SlideShare a Scribd company logo
1 of 108
Download to read offline
ระบบนิเวศในประเทศไทย
(Ecosystem in Thailand)
วัตถุประสงค์
ขอบเขตโครงงาน
หลักการและทฤษฏี
วิธีดาเนินงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
สถานที่ดาเนินงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
ที่มาและความสาคัญ
อ้างอิง
ผู้จัดทา
เนื้อหา
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ที่มาและความสาคัญ
สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเราประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีการพึ่งพา
อาศัยซึ่งกันและกันและสมพันธ์กับสิ่งที่ไม่มีชีวิต มีการใช้พลังงานและแลกเปลี่ยน
สารอาหารซึ่งดาเนินไปภายใต้ความสมดุลของธรรมชาติเรียกว่า ระบบนิเวศ แต่ถ้าระบบ
นิเวศขาดความสมดุลหรือถูกทาลาย ย่อมเกิดผลกระทบต่อการดารงชีวิตของสรรพสิ่งใน
ระบบ ทาให้มนุษย์เห็นความสาคัญของระบบนิเวศและรู้จักการนาสิ่งแวดล้อมมาใช้ให้
เกิดประโยชน์และช่วยแก้ไข้ปัญหา ความเสื่อมโทรมของระบบนิเวศ ผู้จัดทาจึงทา
โครงงานนี้ขึ้นเพื่อเป็นสื่อในการเข้าใจเกี่ยวกับระบบนิเวศต่าง ๆ และเพื่ออนุรักษ์ระบบ
นิเวศให้อยู่ได้ไปนาน ๆ
วัตถุประสงค์
1 .เพื่อศึกษาระบบนิเวศต่าง ๆ
2. เพื่อศึกษาระบบนิเวศในประเทศไทย
3.เพื่อให้ทราบถึงปัจจัยแวดล้อมของสังคมป่าในประเทศไทย
4.เพื่อให้ทราบถึงลักษณะป่าชนิดต่างๆของประเทศไทยและสามารถทาการจาแนกได้
ขอบเขตโครงงาน
ระบบนิเวศในประเทศไทย
หลักการและทฤษฎี
ระบบนิเวศเป็นหน่วยที่สาคัญที่สุดในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม เพราะประกอบไปด้วยสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิด มีการแลกเปลี่ยนสสาร
แร่ธาตุ และพลังงานกับสิ่งแวดล้อม โดยผ่านห่วงโซ่อาหาร (food chain) มีลาดับของ
การกินเป็นทอด ๆ ทาให้สสารและแร่ธาตุมีการหมุนเวียนไปใช้ในระบบจนเกิดเป็นวัฏ
จักร ทาให้มีการถ่ายทอดพลังงานไปตามลาดับขั้นเป็นช่วง ๆในห่วงโซ่อาหารได้ การ
จาแนกองค์ประกอบของระบบนิเวศ ส่วนใหญ่จะจาแนกได้เป็นสององค์ประกอบใหญ่ ๆ
คือ องค์ประกอบที่มีชีวิตและองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต
ประเทศไทย นับเป็นแหล่งอุดมไปด้วยระบบนิเวศที่มีความหลากหลาย ซึ่งจาแนก
ออกเป็นกลุ่มใหญ่ๆ ได้ 2 กลุ่ม คือ ระบบนิเวศบนบกและระบบนิเวศแหล่งน้า
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. กาหนดหัวข้อการทาโครงงาน
2. กาหนดขอบเขตการทาโครงงาน
3. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
4. จัดทาโครงงาน
5. จัดทาเอกสารรายงาน
6. นาเสนอโครงงาน ผ่านโปรแกรม Power Point
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. โปรแกรม Microsoft Word 2010
2. โปรแกรม Power Point 2010
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1 . ได้ทราบเกี่ยวกับระบบนิเวศต่าง ๆ
2 .ได้ทราบระบบนิเวศในประเทศไทย
3. ได้ทราบถึงปัจจัยแวดล้อมของสังคมป่าในประเทศไทย
4. ได้ทราบถึงลักษณะป่าชนิดต่างๆของประเทศไทยและสามารถทาการจาแนกได้
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาการงานอาชีพ และเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์)
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์
3. กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ระบบนิเวศ (Ecosystem) ระบบนิเวศในประเทศไทย
ความหมาย
องค์ประกอบ
การถ่ายทอดพลังงาน
Biosphere
ความสมดุลของระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
ป่าดงดิบ (Evergreen forests)
ป่าผลัดใบ (Deciduous
forests)
การหมุนเวียนในระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ความหมาย
 ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่อยู่อาศัย ณ ที่ใดที่หนึ่ง ความสัมพันธ์
มี 2 ลักษณะ คือ ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิตและระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ
สิ่งมีชีวิตด้วยกันเอง โดยมีการถ่ายทอดพลังงานและสารอาหารในบริเวณนั้นๆ สู่
สิ่งแวดล้อม
องค์ประกอบของระบบนิเวศ
1. ส่วนประกอบที่ไม่มีชีวิต (abiotic component ) ประกอบด้วย
อนินทรียสาร ได้แก่ ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ ออกซิเจน น้า และคาร์บอน
อินทรียสาร ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน ฯลฯ
 สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ อุณหภูมิ แสง ความเป็นกรด เป็นด่าง ความ
เค็มและความชื้น
2. ส่วนประกอบที่มีชีวิต (biotic component) ได้แก่
ผู้ผลิต (producer)
ผู้บริโภค (consumer)
ผู้ย่อยสลาย (decomposer)
องค์ประกอบของระบบนิเวศ
ส่วนประกอบที่มีชีวิต (biotic component)
 ผู้ผลิต (producer) คือ สิ่งมีชีวิตที่สามารถนาพลังงานจากแสงอาทิตย์มาสังเคราะห์
อาหารขึ้นได้เองด้วยแร่ธาตุและสสารที่มีอยู่ตามธรรมชาติ ได้แก่ พืชสีเขียว แพลงค์ตอน
พืช และแบคทีเรียบางชนิด
 ผู้บริโภค (consumer) คือ สิ่งมีชีวิตที่กินสิ่งมีชีวิตอื่นๆเป็นอาหาร แบ่งได้เป็น
- สิ่งมีชีวิตที่กินพืชเป็นอาหาร (herbivore) เช่น วัว ควาย กระต่าย
และปลาที่กินพืชเล็กๆ ฯลฯ
- สิ่งมีชีวิตที่กินสัตว์อื่นเป็นอาหาร (carnivore) เช่น เสือ สุนัข กบ สุนัขจิ้งจอก
ฯลฯ
- สิ่งมีชีวิตที่กินทั้งพืช และสัตว์ ซึ่งเป็นลาดับการกินสูงสุด (omnivore) เช่น
มนุษย์
 ผู้ย่อยสลาย (decomposer) เป็นพวกย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิตให้เป็นสารอินทรีย์ได้
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
ดวงอาทิตย์นับเป็นแหล่งที่ให้พลังงานกับระบบนิเวศโลกได้รับพลังงานนี้ในรูปของ
การแผ่รังสี แต่รังสีทั้งหมดที่ส่งมาจากดวงอาทิตย์นั้น จะผ่านบรรยากาศของโลกลงมา
เพื่อใช้ในการสังเคราะห์แสงเพียงประมาณ 1% เท่านั้น ผู้ผลิตในระบบนิเวศจะเป็นพวก
แรกที่สามารถจับพลังงานจากดวงอาทิตย์ไว้ได้ ในขบวนการสังเคราะห์แสงผู้ผลิตซึ่งเป็น
พืชที่มีคลอโรฟิลนี้ จะเปลี่ยนพลังงานแสงให้เป็นพลังงานเคมี แล้วนาพลังงานเคมี นี้ไป
สังเคราะห์สารประกอบ ที่มีโครงสร้างอย่างง่าย คือ คาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ให้เป็น
สารประกอบที่มีโครงสร้างซับซ้อนและมีพลังงานสูง คือ คาร์โบไฮเดรท (CH 2n)
พลังงานที่ผู้ผลิตรับไว้ได้จากดวงอาทิตย์ และเปลี่ยนไปอยู่ในรูปของสารอาหารนี้จะ
มีการถ่ายทอดไปตามลาดับขั้น ของการกินอาหารภายในระบบนิเวศ คือ ผู้บริโภคจะ
ได้รับพลังงานจากผู้ผลิต โดยการกินต่อกันเป็นทอด ๆ ในแต่ละลาดับขั้นของการ
