SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
CONSERVATION
of
NATURAL RESOURCESBy
Anchalee Pajik 610406400719
Pakaratta Wongsri 610406402819
Let’s go!
ทรัพยากรธรรมชาติ
หมายถึง สิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและเอื้อประโยชน์ต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ใน
ด้านต่าง ๆ เช่น ป่าไม้ให้ประโยชน์ในการนามาทาที่อยู่อาศัย ยารักษาโรค เครื่องนุ่งห่ม เชื้อเพลิง
น้าให้ประโยชน์ในการอุปโภค บริโภค การเกษตร สัตว์ป่าให้ประโยชน์ในแง่การพักผ่อน นันทนาการ
คุณค่าในการศึกษาหาความรู้ เป็นอาหาร เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีธรรมยากรธรรมชาติอีก
หลากหลายที่มนุษย์สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งหากมองว่าสิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นก็นามาจากวัตถุดิบ
หรือต้นทุนทางธรรมชาติอาจให้ความหมายว่าทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมก็คือกลุ่มเดียวกัน
ความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติ
มนุษย์เองก็เป็นทรัพยากรธรรมชาติชนิดหนึ่งเช่นกันและย่อมขาด
การพึ่งพิงทรัพยากรชนิดอื่นไม่ได้ สภาวะธรรมชาติจึงมีทรัพยากรหลายสิ่งอยู่ ร่วมกันเสมอ
โดยต้องมี ชนิด ปริมาณ สัดส่วน การกระจายที่เหมาะสมมีการปรับปรุงซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ
ให้เข้าสู่ภาวะ สมดุลธรรมชาติ ทรัพยากรต่าง ๆ มีความสัมพันธ์ต่อกันและพึ่งพากันเสมอเมื่อสิ่ง
หนึ่งถูกกระทบหรือทาลายจึงเชื่อมโยงถึงสิ่งที่อยู่รอบข้างด้วย มีนักวิชาการกล่าวไว้ถึงการขาด
แคลนทรัพยากรว่า“แม้จะมีทรัพยากรธรรมชาติมากมายให้ประชาชาติได้ใช้อยู่
อย่างเพียงพอก็ตาม แต่ถ้าการใช้นั้นเป็นไปอย่างฟุ่มเฟือยไม่มีแผนการแล้ว สักวันหนึ่งใน
อนาคตจะเกิดปัญหาการขาดแคลนได้ เพราะทรัพยากรร่อยหรอลงไปจากสาเหตุของ
การใช้อย่างไม่ประหยัด ไม่ระมัดระวัง หรือไม่เป็นไปตามความจาเป็น
หรืออาจมีปัญหาต่อสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ซึ่งอาจเป็นการลดการ
เพิ่มพูน มีบางสิ่งบางอย่างถูกทาลายจนสูญพันธุ์
3
ประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรที่ใช้แล้ว
หมดไป
(Exhausting
Natural Resources)
2ทรัพยากรธรรมชาติที่
ทดแทนได้
(Replaceable or
Renewable
Natural Resources)
1ทรัพยากรธรรมชาติที่
ใช้แล้วไม่หมดสิ้น
(Non-Exhausting
Natural Resources)
1.ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดสิ้น
(Non-Exhausting Natural Resources)
หรือทรัพยากรธรรมชาติที่มีใช้ตลอด (Inexhuastible Natural Resources)
เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ บางชนิดมนุษย์ขาดเป็นเวลานานได้
บางชนิดขาดไม่ได้แม้เพียงระยะเวลาสั้น ๆ ก็อาจถึงตายได้ ทรัพยากรดังกล่าวได้แก่
ก) อากาศ มีอยู่อย่างสมบูรณ์ในโลก จาเป็นและสาคัญต่อมนุษย์ สัตว์ พืช
สิ่งมีชีวิตทุกชนิด
ข) น้า (ในวัฏจักร) หมายถึง น้าในลักษณะการเก็บน้าแล้วแปรสภาพเป็นน้า
ไหลบ่า น้าท่า น้าในลาน้า น้าใต้ดิน น้าขัง และน้าในมหาสมุทร
มีความจาเป็นต่อสิ่งมีชีวิต มีการหมุนเวียน ไม่จบสิ้น โดยทั่วไปมีปริมาณคงที่ในแต่ละแห่งของแต่ละปี
