คาร์บอน-14 ไอโอไดน์-137 และพลูโทเนียม-239 แต่การผลิต พลังงานปรมาณูจะทาให้เกิดกัมมันตภาพรังสีซึ่งอาจเป็นอันตรายต่อ สิ่งแวดล้อมและมนุษย์อย่างมาก ถ้ามิได้มีกรรมวิธีที่ใช้ป้องกันการ แพร่กระจายของกัมมันตภาพรังสีดีพอ และกากของกัมมันตภาพรังสี ที่เหลือจากการผลิตพลังงานปรมาณูซึ่งยังคงมีกัมมันตภาพรังสีที่เป็น อันตรายอยู่ ก็ยังเป็นปัญหาในการกาจัดในปัจจุบัน เนื่องจากความร้องการไฟฟ้าได้เพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ว จึงมีหลาย ประเทศหันไปใช้พลังงานปรมาณูเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าแทนการใช้ ถ่านหินและน้ามัน และคาดว่าพลังงานปรมาณูจะเป็นแหล่งพลังงาน ที่สาคัญของโลกต่อไปในอนาคต ถ้าสามารถป้องกันปัญหาจาก กัมมันตภาพรังสี และมีวิธีกาจัดกากของสารกัมมันตภาพรังสีได้ดีกว่า ในปัจจุบัน
  • 42. พลังงานใต้พิภพ (Geothermal Energy) เป็นแหล่งพลังงานตามธรรมชาติที่มีอยู่ใต้พื้นโลก และนับเป็นแหล่งพลังงานที่ได้มีการนามาใช้ได้โดยไม่ก่อให้เกิด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างพลังงานปรมาณู พลังน้า พลังงานจากน้ามัน และถ่านหิน ในปัจจุบัน ได้มีการนา พลังงานใต้พิภพมาใช้ผลิตกระแสไฟฟ้ากันบ้างแล้ว เช่นในสหภาพโซเวียต ญี่ปุ่น นิวซีแลนด์ อิตาลี สหรัฐอเมริกา และเม็กซิโก แต่ก็นับว่าพลังงานใต้พิภพได้ถูกนามาใช้น้อยมาก คือน้อยกว่า 1 เปอร์เซ็นต์ของพลังงานที่ใช้อยู่ทั้งหมด
  • 43. พลังงานจากสิ่งมีชีวิต พลังงานจากสิ่งมีชีวิตหรือทีเรียกว่า Fossil Fuel เป็นพลังงานที่เกิด จากซากสัตว์ที่ทับถมกันมาเป็นเวลานานนับล้านปี ซึ่งเมื่อถูกสันดาปก็จะทาให้ พลังงานที่สะสมไว้ถูกปลดปล่อยออกมา พลังงานจากสิ่งมีชีวิตนี้ได้มีการ นามาใช้กันอย่างกว้างขวาง และใช้อยู่ในปริมาณมากกว่าพลังงานจากแหล่งอื่น ๆ คือใช้อยู่ถึง 90 เปอร์เซ็นต์ของพลังงานที่มนุษย์ใช้อยู่ในโลกทั้งหมด พลังงาน จากสิ่งมีชีวิตที่เรารู้จักกันดีได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ หรือที่ผู้ใช้เรียกติดปากว่า แก๊ส น้ามันดิบ ถ่านหิน หินน้ามัน ถ่าน ฟืน เป็นต้น ในปัจจุบันการใช้พลังงาน ประเภทนี้โดยเฉพาะก๊าซธรรมชาติและน้ามันกาลังเป็นที่นิยมใช้กันมาก ในขณะที่ปริมาณก๊าซธรรมชาติและน้ามันที่มีอยู่กาลังลดปริมาณลงเหลือน้อย เต็มที จึงคาดว่าก๊าซธรรมชาติและน้ามันที่มีอยู่กาลังลดปริมาณลงเหลือน้อย เต็มที จึงคาดว่าก๊าซธรรมชาติและน้ามันคงจะขาดแคลนลงในอีกไม่เกิน 20 ปี ข้างหน้านี้ แต่สาหรับพลังงานอย่างอื่น เช่น ถ่านหิน ประมาณว่า มีปริมาณ มากพอที่จะใช้ได้ถึง 200-300 ปีข้างหน้า