ถ่ายทอดพลังงานนี้ พลังงงานจะค่อย ๆ ลดลงไปในแต่ละลาดับเรื่อย ๆ ไปเนื่องจากได้
สูญเสียออกไปในรูปของความร้อน การรับพลังงานจากดวงอาทิตย์ โดยผู้ผลิตเป็นจุด
แรกที่มีความสาคัญยิ่งต่อระบบนิเวศนั้น ระบบนิเวศใดรับพลังงานไว้ได้มากย่อมแสดงให้
เห็นว่าระบบนิเวศนั้นมีความอุดมสมบูรณ์มาก การเคลื่อนย้ายหรือถ่ายทอดพลังงานใน
ระบบนิเวศในรูปของอาหารจากผู้ผลิตไปสู่ผู้บริโภค และจากผู้บริโภคไปสู่ผู้บริโภคอันดับ
ต่อไปเป็นลาดับขั้นมีลักษณะเป็น "ลูกโซ่อาหาร" หรือ "ห่วงโซ่อาหาร" (food chain) ใน
สภาพธรรมชาติจริง ๆ แล้ว การกินกันอาจไม่ได้เป็นไปตามลาดับที่แน่นอน
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
เช่นที่กล่าวมาเพราะผู้ล่าชนิดหนึ่งอาจจะล่าเหยื่อได้หลายชนิดและขณะเดียวกันนี้
อาจจะตกเป็นเหยื่อของผู้ล่า เนื่องจากทุก ๆ ลาดับขั้นของการถ่ายทอดจะมีพลังงานสูญ
ไปในรูปของความร้อนประมาณ 80-90% ดังนั้นลาดับของการกินในลูกโซ่อาหารนี้จึงมี
จานวนจากัด โดยปกติจะสิ้นสุดในลาดับสี่ถึงห้าเท่านั้นลูกโซ่อาหาร สายใดมีลักษณะสั้น
ก็จะยิ่งมีประสิทธิภาพดีเท่านั้นเพราะมีพลังงานรั่วไหลไปจากลูกโซ่ได้น้อย เช่นชนิดอื่น ๆ
อีกหลายชนิดเช่นกัน การถ่ายทอดพลังงาน จึงมีความซับซ้อนมากขึ้น และสัมพันธ์เกี่ยว
โยงกัน ไปมาในลักษณะ "ข่ายใยอาหาร" หรือ "สายใยอาหาร" (food web)
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
การถ่ายทอดพลังงานในระบบนิเวศ
Biosphere
 ระบบนิเวศทางธรรมชาติและใกล้ธรรมชาติ (Natural and seminatural
ecosystems) เป็นระบบที่ต้องพึ่งพลังงานจากดวงอาทิตย์ เพื่อที่จะทางานได้
 ระบบนิเวศแหล่งน้า (Aguative cosystems)
- ระบบนิเวศทางทะเล เช่น มหาสมุทรแนวปะการัง ทะเลภายในที่เป็นน้าเค็ม
Biosphere
 ระบบนิเวศบนบก (Terresttrial ecosystems)
- ระบบนิเวศกึ่งบก เช่น ป่าพรุ
- ระบบนิเวศบนบกแท้ เช่น ป่าดิบ ทุ่งหญ้า ทะเลทราย
Biosphere
Biosphere
 ระบบนิเวศเมือง-อุตสาหกรรม (Urbanindustral ecosystems) เป็นระบบที่ต้องพึ่งแหล่ง
พลังงานเพิ่มเติม เช่น น้ามันเชื้อเพลิง พลังนิวเคลียร์ เป็นระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้นมา
ใหม่
 ระบบนิเวศเกษตร (Agricultural ecosystems)
เป็นระบบที่มนุษย์ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศทางธรรมชาติขึ้นมาใหม่
Biosphere
ความสมดุลของระบบนิเวศ
คุณสมบัติที่สาคัญประการหนึ่งของระบบนิเวศ คือ มีกลไกในการปรับสภาวะ
ตัวเอง (selfregulation) โดยมีรากฐานมาจากความสามารถของ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด ซึ่ง
เป็นองค์ประกอบของระบบนิเวศนั้น ๆ คือ ผู้ผลิต ผู้บริโภค และผู้ย่อยสลายในการทาให้
เกิดการหมุนเวียนของธาตุอาหารผ่านสิ่งมีชีวิต ถ้าระบบนิเวศนั้นได้รับพลังงานอย่าง
พอเพียง และไม่มีอุปสรรคขัดขวางวัฏจักรของธาตุอาหาร แล้ว ก็จะทาให้เกิดภาวะสมดุล
equilibrium ขึ้นมาในระบบนิเวศนั้น ๆ โดยมีองค์ประกอบและความสัมพันธ์ ของสิ่งมีชีวิต
แต่ละชนิดทาให้แร่ธาตุ และสสารกับสิ่งแวดล้อมนั้นไม่มีการเปลี่ยนแปลง มาก ซึ่งทาให้
ระบบนิเวศนั้นมีความคงตัว ทั้งนี้เพราะการผลิตอาหารสมดุลกับการบริโภคภาย ใน
ระบบนิเวศนั้นการปรับสภาวะตัวเองนี้ ทาให้การผลิตอาหารและการเพิ่มจานวนของ
สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในระบบนั้นมีความพอดีกัน กล่าวคือจานวนประชากรชนิดใด ๆ ในระบบ
นิเวศจะไม่สามารถเพิ่มจานวนอย่างไม่มีขอบเขตได้
ความสมดุลของระบบนิเวศ
ความสมดุลของระบบนิเวศ
ธรรมชาติได้ให้สิ่งที่สวยงาม ร่มรื่น นอกเหนือจากปัจจัย 4 ที่มนุษย์ได้รับ
ถ้าในระบบนิเวศสิ่งมีชีวิตบางชนิดถูกทาลายไปจะทาให้ความสมดุลของ
ระบบนิเวศลดลง เช่น บริเวณทุ่งหิมะและขั้วโลกเป็นระบบนิเวศที่ง่ายและธรรมดาไม่
ซับซ้อน เพราะมีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ไม่กี่ชนิด พืชก็ได้แก่ ตะไคร่น้า ไลเคน หญ้าชนิดต่าง ๆ
เพียงไม่กี่ชนิดและต้นหลิว พืชเหล่านี้เป็นอาหารของกวาง ซึ่งมีอยู่ 2 ชนิด คือ กวางคาริ
เบียนกับกวางเรนเดีย กวางเป็นอาหารของสุนัขป่าและคน นอกจากนี้ ก็มีหนูนาและไก่ป่า
ซึ่งเป็นอาหารของสุนัขจิ้งจอกและนกเค้าแมว เพราะฉะนั้นในบริเวณหิมะนี้ ถ้าเกิดการ
เปลี่ยนแปลงจานวนของสิ่งมีชีวิตในระดับหนึ่ง จะมีผลรุนแรงต่อสิ่งมีชีวิต ในระดับอื่น ๆ
ด้วยเพราะมันไม่มีโอกาสเลือกอาหารได้มาก นักสิ่งมีชีวิตที่อยู่ในนี้จึงเปลี่ยนแปลงเร็ว จน
บางชนิดสูญพันธุ์ ดังนั้นระบบนิเวศที่ไม่ซับซ้อนจึงเสียดุลได้ง่ายมากเหมือนกับการปลูก
พืชชนิดเดียว (monocropping) เช่น การเกษตรสมัยปัจจุบันเวลาเกิดโรคระบาดจะทาให้
เสียหายอย่างมากและรวดเร็ว
ความสมดุลของระบบนิเวศ
ชีวลัย(Biosphere)
1) ระบบนิเวศอิสระ (Lsolated Ecosystem) คือ ระบบนิเวศที่ไม่มีการถ่ายเท
สารอาหารและพลังงานระหว่างภายในระบบนิเวศกับสิ่งแวดล้อมภายนอกเป็นระบบ
นิเวศ ที่ไม่มีในธรรมชาติ แต่นักนิเวศวิทยาพยายามคิดค้นขึ้น
2) ระบบนิเวศแบบปิด (Closed Ecosystem) คือระบบนิเวศที่มีเฉพาะการถ่ายเท
พลังงาน (แสงสว่าง) แต่ไม่มีการถ่ายเทสารอาหารระหว่างภายในระบบกับภายนอก
ระบบนิเวศ เป็นระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้น ไม่มีในธรรมชาติ เช่น ตู้ปลา
3) ระบบนิเวศแบบเปิด (Open Ecosystem) เป็นระบบนิเวศที่มีทั้งการถ่ายเทสาร
อาหารและพลังงานระหว่างระบบภายนอกกับระบบนิเวศภายใน เช่น สระน้า
ทุ่งหญ้า ป่าไม้
Biosphere
 จาแนกโดยใช้ขนาดพื้นที่ของระบบนิเวศนั้นสามารถแบ่งได้เป็น 2 ขนาด คือ
1) ระบบนิเวศขนาดใหญ่ เช่น ป่าเบญจพรรณ ทะเลสาบ มหาสมุทร ทุ่งหญ้า เป็นต้น
2) ระบบนิเวศขนาดเล็ก เช่น แอ่งน้าในล้อยางรถยนต์เก่า กิ่งไม้ผุในป่า เป็นต้น
Biosphere
 จาแนกโดยใช้ลักษณะการนามาประยุกต์ใช้ประโยชน์ต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและ
การดารงชีพ สามารถแบ่งได้ดังนี้
1) ระบบนิเวศสมบูรณ์ หมายถึง ระบบนิเวศที่มีองค์ประกอบครบทั้งส่วนที่เป็น
กลุ่มสิ่งมีชีวิต ซึ่งได้แก่ ผู้ผลิต ผู้บริโภค ผู้ย่อยสลาย และกลุ่มที่เป็นปัจจัย
ทางกายภาพ เช่น แสง ความชื้น อากาศ เป็นต้น ระบบนิเวศส่วนใหญ่ใน
ธรรมชาติจะเป็นแบบนี้ เช่น สระน้า ป่าผลัดใบ
Biosphere
2) ระบบนิเวศไม่สมบูรณ์ หมายถึง ระบบนิเวศที่มีองค์ประกอบไม่ครบอาจขาด
ปัจจัย บางส่วนในระบบนิเวศนั้น เช่น บริเวณเขตทะเลลึกที่แสงส่องไม่ถึงใน
ที่แสงส่องไม่ถึง พบหลายแห่งในประเทศไทย เช่น เทือกเขาบูโด จังหวัดนราธิวาส
เทือกเขาในเขตอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง จังหวัดพิษณุโลก ถ้าค้างคาว
