SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
LOGO
นิเวศวิทยา
Jaratpong moonjai
Ecology
จุดมุ่งหมายในสัปดาห์นี้
ความหมายของนิเวศวิทยา
ประเภทของการศึกษานิเวศวิทยา
ประเภทของระบบนิเวศ
โครงสร้างของระบบนิเวศ
 โครงสร้างทางชีวภาพ
 โครงสร้างทางฟิสิกส์ และเคมี
คาจากัดความของนิเวศวิทยา
Ecology = Okios + logos
 Oikos =บ้านหรือที่อยู่อาศัย
 Logos =การมีเหตุผลหรือความคิด
Ecology =Okios + logos =การศึกษาถึงความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตที่มีต่อบ้านหรือ
แหล่งที่อยู่แหล่งที่อยู่....คือ....สิ่งแวดล้อม
ประเด็นของคาจากัดความ
ประเภทของระบบนิเวศ
ดูจากลักษณะการถ่ายเทมวลสารและพลังงานแบ่งได้เป็น
ระบบนิเวศอิสระ (Isolated ecosystem) เป็นระบบนิเวศตามทฤษฎีเท่านั้น ไม่
มีการถ่ายเทพลังงานและมวลสารภายในระบบกับสิ่งแวดล้อมภายนอก
ระบบนิเวศแบบปิด (Closed ecosystem) มีการถ่ายเทพลังงานจาก
สิ่งแวดล้อม แต่ไม่มีการถ่ายเทสารระหว่างระบบนิเวศกับสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศแบบเปิด (Open ecosystem) มีการถ่ายเทพลังงานและมวลสาร
ระหว่างระบบนิเวศกับสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นลักษณะของระบบนิเวศที่พบได้ทั่วไป
ประเภทของระบบนิเวศ
การศึกษานิเวศวิทยาอาจศึกษาโดยพิจารณาจากแหล่งที่อยู่เป็น
นิเวศวิทยาน้าจืด (Fresh water ecology หรือ Limnology)
นิเวศวิทยาน้าเค็ม (Marine ecology)
นิเวศวิทยาบนบก (Terrestrial ecology)
นิเวศวิทยาน้ากร่อย (Estuary ecology)
ประเภทของระบบนิเวศ
แบ่งตามลักษณะทางอนุกรมวิธาน อาจแบ่งตามแขนงใหญ่ ๆ เป็นนิเวศวิทยาพืช
และนิเวศวิทยาสัตว์
นิเวศวิทยาของพืช (plant ecology)
นิเวศวิทยาของสัตว์ (animalecology)
นิเวศวิทยาของแมลง (insect ecology)
นิเวศวิทยาของจุลินทรีย์ (microbial ecology)
นิเวศวิทยาของสัตว์มีกระดูกสันหลัง (vertebrate ecology)
โครงสร้างของระบบนิเวศ
โครงสร้างที่เป็นองค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต
(Abiotic Factor หรือ Abiotic Component)
โครงสร้างที่เป็นองค์ประกอบที่มีชีวิต
(BioticFactor หรือ Biotic Component)
องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต
ประกอบด้วย สารประกอบอินทรีย์ และอนินทรีย์ (abiotic substant) และ
สภาพแวดล้อมทางกายภาพ (Abiotic environment) ไม่ว่าจะเป็น
 สภาพภูมิอากาศ (Climate) : อุณหภูมิ, น้า, ความชื้น, แสง, ลม
 ลักษณะทางธรณีวิทยา : ดิน, หิน, แร่ธาตุ
 การเปลี่ยนแปลงจากสิ่งรบกวน (Disturbance) :
* การรบกวนตามธรรมชาติ เช่น ภูเขาไฟระเบิด,ไฟ,
แผ่นดินไหว, พายุ
* การรบกวนที่มีสาเหตุจากมนุษย์
องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ มีผลต่อสิ่งมีชีวิตในหลาย ๆ ด้านเช่น
จานวนชนิดของสิ่งมีชีวิตในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง
การแพร่กระจายของสิ่งมีชีวิต
จานวนประชากรสิ่งมีชีวิต
รูปร่างลักษณะของสิ่งมีชีวิต
พฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต
องค์ประกอบที่มีชีวิต
ผู้ผลิต (Producer หรือ Autotroph)