นอกจากนี้ยังมีทรัพยากรแสงอาทิตย์ ดิน ชั้นบรรยากาศ เป็นต้น
2.ทรัพยากรธรรมชาติที่ทดแทนได้
(Replaceable or Renewable Natural Resources)
เป็นทรัพยากรที่มีความจาเป็นต่อมนุษย์ในการดารงชีพเพื่อตอบสนองปัจจัยสี่และ
ความสะดวกสบาย เมื่อใช้แล้วสามารถเกิดทดแทนขึ้นได้ ซึ่งการทดแทนนั้นอาจใช้ระยะเวลาสั้นหรือ
ยาวนานไม่เท่ากัน ทรัพยากรดังกล่าวได้แก่
ก) น้าที่ใช้ได้ หมายถึงน้าในที่ใดที่หนึ่งเมื่อใช้หมดแล้ว จะมีการทดแทนได้ด้วย
ฝนที่ตกตามปกติ ในแต่ละแห่งจะมีฝนตกเกือบเท่า ๆ กันในแต่ละปี นอกจากเกิดความแห้งแล้ง
ผิดปกติเท่านั้น
ข) ดิน เป็นปัจจัยสาคัญที่ให้อาหารเสื้อผ้า ที่อยู่อาศัย ซึ่งกาเนิดจากพื้นดิน
ปัจจัยที่ทาให้เกิดดิน คือ หิน อากาศ พืช ระยะเวลา ลักษณะภูมิประเทศ การทดแทนต้องใช้ระยะ
เวลานาน
นอกจากนี้ยังมีทรัพยากรชนิดอื่นอีก เช่น ทรัพยากรประมง ทรัพยากรเกษตร (พืชผัก เนื้อสัตว์)
พืช สัตว์ป่า ป่าไม้ ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ เป็นต้น
3.ทรัพยากรที่ใช้แล้วหมดไป
(Exhausting Natural Resources)
หรือทรัพยากรที่ไม่สามารถทดแทนได้ (Irreplaceable Natural Resources)
เป็นทรัพยากรที่ไม่สามารถจะทามาทดแทนได้
เมื่อใช้หมดไป เช่น แร่ โลหะ ก๊าซธรรมชาติ น้ามันปิโตรเลียม ถ่านหิน
เป็นต้น ซึ่งทรัพยากรดังกล่าวจาเป็นมากต่อการพัฒนาทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีนอกจากนี้พื้นที่ในลักษณะ ธรรมชาติ (Land in Natural
Condition) ก็ถือว่าเป็นสิ่งที่ทดแทนไม่ได้ เพราะเมื่อถูกทาลายลงแล้ว ไม่
สามารถทาให้เหมือนสภาพเดิมได้ทั้งในส่วนประกอบ
ต่าง ๆ และทัศนียภาพ
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
หมายถึง การใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างฉลาด โดยใช้ให้น้อย เพื่อให้
เกิดประโยชน์สูงสุด โดยคานึงถึงระยะเวลาในการใช้ให้ยาวนาน และก่อให้เกิดผลเสียหายต่อสิ่ง
แวดล้อม้อยที่สุด รวมทั้งต้องมีการกระจายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างทั่วถึง อย่างไรก็ตาม
ในสภาพปัจจุบันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความเสื่อมโทรมมากขึ้น ดังนั้นการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจึงมีความหมายรวมไปถึงการพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อมด้วย
Extinct
Animals
Games
เหตุที่ต้องมีการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ทุกวันนี้มนุษย์ได้บุกรุกและทาลายทรัพยากรธรรมชาติ
จนเกือบถึงขั้นวิกฤต จากข้อมูลป่าไม้ในประเทศไทย ปี พ.ศ.2542
พบว่าพื้นที่ป่าไม้คงเหลือเพียงร้อยละ 25.14 ของพื้นที่ทั้งประเทศ ทั้งๆ
ที่เมื่อปี พ.ศ. 2504 ประเทศไทยมีพื้นที่ป่าไม้ถึงร้อยละ 53.33 ของ
พื้นที่ทั้งประเทศ สาเหตุสาคัญที่ทาให้ทรัพยากรธรรมชาติต่างๆ ถูก
ทาลายลงอย่างมาก คือการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วของจานวนประชากร
จากจานวนประชากรประมาณ 26 ล้านคน ในปี พ.ศ.2503 เพิ่ม
จานวนเป็นประมาณ 62 ล้านคน ในปี พ.ศ.2542
3. การลดอัตราความเสื่อมสูญ
(elimination of waste)
5. การปรับปรุงคุณภาพทรัพยากร
(improve the quality)
หลักพื้นฐานในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
2. การป้องกัน (protection)
