SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่ง
แวดล้อม
ENV 2103
รายวิชา สิ่งแวดล้อมกับการพัฒนา
บทที่ 1
สุทธิวัฒน์ บุญเลิศ
มิติด้านสิ่งแวดล้อมมิติด้านสิ่งแวดล้อม
(Environmental Dimensions)(Environmental Dimensions)
มิติด้านสิ่งแวดล้อมมิติด้านสิ่งแวดล้อม
• สิ่งต่างๆ ที่อยู่ในสภาพแวดล้อม มีความสัมพันธ์
กันอย่างเป็น
ระบบส่งผลซึ่งกันและกัน
• ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อคุณภาพของสิ่งแวดล้อมมี
หลายปัจจัยหรือหลายมิติ ...แบ่งเป็น 4 มิติ คือ
1. มิติทรัพยากร
2. มิติเทคโนโลยี
3. มิติของเสียและมลพิษสิ่งแวดล้อม
4. มิติมนุษย์
มิติสิ่งแวดล้อม
มิติมนุษย์
-
ทรัพยากรธรรมชาติ
-ทรัพยากรที่มนุษย์
สร้างขึ้น
มิติทรัพยากร
-ซอฟท์เทคโนโลยี
-ฮาร์ดเทคโนโลยี
มิติของเสียและมลพิษ
- ของแข็ง -
ของเหลว
- ก๊าซ - ฟิสิกส์
มิติเทคโนโลยี
- ประชากร - การ
ศึกษา
- อนามัย -
โบราณสถาน
- เศรษฐกิจ
- ความปลอดภัย
- การเมืองการ
มิติด้านสิ่งแวดล้อมมิติด้านสิ่งแวดล้อม
1. มิติทรัพยากร ((Resources dimensions)Resources dimensions)
• เป็นมิติที่มีความสำาคัญ ที่มนุษย์ใช้เป็นปัจจัยใน
การดำารงชีวิต
• มีบทบาทในการเอื้อประโยชน์ด้านอาหาร ที่อยู่
อาศัย ยารักษา เครื่องนุ่งห่ม
• มิติทรัพยากร เป็น 2 กลุ่ม คือ
1.1 ทรัพยากรธรรมชาติ
1.2 ทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น
1.11.1 ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ ((NaturalNatural
resourcesresources) ) 
• สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติและ
มนุษย์ สามารถนำามาใช้ประโยชน์ได้ ถ้าสิ่ง
นั้นยังไม่ให้ประโยชน์ต่อมนุษย์ ก็ไม่ถือว่า
เป็นทรัพยากรธรรมชาติ
เช่น บรรยากาศ ดิน นำ้า ป่าไม้ ทุ่งหญ้า
ประเภทของประเภทของ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
1.) ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่
หมดสิ้น
(Inexhaustible natural resources)
2.) ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้ว
ทดแทนได้
(renewable natural resources) 
3.) ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถนำา
มาใช้ใหม่ได้
ประเภทของประเภทของ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
1.) ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วไม่หมดสิ้น
(Inexhaustible natural resources)
• เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่เกิดขึ้นก่อนที่จะมี
มนุษย์
• เมื่อมีมนุษย์เกิดขึ้นมาสิ่งเหล่านี้ก็มีความ
จำาเป็นต่อการดำารงชีวิตของมนุษย์ เช่น แสง
อาทิตย์ อากาศ และนำ้าในวัฏจักร
 