ร้อยล้าน จังหวัดราชบุรี ถ้าผาปู่ จังหวัดเลย เป็นต้น ในบริเวณที่เป็นระบบนิเวศ ไม่
สมบูรณ์นี้ส่วนใหญ่จะไม่มีผู้ผลิต โดยเฉพาะพืช ดังนั้นการมีชีวิตอยู่ของ
ผู้บริโภคในเขตระบบนิเวศแบบนี้ต้องกินซากอินทรีย์จากการตกตะกอนหรือออกไป
กินในบริเวณอื่น เช่น พวกค้างคาวที่อาศัยในถ้า แต่ไปหากินที่อื่น เป็นต้น
Biosphere
Biosphere
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ แสง , อุณหภูมิ , น้า , อากาศ ,ดิน
และแร่ธาตุในดิน
 แสง เป็นปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตหลายชนิด เช่น
1. ในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
2. การหุบและบานของดอกและใบของพืชหลายชนิด เช่น ใบไมยราบ ใบกระถิน
3. มีอิทธิพลต่อเวลาการออกอาหารของสัตว์
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
 อุณหภูมิ เป็นปัจัยสาคัญที่มีอิธิพลต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตหลายประการ เช่น
 1. อุณหภูมิมีผลต่อการหุบและบานของดอกไม้บางชนิด เช่น ดอกบัวจะบานตอนกลางวัน
และจะหุบในตอนกลางคืน
 2. อุณหภูมิมีผลต่อพฤติกรรมบางประการของสัตว์ เช่น การจาศีลมนฤดูหนาวของหมีขั้ว
โลก
 3. อุณหภูมิมีผลต่อลักษณะและรูปร่างของสิ่งมีชีวิต เช่น สัตว์ในเขตหนาวจะมีขนาดตัวที่
ใหญ่กว่าสัตว์ในเขตร้อน หรือสัตว์บางชนิดที่อยู่ในเขตหนาวจะมีขนหนากว่าสัตว์ในเขต
ร้อน
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
 น้ำ เป็นปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต เช่น
 1. น้าเป็นวัตถุดิบในการบวนการสังเคราะห์ด้วยแวงของพืช และน้ายังเป็นตัวทาละลายที่สาคัญที่ทาให้
แร่ธาตุต่างๆที่มีอยู่ในดินละลายและซึมสู่พื้นดินเพื่อให้พืชสามารถนาไปใช้ได้
 2. น้าเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการงอกของเมล็ด
 3. น้าเป็นส่วนประกอบในเซลล์ร่างกายของสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
 4. น้าเป็นสื่อกลางในการช่วยขับของเสียออกจากร่างการของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
 ดินและแร่ธาตุในดิน เป็นปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการดารงชีวิต
 1. ดินเป็นแล่งที่อยู่ของพืช อีกทั้งยังให้แร่ธาตุที่จาเป็นในการดารงชีวิต
 2. ดินช่วยในการกักเก็บน้าและอากาศ
 3. ดินเป็นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตเกือบทุกชนิดบนโลก
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
 อากาศเป็นปัจจัยสาคัญที่มีอิทธิพลต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต เช่น
 1. อากาศมีแก๊สออกซิเจน ซึ่งเป็นส่วนประกอบที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
แทบทุกชนิด
 2. อากาศมีแก๊สออกซิเจน ที่ผสมอยู่ช่วยในการเผาไหม้
 2. ความสัมพันธ์ระหว่างสางมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
 2. ความสัมพันธ์ระหว่างสางมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบนิเวศ
 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตในสายใยอาหารมีหลายรูปแบบ
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
 2.1ภาวะล่าเหยื่อ ( Predation ) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตโดยฝ่ายหนึ่งจับอีก
ฝ่ายหนึ่งเป็นอาหาร เรียกว่า ผู้ล่า (predator) ส่วนฝ่ายที่ถูกจับเป็นอาหารหรือถูกล่า
เรียกว่า เหยื่อ ( prey) เช่น -กบกับแมลง :กบเป็นผู้ล่า แมลงเป็นผู้ถูกล่า และเหยี่ยวกับ
หนู:เหยี่ยวเป็นผู้ล่าส่วนหนูเป็นผู้ถูกล่า
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
 2.2ภาวะพึ่งพา ( Mutualism ) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิดโดยต่างก็ไ ด้
รับประโยชน์ซึ่งกันและกัน หากแยกกันอยู่จะไม่สามารถดารงชีวิตต่อไปได้ เช่น
- ไลเคนส์ ( Lichens) : สาหร่ายอยู่ร่วมกับสาหร่าย สาหร่ายได้รับความชื้นและแร่ธาตุ
จากรา ราได้รับอาหารและออกซิเจนจากสาหร่าย
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
 2.3ภาวะการได้ประโยชน์ ( Protocooperation ) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต2
ชนิด โดยก็ได้รับประโยชน์ซึ่งกันและกัน แม้แยกกันอยู่ก็สามารถดารงชีวิตได้ตามปกติ
เช่น - แมลงกับดอกไม้ : แมลงได้รับน้าหวานจากดอกไม้ ส่วนดอกไม้ได้แมลงช่วยผสม
เกสรทาให้แพร่พันธุ์ได้ดีขึ้น
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
 2.4ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเกื้อกูล ( Commensalism ) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของ
สิ่งมีชีวิต2 ชนิด โดยฝ่ายหนึ่งได้ประโยชน์ อีกฝ่ายหนึ่งไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ เช่น
- ปลาฉลามกับเหาฉลาม : เหาฉลามเกาะติดกับปลาฉลาม ได้เศษอาหารจากปลาฉลาม
โดยปลาฉลามก็ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์อะไร
- พืชอิงอาศัย ( epiphyte) บนต้นไม้ใหญ่ : พืชอิงอาศัย เช่น ชายผ้าสีดาหรือกล้วยไม้
เกาะอยู่บนต้นไม้ใหญ่ ได้รับความชุ่มชื้น ที่อยู่อาศัยและแสงสว่างที่เหมาะสมโดยต้นไม้
ใหญ่ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ใดๆ
- นก ต่อ แตน ผึ้ง ทารังบนต้นไม้ : สัตว์เหล่านี้ได้ที่อยู่อาศัย หลบภัยจากศัตรูธรรมชาติ
โดยต้นไม้ไม่ได้และไม่เสียประโยชน์อะไร
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
 2.5ภาวะปรสิต ( Parasitism ) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยฝ่ายหนึ่ง
ได้ประโยชน์ เรียกว่า ปรสิต ( parasite) อีกฝ่ายหนึ่งเสียประโยชน์เรียกว่าผู้ถูกอาศัย
( host) เช่น
- เห็บ เหา ไร หมัด บนร่างกายสัตว์ : ปรสิตภายนอก ( ectoparasite) เหล่านี้ดูดเลือด
จากร่างกายสัตว์จึงเป็นฝ่ายได้ประโยชน์ ส่วนสัตว์เป็นฝ่ายเสียประโยชน์
- พยาธิ ในร่างกายสัตว์ :ปรสิตภายใน (endoparasite) จะดูดสารอาหารจากร่างกายสัตว์
จึงเป็นฝ่ายได้ประโยชน์ส่วนสัตว์เป็นฝ่ายเสียประโยชน์
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
 2.6ภาวะมีการย่อยสลาย (Saprphytism) เป็นความสัมพันธ์ที่กลุ่มสิ่งมีชีวิตที่เป็นผู้ย่อย
สลายอินทรียสารได้แก่ แบคทีเรีย ,เห็ด , รา จะสร้างสารออกมาย่อยสลายซากสิ่งมีชีวิต
บางส่วนของสารที่ย่อยแล้ว จะดูดกลับไกใช้ในการดารงชีวิต
ความสัมพันธ์ของระบบนิเวศ
การหมุนเวียนของสารในระบบนิเวศ
โดยทั่วไปในสภาวะแวดล้อมจะมีแร่ธาตุและสารต่าง ๆ เป็นองค์ประกอบอยู่แล้ว
ตามธรรมชาติ สิ่งมีชีวิตไม่เพียงแต่ใช้ แร่ธาตุและสารจากธรรมชาติ แต่กิจกรรมการ
