SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
เรื่อง ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 2
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
คุณครูฐิตารีย์ สาเภา
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
 สืบค้นข้อมูล อภิปราย อธิบาย และเปรียบเทียบวิธีการรับรู้และตอบสนองต่อสิ่ง
เร้าของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์บางชนิด
 สืบค้นข้อมูล อธิบาย และจาแนกส่วนประกอบ และหน้าที่ของเซลล์ประสาท
พร้อมทั้งสรุปการทางานของเซลล์ประสาท
 สืบค้นข้อมูล อธิบายและอภิปรายโครงสร้างและหน้าที่ของสมองและไขสันหลัง
 สืบค้นข้อมูล อธิบาย และเปรียบเทียบการทางานของระบบประสาทโซมาติก
และระบบประสาทอัตโนวัติ
 สืบค้นข้อมูล ทดลอง อภิปราย และอธิบายโครงสร้างและการทางานของอวัยวะ
รับความรู้สึก
จุดประสงค์
 การรับรู้และการตอบสนอง
 เซลล์ประสาท
 การทางานของเซลล์ประสาท
 ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 การทางานของระบบประสาท
 อวัยวะรับความรู้สึก
เนื้อหา
 หมายถึง ระบบที่เกี่ยวกับการสั่งงาน การติดต่อเชื่อมโยง การประสานงาน การรับคาสั่ง
และปรับระบบต่างๆของร่างกายให้เข้ากับสภาพแวดล้อมทั้งภายนอกและภายใน โดยใช้
เวลารวดเร็วและสิ้นสุดอย่างรวดเร็ว ส่วนระบบต่อมไร้ท่อนั้นจะตอบสนองเป็นไปอย่าง
ช้าๆและกระทาต่อเนื่องเป็นเวลานาน
ระบบประสาท
คุณสมบัติของเซลล์ประสาท
 ไวต่อสิ่งเร้า (stimulus)
 นากระแสประสาทได้
เรื่อง การรับรู้และตอบสนอง
รายวิชาชีววิทยาเพิ่มเติม 2
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
คุณครูฐิตารีย์ สาเภา
โรงเรียนท่ามะกาวิทยาคม
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 8 (กาญจนบุรี-ราชบุรี)
การรับรู้และการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตมีความสาคัญต่อสิ่งมีชีวิตอย่างไร ?
การรับรู้และการตอบสนอง
การควบคุมและติดต่อประสานการทางานของร่างกายเพื่อให้เกิดการรับรู้และ
การตอบสนอง ต้องอาศัยระบบใด ?
ระบบประสาท
(nervous system)
ระบบต่อมไร้ท่อ
(endocrine system)
ระบบประสานงาน
(coordinating system)+ =
ความแตกต่างของการตอบสนองของระบบประสาทกับระบบต่อมไร้ท่อ
ข้อเปรียบเทียบ ระบบประสาท ระบบต่อมไร้ท่อ
รูปแบบการสื่อสาร กระแสไฟฟ้าและสารเคมี สารเคมี (ฮอร์โมน)
ความเร็วในการ
ตอบสนอง
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าเกิดขึ้นและ
สิ้นสุดอย่างรวดเร็ว
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าช้า
ระยะเวลาในการ
ตอบสนอง
ตอบสนองเป็นระยะ
เวลาสั้น
ตอบสนองเป็นระยะเวลาที่
ยาวนานกว่า
สารเคมีที่ใช้ในการ
สื่อสาร
สารสื่อประสาท ฮอร์โมน
ให้นักเรียนจี้เอวเพื่อนและสังเกตการตอบสนองของเพื่อน…………..
 การรับรู้และการตอบสนองทางานเป็นระบบ เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นก็จะมีหน่วยหรือ
อวัยวะที่ใช้ในการรับความรู้สึก การรับรู้จะส่งต่อไปยังหน่วยรับและแปลความรู้สึก
ออกมา แล้วสั่งการไปยังหน่วยปฏิบัติงานซึ่งจะตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่มากระตุ้น
 สัตว์และคนมีอวัยวะรับความรู้สึกจากสิ่งเร้า เช่น ตามองเห็น หูรับฟัง ลิ้นรับรส จมูก
ดมกลิ่นและ ผิวหนังรับสัมผัส และส่งสิ่งที่รับรู้ไปตามระบบประสาทเพื่อแปลความรู้สึก
แล้วสั่งการไปยังกล้ามเนื้อส่วนใดส่วนหนึ่งทาให้สัตว์และคนตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้
 การรับรู้และการตอบสนองจะมีอวัยวะรับความรู้สึก กล้ามเนื้อ กระดูก และการ
ทางานของระบบประสาททางานสัมพันธ์กันอย่างเป็นระบบ
การรับรู้และการตอบสนอง
 ส่วนที่รับความรู้สึก (Sensory input) : เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
 ส่วนที่รวบรวมและประสานงาน (integration) : สมองและไขสันหลัง
 ส่วนที่ส่งความรู้สึกออก (Motor output) : เซลล์ประสาทสั่งการ
การรับรู้และการตอบสนอง
 เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่อาศัยในน้า
 ไม่มีโครงสร้างที่ทาหน้าที่เป็นระบบ
ประสาท
 รับรู้และตอบสนองได้ด้วยการไหลของไซ
โทพลาซึม เช่นการเคลื่อนที่เข้าหาอาหาร
การรับรู้และการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว: อะมีบา (AMOEBA)