4. การใช้ทรัพยากรที่มีคุณภาพรองลงมา
(use lower-grade material)
1. การสารวจ (exploration)
6. การนาทรัพยากรมาใช้ทดแทน
กัน (substitution)
7. การนากลับมาใช้ประโยชน์อีก
(re-cycling)
การสารวจ (exploration)
ประการแรก เราจะต้องสารวจหาสิ่งที่ต้องการนามาใช้
ประโยชน์ เช่น การสารวจแหล่งแร่ แหล่งน้า แหล่ง
พลังงาน ฯลฯ ว่ามีอยู่ที่ใด มีปริมาณมากน้อยเพียงใด
สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้หรือไม่
การป้องกัน (protection)
เมื่อเราสารวจหาสิ่งที่เราต้องการจะนามาใช้ประโยชน์ได้แล้ว เรา
ต้องรู้จักป้องกันรักษา มิให้ทรัพยากรเหล่านั้นเปลี่ยนสภาพเป็น
พิษภัย เกิดความเสื่อมโทรม เสียหายหรือถูกทาลาย เช่น
ทรัพยากรน้า ซึ่งเป็นสิ่งที่มีความจาเป็นกับการดารงชีวิตของ
มนุษย์มาก เราควรที่จะช่วยกันดูแลมิให้เกิดความเน่าเสีย เกิด
ความตื้นเขิน เพื่อให้แหล่งน้านั้นมีน้าที่มีคุณภาพดีและมีปริมาณ
เพียงพอที่เราจะใช้สอยได้ตลอดไป
การลดอัตราความเสื่อมสูญ (elimination of waste)
การใช้ให้ได้ประโยชน์อย่างเต็มที่ มีส่วนเสียหรือส่วนที่ไม่
ใช้ประโยชน์น้อยที่สุด เช่น น้าที่ไหลอยู่ในแม่น้า ลา
คลอง ถ้าเราใช้ไม่ทันหรือไม่มีการกักเก็บน้าไว้ น้าเหล่านี้
จะไหลลงทะเลไป ซึ่งเราไม่สามารถนาน้าทะเลมาใช้ใน
การอุปโภคหรือบริโภคได้ การชลประทานในรูปแบบ
ต่างๆ เช่น การสร้างเขื่อน การสร้างอ่างเก็บน้า
การสร้างฝายทดน้าและอื่นๆ สามารถช่วยลดปัญหาการ
สูญเสียน้าในลักษณะนี้ได้
การใช้ทรัพยากรที่มีคุณภาพรองลงมา
(use lower-grade material)
โดยทั่วไปมนุษย์เรานั้น มักเลือกใช้แต่ทรัพยากรที่มีคุณภาพดี และจะละเลยทรัพยากรที่มีคุณภาพต่า
สมัยก่อนในธรรมชาติยังมีทรัพยากรมากมายที่จะให้มนุษย์เราเลือกใช้ตามที่ต้องการ เช่น ในอดีต
ภาคเหนือเป็นดินแดนที่อุดมสมบูรณ์ไปด้วยทรัพยากรป่าไม้ โดยเฉพาะไม้สักซึ่งเป็นไม้ที่มีค่ามาก ผู้คน
ในสมัยนั้นนิยมใช้ไม้สักในการสร้างบ้านเรือน ใช้ในงานแกะสลัก และอื่นๆ อีกมากมาย แต่ใน
ปัจจุบันไม้สักเป็นไม้ที่หายากและมีราคาแพง การใช้ไม้ที่มีคุณภาพรองลงมาจึงเป็นสิ่งจาเป็น โดยการ
เลือกใช้เนื้อไม้ให้เหมาะสมกับการใช้งาน จะเป็นการช่วยลดความสิ้นเปลืองของทรัพยากรที่มีค่าไปโดยใช่
เหตุ เช่น การใช้ไม้ยางพารา ไม้ไผ่ ซึ่งมีคุณภาพรองลงมาและหาได้ง่ายมาใช้ทาเครื่องเรือนแทนไม้สัก
การปรับปรุงคุณภาพทรัพยากร (improve the quality)
ความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ ทาให้มนุษย์รู้จักใช้
ประโยชน์จากทรัพยากรที่มีคุณภาพต่า เช่น การ
ปรับปรุงดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เพื่อใช้ใน
การเพาะปลูก การใช้ปุ๋ยพืชสดบารุงดินที่ขาดความอุดม
สมบูรณ์ เหล่านี้ล้วนทาให้เรามีทรัพยากรใช้มากขึ้น และ
สามารถใช้ได้นาน
การนาทรัพยากรมาใช้ทดแทนกัน (substitution)
การนาทรัพยากรที่มีอยู่เป็นจานวนมาก หรือที่เกิดใหม่ได้
โดยใช้ระยะเวลาสั้นๆ มาใช้ประโยชน์แทนทรัพยากรที่หา
ได้ยาก มีจานวนน้อยหรือเหลืออยู่น้อย หรือใช้
ระยะเวลาในการเกิดยาวนานมาก เช่น มีการใช้โฟม
พลาสติก ซึ่งเป็นวัสดุสังเคราะห์มาประดิษฐ์เครื่องใช้
แทนวัสดุธรรมชาติ การใช้เส้นใยสังเคราะห์แทนเส้นใย
จากธรรมชาติ การใช้พลังงานแสงอาทิตย์ที่มีอย่าง