ดารงชีวิตก็มีการปล่อย สารบางอย่างกลับคืนสู่ธรรมชาติด้วย วนเวียนกันเป็นวัฏจักร
การหมุนเวียนของสารในระบบนิเวศ
 น้าเป็นสิ่งจาเป็นต่อชีวิตอย่างยิ่ง น้าเป็นตัวกลางของกระบวนการต่าง ๆ ในสิ่งมีชีวิต จาก
การวิเคราะห์องค์ประกอบของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต พบว่ามีน้าเป็นองค์ประกอบในปริมาณ
มาก
บางชนิดมีน้าเป็นองค์ประกอบในเซลล์ถึงร้อยละ 95 สิ่งมีชีวิตจานวนมากอาศัยน้าเป็น
แหล่งที่อยู่
เพราะผิวโลกเราประกอบด้วยพื้นน้าถึง 3 ใน 4 ส่วน
การหมุนเวียนน้าในระบบนิเวศ
การหมุนเวียนน้าในระบบนิเวศ
 ไนโตรเจนเป็นแร่ธาตุสาคัญที่พืชต้องการในปริมาณมาก พืชจะใช้ไนโตรเจนในรูปของ
สารประกอบพวกเกลือแอมโมเนีย เกลือไนไตร เกลือไนเตรต เพื่อสร้างสารประกอบอื่น
ๆ ในเซลล์ ส่วนสัตว์จะได้รับสารดังกล่าว โดยถ่ายทอดมาในสายใยอาหาร สิ่งมีชีวิตในดิน
พวกจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรียไรโซเบียม ในปมรากพืชตระกูลถั่ว แบคทีเรียที่ดารงชีพ
อิสระ ในดิน และสาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงินบางชนิด สามารถตรึงไนโตรเจนจาก
บรรยากาศ แล้วเปลี่ยนเป็นสารประกอบของไนโตรเจนที่พืชสามารถนาไปใช้ได้ ใน
ขณะเดียวกันก็มี จุลินทรีย์บางชนิดที่เป็นผู้ย่อยสลายอินทรีย์สารย่อยสลายซากพืชและ
สัตว์ที่ตายลง กลาย เป็นไนโตรเจนอิสระกลับคืนสู่บรรยากาศ และได้สารประกอบ
ไนโตรเจนในดินที่พืชสามารถ นาไปใช้ได้ นอกจากนี้ไนโตรเจนอีกส่วนหนึ่งจะกลับคืนสู่
บรรยากาศ โดยสัตว์ขับถ่ายสาร ประกอบไนโตรเจนในรูปของแอมโมเนีย พืชบางชนิด
เช่น - หม้อข้าวหม้อแกงลิง หยาดน้าค้าง กาบหอยแครง ได้รับสารประกอบไนโตรเจน
แตกต่าง จากพืชอื่น โดยมีส่วนของใบเปลี่ยนแปลงไปคลายกับดักแมลง เมื่อแมลงตกลง
ไปจะมี เอนไซม์ย่อยเนื้อเยื่อแมลง ได้เป็นสารประกอบไนโตรเจนที่เข้าสู่เซลล์พืชได้
การหมุนเวียนไนโตรเจนในระบบนิเวศ
การหมุนเวียนไนโตรเจนในระบบนิเวศ
 คาร์บอนเป็นองค์ประกอบสาคัญอย่างหนึ่งของสารที่พบในสิ่งมีชีวิตทุกชนิด
คาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศถูกพืชนามาเปลี่ยนแปลงเป็นสารอินทรีย์ที่มีคาร์บอน
เป็นองค์ประกอบในพืชโดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง สัตว์ได้รับสารที่มีคาร์บอน
เป็นองค์ประกอบโดยการกินอาหาร สาหรับกลุ่มผู้ย่อยสลายอินทรีย์สาร ก็ได้รับสาร
คาร์บอนจากกระบวนการย่อยสลาย สิ่งมีชีวิตทุกชนิดปล่อยคาร์บอนกลับคืนสู่
บรรยากาศ โดยการหายใจออกในรูปของคาร์บอน ไดออกไซด์ ซึ่งพืชก็นามาใช้ใน
กระบวนการสังเคราะห์ ด้วยแสงอีก ในระบบนิเวศ จึงมีการหมุนเวียนคาร์บอน
ตลอดเวลา
การหมุนเวียนคาร์บอนในระบบนิเวศ
การหมุนเวียนคาร์บอนในระบบนิเวศ
ระบบนิเวศและชนิดต่าง ๆ ของป่าในประเทศไทย
ระบบนิเวศและชนิดต่าง ๆ ของป่าในประเทศไทย
เนื่องจากความหลากหลายของปัจจัยแวดล้อมทั้งในเรื่องของสภาพภูมิประเทศ ปริมาณ
น้าฝนและความชื้นในอากาศ อุณหภูมิ ช่วงฤดูกาล และลักษณะของดิน ฯลฯ ที่แตกต่าง
กันในแต่ละภูมิภาคของประเทศ ทาให้พบการปรากฏของชนิดสังคมพืชคลุมดินอยู่มาก
ชนิดกว่าประเทศอื่น ๆ ในแถบเดียวกัน สังคมป่าของประเทศไทยอาจแบ่งตามลักษณะ
ทางสรีระที่เห็นได้ภายนอกออกเป็นสองกลุ่มใหญ่ ๆ คือ ป่าดงดิบ (evergreen forests)
และป่าผลัดใบ (deciduous forests) การแบ่งเช่นนี้ถือเอาลักษณะของไม้ส่วนใหญ่ในสังคม
เป็นหลัก
ดังนั้นจึงอาจพบไม้ผลัดใบในป่าไม่ผลัดใบหรือไม้ไม่ผลัดใบในป่าผลัดใบบ้างเป็นส่วนน้อย ไม้
บางชนิดเป็นได้ทั้งไม่ผลัดใบและผลัดใบขึ้นอยู่กับสภาพของท้องถิ่น การแบ่งแยกป่าในระดับ
ที่ย่อยลงไปกว่านี้มีกระทากันในหลายระบบตามความเหมาะสมของแต่ละพื้นที่และแนวคิด
ของผู้จัดแบ่ง Holdridge et al.(1971)กล่าวว่ายังไม่มีระบบใดที่เหมาะสมตามแนวทางทาง
นิเวศวิทยาที่จะใช้แบ่งสังคมพืชของประเทศไทย อย่างไรก็ตามเขาก็ได้แบ่งสังคมพืชคลุมดิน
ของประเทศไทยออกเป็น 15 เขตชีวิต (life zones) โดยอาศัยสภาพอุณหภูมิอากาศทาง
ชีววิทยา แต่ว่าระบบนี้ก็ไม่เป็นที่นิยมในหมู่นักนิเวศวิทยาและนักการป่าไม้ของประเทศไทย
ส่วนใหญ่ที่นิยมใช้บรรยายสังคมป่าของประเทศตามระบบของ Smitinand (1966) เพื่อความ
เหมาะสมยิ่งขึ้นในบางประการจึงได้ปรับปรุงบางส่วนของระบบนี้มาเสนอไว้ ดังแสดงไว้ใน
ตาราง
ระบบนิเวศและชนิดต่าง ๆ ของป่าในประเทศไทย
การจาแนกชนิดป่าหรือสังคมพืชคลุมดินของประเทศไทย
1. ป่าดงดิบ (Evergreen forests)
 ป่าชายเลน (Mangrove forest)
 ป่าพรุน้าจืด (Peat swamp forest)
 ป่าชายหาด (Beach forest)
 ป่าดงดิบชื้นระดับต่า (Lower tropical rain forest)
 ป่าดิงดิบชื้นระดับสูง (Upper tropical rain forest)
 ป่าดงดิบแล้ง (Dry evergreen forest)
 ป่าสนเขา (Coniferous forest or Pine forest)
 ป่าดงดิบเขา (Hill evergreen forest)
2. ป่าผลัดใบ (Deciduous forests)
 ป่าผสมผลัดใบ (Mixed deciduous forest)
 ป่าผสมผลัดใบในระดับสูง (Moist upper mixed deciduous forest)
 ป่าผสมผลัดใบแล้งในระดับสูง (Dry upper mixed deciduous forest)
 ป่าผสมผลัดใบระดับต่า (Lower mixed deciduous forest)
 ป่าเต็งรัง (Deciduous Dipterocarp forest)
 ป่าทุ่ง (Savannah)
 ทุ่งหญ้าเขตร้อน (Tropical grassland)
การจาแนกชนิดป่าหรือสังคมพืชคลุมดินของประเทศไทย
ป่าดงดิบ (Evergreen forests)
ระบบนิเวศป่าชายเลน (Mangrove forest ecosystem)
ป่าชายเลนจาแนกโดยลักษณะของภูมิประเทศสภาพแวดล้อมและพันธุ์ไม้เด่นในสังคม
เป็นป่าที่ปกคลุมอยู่บนดินเลนริมฝั่งทะเลในแถบน้ากร่อยหรือน้าทะเลเข้าถึงโดยเฉพาะปาก
แม่น้าต่างๆ ที่เป็นแหล่งตะกอนของอนุภาคดินที่ถูกพัดลงมากับสายน้าปกติต้องมีน้าเค็มท่วม
ถึงและมีไม้เด่นที่มีการปรับตัวให้ขึ้นได้บนดินเลนที่อ่อนนิ่มและขาดออกซิเจนในดินโดยการมี
รากค้ายัน (prop root) รากหายใจ (pneumatophores) และพูพอน (buttress) ส่วนใหญ่ใบมี
สารเคลือบ (wax) เพื่อป้องกันการเสียน้ามากเกินไป บางชนิดมีต่อมขับเกลือที่โคนใบ (สนิท,
2532) พันธุ์ไม้ดัชนีที่ใช้แยกสังคมพืชนี้ได้แก่ไม้ในสกุลโกงกาง (Rhizophora) แสม (Avicennia)
ลาพูและลาแพน (Sonneratia) ถั่ว (Bruguiera) และโปรง (Ceriops) เป็นต้น จากการรายงาน
การสารวจพันธุ์พืชในป่านี้พบว่ามีพันธุ์ไม้อยู่ถึง 74 ชนิด ใน 53 สกุล จาก 35 วงศ์ (Suntisuk,
1983) ป่าชายเลนในประเทศไทยมีกระจายเป็นตอน ๆ ริมฝั่งทะเลในภาคตะวันออกตั้งแต่
จังหวัดตราดขึ้นมาจนถึงจังหวัดฉะเชิงเทราพบตามแนวฝั่งทะเลของภาคกลางจากจังหวัด
สมุทรปราการถึงจังหวัดประจวบคีรีขันธ์
ระบบนิเวศป่าชายเลน (Mangrove forest ecosystem)