  • 44. 2. พลังงานประเภทที่ใช้แล้วหมดไป หรือพลังงานสิ้นเปลือง น้ามันและก๊าซธรรมชาติ ปิโตรเลียม เป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอนอันสลับซับซ้อน ที่เกิดขึ้นเองตาม ธรรมชาติในชั้นหินใต้พื้นผิวโลก มีธาตุที่เป็นองค์ประกอบหลักคือ ไฮโดรเจน และ คาร์บอน ได้จากการสลายตัวของอินทรีย์สารจานวนมาก ทับถมกันในหินตะกอน ภายใต้ความร้อนและความดันมหาศาล เมื่อนามากลั่นจะได้ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ก๊าซหุงต้ม น้ามันเบนซิน น้ามันก๊าด น้ามันดีเซล น้ามันเตา ยางมะตอย รวมทั้ง เคมีภัณฑ์ต่าง ๆ เช่น ปุ๋ยเคมี ยาปราบศัตรูพืช พลาสติก และยางสังเคราะห์ เป็น ต้น
  • 45. ชนิดของปิโตรเลียม น้ามันดิบ น้ามันดิบประกอบด้วยสารไฮโดรคาร์บอนชนิดระเหยง่ายเป็นส่วนใหญ่ แบ่งออกได้ เป็น 3 ชนิด ตามคุณสมบัติและชนิดของไฮโดรคาร์บอน ที่ประกอบอยู่ คือ • น้ามันดิบชนิดที่ไม่มีไขมาก (paraffin base) • น้ามันดิบชนิดที่มียางมะตอยมาก (asphalt/naphthenic base) • น้ามันดิบชนิดผสม (mixed base) เป็นน้ามันดิบพื้นฐานชนิดผสมกัน ระหว่างชนิดมีไขมากและชนิดที่มียางมะตอยมาก น้ามันดิบโดยทั่วไปจะมีสีดาหรือสีน้าตาล มีกลิ่นคล้ายน้ามันเชื้อเพลิง สาเร็จรูป เมื่อน้ามันดิบรวมอยู่กับน้า น้ามันดิบจะลอยอยู่เหนือน้า ภายหลังจากผ่านกระบวนการกลั่นน้ามันแล้วจะได้ผลิตภัณฑ์น้ามันต่างๆ ซึ่ง สามารถนาไปใช้ประโยชน์ เป็นเชื้อเพลิงสาหรับเครื่องยนต์ รถยนต์ รวมทั้งเตาเผา และเตาอบต่างๆ นอกจากนี้ยังสามารถใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงเครื่องบินใบพัดและ น้ามันเชื้อเพลิงเครื่องบินไอพ่น เป็นน้ามันก๊าด เป็นส่วนผสมของยาฆ่าแมลง สีทาบ้าน น้ามันชักเงา น้ายาทาความสะอาด เป็นเชื้อเพลิงบ่มยาสูบ อบพืชผลและใช้ใน อุตสาหกรรมเซรามิก
  • 46. แก๊สธรรมชาติ โดยทั่วไปสามารถแบ่งหลักๆ ได้ 2 ประเภท ดังนี้ Dry gas หมายถึงแก๊สธรรมชาติที่ไม่มีส่วนผสมของแก๊สธรรมชาติเหลว (condensate) มีแต่แก๊สมีเทนเกือบ ร้อยเปอร์เซ็นต์ ทาให้มีราคาสูงกว่าแก๊สธรรมชาติชนิดอื่นๆ Wet gas หมายถึง แก๊สธรรมชาติที่มีส่วนประกอบหลักเป็นพวกแก๊สธรรมชาติเหลว ได้แก่ โพรเพน บิวเทน เพนเทน และเฮกเซน แก๊สเหล่านี้จะกลายเป็นของเหลวได้ง่ายที่อุณหภูมิต่าและความดันสูง ทาให้เกิดปัญหาในการ ขนส่งชนิดของก๊าซธรรมชาติ ก๊าซมีเทนใช้ประโยชน์เป็นเชื้อเพลิงในอุตสาหกรรม เป็นวัตถุดิบสา หรับการผลิตปุ๋ย และอัดใส่ถังใช้เป็นเชื้อเพลิงรถโดยสาร เอ็นจีวี ( Natural gas for vehicles - NGV) อีเทน และโพรเพน ใช้เป็นวัตถุดิบในโรงงานอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ก๊าซปิโตรเลียมเหลว (Liquefied petroleum gas - LPG) ซึ่ง ประกอบด้วยโพรเพนและบิวเทน ใช้เป็นเชื้อเพลิงหุงต้ม เชื้อเพลิง สาหรับรถและอุตสาหกรรม แก๊สโซลีนธรรมชาติ (Natural gas liquid - NGL) ส่งเข้าโรงกลั่น เพื่อกลั่นเป็นน้ามันเบนซินแก๊สธรรมชาติ
  • 47. ก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas) คือ ก๊าซชีวภาพชนิดหนึ่ง กาเนิดจากการทับถมของซากสิ่งมีชีวิตทั้งพืช และสัตว์เป็นเวลานับหลายล้านปี โดยซากพืชซากสัตว์เหล่านี้จะแปรสภาพเป็นก๊าซและน้ามัน เนื่องจาก ความร้อนและความกดดันของผิวโลกและสะสมอยู่ในชั้นดินก๊าซธรรมชาติจึงจัดเป็นสารประกอบ ไฮโดรคาร์บอนชนิดหนึ่ง (มีสูตรทางเคมีเป็น CnH2n+2) โดยทั่ว ๆ ไปจะประกอบด้วยก๊าซมีเทน (Methane, CH4) ประมาณ 70 % ขึ้นไป ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมของแหล่งก๊าซธรรมชาติแต่ละแหล่ง เป็นสาคัญ แหล่งกาเนิดก๊าซธรรมชาติในประเทศไทย แหล่งกาเนิดก๊าซธรรมชาติในประเทศไทยมี 2 แหล่งด้วยกันคือ 1. ในทะเล (มีปริมาณมาก) ได้แก่ บริเวณอ่าวไทย (ผู้ผลิต : UNOCAL, TOTAL, THAIPO) 2. บนบก (มีปริมาณน้อย) ได้แก่ อ.น้าพอง จ.ขอนแก่น (ผู้ผลิต : ESSO)
  • 49. ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการแยกก๊าซธรรมชาติ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ประโยชน์ • ใช้ในอุตสาหกรรมหล่อเหล็ก อุตสาหกรรมถนอมอาหาร อุตสาหกรรมเครื่องดื่ม • ใช้ทาน้ายาดับเพลิง ฝนเทียม ฯลฯ ก๊าซโซลีนธรรมชาติ ประโยชน์ • ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมตัวทาละลาย • ใช้ผสมเป็นน้ามันเบนซินสาเร็จรูป • ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี ก๊าซปิโตรเลียมเหลว ประโยชน์ • เป็นเชื้อเพลิงหรือก๊าซหุงต้มในครัวเรือน และเชื้อเพลิงในรถยนต์ • เป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อนในโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆ • ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี เช่นเดียวกับก๊าซอีเทน และก๊าซโพรเพน ก๊าซบิวเทน ประโยชน์ • ใช้เป็นวัตถุดิบสาหรับอุตสาหกรรมปิโตรเคมี • นามาผสมกับโพรเพนเป็นก๊าซปิโตรเลียมเหลว (ก๊าซหุงต้ม) ก๊าซอีเทน ประโยชน์ • ใช้ผลิตเอทีลีน ซึ่งเป็นสารตั้งต้นสาหรับเม็ดพลาสติก โพลิเอทีลีน (PE) เพื่อใช้ผลิตถุงพลาสติก หลอดยาสีฟัน โพลิโพรพิลีน (PP) เช่น ยางในห้องเครื่องรถยนต์ หม้อแบตเตอรี่ กาว สารเพิ่มคุณภาพ น้ามันเครื่อง • ใช้เป็นเชื้อเพลิงในโรงงานอุตสาหกรรม ก๊าซมีเทน ประโยชน์ • ใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า และให้ความร้อนใน โรงงานอุตสาหกรรม • ใช้เป็นเชื้อเพลิงในยานพาหนะ • ใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตปุ๋ยเคมี
  • 50. ถ่านหิน ถ่านหิน คือ หินตะกอนชนิดหนึ่งและเป็นแร่เชื้อเพลิงสามารถติดไฟได้ มีสีนาตาลอ่อนจนถึงสีดา มีทั้งชนิดผิวมันและผิวด้าน น้าหนักเบา ถ่านหินประกอบด้วยธาตุที่สาคัญ 4 อย่าง ได้แก่ คาร์บอน ไฮโดรเจน และออกซิเจน นอกจากนั้นมีธาตุหรือสารอื่น เช่น กามะถัน เจือปนเล็กน้อย ถ่านหินที่มีจานวนคาร์บอนสูงและมีธาตุอื่น ๆ ต่า เมื่อนามาเผาจะให้ความร้อนมา ถือว่าเป็นถ่านหินคุณภาพดี ถ่านหินสามารถแยกประเภทตามลาดับชั้นได้เป็น 5 ประเภท คือ 1. พีต(Peat) เป็นขั้นแรกในกระบวนการเกิดถ่านหิน ประกอบด้วยซากพืชซึ่งบางส่วนได้สลายตัวไปแล้วสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงได้ 2. ลิกไนต์(Lignite) มีซากพืชหลงเหลืออยู่เล็กน้อย มีความชื้นมาก เป็นถ่านหินที่ใช้เป็นเชื้อเพลิง 3. ซับบิทูมินัส(Subbituminous) มีสีดา เป็นเชื้อเพลิงที่มีคุณภาพเหมาะสมในการผลิตกระแสไฟฟ้า 4. บิทูมินัส(Bituminous) เป็นถ่านหินเนื้อแน่น แข็ง ประกอบด้วยชั้นถ่านหินสีดามันวาว ใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อการถลุงโลหะ 5. แอนทราไซต์(Anthracite) เป็นถ่านหินที่มีลักษณะดาเป็นเงา มันวาวมาก มีรอยแตกเว้าแบบก้นหอย ติดไฟยาก
  • 51. ถ่านหิน ปริมาณความร้อน ปริมาณความชื้น ปริมารขี้เถ้า ปริมาณกามะถัน 1.แอนทราไซต์ สูง ต่า ต่า ต่า 2.บิทูมินัส สูง ต่า ต่า ต่า 3.ซับบิทูมินัส ปานกลาง-สูง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง 4.ลิกไนต์ ต่า-ปานกลาง สูง สูง ต่า-สูง ตารางเปรียบเทียบคุณสมบัติต่างๆ ของถ่านหินแต่ละชนิด 1.สหภาพโซเวียด 241,000 ล้านตัน 2.สหรัฐอเมริกา 240,560 ล้านตัน 3.จีน 114,500 ล้านตัน 4.ออสเตรเลีย 90,940 ล้านตัน 5.เยอรมัน(ตะวันตก) 80,069 ล้านตัน ปริมาณสารองถ่านหินทั่วโลก
  • 52.