 ในเซลล์มีเส้นใยประสานงาน (coordinating fiber หรือ nerve fibril) เชื่อมโยง
ระหว่างโคน Cilia ที่ใต้ผิวเซลล์
 ควบคุมการพัดโบกของ cilia ให้ถอยหรือเข้าหาสิ่งเร้า
 สามารถรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้าที่เป็น แสง อุณหภูมิ หรือสารเคมี
การรับรู้และการตอบสนองของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว: พารามีเซียม
การรับรู้และการตอบสนองของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
สัตว์ชั้นต่า
ไม่มีโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับระบบ
ประสาท
สามารถรับรู้และตอบสนองต่อสิ่งเร้า
คือ น้าและอาหารได้
ลาตัวมีรูพรุน ซึ่งมีโครงสร้างภายในทา
หน้าที่จับอาหาร
การรับรู้และตอบสนองไม่ดีเท่าสัตว์ไม่
มีกระดูกสันหลังชั้นสูง
ฟองน้า (SPONGE)
ร่างแหประสาท (nerve net)
เซลล์ประสาทเชื่อมโยงกันเป็นตา
ข่ายทั่วร่างกาย
เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นจะเกิด
กระแสประสาทเคลื่อนไปตาม
เซลล์ประสาทจากจุดที่ถูกกระตุ้น
และกระจายไปทั่วลาตัว
ส่งกระแสประสาทแบบไซแนปส์
ไฟฟ้า
Tentacle รอบปากสามารถรับรู้
และตอบสนองได้
ไฮดรา (HYDRA)
ถ้าใช้เข็มแตะที่ปลายเทนทาเคิลของไฮดรา จะเกิดสิ่งใดขึ้น ???
คาถาม???????
เทนทาเคิล และส่วนต่างๆ ของร่างกายจะหดสั้นลง เพราะเซลล์
ประสาทของไฮดราเชื่อมโยงกันเป็นตาข่าย ทาให้มีกระแสประสาทแผ่
กระจายไปทั่วร่างกาย
มีเซลล์ประสาทรวมตัวเป็นกลุ่มบริเวร
หัว เรียกว่า ปมประสาท (nerve
ganglion) หรือเรียกว่า สมอง
(brain)
มีเส้นประสาทใหญ่ (nerve cord)
ขนานตามด้านข้างลาตัวจากหัวถึง
ท้ายลักษณะแบบขั้นบันได (ladder
type)
เส้นประสาทเชื่อมโยงติดกันด้วย
เส้นประสาทที่วนรอบตัว เรียกว่า วง
แหวนประสาท (nerve ring)
พลานาเรีย (PLANARIA)
ไฮดรา กับ พลานาเรีย มีการรับรู้และการตอบสนองต่อสิ่งเร้าต่างกัน
อย่างไร???
คาถาม???
ไฮดรา มีร่างแหประสาท จะตอบสนองทั้งอวัยวะหรือทั่วทั้งร่ายกาย
พลานาเรีย มีปมประสาทอยู่ที่หัว เมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นจะเกิดกระแส
ประสาทจากบริเวณที่ถูกกระตุ้นไปตามเส้นประสาทส่งไปยังปมประสาท
ซึ่งเป็นศูนย์กลาง แล้วส่งกระแสประสาทไปยังหน่วยปฏิบัติงานจึงเกิด
เฉพาะส่วนของร่างกาย
 สมอง เป็นปมประสาทขนาดใหญ่อยู่ส่วนหัว มีแขนงแยกไปเลี้ยงตา (optic nerve)
และไปเลี้ยงหนวด
 จากปมประสาทสมอง มีเส้นประสาทล้อมรอบหลอดอาหาร ลงมายังปมประสาท
ด้านล่าง รวมกันเป็นปมประสาททรวงอก (thoracic ganglion) ซึ่งมีปมประสาท 7
ปม
 จากนั้นจะทอดยาวเป็นปมประสาทส่วนท้อง (ventral nerve cord) และมีปม
ประสาทแยกออกไปยังกล้ามเนื้อ และระยางค์ต่าง ๆ
กุ้ง
ระบบประสาท วงแหวนประสาท
(nerve ring) อยู่รอบปาก
มีแขนงประสาทแยกออกไปยัง
arm เรียกว่า radial nerve
มีอวัยวะสัมผัสแสงเรียกว่า จุดตา
(eye spot) อยู่ที่บริเวณปลายสุด
ของทุกแฉก
เอไคโนเดิร์ม
มีปมประสาท 3 ปม ได้แก่
 ปมประสาทสมอง (cerebral ganglion) : อยู่ทางด้านข้างของปาก ควบคุม
อวัยวะตอนบนบริเวณปาก และมัดกล้ามเนื้อติดเปลือก
 ปมประสาทที่อวัยวะภายใน (visceral ganglion) : อยู่ทางด้านท้ายควบคุม
อวัยวะภายใน เช่น ระบบย่อยอาหาร ตับ หัวใจ
 ปมประสาทที่เท้า (pedal ganglion) : อยู่ที่เท้าทาหน้าควบคุมการยืดตัว
และหดตัวที่กล้ามเนื้อเท้า
P. MOLLUSCA : หอย
 เป็นสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่ฉลาดมาก มีดวงตาขนาดใหญ่ และเซลล์ประสาท
เจริญดี
P. MOLLUSCA : หมึก
 สัตว์พวกแรกที่เริ่มมีระบบประสาทที่แท้จริงคือ cnidarians เรียก nerve net
 ในดาวทะเล ระบบประสาทจะซับซ้อนขึ้น โดยจะมี nerve ring เชื่อมกับ radial
nerve ที่เชื่อมอยู่กับ nerve net ในแต่ละแขนของดาวทะเลอีกทีหนึ่ง
 สิ่งมีชีวิตตั้งแต่พวกหนอนตัวแบนเป็นต้นไป จะมีการรวมกันของเซลล์ประสาท
(ganglion) ที่บริเวณหัว เรียก cephalization
 พลานาเรียจะมีการเรียงตัวของเส้นประสาทบริเวณด้านข้างลาตัวทั้ง 2 ข้าง และมี
เส้นประสาทเชื่อม เรียก transverse nerve
 พวกหนอนตัวกลมขึ้นไป จะมีการเรียงตัวของเส้นประสาทอยู่ทางด้านท้องเรียก
ventral nerve cord
 แมลงมีการรวมกันของเซลล์ประสาท เรียก glangion ในแต่ละข้อปล้องของลาตัว
 สัตว์มีกระดูกสันหลัง จะมี dorsal hollow nerve cord
สรุป