และลงไปใต้สุดจดชายแดนประเทศมาเลเซียที่จังหวัดปัตตานี ส่วนทางฝั่งทะเลตะวันตก
ปรากฏตั้งแต่จังหวัดระนองลงไปจนสุดเขตแดนที่จังหวัดสตูล
ระบบนิเวศของป่าชายเลนจัดได้ว่าเป็นระบบที่เปิดธาตุอาหารต่างๆที่หลั่งไหลเข้าสู่ระบบ
นิเวศนี้ส่วนใหญ่ลงมากับสายน้าจากระบบนิเวศที่อยู่ในแหล่งต้นน้า โดยเฉพาะป่าบกเมือง
พื้นที่เกษตรกรรมและแหล่งอุตสาหกรรมธาตุอาหารเหล่านั้นถูกเปลี่ยนรูปเป็นผลผลิต
อินทรียวัตถุพอกพูนในพืชและสัตว์ถูกเก็บเกี่ยวในรูปของเนื้อไม้ โดยเฉพาะถ่าน ไม้ฟืน
เปลือกไม้ และสัตว์ต่าง ๆ โดยเฉพาะ กุ้ง หอย ปู ปลา นก สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม นากลับไปใช้
และปลดปล่อยในระบบนิเวศอื่น ๆ ที่อยู่ในแผ่นดินต่อไปธาตุอาหารบางอย่างอาจวนเวียน
กลับลงมาอีกแต่อีกไม่น้อยอาจไม่หวนกลับมา
อย่างไรก็ตามระบบนิเวศป่าชายเลนมักเป็นผู้ได้มากกว่าผู้เสียจึงมักคงความสมบูรณ์สูง
ตลอดไปลักษณะโครงสร้างของป่าชายเลนมีส่วนที่แตกต่างจากป่าบกอื่นๆอยู่มาก
ระบบนิเวศป่าชายเลน (Mangrove forest ecosystem)
คือองค์ประกอบของผู้สร้างอินทรียวัตถุ(producers)มิได้มีเฉพาะพืชชั้นสูงเพียงอย่างเดียวแต่
มีแพลงตอนพืชที่มีส่วนการผลิตต่อปีค่อนข้างสูงด้าย นอกจากนี้ยังมีสาหร่ายอีกหลายชนิดที่
มีการผลิตอินทรียวัตถุได้เช่นกัน สนิท (2532) รายงานว่าป่าชายเลนที่จังหวัดสตูลมีผลผลิต
สุทธิเฉลี่ยประมาณ 10.56-23.46 กิโลกรัมคาร์บอนต่อเฮกแตร์ต่อวัน ส่วนการร่วงหล่นของ
ซากพืชในป่าชนิดนี้อยู่ในระหว่าง 3.44 ถึง 9.31 ตันต่อเฮกแตร์ต่อปี และมวลชีวภาพยืนต้น
ประมาณ 20.06-710.81 ตันต่อเฮกแตร์โดยน้าหนักแห้ง ความแปรผันขึ้นกับแถบสังคมและ
สภาพท้องถิ่น ส่วนผลผลิตขั้นมูลฐานของแพลงตอนในน้าใกล้ป่าชายเลนตกประมาณ 4.69
ตันคาร์บอนต่อเฮกแตร์ต่อปี (Wium-Anderson, 1979) การผุสลายในป่าชายเลน
(decomposition) ผู้สลายที่สาคัญในป่าชายเลนได้แก่ จุลินทรีย์ (microorganism) เชื้อรา
(fungi) นอกจากนี้ยังมีผู้ช่วยย่อยสลายที่ทาให้อินทรียวัตถุกลายเป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อยอีกหลาย
ชนิด โดยเฉพาะแมลงและคัสเตซีน (crustacean) เช่น ปู หอย กุ้ง เพรียง เป็นต้น
ระบบนิเวศป่าชายเลน (Mangrove forest ecosystem)
จากที่กล่าวมาแล้วจะเห็นได้ว่าห่วงโซ่แห่งอาหารของป่าชายเลนมีอยู่มากมายหลายสาย
และตรึงกันเป็นสายใยแห่งอาหารที่สลับซับซ้อนยากต่อการวิเคราะห์ ในด้านการหลั่งไหล
ของพลังงาน (energy flow) ของระบบนิเวศนี้มีอัตราค่อนข้างรวดเร็วทั้งนี้เนื่องจากมี
สภาพแวดล้อมที่เหมาะสม โดยเฉพาะอุณหภูมิและความชื้นอยู่ในช่วงที่มีความแปรผันน้อย
มาก พืชสามารถเจริญเติบโตได้ตลอดปีและผู้สลายอินทรียวัตถุสามารถทางานได้ตลอดเวลา
การหมุนเวียนของธาตุอาหารในดินส่วนใหญ่ได้รับเพิ่มเติมมาจากระบบนิเวศอื่นบริเวณต้นน้า
ส่วนที่สลายลงมาจากซากพืชมักถูกน้าพัดพากระจัดกระจายและหายไปจากจุดที่เกิด
บางส่วนถูกนาพาออกไปโดยมนุษย์ในรูปเนื้อไม้ สัตว์น้า และสัตว์ป่า ปัจจุบันระบบนิเวศนี้มัก
ประสบปัญหาเกี่ยวกับการตกตะกอนของมลพิษที่ถูกนาพาลงมากับน้า เช่นยาฆ่าแมลง
สารพิษจากโรงงานและสังคมเมือง เรือเดินทะเล เป็นต้น
ระบบนิเวศป่าชายเลน (Mangrove forest ecosystem)
ระบบนิเวศป่าชายเลน (Mangrove forest ecosystem)
ระบบนิเวศป่าพรุ (peat swamp forest ecosystem)
ป่าพรุจาแนกโดยลักษณะภูมิประเทศสภาพดินและพันธุ์ไม้ในสังคมพืชเป็นหลัก จัดเป็นป่าที่
ไม่ผลัดใบอยู่ในที่ลุ่มที่มีน้าจืดขังติดต่อกันเป็นเวลายาวนาน อาจมีการแห้งแล้งในบางครั้งแต่
ดินยังคงชื้นสูง และดินเป็นกรดจัด มีซากของใบไม้และเศษพืชทับถมหนาโดยไม่สลายตัวหรือ
สลายน้อยเรียกว่าดินพีท(peat)ชนิดไม้ของป่านี้ต้องมีการปรับตัวเป็นพิเศษที่ต้องขึ้นอยู่ในน้า
และดินที่เป็นกรดสูงนี้ ไม้ส่วนใหญ่มีรากแก้วค่อนข้างสั้น รากแขนงแผ่กว้าง มีรากค้ายัน (stilt
roots) โคนต้นมีพูพอน และมีรากหายใจ ไม้ดัชนีของสังคมนี้เช่น ตังหน (Calophyllum
inophylloides) ละไมป่า เลือดควาย (Horsfieldia sp.) และทองบึ้ง (Koompassia malaccensis)
เป็นต้น ผลจากการสารวจชนิดพรรณพืชในป่าพรุ พบว่ามีชนิดพันธุ์ไม้ดอก 109 วงศ์ 437
ชนิด และเฟิร์น 15 วงศ์ 33 ชนิด (Phengklai et. al., 1991) ปัจจุบันป่าพรุที่มีอาณาเขตกว้าง
ใหญ่ของประเทศคือ ป่าพรุโต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส
ระบบนิเวศของป่าพรุนับว่ามีความแตกต่างจากแหล่งอื่นค่อนข้างมากเนื่องจากเป็นระบบที่
เป็นกึ่งป่าบกและกึ่งระบบของบึงน้า ป่าพรุในประเทศไทยซึ่งเป็นพรุเขตร้อนมีพลังงานเพื่อ
การสร้างอินทรียวัตถุสูง และธาตุอาหารในดินก็มีมากพอสมควรแต่ปัญหาที่กาหนดระดับ
การสร้างคือสภาพดินที่เป็นกรดจัดและมีน้าท่วมอย่างต่อเนื่อง การสร้างผลผลิตมูลฐาน
ทั้งหมดส่วนใหญ่เกิดขึ้นในไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ในระดับเรือนยอดชั้นบนสุดและชั้นรอง ดังนั้น
ผลผลิตสดและใหม่ที่จะถ่ายทอดไปสู่สัตว์จึงขึ้นไปอยู่ในระดับสูง ด้วยเหตุนี้จึงมีสัตว์ที่หากิน
ในชั้นเรือนยอด (arboreal species) มากกว่าปกติ ในส่วนที่เป็นพื้นป่าเนื่องจากมีน้าขังระยะ
ยาวนานเป็นส่วนใหญ่พืชที่อยู่ชิดดินจึงมีน้อย ยกเว้นในช่องว่างทาให้ผลผลิตมูลฐานมีน้อย
ระบบนิเวศป่าพรุ (peat swamp forest ecosystem)
นอกจากนี้เนื่องจากการสกัดกั้นพลังงานแสงจากเรือนยอดชั้นบนทาให้พืชคลุมดินขึ้นได้ยาก
และโตช้า ด้วยเหตุนี้ปริมาณสัตว์ที่เป็นผู้เสพอินทรียวัตถุที่ผิวดินจึงมีค่อนข้างน้อยกว่าป่าชนิด
อื่น ในส่วนของผู้ย่อยสลายนับได้ว่ามีการดาเนินไปได้ช้ามาก เห็นได้จากการทับถมของซาก
พืชที่หนาเกินกว่า40เซนติเมตรขึ้นไป สาเหตุที่ทาให้ซากพืชสลายตัวยากเนื่องจากความเป็น
กรดของน้าที่ท่วมขังอยู่โดยตลอดซึ่งสกัดกั้นการย่อยสลายของจุลินทรีย์ การขาดสัตว์ในดิน
และน้าค่อนข้างนิ่งทาให้การคลุกเคล้าของซากพืชกับดินแร่ธาตุชั้นล่างเป็นไปโดยยาก
อย่างไรก็ตามเนื่องจากพื้นที่พรุเป็นที่ลุ่มจึงเป็นแหล่งสะสมตะกอนจากป่าบกข้างเคียงทาให้
ปัญหาการติดขัดของการหมุนเวียนของธาตุอาหารพืชหมดไป แต่ถ้าหากมีการทาลายป่าชนิด
นี้ลงและเปลี่ยนเป็นพื้นที่เกษตรกรรมที่ปลูกพืชล้มลุกสภาพปัญหาเกี่ยวกับดินเปรี้ยวก็จะ
รุนแรงยิ่งขึ้น อาจกล่าวได้ว่าสังคมป่าพรุเป็นระบบนิเวศที่ค่อนข้างเปราะบางมีการ
เปลี่ยนแปลงและเสียหายได้ง่ายการพัฒนาใดๆ ทั้งภายในและบริเวณโดยรอบต้องใช้ความ
ระมัดระวังเป็นพิเศษ
ระบบนิเวศป่าพรุ (peat swamp forest ecosystem)
ระบบนิเวศป่าพรุ (peat swamp forest ecosystem)