ผู้บริโภค (Consumer หรือ Phagotroph)
ผู้ย่อยสลายอินทรียสาร (Decomposer หรือ Saphotroph)
ผู้ผลิต (Producer หรือ Autotroph)
เป็ น Autotrophic
Organism
ผู้ผลิต (Producer หรือ Autotroph)
สามารถสร้างอาหารได้เองโดยอาศัยคลอโรฟิลล์เป็นรงควัตถุที่ใช้จับพลังงาน
จากแสงอาทิตย์
นอกจากพืชแล้วสิ่งมีชีวิตอื่นที่สามารถทาหน้าที่เป็นผู้ผลิตได้ได้แก่ สาหร่าย
เซลล์เดียว
และแบคทีเรียพวก Cyanobacteria
www.themegallery.com Company Logo
ผู้บริโภค (Consumer หรือ Phagotroph)
เป็น Heterotrophic Organism ผู้บริโภคแบ่งออกเป็นหลายชนิดตามอาหาร
ที่มันกินเช่น
ผู้บริโภคพืช (Herbivore)
ผู้บริโภคสัตว์ (Carnivore)
ผู้บริโภคทั้งพืชและสัตว์ (Omnivore)
ผู้บริโภคซาก (Detritivore – บริโภคซากอินทรีย์ที่ทับถมในดิน หรือ
Scavenger – บริโภคซากตาย)
ผู้บริโภค (Consumer หรือ Phagotroph)
แบ่งตามลาดับการบริโภคเป็น
ผู้บริโภคปฐมภูมิ (Primary consumer) ซึ่งโดยทั่วไปจะเป็นผู้บริโภคพืช
ผู้บริโภคทุติยภูมิ (Secondary consumer) โดยทั่วไปเป็นสัตว์ที่กินเนื้อของ
สัตว์ที่กินพืชเป็นอาหาร โดยทั่วไปมีขนาดใหญ่และแข็งแรง
ผู้บริโภคลาดับตติยภูมิ (Tertiary consumer) จตุรภูมิ (Quatiary
consumer) และต่อ ๆ ไป
ผู้บริโภคลาดับสูงสุด (Top Carnivore) เป็นผู้บริโภคที่มักจะไม่ถูกกินโดยสัตว์
อื่นต่อไป
ผู้บริโภค (Consumer หรือ Phagotroph)
ผู้ย่อยสลายอินทรียสาร (Decomposer หรือ Saphotroph)
มีบทบาทสาคัญในวัฏจักรการหมุนเวียนสารอินทรีย์-สารอนินทรีย์ในระบบ
นิเวศ
ไม่สามารถสร้างอาหารเองได้
จะดูดซึมอาหารที่มันย่อยโดยการหลั่งเอนไซม์ออกไปย่อยซากอินทรีย์ที่อยู่ใน
ธรรมชาติ
สิ่งมีชีวิตกลุ่มนี้จัดเป็น Heterotroph
คาถาม
ปัจจัยทางกายภาพมีผลต่อพฤติกรรมและการกระจายตัวของสิ่งมีชีวิตอย่างไร
ประเด็นสาคัญในการศึกษาระบบนิเวศ 3 ประเด็นคืออะไร มีความสาคัญต่อ
การเรียนนิเวศวิทยาอย่างไร
LOGO
ปฏิบัติการที่ 1 การเปรียบเทียบรูปแบบและ
องค์ประกอบของระบบนิเวศ

More Related Content

Viewers also liked

ละบบนิเวด
ละบบนิเวดละบบนิเวด
ละบบนิเวด
benandboy
 
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
krudararad
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Supaluk Juntap
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
Jiraporn
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
Jiraporn
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
Pinutchaya Nakchumroon
 

Viewers also liked (10)

ละบบนิเวด
ละบบนิเวดละบบนิเวด
ละบบนิเวด
 
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
ระบบนิเวศน์เพื่อการจัดการและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศแบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Biohmes55
Biohmes55Biohmes55
Biohmes55
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
Business Ecosystem Design
Business Ecosystem DesignBusiness Ecosystem Design
Business Ecosystem Design
 

นิเวศวิทยา