  • 53. การใช้ประโยชน์จากถ่านหิน มีดังต่อไปนี้ 1. ใช้เป็นเชื้อเพลิง เช่น เป็นเชื้อเพลิงเพื่อการผลิตกระแสไฟฟ้า การถลุงโลหะ การผลิตปูนซีเมนต์ บ่มใบยาสูบ อุตสาหกรรม ผลิตอาหาร อุตสาหกรรมที่ต้องใช้หม้อน้าร้อนในกระบวนการ 2. ใช้ในการทาถ่านสังเคราะห์ เป็นสารดูดกลิ่น ใช้ในเครื่องกรองน้า และเครื่องใช้ต่างๆ ที่ต้องการประโยชน์ด้านการดูดซับ กลิ่น 3. ใช้ทาคาร์บอนไฟเบอร์ ซึ่งเป็นวัสดุที่มีความแข็งแรงแต่มีน้าหนักเบา เช่น การทาเครื่องร่อน การทาอุปกรณ์กีฬา เช่น ด้าม ไม้กอล์ฟ ไม้เทนนิส ไม้แบดมินตัน ข้อจากถ่านหิน มีดังต่อไปนี้ 1. ทาให้เกิดมลภาวะในอากาศ เนื่อง จากควันที่ถูกปล่อยจากปล่องประกอบ ด้วย ก๊าซ CO2 SO2และ NOx 2. ทาให้เกิดปัญหากับสุขภาพของ ชุมชนแบบเรื้อรัง 3 กากของแข็งที่เหลือจากการเผาไหม้ จะเป็น “เถ้า” และมีปริมาณมาก 4. ไม่สามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ 5. เป็นทรัพยากรที่มีจานวนจากัด
  • 54. หินน้ามันและทรายน้ามัน หินน้ามัน เป็นพลังงานที่ได้จากวัตถุที่เรียกว่า เคโรเจน (Kerogen) ซึ่งปนอยู่กับหิน เป็นสารประกอบของไฮโดรคาร์บอน โดยมีกามะถัน ผสมอยู่ด้วย กรรมวิธีการผลิตจะนาหินที่มีเคโรเจนมาแยกน้ามันออก ด้วยความร้อน 462 องศาเซลเซียส จะได้ไอระเหยเป็นน้ามันที่ เรียกว่า Dhale Oil หินน้ามันนี้มีอยู่ในสหรัฐอเมริกามากกว่าแหล่ง อื่น แต่กรรมวิธีการผลิตน้ามันค่อนข้างจะเป็นปัญหายุ่งยากและได้ผล ไม่คุ้มค่า กล่าวคือ หิน 1 ตัน ที่พบว่ามีเคโรเจนอยู่ เมื่อนามาผลิต น้ามันจะได้น้ามันเพียง 20-40 แกลลอนเท่านั้น จึงยังไม่นิยมผลิต น้ามันจากหินน้ามัน ทรายน้ามัน เป็นน้ามันดิบที่ปะปนอยู่ในรูปของทรายที่เรียกว่า หินทราย (Sandstone หรือ Linestone) ซึ่งเป็นหินทรายที่กึ่ง แข็งกึ่งเหลวและคล้ายน้ามันดิบ คือมีสีดา มีคาร์บอนเป็น ส่วนผสมราว 83 เปอร์เซ็นต์ และมีกามะถันอยู่มาก การผลิต น้ามันจากหินทรายก็คล้ายกับการผลิตจากหินน้ามัน และยังมี ปัญหาจากกระบวนการผลิตที่ต้องใช้ต้นทุนสูงแหล่งทรายน้ามัน ที่สาคัญและมีปริมาณมากในปัจจุบันอยู่ในประเทศแคนาดา และสหรัฐอเมริกา หินน้ามัน ทรายน้ามัน
  • 55. สาเหตุ ผลกระทบจากการผลิต และการใช้พลังงาน สภาพความเสื่อมโทรมของสภาวะแวดล้อมส่วนใหญ่ อาจกล่าวได้ว่ามีสาเหตุมาจากการผลิตและ การใช้พลังงานของมนุษย์แทบทั้งสิ้น ดังนั้นการเสาะแสวงหาทรัพยากรพลังงานมาเพื่อตอบสนองความ ต้องการพลังงานสูงขึ้นเรื่อยๆ จึงควรระมัดระวังและพิจารณาให้รอบคอบก่อนนามาใช้นักสิ่งแวดล้อมได้ กล่าวถึงผลกระทบจากการใช้ทรัพยากรพลังงาน ดังนี้ 1. ทาให้เกิดการเจ็บป่วย ล้มตาย 2. ทาให้สิ่งของและทรัพยากรธรรมชาติเสียหาย 3. ทาลายสภาพแวดล้อมและสิ่งมีชีวิต 4. เกิดภาวะมลพิษทั้งทางดิน น้า และอากาศ