ระบบนิเวศป่าชายหาด (Beach forest ecosystem)
ป่าชนิดนี้จาแนกตามสภาพภูมิประเทศ สภาพแวดล้อม ลักษณะดินและพรรณพืชคลุมดิน
เป็นป่าที่ปกคลุมอยู่บริเวณชายฝั่งทะเลที่ดินเป็นดินทรายจัด น้าทะเลท่วมไม่ถึง หรือบริเวณ
หาดทรายเก่าที่ยกตัวสูงขึ้น หรือบริเวณที่เป็นหินชิดฝั่งทะเล ดินค่อนข้างเค็มและที่สาคัญคือ
มีไอเค็ม (salt spray) จากทะเลพัดเข้าถึงพรรณพืชส่วนใหญ่ของป่าชนิดนี้เป็นพืชทนเค็ม
(halophytes)และคดงอด้วยแรงลมป่าชายหาดปรากฏอยู่ทั่วไป ตามชายทะเลที่เป็นหาดทราย
เก่าน้าท่วมไม่ถึงทั้งชายฝั่งภาคตะวันออกตั้งแต่จังหวัดชลบุรีลงไปถึงจังหวัดตราด และทาง
ภาคใต้แถบฝั่งทะเลด้านอ่าวไทยจากจังหวัดเพชรบุรีลงไปจนต่อเขตแดนประเทศมาเลเซีย
รวมถึงเกาะต่างๆในอ่าวไทยด้วย ในทางฝั่งตะวันตกมีพบตั้งแต่จังหวัดระนองลงไปจนถึง
จังหวัดสตูลรวมทั้งหมู่เกาะน้อยใหญ่ในทะเลอันดามันด้วย โดยเฉพาะเกาะตะรุเตามีป่า
ชายหาดที่สวยงามและค่อนข้างสมบูรณ์มากแห่งหนึ่ง
เนื่องจากปัจจัยกาหนดทาให้ป่าชายหาดมีการกระจายขาดเป็นตอนๆบางพื้นที่สลับกับป่า
ชายเลนและบางพื้นที่สลับกับป่าดงดิบหรือสังคมผาหิน เนื่องจากสังคมป่าชนิดนี้ต้องอยู่ชิด
ทะเลจึงถูกทาลายและเปลี่ยนสภาพเป็นแหล่งท่องเที่ยวบ้านเมืองและชุมชนจนเกือบหมดสิ้น
คงเหลือให้เห็นเป็นหย่อมเล็ก ๆ ที่มีสภาพเสื่อมโทรมเป็นส่วนใหญ่
พันธุ์ไม้และลักษณะโครงสร้างของป่าชายหาด องค์ประกอบของพันธุ์ไม้และลักษณะ
โครงสร้างของป่าชายหาดแปรผันไปตามปัจจัยแวดล้อมในแต่ละท้องที่ ต้นไม้โดยทั่ว ๆ ไปมี
ลักษณะเป็นพุ่มลาต้นคดงอและแตกกิ่งก้านมาก กิ่งสั้น ใบหนาแข็ง ประกอบด้วยไม้ใหญ่น้อย
ส่วนมากเป็นไม้หนามขนาดไม้พุ่มและเถาวัลย์ ชายฝั่งที่เป็นดินทรายจัดทางตอนใต้ของ
ภาคใต้อาจพบสังคมสนทะเล (Casuarina equisetifolia) สังคมชนิดนี้มักก่อตัวในหาดทรายที่
เกิดใหม่และมีไม้สนทะเลเด่นนาแต่เพียงชนิดเดียว ในสภาพฝั่งทะเลที่เป็นหินโดยเฉพาะตาม
เกาะต่าง ๆ เป็นสังคมของรังกะแท้ (Kadelia candel)
ระบบนิเวศป่าชายหาด (Beach forest ecosystem)
ไม้เหล่านี้มีความสูงไม่มากและลาต้นคดงอด้วยแรงลมแต่มีเรือนยอดที่ต่อเนื่องกันโดย
ตลอดและแน่นทึบจนจรดดิน (Smitinand, 1977a) พื้นป่ามักโล่งเตียนเนื่องจากดินที่เป็นทราย
จัดและถูกปกคลุมด้วยใบสนหนา ไม้พื้นล่างที่อาจพบบ้างได้แก่ ผักบุ้งทะเล (Poemoea
pescaprae) หญ้าลอยลม (Spinifex littoreus) และถั่วคล้า (Canallia rosea) พืชเหล่านี้เป็นพืช
เลื้อยชิดดินแสดงถึงการรุกล้าเข้ายึดหาดทรายเพื่อการทดแทนตามธรรมชาติ รากที่งอกตาม
ข้อช่วยยึดทรายและเป็นที่ฝากเมล็ดไม้อื่นต่อไป ระบบนิเวศของป่าชายหาด โดยทั่วไปมี
ผลผลิตขั้นมูลฐานค่อนข้างต่าทั้งนี้เนื่องจากข้อจากัดในเรื่องความเค็มของดิน ปริมาณธาตุ
อาหารพืชในดินที่มีอยู่น้อย และสภาพดินที่เก็บความชื้นไว้ได้ไม่นาน ฉะนั้นพืชส่วนใหญ่จึง
เจริญเติบโตได้ช้า และจากไอเค็มที่พัดเข้ามาจากทะเลและความรุนแรงของลมพายุทาให้ไม้
ใหญ่หักโค่นได้ง่าย การหมุนเวียนของพลังงานในระบบนิเวศของป่านี้โดยพื้นฐานแล้วเป็นไป
ได้ในอัตราที่รวดเร็ว
ระบบนิเวศป่าชายหาด (Beach forest ecosystem)
เนื่องจากปัจจัยหลายประการค่อนข้างเหมาะสมคือ ปริมาณพลังงานที่ตกลงบนพื้นที่ต่อปีมี
อยู่อย่างมากพืชสามารถนาไปใช้ได้อย่างต่อเนื่อง อุณหภูมิอยู่ในช่วงที่พืชสามารถสังเคราะห์
แสงได้ตลอดปี ความชื้นในบรรยากาศค่อนข้างสูง อย่างไรก็ตามการขาดแคลนน้าในดินมัก
เป็นตัวกาหนดในการสังเคราะห์แสงของพืช การสลายตัวของซากพืชซากสัตว์มักเป็นไปได้
อย่างรวดเร็วเนื่องจากอุณหภูมิที่ค่อนข้างร้อนและความชื้นของบรรยากาศที่ค่อนข้างสูง
ในช่วงฤดูฝน จึงทาให้จุลินทรีย์และราสามารถทาลายซากพืชและสัตว์ให้สลายโดยสมบูรณ์
ได้ภายในเวลารวดเร็ว ปัญหาที่มักเกิดขึ้นก็คือซากของใบสนทะเลที่มีการผุสลายช้าและปก
คลุมดินค่อนข้างหนาเป็นการสกัดกั้นการสืบต่อพันธุ์ของไม้ชนิดอื่นๆ อีกทั้งอาจก่อให้เกิดไฟ
ผิวดินขึ้นได้
ระบบนิเวศป่าชายหาด (Beach forest ecosystem)
ระบบนิเวศป่าชายหาด (Beach forest ecosystem)
ระบบนิเวศป่าดงดิบชื้น (Moist evergreen forest ecosystem)
ป่าชนิดนี้จาแนกโดยลักษณะทางด้านโครงสร้างและลักษณะทางภาพลักษณ์ที่ปรากฏ
ภายนอก(physiognomiccharacteristics) ของพรรณไม้และไม้ดัชนี(indicatorspecies)เป็น
สาคัญกล่าวคือ เป็นป่าที่ประกอบด้วยชนิดไม้ที่ไม่ผลัดใบเป็นส่วนใหญ่ในสังคมปัจจัยกาหนด
ของการเกิดป่าดงดิบชื้น และปัจจัยหลักที่ทาให้สังคมพืชชนิดนี้เกิดขึ้นและคงสภาพอยู่อย่าง
ถาวรได้ก็คือความชื้นในดินและในอากาศ คือต้องมีปริมาณน้าฝนเกินกว่า 1,600 มิลลิเมตร
ต่อปีขึ้นไปมีการกระจายของฝนต่อเนื่องมากกว่า8เดือนในรอบปีสภาพดินลึกและเก็บ
ความชื้นได้ดี ด้วยสาเหตุดังกล่าวนี้ป่าดงดิบชื้นที่แท้จริงจึงพบอยู่เฉพาะทางภาคใต้และภาค
ตะวันออกตอนใต้ของประเทศ พรรณไม้เด่นในชั้นเรือนยอดสูงสุดเป็นไม้ขนาดใหญ่และ
ประกอบด้วยไม้ชั้นรองต่อเนื่องลงมาจนถึงพื้นดิน เรือนยอดชั้นบนสุดมักสูงเกินกว่า 30 เมตร
ขึ้นไป และมักเป็นไม้ในวงศ์ไม้ยาง (Dipterocarpaceae) ที่ไม่ผลัดใบขึ้นเป็นไม้เด่นในชั้นเรือน
ยอดบนสุด ได้แก่ ยางเสียน (Dipterocarpus gracilis) ยางยูง (D. grandiflorus) ยางวาด (D.
chartaceus) ตะเคียนทอง (Hopea ordorata) สยาขาว (Shorea assamica)
ระบบนิเวศของป่าดงดิบชื้นป่าดงดิบชื้นเป็นป่าที่มีระบบนิเวศแตกต่างจากป่าชนิดอื่น
ค่อนข้างเด่นชัด โดยเฉพาะในเรื่องของพลังงานที่ได้รับต่อปีมีมากและกระจายเท่าเทียมกัน
ตลอดปี ผลจากการวัดมวลพฤกษ์จากป่าดงดิบชื้นในประเทศมาเลเซีย ซึ่งมีลักษณะ
ใกล้เคียงกับป่าดงดิบชื้นทางภาคใต้ของประเทศไทยปรากฏว่า มีปริมาณมวลพฤกษ์ประมาณ
495.5 ตันต่อเฮกแตร์ เป็นส่วนที่อยู่เหนือพื้นดินทั้งสิ้น 475 ตันต่อเฮกแตร์ และส่วนที่เป็น
เรือนรากประมาณ 20.5 ตันต่อเฮกแตร์ (Jordan, 1985) การกระจายของมวลพฤกษ์ที่
สร้างใหม่ส่วนใหญ่อยู่ในระดับสูงเกินกว่า5เมตรขึ้นไป โดยเฉพาะในชั้นเรือนยอดบนสุดซึ่ง
ประกอบด้วยไม้ใหญ่ที่มีความสูงเกิน 20 เมตรขึ้นไปมีปริมาณใบดอกและผลที่ผลิตรายปี
มากกว่าครึ่งหนึ่งของอินทรียวัตถุที่สร้างรายปีพื้นป่าเป็นแหล่งรวมของซากเป็นส่วนใหญ่
ด้วยสาเหตุดังกล่าวนี้สัตว์ในป่าดงดิบชื้นจึงเด่นด้วยสัตว์ที่หากินอยู่ตามเรือนยอด เช่น สัตว์ใน
กลุ่มของลิง ชะนี กระรอก เป็นต้น การถ่ายทอดพลังงานและสารเป็นไปอย่างรวดเร็วใบและ
ผลที่ผลิตขึ้นรายปีถูกสัตว์นาไปใช้และปลดปล่อยลงสู่ผิวดิน
ระบบนิเวศป่าดงดิบชื้น (Moist evergreen forest ecosystem)
แต่ก็นับว่าน้อยกว่ากิ่งก้านและใบที่ถูกปลดปล่อยลงมารายปี อย่างไรก็ตามบทบาทของสัตว์
ต่อสังคมพืชชนิดนี้มีความสาคัญในด้านการผสมเกสรและกระจายเมล็ดของพันธุ์พืช ทั้งนี้
เนื่องจากเมล็ดไม้ส่วนใหญ่มีเมล็ดหนักยากที่จะกระจายด้วยลม สัตว์ป่ายังมีบทบาทสาคัญ
อีกส่วนหนึ่งคือการช่วยย่อยสลายซากพืชโดยการทาให้ชิ้นส่วนเล็กลง ซากพืชขนาดเล็กเช่น
กิ่งก้านและใบมักสลายหมดไปได้ภายในเวลาไม่เกินหนึ่งปี ปลวกซึ่งมีหลายชนิดในป่านี้มัก
เป็นตัวเริ่มต้นของขบวนการย่อยสลายที่สาคัญจึงทาให้การผุสลายดาเนินต่อไปได้ตลอดปี
ภายในผิวดินของป่าดงดิบชื้นมีแบคทีเรียอยู่เป็นจานวนมาก อินทรียวัตถุที่คลุกเคล้ากับดินจะ
สลายหมดไปได้ภายในเวลาไม่ช้า
ระบบนิเวศป่าดงดิบชื้น (Moist evergreen forest ecosystem)
ระบบนิเวศป่าดงดิบชื้น (Moist evergreen forest ecosystem)
ระบบนิเวศป่าดงดิบแล้ง
(Dry evergreen or semi-evergreen forest ecosystem)
ป่าดงดิบแล้งจาแนกโดยลักษณะโครงสร้างด้านองค์ประกอบของชนิดพันธุ์ไม้โดยทั่วไปมี
เรือนยอดปกคลุมต่อเนื่องกันโดยตลอด ช่องว่างจากเรือนยอดชั้นบนถูกปิดด้วยเรือนยอด
ของไม้ชั้นรองและไม้พุ่มจนไม่สามารถมองเห็นพื้นดินได้ ช่องว่างที่เปิดใหม่เนื่องจากไม้ใหญ่
โค่นล้มหรือถูกตัดพื้นที่นั้นมักถูกทดแทนอย่างรวดเร็วด้วยไม้เบิกนาหลายชนิด เช่น ลาพูป่า
(Duabunga grandiflora)กระทุ่มน้า(Mitragynajavanica)เป็นต้น พรรณไม้ในสังคมนี้เป็นการ
ผสมกันระหว่างไม้ผลัดใบและไม้ไม่ผลัดใบในอัตราส่วนที่ใกล้เคียงกัน ไม้ที่ผลัดใบมักมีการ
ผลัดใบค่อนข้างสูงในช่วงฤดูแล้งซึ่งสังเกตได้จากการเปลี่ยนสีใบก่อนร่วงและปริมาณของ
การร่วงหล่นของใบ แต่เรือนยอดป่ายังคงรักษาความเขียวไว้โดยตลอด การจาแนกที่ชัดเจน
อาจต้องสังเกตที่ไม้ดัชนีของสังคมซึ่งมีความแตกต่างจากสังคมป่าอื่นค่อนข้างเด่นชัดทั้งใน
ระดับเรือนยอดชั้นบน ชั้นกลาง และชั้นพื้นป่า ปกติไม้ชั้นบนประกอบด้วยไม้ผลัดใบและไม่
ผลัดใบในจานวนที่เท่า ๆ กัน
เช่น ยางแดง (Dipterocarpus turbinatus) ยางนา (D. alatus) ตะเคียนหิน (Hopea ferrea)
เคี่ยมคนอง (Shorea henryana) เป็นต้น ไม้ผลัดใบที่เป็นตัวชี้สังคมในชั้นเรือนยอดชั้นบนเช่น
มะค่าโมง (Afzelia xylocarpa) ตะแบกใหญ่ (Lagerstroemia calyculata) เป็นต้น (Smitinand
et. al., 1977a)
ปัจจัยหลักที่เป็นปัจจัยกาหนดของสังคมนี้คือ มีฤดูกาลที่แบ่งแยกได้อย่างเด่นชัด โดยควรมี
ช่วงความแห้งแล้งที่ยาวนานประมาณ 3-4 เดือน มีดินค่อนข้างลึกสามารถกักเก็บน้าได้ดีทา
ให้พันธุ์ไม้บางชนิดสามารถคงใบอยู่ได้ตลอดช่วงความแห้งแล้งนี้ และไม่มีไฟป่าเข้ามารบกวน
ด้วยสาเหตุนี้ดินในป่าดงดิบแล้งจึงมักเป็นดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทราย ปกติพบตั้งแต่
ระดับความสูงจากน้าทะเลประมาณ 100 - 800 เมตร มีปริมาณน้าฝนเฉลี่ย 1,000 - 2,000
มิลลิเมตรต่อปี
ระบบนิเวศป่าดงดิบแล้ง
(Dry evergreen or semi-evergreen forest ecosystem)
ระบบนิเวศป่าดงดิบแล้ง
(Dry evergreen or semi-evergreen forest ecosystem)
ระบบนิเวศของป่าดงดิบแล้งเนื่องจากประกอบด้วยพรรณไม้ที่มีทั้งพืชที่ผลัดใบและไม่ผลัด
ใบจึงทาให้มีการผลิตอินทรียวัตถุได้ตลอดปี และมีส่วนที่สดคงอยู่ในสังคมค่อนข้างสูงแม้แต่
ในช่วงฤดูแล้ง การหมุนเวียนของธาตุอาหารและการหลั่งไหลของพลังงานในระบบนิเวศ
เป็นไปอย่างรวดเร็ว สภาพภูมิอากาศที่มีช่วงชื้นหลายเดือนทาให้การทางานของแบคทีเรีย
และเชื้อราต่างๆเป็นไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใบและกิ่งก้านขนาดเล็กที่พืชปลดปล่อยลงมา
ส่วนใหญ่สลายหมดไปได้ภายในปีเดียว กิ่งขนาดใหญ่และลาต้นที่ล้มทอดอยู่ในป่ามักเริ่มการ
สลายด้วยแมลง ปลวก เห็ดชนิดต่าง ๆ เข้ามาอาศัยทาลายให้ย่อยสลายเล็กลงและสารต่าง
ๆ ก็ถูกคืนลงสู่ดินและหมุนเวียนกลับไปสู่พืช
ระบบนิเวศป่าดงดิบแล้ง
(Dry evergreen or semi-evergreen forest ecosystem)
ป่าสนเขา (Coniferous forest or Pine forest)
บนยอดเขาที่มีอากาศค่อนข้างหนาวเย็นและปริมาณน้าฝนต่าที่ระดับความสูง
ประมาณ 500-1,800 เมตร เหนือระดับน้าทะเล มักมีสังคมป่าสนเขาที่เกิดขึ้นเป็นหย่อมเล็ก
ๆ สลับกับป่าดงดิบเขาและป่าดงดิบแล้ง แต่สามารถแยกออกมาชัดเจนด้วยพรรณไม้เด่น 2
ชนิด คือ สนสองใบ และสนสามใบ สภาพดินเป็นกรดจัดเนื่องจากพื้นป่ามีใบสนแห้งร่วงหล่น
มาทับถมเป็นจานวนมาก ป่าสนเขาในประเทศไทยแบ่งได้เป็น 2 สังคมย่อยคือ ป่าสนเขาผสม
ก่อ พบที่ระดับค่อนข้างสูง มีไม้ก่อเป็นพืชเด่น เช่น ก่อแอบ ก่อเสียด ก่อหมี ก่อหม่น เป็นต้น
ส่วนอีกสังคมหนึ่งคือ ป่าสนผสมเต็งรัง พบปรากฎต่ากว่าสังคมย่อยแบบแรก พรรณไม้อื่น ๆ
ที่พบบ่อยในป่าสนเขา เช่น สลักป่า กายาน หว้า เหมือดคน ส้มอ๊อบแอ๊บ เป้งดอย ปรงเขา
กุหลาบขาว และกุหลาบแดง ป่าสนเขาที่สาคัญและเป็นที่รู้จักกันดีมีหลายแห่ง เช่น ป่าสนวัด
จันทร์ในจังหวัดเชียงใหม่ ป่าสนเขาในจังหวัดแม่ฮ่องสอน และบนภูกระดึง จังหวัดเลย เป็น
ต้น
ป่าสนเขาเป็นสังคมป่าไม่ผลัดใบที่มีพื้นป่าค่อนข้างโล่งเตียนเรือนยอดชั้นบนสูงมาก และมี
ความหลากหลายของพรรณพืชน้อยกว่าป่าบกประเภทอื่น สัตว์ป่าที่อาศัยอยู่ประจาจึงมีไม่
มากชนิดนัก ส่วนใหญ่จะเข้ามาหากินชั่วคราวจากสังคมพืชอื่น บนพื้นป่ายังมีหญ้าและพืช
ล้มลุกหลายชนิดที่เป็นอาหารของกวางป่า เก้ง วัวแดง กระต่ายป่า อ้น และหนู ส่วนคน
ท้องถิ่นก็นิยมเข้ามาเจาะเอาน้ามันสน และตัดไม้สนไปทาเชื้อเพลิงกันตั้งแต่ในอดีต
ป่าสนเขา (Coniferous forest or Pine forest)
ป่าสนเขา (Coniferous forest or Pine forest)
ป่าดงดิบเขา (Hill evergreen forest)
ป่าดงดิบเขาเป็นป่าที่ปรากฎอยู่ในระดับความสูงกว่าสังคมป่าเขตร้อนชนิดอื่น โดย
พบในทุกภาคของประเทศไทยที่มีความสูงเกิน 1,200 เมตรขึ้นไป ทาให้อากาศหนาวเย็นและ
มีความชุ่มชื้นสูงตลอดปี จนเกิดเมฆหมอกปกคลุมอยู่เสมอ กลายเป็นป่าต้นน้าลาธารที่
สาคัญของประเทศ ป่าดงดิบเขาในประเทศไทยแบ่งได้เป็น 2 สังคมย่อย คือ ป่าดงดิบเขา
ระดับต่า พบที่ระดับความสูงประมาณ 1,200-1,800 เมตร และป่าดงดิบเขาระดับสูงปรากฎ
ในระดับความสูงเกิน 2,000 เมตรขึ้นไป ต้นไม้มีกิ่งก้านคดงอตามกระแสลมแรง บนกิ่งขนาด
ใหญ่และลาต้นปกคลุมหนาแน่นไปด้วยมอส ไลเคน เฟิร์น ฝอยลม และข้าวตอกฤาษี ห้อย
ระโยงระยางราวกับป่าดึกดาบรรพ์ เช่น ป่าดงดิบเขาบนดอยอินทนนท์ ซึ่งอยู่บนระดับความ
สูงมากที่สุดในประเทศไทย คือ ประมาณ 2,567 เมตร มีสัตว์หายากที่เป็นเอกลักษณ์ เช่น
ซาลาแมนเดอร์หรือจิ้งจกน้า และเป็นแหล่งรวมนกอพยพในฤดูหนาวอย่าง นกกินปลีหางยาว
เขียว เป็นต้น
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย
ระบบนิเวศในประเทศไทย