ประเภทของประเภทของ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ2.) ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วทดแทน
ได้
(renewable natural resources) 
• ใช้ไปแล้วสามารถเกิดขึ้นทดแทนในส่วนที่
ใช้ไปได้ อาจจะเร็วหรือช้าขึ้นอยู่กันชนิดของ
ทรัพยากรธรรมชาติประเภทนั้น
• เช่น ความสมบูรณ์ของดิน พืช ป่าไม้ สัตว์ป่า
มนุษย์ เป็นต้น
ประเภทของประเภทของ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
3.) ทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถนำามา
ใช้ใหม่ได้
(Recycleable natural resources)
• เป็นทรัพยากรธรรมชาติจำาพวกแร่ธาตุที่นำา
มาใช้แล้วสามารถนำาไปแปรรูปให้กลับไปสู่
สภาพเดิมได้ แล้วนำากลับมาใช้ใหม่อีก
• เช่น แร่โลหะ แร่อโลหะ ได้แก่ เหล็ก
ทองแดง อะลูมิเนียม ฯลฯ
ประเภทของประเภทของ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
4.) ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมด
สิ้นไป
(Exhausting natural resources) 
• มีอยู่อย่างจำากัด เมื่อนำามาใช้หมดไปไม่
สามารถสร้างทดแทนใหม่ได้ หรือ ต้องใช้
ระยะเวลานาน นับหลายหมื่น ปีีีกว่า
ธรรมชาติจะสร้างขึ้นใหม่ได้
• เช่น นำ้ามันปิโตรเลียม ก๊าซธรรมชาติ และ
ถ่านหิน เป็นต้น
1.2 ทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น (Man-
made environment)
• มนุษย์ดัดแปลงธรรมชาติ โดยสร้างกลไก
ควบคุมเปลี่ยนแปลงรูปร่างหรือคุณลักษณะ
เพื่อใช้ประโยชน์ในการอุปโภคบริโภค การ
1.2 ทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น (Man-
made environment)
สรุปสรุป:: มิติทรัพยากรมิติทรัพยากร ((ResourcesResources
dimensions)dimensions)
* เป็นสิ่งที่มีความสำาคัญต่อการดำารงชีวิตและ
คุณภาพชีวิต
ซึ่งแยกเป็น 4 กลุ่ม คือ
1. ทรัพยากรกายภาพ
• เป็นพื้นฐานหลักของระบบสิ่งแวดล้อมที่
จำาเป็นและสำาคัญต่อการดำารงชีวิตของ
มนุษย์และสิ่งมีชีวิตอื่น ได้แก่ นำ้า อากาศ
แสงแดด แร่ธาตุ
2. ทรัพยากรชีวภาพ
• เป็นทรัพยากรกลุ่มสิ่งมีชีวิต เป็นตัวบ่งชี้
คุณภาพของระบบสิ่งแวดล้อม และเป็นปัจจัย
พื้นฐานการดำารงชีวิต
สรุปสรุป:: มิติทรัพยากรมิติทรัพยากร ((ResourcesResources
dimensions)dimensions)
3. คุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์
• เกี่ยวข้องกับการดัดแปลงทรัพยากรชีว
กายภาพ
มาสร้างเป็นคุณค่าการใช้ประโยชน์ทั้งด้าน
เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การสื่อสาร
เป็นต้น
สรุปสรุป:: มิติทรัพยากรมิติทรัพยากร ((ResourcesResources
dimensions)dimensions)
4. คุณค่าคุณภาพชีวิต
• เป็นมิติที่แสดงผลการนำาทรัพยากรมาใช้ใน
กลุ่มคุณค่าการใช้ประโยชน์ของมนุษย์
• ทำาให้คุณภาพชีวิตของประชากรออกมาใน
รูปใด ทั้งด้าน
สุขภาพอนามัย สภาพสังคม การศึกษา
สรุปสรุป:: มิติทรัพยากรมิติทรัพยากร ((ResourcesResources
dimensions)dimensions)
2.2. มิติเทคโนโลยีมิติเทคโนโลยี ((TechnologyTechnology
dimensions)dimensions)
•เทคโนโลยี
กระบวนการ/วิธี และเครื่องมือที่นำาความรู้
ทางวิทยาศาสตร์และศาสตร์อื่นๆ มาใช้เพื่อให้
มิติด้านสิ่งแวดล้อมมิติด้านสิ่งแวดล้อม
2.2. มิติเทคโนโลยีมิติเทคโนโลยี ((TechnologyTechnology
dimensions)dimensions)
•ฮาร์ดแวร์
(Hardware):
อุปกรณ์สิ่งประดิษฐ์
ทั้งหลาย
มิติด้านสิ่งแวดล้อมมิติด้านสิ่งแวดล้อม
•ซอฟท์แวร์
(Software): อยู่ใน
รูปความรู้ แนวคิด
ทฤษฎี
2.2. มิติเทคโนโลยีมิติเทคโนโลยี ((TechnologyTechnology
dimensions)dimensions)
บทบาทสำาคัญต่อมนุษย์
•เป็นปัจจัยที่ทำาให้มนุษย์สามารถนำาเอา
ทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน์สนอง
ความต้องการได้มากขึ้น
•แต่การใช้เทคโนโลยีมักก่อให้เกิดผลกระ
ทบต่อสิ่งแวดล้อมไม่มากก็น้อย
•ควรเลือกเทคโนโลยีที่เหมาะสม ที่ไม่ทำาให้
เกิดความสิ้นเปลืองทรัพยากรหรือก่อให้เกิด
มิติด้านสิ่งแวดล้อมมิติด้านสิ่งแวดล้อม
3.3. มิติของเสียและมลพิษสิ่งแวดล้อมมิติของเสียและมลพิษสิ่งแวดล้อม ((Waste andWaste and
Pollution dimensions)Pollution dimensions)
•แสดงถึงผลการใช้ทรัพยากรของมนุษย์
จะมีของเสีย ปล่อยสู่สภาพแวดล้อมไม่มากก็
น้อย
•ของเสียที่เกิดขึ้นมีทั้งของแข็ง/ของเหลว
หรือก๊าซ
ได้แก่ ความร้อน การสั่นสะเทือน เสียง
•ของเสียที่เกิดขึ้นอาจจะไม่เกิดมลพิษทันที
จนช่วงเวลาหนึ่ง
มิติด้านสิ่งแวดล้อมมิติด้านสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรที่มีศักยภาพในการผลิต
(Productive resources)
ทรัพยากรที่มีศักยภาพในการผลิต
(Productive resources)
ใช้ประโยชน์
(แปรรูป)
ใช้ประโยชน์
(แปรรูป)
ของเสียและมลพิษ
(Waste and Environmental pollutio
ของเสียและมลพิษ
(Waste and Environmental pollutio
ความไม่สมดุลในธรรมชาติ
(Imbalance of Nature)
ความไม่สมดุลในธรรมชาติ
(Imbalance of Nature)
ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม
(Unproductive resources)
ทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรม
(Unproductive resources)
การกำาจัด/การบำาบัด/การฟื้นฟูสภาพการกำาจัด/การบำาบัด/การฟื้นฟูสภาพ
3.3. มิติของเสียและมลพิษสิ่งแวดล้อมมิติของเสียและมลพิษสิ่งแวดล้อม ((Waste andWaste and
Pollution dimensions)Pollution dimensions)
ของเสียและมลพิษสิ่งแวดล้อม แบ่งเป็น 4 กลุ่ม คือ
• ของแข็ง ได้แก่ ขยะมูลฝอย ฝุ่น กากสารพิษ เศษของ
เหลือใช้ ฯลฯ
• ของเหลว ได้แก่ นำ้าทิ้ง/นำ้าเสีย จาก บ้านเรือน โรงงาน
อุตสาหกรรม การเกษตร
• ก๊าซ ได้แก่ อากาศปนเปื้อนสารพิษ จากเขม่า ควัน ไอเสีย
รถ โรงงาน
• มลพิษทางฟิสิกส์ ได้แก่ ความร้อน แสง เสียง ความ
สั่นสะเทือน และทัศนียภาพ
3.3. มิติของเสียและมลพิษสิ่งแวดล้อมมิติของเสียและมลพิษสิ่งแวดล้อม ((Waste andWaste and
Pollution dimensions)Pollution dimensions)
มิติด้านสิ่งแวดล้อมมิติด้านสิ่งแวดล้อม
มิติมนุษย์: การใช้ขนาดกับผลที่เกิดขึ้นจาก
พฤติกรรม
หรือกิจกรรมมนุษย์ ทั้งที่เป็นรูปธรรมและ
นามธรรม
4.4. มิติมนุษย์และเศรษฐสังคมมิติมนุษย์และเศรษฐสังคม
((Human and Socio-economic dimensions)Human and Socio-economic dimensions)
มิติด้านสิ่งแวดล้อมมิติด้านสิ่งแวดล้อม
มิติเศรษฐสังคม: เป็นการแสดงขนาดและ
คุณลักษณะของทรัพยากร
ทางเศรษฐสังคม
ได้แก่ องค์ประกอบด้านประชากร การศึกษา
การสาธารณสุข สภาพทางเศรษฐกิจ
การเมืองการปกครอง วัฒนธรรม ศิลปกรรม
ฯลฯ
4.4. มิติมนุษย์และเศรษฐสังคมมิติมนุษย์และเศรษฐสังคม
((Human and Socio-economic dimensions)Human and Socio-economic dimensions)
มิติด้านสิ่งแวดล้อมมิติด้านสิ่งแวดล้อม
สรุปสรุป:: มิติด้านสิ่งแวดล้อมมิติด้านสิ่งแวดล้อม
ภาพที่แสดงบทบาท/หน้าที่
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
เป็นเทคโนโลยี
โครงสร้าง/องค์ประกอบ
เป็นทรัพยากร
เป็นของเสีย/มลพิษ
เป็นทรัพยากรสังคม
กลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลในกลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลใน
ธรรมชาติธรรมชาติ
กลไกสิ่งแวดล้อม (environmental
mechanism)
• ตัวจักรที่ควบคุมการเปลี่ยนแปลงของสิ่ง
แวดล้อมจากสภาพหนึ่งไปสู่อีกสภาพหนึ่ง
อาจเป็นสิ่งแวดล้อมธรรมชาติหรือสิ่งที่
มนุษย์สร้างขึ้น
• กระบวนการทางนิเวศวิทยาเป็นรากฐาน
ของกระบวนการทางสิ่งแวดล้อม เพราะมีจุด
กำาเนิดและเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
กลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลในกลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลใน
ธรรมชาติธรรมชาติ
กลไกสิ่งแวดล้อม (environmental
mechanism)
• กลไกแวดล้อมจะควบคุมกระบวนสิ่ง
แวดล้อมจนเข้าสู่ช่วงของความสมดุลและ
ตลอดไป
• กลไกสิ่งแวดล้อมสามารถนำาไปประยุกต์
ใช้วางแผนการจัดระบบสิ่งแวดล้อมให้มี
ประสิทธิภาพได้
กลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลในกลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลใน
ธรรมชาติธรรมชาติ
ความสมดุลในธรรมชาติ
• เป็นภาวะการณ์ทางธรรมชาติของระบบ
นิเวศใดก็ตามที่ระบบความสัมพันธ์ระหว่าง
องค์ประกอบ เป็นไปอย่างสมบูรณ์  
• ความสมดุลทางธรรมชาติมีความแตกต่าง
กันไปตามความแตกต่างของระบบนิเวศ  
• ระบบนิเวศจะมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอด
เวลาการเปลี่ยนแปลงนี้อาจเป็นไปโดย
กลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลในกลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลใน
ธรรมชาติธรรมชาติ
ความสมดุลในธรรมชาติ
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงเป็นไปได้ 
2  แบบ  คือ  
1. แบบกระทันหัน: ทำาให้ระบบนิเวศเสีย
สมดุลและมีผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิต  ทำาให้
ตายหรือสูญพันธุ์ไปได้ง่าย  เช่น
การเกิดไฟไหม้ป่า  อุทกภัย การเกิดโรค
ระบาด  ฯลฯ
กลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลในกลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลใน
ธรรมชาติธรรมชาติ
ความสมดุลในธรรมชาติ
ลักษณะการเปลี่ยนแปลงเป็นไปได้ 
2  แบบ  คือ  
2. แบบค่อยเป็นค่อยไปตามธรรมชาติ:  
เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ ก่อให้เกิด
อันตรายต่อมนุษย์และสิ่งสิ่งมีชีวิต อื่นน้อย
มาก  
กลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลในกลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลใน
ธรรมชาติธรรมชาติ
ความสมดุลในธรรมชาติ
• การสูญเสียความสมดุลในระบบนิเวศหาก
เกิดโดยธรรมชาติ  ระบบนิเวศจะช่วยแก้ไข
ได้ด้วยตัวเอง แต่ถ้าเกิดจากมนุษย์จะแก้ไข
ได้ยากมาก  
•มนุษย์ = ตัวการทำาลายระบบนิเวศมากที่สุด
กลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลในกลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลใน
ธรรมชาติธรรมชาติ
สาเหตุที่ทำาให้ระบบนิเวศเสียความสมดุล
 1.  การเพิ่มประชากร:
ทำาให้ความต้องการใช้ที่ดินทำาการ
เกษตรมากขึ้น โดยเฉพาะเขต
ร้อน ประชากรจะบุกเบิกป่าใหม่ ๆ เพื่อใช้
พื้นที่ทำาไร่เลื่อนลอยทำาให้ดิน  ป่าไม้ 
สภาวะแวดล้อมเสียหายปีละจำานวนมาก
กลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลในกลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลใน
ธรรมชาติธรรมชาติ
สาเหตุที่ทำาให้ระบบนิเวศเสียความสมดุล
 2. การเกษตรสมัยใหม่ 
การเกษตรในปัจจุบันมุ่งเพื่อการค้ามาก
ขึ้น  มีการใช้ปุ๋ยและยาฆ่าแมลงจำานวนมาก
สารเหล่านี้จะตกค้างในดิน  และอาจถูก
ชะล้างลงสู่แหล่งนำ้า  ทำาให้มีผลต่อชีวิตสัตว์
ในดินและในนำ้า
กลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลในกลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลใน
ธรรมชาติธรรมชาติ
สาเหตุที่ทำาให้ระบบนิเวศเสียความสมดุล
 3.  การขยายตัวของเมือง 
การเพิ่มประชากรทำาให้ความต้องการที่
อยู่อาศัยเพิ่มขึ้น เมืองขยายตัวอย่างรวดเร็ว 
ทำาให้พื้นที่การเกษตรถูกใช้ไปเพื่อสร้างตึก 
ศูนย์การค้า  ถนน   ระบบนิเวศเปลี่ยนไป 
การถ่ายเทของเสียจากเมือง  ก่อให้เกิดมลพิษ
ของนำ้าและอากาศ
กลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลในกลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลใน
ธรรมชาติธรรมชาติสาเหตุที่ทำาให้ระบบนิเวศเสียความสมดุล
 4. การอุตสาหกรรม 
การพัฒนาอุตสาหกรรมทำาให้ทรัพยากร
ถูกใช้เป็นวัตถุดิบมากยิ่งขึ้น กระบวนการผลิต
ทำาให้มีของเสีย  เช่น  นำ้าเสีย ไอเสีย 
ซึ่งส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ
ในบริเวณที่โรงงานอุตสาหกรรม ตั้งอยู่และ
บริเวณใกล้เคียง
กลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลในกลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลใน
ธรรมชาติธรรมชาติ
สรุป กลไกสิ่งแวดล้อมและสมดุลใน
ธรรมชาติ
• ความสมดุลของระบบนิเวศเป็นเรื่องสำาคัญยิ่ง
ต่อการพัฒนาในยุคปัจจุบัน
• เพราะการพัฒนาที่ขาดความเข้าใจ ในเรื่อง
ระบบนิเวศจะทำาให้ระบบนิเวศเสียสมดุล  และจะ
ส่งผลกระทบในทางลบมาสู่มนุษยชาติ
ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม ทำาการวิเคราะห์
ปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดกับทรัพยากรเหล่านี้
พร้อมทั้งบอกผลกระทบที่เกิดขึ้น
อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากการพัฒนา (กลุ่มละ 1
เรื่อง)
1. ทรัพยากรป่าไม้
2. ทรัพยากรสัตว์ป่า
3. ทรัพยากรดิน
4. ทรัพยากรแหล่งนำ้า
งานกลุ่มท้ายคาบเรียน บทที่งานกลุ่มท้ายคาบเรียน บทที่ 11