มากมายแทนพลังงานจากน้ามันซึ่งมีปริมาณจากัด
การนากลับมาใช้ประโยชน์อีก (re-cycling)
การกระทาเช่นนี้ จะก่อให้เกิดผลดีสองประการ คือประหยัด
ทรัพยากรและอนุรักษ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมควบคู่กันไป ใน
กระบวนการผลิตสิ่งต่างๆ ย่อมมีของเหลือทิ้งหรือของเสียออกมา
ด้วยเสมอ สิ่งเหล่านี้เราสามารถนามาผ่านกระบวนการเพื่อนา
กลับมาใช้ใหม่ได้อีก เช่น การนาน้าทิ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมที่
ผ่านการบาบัดแล้วกลับมาใช้ใหม่ เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ของ
มนุษย์ที่ทาจากโลหะ กระดาษ พลาสติก เมื่อหมดสภาพใช้งาน
แล้ว สามารถที่มาผ่านกระบวนการเพื่อนากลับมาใช้ใหม่ได้
การดาเนินการเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
การดาเนินการเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดผลสาเร็จโดยแท้จริงได้ ต้องอาศัยความร่วมมือร่วมใจ
ของทุกฝ่ายทุกคนอย่างจริงจังและจริงใจ หากกระทาเพียงชั่วครู่ชั่วยามหรือกระทาโดยมีผลประโยชน์อันมีแอบแฝง
อยู่ จะไม่เกิดผลดีแก่ทรัพยากรธรรมชาติเลย ในทางปฏิบัติเราสามารถดาเนินการเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติได้หลายประการ ที่สาคัญ ได้แก่
การออกกฎหมาย การให้การศึกษา
การจัดตั้งชมรม สมาคม
มูลนิธิ สถาบัน เกี่ยวกับการ
อนุรักษ์ทรัพยากร
ธรรมชาติ
การจัดตั้งหน่วยงานของรัฐขึ้น
เพื่อรับผิดชอบโดยตรง
การเผยแพร่ความรู้โดยผ่าน
สื่อมวลชนต่างๆ
ประเทศไทยมีกฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติมาเป็นเวลานาน
แล้ว โดยเฉพาะในส่วนที่เกี่ยวกับทรัพยากรป่าไม้ สัตว์ป่า สัตว์น้า และแร่
แต่การที่ทรัพยากรธรรมชาติของประเทศถูกทาลายล้างลงอย่างมากมายใน
ระยะเวลาอันรวดเร็ว น่าจะเป็นผลมาจากความบกพร่องของเจ้าพนักงานผู้มี
อานาจในการบังคับใช้กฎหมาย และการขาดจิตสานึกของประชาชนโดยทั่วไป
ในคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ ยิ่งกว่าปัญหาการไม่มีกฎหมายใช้บังคับกรณี
อย่างเพียงพอ และถ้าตราบใดเรายังไม่สามารถขจัดข้อบกพร่อง ซึ่งเป็นสาเหตุ
ของปัญหาดังกล่าวไปได้ ไม่ว่ากฎหมายที่บัญญัติออกมาจะมีความรัดกุมหรือ
เข้มงวดเพียงใดก็ตาม ก็ย่อมจะเกิดช่องโหว่ให้มีการหลีกเลี่ยงกฎหมายกันได้
อยู่ตลอดเวลา ซึ่งเป็นสภาพปัญหาที่มีมาแต่ดั้งเดิม และนับวันจะเลวร้ายลงไป
เรื่อยๆ ดังที่ปรากฏเป็นข่าวอยู่เสมอๆ
การออกกฎหมาย
การให้การศึกษา
การศึกษานับได้ว่าเป็นสิ่งสาคัญยิ่งที่จะช่วยทาให้การอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ ดาเนินไปอย่างมีประสิทธิภาพและได้ผลดียิ่ง การ
จัดการศึกษาในเรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เราสามารถจัด
ได้ทั้งในระบบโรงเรียนและนอกโรงเรียน ในระบบโรงเรียนควร
สอดแทรกเข้าไปทุกระดับชั้นตั้งแต่ระดับอนุบาล ไปจนถึง
ระดับอุดมศึกษา เพื่อเป็นการปลูกฝังเยาวชนของชาติให้มีจิตสานึก
ร่วมกันในการบารุงดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติให้คงอยู่ในอัตราที่
เหมาะสม สาหรับเยาวชนที่ไม่ได้อยู่ในระบบโรงเรียนก็อาจรับโดย
ผ่านทางสื่อต่างๆ เช่น เอกสารพิมพ์เผยแพร่ การให้ความรู้ทางวิทยุ
โทรทัศน์ ทางอินเทอร์เน็ตหรืออาจจะจัดเจ้าหน้าที่ออกไปให้