  • 56. ป่าชายเลน เป็นระบบนิเวศของป่าชายฝั่งที่ทนต่อสภาพความเค็มได้และเป็นกลุ่มแรกของสิ่งมีชีวิตที่ บุกเบิกชีวิตความเป็นอยู่ลงไปสู่ทะเลพร้อม ๆ กับการชักนาพื้นแผ่นดินให้รุกล้าตามลงไปในทะเล จึง นับเป็นปราการด่านแรกระหว่างบกกับทะเล โดยจะประกอบด้วยพันธุ์ไม้ สัตว์นานาชนิด ตลอดจน สภาพแวดล้อมอื่น ๆ เช่น การขึ้นลงของน้าทะเล ดินเลนที่มีอินทรียสารเป็นจานวนมาก ฯลฯ อยู่ รวมกันเป็นระบบ
  • 57. ป่าชายเลน เป็นกลุ่มของสังคมพืช ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นไม้ไม่ผลัดใบ มีลักษณะทางเสรีวิทยาและการ ปรับตัวทางโครงสร้าง ที่คล้ายคลึงกันและการขึ้นของพรรณไม้ในป่าชายเลน จะขึ้นอยู่กับแนวเขต ซึ่ง ผิดแปลกไปจากสังคมพืชป่าบก ทั้งนี้เพราะอิทธิพลจากลักษณะของดิน ความเค็มของน้าทะเลและ การขึ้นลงของน้าทะเลเป็นสาคัญสาหรับแนวเขตที่เด่นชัด ของป่าชายเลน ได้แก่ โกงกาง ทั้งโกงกางใบเล็กและโกงกางใบใหญ่ จะขึ้นอยู่หนาแน่นบนพื้นที่ใกล้ฝั่งทะเล ไม้แสมและประสัก จะอยู่ถัดจากแนวเขตของโกงกาง ไม้ตะบูน จะอยู่ลึกเข้าไปจากแนวเขตของไม้แสมและประสัก เป็นพื้นที่ที่มีดินเลน แต่ มักจะแข็ง ส่วนบนพื้นที่ดินเลนที่ไม่แข็งมากนักและมีน้าทะเลท่วมถึงเสมอ จะมีไม้โปรง รังกะแท้ และ ฝาด ขึ้นอยู่อย่างหนาแน่น ไม้เสม็ด จะขึ้นอยู่แนวเขตสุดท้าย ซึ่งเป็นพื้นที่เลนแข็งที่มีน้าทะเลท่วมถึงเป็นครั้งคราว เมื่อระดับน้าทะเลขึ้นสูงสุดเท่านั้น และแนวเขตนี้ถือว่าเป็นแนวติดต่อระหว่างป่าชายเลนกับป่าบก สาหรับพวกปรง จะพบทั่ว ๆ ไปในป่าชายเลน แต่จะขึ้นอย่างหนาแน่นในพื้นที่ถูกถาง
  • 59. 1. การนาไม้มาใช้ประโยชน์ ไม้ที่ได้จากป่าชายเลน นอกจากนามาใช้เพื่อการเผาถ่านแล้วยังสามารถใช้ เพื่อเป็นไม้ฟืน ไม้เสาเข็ม ไม้ค้ายันเฟอร์นิเจอร์ 2. เป็นที่ป้องกันชายทะเล โดยป่าชายเลนจะทาหน้าที่เสมือนเขื่อนป้องกันคลื่นลมพายุไม่ให้เกิดอันตราย ต่อมนุษย์และระบบนิเวศอื่น ๆ 3. ทาหน้าที่เป็นแหล่งกักตะกอนสิ่งปฏิกูลและสารมลพิษต่าง ๆ จากบนบกไม่ให้ลงสู่ทะเล 4. ช่วยให้มีการงอกตัวของแผ่นดิน จากการที่ตะกอนดินทราบซึ่งไหลมากับแม่น้า เมื่อถูกขวางกั้นด้วย แนวป่าชายเลน ทาให้กระแสดน้าลดความเร็วลงเกิดตะกอนทับถม 5. นิเวศวิทยาป่าชายเลน เป็นระบบนิเวศที่เหมาะสมกับการวางไข่ การหาอาหาร และการเจริญเติบโต ของสัตว์น้าเศรษฐกิจหลายชนิดและเป็นแหล่งชุมชมของนก สัตว์ป่าหลายชนิด 6. เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ ความสวยงานจากพรรณไม้ต่าง ๆ ตั้งแต่เฟิร์น กล้วยไม้ และต้นไม้ใหญ่ที่ เพิ่มความแปลกตาแก่ทิวทัศน์ทางทะเล ความสาคัญของป่ าชายเลน