More Related Content

What's hot

รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทKannika Kerdsiri
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆJintana Kujapan
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาดGob Chantaramanee
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมานSomporn Amornwech
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยFreesia Gardenia
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศdevilp Nnop
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 

What's hot (20)

บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
รูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บทรูปแบบวิจัย 5 บท
รูปแบบวิจัย 5 บท
 
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆการเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
การเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ
 
สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ
สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอสื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ
สื่อและอุปกรณ์ในการนำเสนอ
 
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา   พาสะอาดโครงงานจิตอาสา   พาสะอาด
โครงงานจิตอาสา พาสะอาด
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
ประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุประโยชน์ของวัสดุ
ประโยชน์ของวัสดุ
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
[ppt] ความเป็นมาของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 

Viewers also liked

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมkasarin rodsi
 
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมpowerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมJunjira Wuttiwitchai
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมdnavaroj
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
รายงานการจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท NISSAN MOTOR CORPORATION
รายงานการจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท  NISSAN MOTOR CORPORATIONรายงานการจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท  NISSAN MOTOR CORPORATION
รายงานการจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท NISSAN MOTOR CORPORATIONPreedaphol Yaisawat
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศMaiMai Mimoze
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บรรพต แคไธสง
 
กฎหมายและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายและสิ่งแวดล้อมกฎหมายและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายและสิ่งแวดล้อมsumrit22
 
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์nopjira
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่าJiraporn
 
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 

Viewers also liked (14)

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมpowerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
รายงานการจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท NISSAN MOTOR CORPORATION
รายงานการจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท  NISSAN MOTOR CORPORATIONรายงานการจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท  NISSAN MOTOR CORPORATION
รายงานการจัดการสภาพแวดล้อมของสถานประกอบการของ บริษัท NISSAN MOTOR CORPORATION
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศการนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
การนำเสนองานด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
กฎหมายและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายและสิ่งแวดล้อมกฎหมายและสิ่งแวดล้อม
กฎหมายและสิ่งแวดล้อม
 
3p
3p3p
3p
 
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
ข้อดีและข้อเสียของการสร้างเขื่อนแม่วงก์
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อมหลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
หลักกฎหมายสิ่งแวดล้อม
 

Similar to ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2Meaw Sukee
 
แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77Surapong Jakang
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Meaw Sukee
 
คำอธิบายรายวิชา2
คำอธิบายรายวิชา2คำอธิบายรายวิชา2
คำอธิบายรายวิชา2Duangsuwun Lasadang
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาNaitbuu
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and LearningPtato Ok
 
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาWililak Chownuea
 
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาWililak Chownuea
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารsupatra2011
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5Meaw Sukee
 
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังChapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังTannoi Tesprasit
 

Similar to ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2 (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77แผนคอมฯ ม.1 1-77
แผนคอมฯ ม.1 1-77
 
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
คำอธิบายรายวิชา2
คำอธิบายรายวิชา2คำอธิบายรายวิชา2
คำอธิบายรายวิชา2
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
Mycomputer1
Mycomputer1Mycomputer1
Mycomputer1
 
Mycomputer1
Mycomputer1Mycomputer1
Mycomputer1
 
Strucker
StruckerStrucker
Strucker
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 
1
11
1
 
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษาขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
ขอบข่ายของเทคโนโลยีการศึกษา
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
 
Pu
PuPu
Pu
 
Powerpoint1
Powerpoint1Powerpoint1
Powerpoint1
 
201704 open ended-research
201704 open ended-research201704 open ended-research
201704 open ended-research
 
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซังChapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
Chapter 1 กลุ่มโจโจ้ซัง
 
R&D in Technology for Botanical Garden
R&D in Technology for Botanical GardenR&D in Technology for Botanical Garden
R&D in Technology for Botanical Garden
 

More from Green Greenz

ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลGreen Greenz
 
มลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงมลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงGreen Greenz
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศGreen Greenz
 
มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำมลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำGreen Greenz
 
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมGreen Greenz
 
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมGreen Greenz
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศGreen Greenz
 

More from Green Greenz (7)

ขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูลขยะและสิ่งปฏิกูล
ขยะและสิ่งปฏิกูล
 
มลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียงมลพิษทางเสียง
มลพิษทางเสียง
 
มลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศมลพิษทางอากาศ
มลพิษทางอากาศ
 
มลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำมลพิษทางน้ำ
มลพิษทางน้ำ
 
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมบทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
บทที่3 การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
บทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศบทที่2 ระบบนิเวศ
บทที่2 ระบบนิเวศ
 

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2

Editor's Notes

  1. สิ่งแวดล้อม หากจำแนกมิติทรัพยากรในส่วนของมนุษย์ได้สร้างแนวคิด และวิธีนำทรัพยากรจากธรรมชาติมาใช้ประโยชน์ ซึ่งทรัพยากรนี้มีความสำคัญต่อการดำรงชีวิตและคุณภาพชีวิต ซึ่งแยกเป็น 4 กลุ่ม คือ
  2. แต่เมื่อระยะเวลานานเข้าการเปลี่ยนแปลงจะมีมากขึ้น  จะเกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตอย่างเด่นชัดขึ้น  เช่น  ทุ่งนา หรือไร่ร้าง  จะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นทุ่งหญ้า และพืชพวกไม้พุ่มในเวลาต่อมา จนในที่สุดหากไม่มีสิ่งแวดล้อม ภายนอกมารบกวนก็จะกลายเป็นป่าที่สมบูรณ์ได้  ดังนั้นสิ่งมีชีวิตจะต้องสามารถปรับตัวให้เข้ากับ\สิ่งแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลงได้
  3. เมื่อมนุษย์เพิ่มจำนวนมากขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาวิถีชีวิตมากขึ้นด้วยเทคโนโลยี ทำให้ความเป็นอยู่สุขสบายมากขึ้นมนุษย์จึงได้ชื่อว่า  “เป็นตัวการทำลายระบบนิเวศมากที่สุด”
  4. เมื่อมนุษย์เพิ่มจำนวนมากขึ้นอย่างรวดเร็ว มีการพัฒนาวิถีชีวิตมากขึ้นด้วยเทคโนโลยี ทำให้ความเป็นอยู่สุขสบายมากขึ้นมนุษย์จึงได้ชื่อว่า  “เป็นตัวการทำลายระบบนิเวศมากที่สุด”
  5. ปัญหาของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ผ่านมา ได้ระดมใช้ทรัพยากรธรรมชาติ โดยเฉพาะที่ดิน ป่าไม้ แหล่งน้ำ ทรัพยากรชายฝั่งทะเล ทรัพยากรธรณี ในอัตราที่สูงมาก และเป็นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ จนมีผลทำให้ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี้ เกิดการร่อยหรอ และเสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็ว รวมทั้งเริ่มส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของประชาชนในชนบท ที่ต้องพึ่งพาทรัพยากรเป็นหลักในการยังชีพ ได้แก่ ทรัพยากรป่าไม้ พื้นที่ป่าไม้มีสภาพเสื่อมโทรม และมีแนวโน้มลดลงอย่างมาก เนื่องมาจากสาเหตุสำคัญหลายประการ ได้แก่ การลักลอบตัดไม้ทำลายป่า การเผาป่า การบุกรุก ทำลายป่า เพื่อต้องการที่ดินเป็นที่อยู่อาศัย และทำการเกษตร การทำไร่เลื่อนลอยของชาวเขาในพื้นที่ต้นน้ำลำธาร และการใช้ที่ดิน เพื่อดำเนินโครงการของรัฐบาล เช่น การจัดนิคมสร้างตนเอง การชลประทาน การไฟฟ้าพลังน้ำ การก่อสร้างทาง กิจการรักษาความมั่นคงของชาติ เป็นต้น การที่พื้นที่ป่าไม้ทั่วประเทศลดลงอย่างมาก ได้ส่งผลกระทบต่อการควบคุมระบบนิเวศโดยส่วนรวมอย่างแจ้งชัด เช่น กรณีเกิดวาตภัย และอุทกภัยครั้งร้ายแรง ในพื้นที่ภาคใต้ ปัญหาความแห้งแล้งในภาคต่างๆ ของประเทศ และปัญหาน้ำท่วม ในฤดูฝนอย่างรุนแรง ซึ่งปัญหาภัยธรรมชาติดัง กล่าวได้มีแนวโน้มของการเกิดถี่ขึ้น อันก่อให้เกิดความเสียหายต่อผลิตผลทางการเกษตร ชีวิต และทรัพย์สิน นอกจากนี้ยังเกิดผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านอื่นๆ เช่น การสูญเสียหน้าดิน ทำให้สูญเสียความอุดมสมบูรณ์ของดิน ปัญหาการตกตะกอน