การศึกษาตามพื้นที่ต่างๆ
ในปัจจุบันสถาบันการศึกษาต่างๆ กลุ่มผู้สนใจ องค์กรเอกชนหลายแห่งได้มีการจัดตั้งชมรม สมาคม มูลนิธิ สถาบัน เพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติขึ้น เช่น สมาคมอนุรักษ์ดินและน้าแห่งประเทศไทย สมาคมสร้างสรรค์ไทย มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าและพรรณพืชแห่งประเทศไทย
ในพระบรมราชินูปถัมภ์ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย มูลนิธิสืบนาคะเสถียร มูลนิธิชัยพัฒนา มูลนิธิโลกสีเขียว สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติ (ประเทศ
ไทย) ฯลฯ ซึ่งชมรม สมาคม มูลนิธิ สถาบันต่างๆ ที่จัดตั้งขึ้นโดยกลุ่มผู้สนใจ องค์กรเอกชน ผู้เห็นคุณค่าของทรัพยากรธรรมชาติ ในปัจจุบัน
นับได้ว่ามีบทบาทสาคัญต่อการป้องกันและบารุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติเป็นอย่างมาก ชมรม สมาคม มูลนิธิและสถาบันเหล่านี้จะช่วยเผยแพร่ความรู้
ทางวิชาการ แนวความคิด การเคลื่อนไหวต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรธรรมชาติ ช่วยกระตุ้นเตือนหน่วยงานต่างๆ ให้ดาเนินการอย่างเหมาะสมกับ
สภาวการณ์ ช่วยกระตุ้นเตือนให้ประชาชนทั่วไปตระหนักถึงหน้าที่และความรับผิดชอบต่อการพิทักษ์รักษาทรัพยากรธรรมชาติ
การจัดตั้งชมรม สมาคม มูลนิธิ
สถาบัน เกี่ยวกับการอนุรักษ์
ทรัพยากร ธรรมชาติ
เพื่อคุ้มครองดูแลทรัพยากรธรรมชาติและประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานที่
รับผิดชอบในปัจจุบันได้แก่กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นกระทรวงใหม่ จัดตั้ง
ขึ้นในปี พ.ศ.2545
การจัดตั้งหน่วยงานของรัฐขึ้นเพื่อ
รับผิดชอบโดยตรง
เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ฯลฯ การเผยแพร่ความรู้ในลักษณะนี้สามารถ
ดาเนินการได้หลายลักษณะ ไม่จาเป็นต้องถ่ายทอดในเชิงวิชาการเพียงอย่างเดียว
เราสามารถใช้วิธีการสอดแทรกเข้าไปในกิจกรรมต่างๆ ได้ เช่น ละคร การแสดง
ดนตรี การเสนอบทเพลง การแสดงของเด็ก การเล่านิทาน ฯลฯ การเผยแพร่
ความรู้ในลักษณะต่างๆ เป็นสิ่งหนึ่งที่จะช่วยในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติได้
มากในสังคมปัจจุบัน ซึ่งมีความเจริญก้าวหน้าทางด้านการสื่อสารในรูปแบบต่างๆ
เป็นการช่วยกระตุ้นเตือนให้ประชาชนทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย ได้ตระหนักถึง
ความสาคัญและความจาเป็นในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
การเผยแพร่ความรู้โดยผ่านสื่อมวลชน
ต่างๆ
CREDITS: This presentation template was
created by Slidesgo, including icons by Flaticon
and infographics & images by Freepik.
Thanks
Every small action counts.
Let’s protect the environment
together!
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สลักจิต พุกจรุญ.//(2550).//สิ่งแวดล้อมและการจัดการ
ทรัพยากร.//สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2563/
จาก https://sites.google.com/site/singwaedlom/
กุลนาถ ทีปประพันธ์ณี.//(2562).//วิธีการอนุรักษ์ธรรมชาติ.//
สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2563/
จาก https://tuemaster.com/blog/10-
บรรณานุกรม