More Related Content

What's hot

Biome and Biodiversity
Biome and BiodiversityBiome and Biodiversity
Biome and BiodiversityWan Kanlayarat
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาweerabong
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)Pinutchaya Nakchumroon
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศmaleela
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)พัน พัน
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3kkrunuch
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศgasine092
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมสมพร นายน้อย
 
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH)
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH) การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH)
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH) Horania Vengran
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมPinutchaya Nakchumroon
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

Biome and Biodiversity
Biome and BiodiversityBiome and Biodiversity
Biome and Biodiversity
 
ความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยาความหมายของนิเวศวิทยา
ความหมายของนิเวศวิทยา
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม (2)
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศหน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
หน่วยที่ 2 ระบบนิเวศ
 
File[1]
File[1]File[1]
File[1]
 
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)ระบบนิเวศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem)
 
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
ความหมายของระบบนิเวศ (Ecosystem) m3
 
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
ความสัมพันธ์ในระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อมความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศบทที่ 21 ระบบนิเวศ
บทที่ 21 ระบบนิเวศ
 
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH)
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH) การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH)
การถ่ายทอดพลังงาน การหมุนเวียนสาร(TH)
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
Ecology
EcologyEcology
Ecology
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
Food chain
Food chainFood chain
Food chain
 
1403271111115157 14092117175445
1403271111115157 140921171754451403271111115157 14092117175445
1403271111115157 14092117175445
 

Similar to ระบบนิเวศในประเทศไทย

ระบบนิเวศประเทศไทย
ระบบนิเวศประเทศไทยระบบนิเวศประเทศไทย
ระบบนิเวศประเทศไทยninjynoppy39
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4gasine092
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2chirapa
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333chirapa
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศchirapa
 
Bio is all around us
Bio is all around usBio is all around us
Bio is all around usAlisaYamba
 
ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3chirapa
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศchirapa
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00suttidakamsing
 

Similar to ระบบนิเวศในประเทศไทย (20)

ระบบนิเวศประเทศไทย
ระบบนิเวศประเทศไทยระบบนิเวศประเทศไทย
ระบบนิเวศประเทศไทย
 
บทที่ 3 ตอนที่ 4
บทที่ 3  ตอนที่ 4บทที่ 3  ตอนที่ 4
บทที่ 3 ตอนที่ 4
 
ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2ระบบนิเวศ2
ระบบนิเวศ2
 
ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333ระบบนิเวศ3333
ระบบนิเวศ3333
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Bio is all around us
Bio is all around usBio is all around us
Bio is all around us
 
ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3ระบบนิเวศ3
ระบบนิเวศ3
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
Onet sci m3_s_rschool
Onet sci m3_s_rschoolOnet sci m3_s_rschool
Onet sci m3_s_rschool
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
File
FileFile
File
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00ระบบนิเวศ00
ระบบนิเวศ00
 

More from 4315609

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์4315609
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 84315609
 
Social52
Social52Social52
Social524315609
 
M17 cal 1
M17 cal 1M17 cal 1
M17 cal 14315609
 

More from 4315609 (14)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
Eng52
Eng52Eng52
Eng52
 
Social52
Social52Social52
Social52
 
Sci252
Sci252Sci252
Sci252
 
Sci152
Sci152Sci152
Sci152
 
Pat3
Pat3Pat3
Pat3
 
Math252
Math252Math252
Math252
 
Math152
Math152Math152
Math152
 
M17 cal 1
M17 cal 1M17 cal 1
M17 cal 1
 
Eng52
Eng52Eng52
Eng52
 
06
0606
06
 
Thai52
Thai52Thai52
Thai52
 
Blog
BlogBlog
Blog
 

ระบบนิเวศในประเทศไทย