ปัญหาการตื้นเขินของแหล่งน้ำ และปัญหาสภาพดินฟ้าอากาศแปรปรวน เป็นต้นทรัพยากรดิน ปัญหาการพังทลายของดินและการสูญเสียหน้าดินโดยธรรมชาติ เช่น การชะล้าง การกัดเซาะของน้ำและลม เป็นต้น และที่สำคัญคือ ปัญหาจากการกระทำของมนุษย์ เช่น การทำลายป่า เผาป่า การเพาะปลูกผิดวิธี เป็นต้น ก่อให้เกิดการสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ของดิน ทำให้ใช้ประโยชน์จากที่ดินได้ลดน้อยลง ความสามารถในการผลิตทางด้านเกษตรลดน้อยลง และยังทำให้เกิดการทับถมของตะกอนดินตามแม่น้ำ ลำคลอง เขื่อน อ่างเก็บน้ำ เป็นเหตุให้แหล่งน้ำดังกล่าวตื้นเขิน รวมทั้งการที่ตะกอนดิน อาจจะทับถมอยู่ในแหล่งที่อยู่อาศัย และที่วางไข่ของสัตว์น้ำ อีกทั้งยังเป็นตัวกั้นแสงแดด ที่จะส่องลงสู่พื้นน้ำ สิ่งเหล่านี้ล้วนก่อให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตในน้ำ นอกจากนี้ปัญหาความเสื่อมโทรมของดิน อันเนื่องมาจากสาเหตุดั้งเดิมตามธรรมชาติ คือ การที่มีสารเป็นพิษเกิดขึ้นมาพร้อมกับการเกิดดิน เช่น มีโลหะหนัก มีสารประกอบที่เป็นพิษ ซึ่งอาจทำให้ดินเค็ม ดินด่าง ดินเปรี้ยวได้ โดยเฉพาะปัญหาการแพร่กระจายของดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การดำเนินกิจกรรม เพื่อใช้ประโยชน์จากที่ดินอย่างไม่เหมาะสม และขาดการจัดการที่ดี เช่น การสร้า อ่างเก็บน้ำในบริเวณที่มีเกลือหินสะสมอยู่มาก น้ำในอ่างจะซึมลงไปละลายเกลือหินใต้ดิน แล้วไหลกลับขึ้นสู่ผิวดินบริเวณรอบๆ การผลิตเกลือสินเธาว์ในเชิงพาณิชย์ โดยการสูบน้ำเกลือใต้ดินขึ้นมาต้มหรือตาก ทำให้ปัญหาดินเค็มแพร่ขยายออกไปกว้างขวางยิ่งขึ้น ยังมีสาเหตุที่เกิดจากสารพิษ และสิ่งสกปรก จากภายนอกปะปนอยู่ในดิน เช่น ขยะจากบ้านเรือนของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม สารเคมีตกค้างจากการใช้ปุ๋ยและยากำจัดศัตรูพืช เป็นต้น ล้วนแต่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และก่อให้เกิดการสูญเสียทางเศรษฐกิจ ทรัพยากรที่ดิน ปัญหาการใช้ที่ดินไม่เหมาะสมกับสมรรถนะของที่ดิน และไม่คำนึงถึงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ได้แก่ การใช้ที่ดิน เพื่อการเกษตรกรรมอย่างไม่ถูกหลักวิชาการ ขาดการบำรุงรักษาดิน การปล่อยให้ผิวดินปราศจากพืชปกคลุม ทำให้สูญเสียความชุ่มชื้นในดิน การเพาะปลูกที่ทำให้ดินเสีย การใช้ปุ๋ยเคมี และยากำจัดศัตรูพืช เพื่อเร่งผลิตผล ทำให้ดินเสื่อมคุณภาพ และสารพิษตกค้างอยู่ในดิน การบุกรุกเข้าไปใช้ประโยชน์ที่ดินในเขตป่าไม้บนพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง รวม ทั้งปัญหาการขยายตัวของเมืองที่รุกล้ำเข้าไปในพื้นที่เกษตรกรรม และการนำมาใช้เป็นที่อยู่อาศัย ที่ตั้งโรงงานอุตสาหกรรม หรือการเก็บที่ดินไว้เพื่อการเก็งกำไร โดยมิได้มีการนำมาใช้ประโยชน์แต่อย่างใด นอกจากนี้ การเพิ่มขึ้นของประชากร ประกอบกับความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงขึ้น ทำให้ความต้องการใช้ที่ดิน เพื่อการขยายเมืองและอุตสาหกรรมเพิ่มจำนวนตามไปด้วยอย่างรวดเร็ว โดยปราศจากการควบคุมการใช้ที่ดินภายในเมืองให้เหมาะสม เป็นสาเหตุให้เกิดปัญหาสิ่งแวดล้อมภายในเมืองหลายประการ เช่น ปัญหาการตั้งถิ่นฐาน ปัญหาแหล่งเสื่อมโทรม ปัญหาการจราจร ปัญหาสาธารณสุข ปัญหาขยะมูลฝอย และการบริการสาธารณูปโภคไม่เพียงพอ ทรัพยากรแหล่งน้ำ การใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำ เพื่อกิจกรรมต่างๆ ยังมีความขัดแย้งกันอยู่ ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ของแต่ละกิจกรรม ก่อให้เกิดความยุ่งยากต่อการจัดการทรัพยากรน้ำ และการพัฒนาแหล่งน้ำ ความขัดแย้งดังกล่าวมีแนวโน้มว่า จะสูงขึ้น จากปริมาณน้ำที่เก็บกักได้มีจำนวนจำกัด แต่ความต้องการใช้น้ำมีปริมาณเพิ่มขึ้นตลอดเวลา ทั้งในด้านเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และการอุปโภคบริโภค เป็นผลให้มีน้ำไม่เพียงพอกับความต้องการ นอกจากนี้ ความสามารถในการเก็บกักน้ำของดินตามธรรมชาติมีประสิทธิภาพลดลง และปริมาณน้ำบางส่วนสูญเสียไป เพราะการปนเปื้อนจากน้ำเน่า และกากของเสีย ทำให้ไม่สามารถใช้ประโยชน์จากทรัพยากรน้ำที่มีอยู่ได้อย่างเต็มที่ อีกทั้งการใช้ทรัพยากรน้ำเป็นไปอย่างไม่ประหยัด และไม่ก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด ได้ก่อให้เกิดภาวะการขาดแคลนน้ำในฤดูแล้ง และมีแนวโน้มที่จะเป็นปัญหารุนแรงยิ่งขึ้น สาเหตุสำคัญคือ การทำลายพื้นที่ป่าไม้ อันเป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร ขาดแนวทางการพัฒนาแหล่งน้ำ ที่สอดคล้องกับความต้องการใช้น้ำ และศักยภาพของแหล่งน้ำ การ บริหารการจัดการยังไม่มีระบบที่ชัดเจนต่อเนื่อง และประสานสอดคล้องกัน ทรัพยากรธรณีการนำทรัพยากรธรณี ทั้งในรูปแร่ธาตุ พลังงาน มาใช้ประโยชน์ ได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมเป็นอย่างมาก โดยเฉพาะการทำเหมืองแร่ในพื้นที่ต้นน้ำลำธาร การทำเหมืองแร่ทั้งบนบกและในทะเล การนำถ่านหินลิกไนต์มาใช้ และการพัฒนานำปิโตรเลียมขึ้นมาใช้ ทั้งบนบก และในทะเล ได้ก่อให้เกิดปัญหาน้ำเสีย และดินตะกอน ปัญหาเรื่องฝุ่นและอากาศเป็นพิษ และปัญหาดินเสีย สาเหตุประการสำคัญก็คือ การใช้เทคโนโลยีที่ไม่เหมาะสม การละเลยไม่ปฏิบัติตามกฎหมาย หรือพระราชบัญญัติ ที่เกี่ยวข้องในการควบคุม ป้องกัน และแก้ไขปัญหา ป่าชายเลนพื้นที่ป่าชายเลนได้ลดลงอย่างมาก จนเป็นที่น่าวิตก เนื่องจากการบุกรุกทำลาย โดยการเปลี่ยนสภาพพื้นที่ป่าชายเลนไปทำกิจกรรมต่างๆ อย่างมากมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ นำมาใช้ทำการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำชายฝั่ง (นากุ้ง) นอกจากนี้ก็ใช้ เพื่อเป็นที่อยู่อาศัย ท่าเทียบเรือ ถนน เหมืองแร่ การเกษตร เป็นต้น ทำให้พื้นที่ป่าชายเลนลดลงตลอดเวลา จนทำให้เกิดผลเสียต่อระบบนิเวศ อันก่อให้เกิดผลกระทบต่อแหล่งที่อยู่อาศัย การเพาะพันธุ์สัตว์น้ำชายฝั่ง การกัดเซาะ และการพังทลายของที่ดินบริเวณชายฝั่ง และ คุณภาพน้ำชายฝั่ง เป็นต้น ปะการัง ปะการังที่สวยงามในเมืองไทยหลายแห่ง ต้องเสื่อมโทรมลงอย่างน่าเสียดาย โดยเฉพาะปัญหาการถูกทำลาย โดยฝีมือมนุษย์ นับเป็นปัญหาสำคัญของความเสื่อมโทรมของปะการัง ได้แก่ การระเบิดปลา เป็นการทำลายปะการังอย่างรุนแรง ซึ่งเท่ากับเป็นการทำลายที่อยู่อาศัยของสัตว์และพืชในบริเวณนั้น และเป็นการทำลายการประมงในอนาคตด้วย นอกจากนี้ ปัญหาตะกอนจากการทำเหมืองแร่ในทะเล ยังส่งผลกระทบ ทำให้เป็นอันตรายต่อปะการังถึงตายได้ การเปิดหน้าดิน เพื่อทำถนนหรือก่อสร้างบริเวณริมชายฝั่ง จะทำให้ดินโคลน หรือสีแดงของลูกรังไปทับถมชายหาด ปัญหาการปล่อยน้ำเสียลงทะเล การเก็บหอยหรือปะการังขึ้นมาขาย เป็นของที่ระลึก ทำให้แนวปะการังเสียสมดุล และถูกทำลายลง การทิ้งสมอเรือ การถอนสมอเรือ และการนำนักท่องเที่ยวไปเดินบนปะการัง ทำให้ปะการังหักพังลงไปมาก