More Related Content

Similar to Conservation of natural resources

ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)Araya Toonton
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นSompop Petkleang
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔srkschool
 
Biodiversity.pptkokokiojiojiojiojiojijkjkij
Biodiversity.pptkokokiojiojiojiojiojijkjkijBiodiversity.pptkokokiojiojiojiojiojijkjkij
Biodiversity.pptkokokiojiojiojiojiojijkjkijTonnhawKimpai
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติApinun Nadee
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองFURD_RSU
 
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริtipfylovely
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร pang_patpp
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำlinnoi
 
Biome and Biodiversity
Biome and BiodiversityBiome and Biodiversity
Biome and BiodiversityWan Kanlayarat
 
ใบความรู้เศรษฐศาสตร์
ใบความรู้เศรษฐศาสตร์ใบความรู้เศรษฐศาสตร์
ใบความรู้เศรษฐศาสตร์Tatsanee Sornprom
 
7 r รักษ์สิ่งแวดล้อม
7 r รักษ์สิ่งแวดล้อม7 r รักษ์สิ่งแวดล้อม
7 r รักษ์สิ่งแวดล้อมtheerajet
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่างAuraphin Phetraksa
 

Similar to Conservation of natural resources (20)

ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
 
Biodiversity.ppt
Biodiversity.pptBiodiversity.ppt
Biodiversity.ppt
 
Biodiversity.pptkokokiojiojiojiojiojijkjkij
Biodiversity.pptkokokiojiojiojiojiojijkjkijBiodiversity.pptkokokiojiojiojiojiojijkjkij
Biodiversity.pptkokokiojiojiojiojiojijkjkij
 
10
1010
10
 
10
1010
10
 
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
1.ntfp eng+tha
1.ntfp eng+tha1.ntfp eng+tha
1.ntfp eng+tha
 
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
Biome and Biodiversity
Biome and BiodiversityBiome and Biodiversity
Biome and Biodiversity
 
ใบความรู้เศรษฐศาสตร์
ใบความรู้เศรษฐศาสตร์ใบความรู้เศรษฐศาสตร์
ใบความรู้เศรษฐศาสตร์
 
7 r รักษ์สิ่งแวดล้อม
7 r รักษ์สิ่งแวดล้อม7 r รักษ์สิ่งแวดล้อม
7 r รักษ์สิ่งแวดล้อม
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
 
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2%Ba%b7%b7%d5%e8 2
%Ba%b7%b7%d5%e8 2
 

Conservation of natural resources