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพyangclang22
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationPat Pataranutaporn
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชsukanya petin
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบความหลากหลายทางชีวภาพ
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respirationการหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ Cellular respiration
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
การสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2  เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 เคมีที่เป็นพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
ย่อยอาหาร
ย่อยอาหารย่อยอาหาร
ย่อยอาหาร
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 

Similar to การรับรู้และตอบสนอง

Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1krujaew77
 
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานNatthanaSriloer
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
ppt ระบบประสาท.pptx
ppt ระบบประสาท.pptxppt ระบบประสาท.pptx
ppt ระบบประสาท.pptxnatagarns
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.6+290+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.6+290+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.6+290+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.6+290+...Prachoom Rangkasikorn
 
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1bensee
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01korakate
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 

Similar to การรับรู้และตอบสนอง (20)

Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงานใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่6-โครงร่างโครงงาน
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
แนวข้อสอบประมวล Radompon
แนวข้อสอบประมวล Radomponแนวข้อสอบประมวล Radompon
แนวข้อสอบประมวล Radompon
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ppt ระบบประสาท.pptx
ppt ระบบประสาท.pptxppt ระบบประสาท.pptx
ppt ระบบประสาท.pptx
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.5+27...
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.6+290+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.6+290+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.6+290+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง การดำรงชีวิตของสัตว์+ป.6+290+...
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
การวิเคราะห์สารสนเทศ ตอนที่ 1
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01
 
M6 126 60_5
M6 126 60_5M6 126 60_5
M6 126 60_5
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 

More from Thitaree Samphao

ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560Thitaree Samphao
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)Thitaree Samphao
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท Thitaree Samphao
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทThitaree Samphao
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต Thitaree Samphao
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ Thitaree Samphao
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน Thitaree Samphao
 

More from Thitaree Samphao (9)

ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
ระบบขับถ่าย (T) 1 2560
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน (1- 2560)
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 

การรับรู้และตอบสนอง