  • 60. 1. การป่าไม้ หมายถึง ทั้งการทาไม้สัมปทาน ตามวิธีการที่รัฐ กาหนดการทาป่าไม้ในเขตสัมปทาน แต่หลีกเลี่ยงไม่ทาตามข้อกาหนด ของรัฐ รวมทั้งการบุกรุกทาลายป่า โดยตัดฟันไม้เพื่อนามาใช้ประโยชน์ 2. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้า หมายถึง เฉพาะการทาบ่อเพาะเลี้ยงสัตว์น้า และสถานีเพาะพันธุ์สัตว์น้าในพื้นที่ป่าชายเลนบริเวณพื้นที่โครงการ 3. การเกษตรกรรมในพื้นที่ป่าชายเลน 4. การทาเหมืองแร่ในพื้นที่ป่าชายเลน 5. การขยายตัวของชุมชน 6. การก่อสร้างท่าเทียบเรือทุกขนาด การก่อสร้างอู่ต่อเรือและสะพาน ปลา 7. การก่อสร้างถนน รวมทั้งสายส่งไฟฟ้า 8. การก่อสร้างโรงงานอุตสาหกรรม 9. การขุดลอกร่องน้า สาเหตุและผลกระทบปัญหาที่ทรัพยากรป่ าชายเลน
  • 61. 1. ผลกระทบทางกายภาพ ได้แก่ การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศป่าชายเลน คือ อุณหภูมิปริมาณธาตุ อาหาร ความเค็ม สภาพทางอุทกวิทยาการตกตะกอน ปริมาณมลพิษในน้าเป็นต้น 2. ผลกระทบทางชีววิทยา ได้แก่ การลดปริมาณพรรณไม้ส่วนรวม การลดการสืบพันธุ์ตามธรรมชาติ การ ลดปริมาณหรือการสูญเสียพันธุ์ไม้มีค่าหรือหายาก การสะสมพิษในห่วงโซ่อาหาร การเกิดโรคระบาด การ ทาลายถิ่นที่อยู่อาศัยธรรมชาติ ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจากการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่ าชายเลน
  • 62. ปะการัง (Corals) เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ไฟลัมซีเลนเตอราต้า (Phylum Coelenterata) ขนาดเล็ก มีโครงสร้างหินปูนห้อหุ้มตัวอ่อนนุ่มไว้ชั้นนอก ดารงชีพ 2 แบบ คือ อยู่ตัวเดือย (Solitary) หรืออยู่ร่วมกันเป็นกลุ่ม (Colony) มีรูปทรงต่าง ๆ เป็นแผ่น เป็นก้อนหรือกิ่งก้านซึ่งเกิดจากปะการังนับล้านตัวที่มาเกาะกันอยู่ โดยมีการ สร้างโครงสร้างหินปูนแผ่ขยายไปเรื่อย ๆ กลายเป็นแนวปะการัง ปะการังจะเติบโตได้ดีเฉพาะบริเวณที่มีน้าทะเลที่มี อุณหภูมิตั้งแต่ 18-27 องศาเซลเซียส มี แสงแดดพอประมาณไม่ใช่แดดจัด น้าไม่ขุ่นและมีความของน้าไม่เกิน 50 เมตร ดังนั้นแนวปะการังจะเจริญเติบโตและมีอยู่เฉพาะน่านน้าเขตอบอุ่นของโลกเท่านั้น ตัวปะการัง มีรูปเป็นทรงกระบอก มีขนาดเพียง 1 มิลลิลิตร ถึง 1 เซนติเมตร มีส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ ส่วนฐานซึ่งอยู่ติดกับ โครงสร้างแข็ง ส่วนลาตัวรูปทรงกระบอกและส่วนปากที่มีหนวด ล้อมรอบ ในตอนกลางวันปะการังจะเก็บตัวอยู่ในโครงแข็ง พอ กลางคืนก็จะแผ่ขยายหนวดออกดักจับเหยี่อตัวเล็ก ๆ ที่ล่องลอยมา กับกระแสน้า