SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
การเรียนรู้ของผู้เข้าอบรม
ผู้เข้าอบรม
วิทยากร
เพื่อนผู้เข้า
อบรม
ฝ่ายจัดการ
อบรม
สภาพแวดล้อมในการฝึกอบรม (สนับสนุน และข้อจากัด)
สถานที่อบรม ทรัพยกรฯ
ภัยคุกคาม (โควิดฯ)
นโยบาย ก.ม.
ความพร้อมทาง
ร่างกาย จิตใจ
๓
การเป็นวิทยากร ต้องมีความรู้ด้านการสื่อสาร การฝึกอบรมฯ*
๑.ผู้ส่งสาร
(source/sender)
๔.ผู้รับสาร
(receiver)
๒.เนื้อหา/สาร
(message)
๓.ช่องทาง/สื่อ
(channel)
๕.ข้อมูลย้อนกลับ (feed back)
๖.สภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการสื่อสาร/การเป็นวิทยากร
การเป็นวิทยากร ต้องมีความรู้ด้านการสื่อสาร การฝึกอบรมฯ*
๑.ผู้ส่งสาร
(source/sender)
๔.ผู้รับสาร
(receiver)
๒.เนื้อหา/สาร
(message)
๓.ช่องทาง/สื่อ
(channel)
๕.ข้อมูลย้อนกลับ (feed back)
๖.สภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการสื่อสาร/การเป็นวิทยากร (สถานที่ เวลา แสงสว่าง อุณหภูมิฯ)
วิทยากร
สอดคล้องกับ
วัตถุประสงค์ หลักสูตรฯ
ผู้เข้าอบรม
-สื่อ กิจกรรมต่างๆ ที่
จะนาสาร ไปถึงผู้รับ
เป็นใคร ภูมิหลังเป็น
อย่างไร จานวนเท่าไหร่
เกิดการเรียนรู้ การ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
วงจร กระบวนการ/ขั้นตอนการฝึกอบรมอย่างเป็นระบบ
๒. การจัดทา /
พัฒนาหลักสูตร
๓. การจัดฝึกอบรม*
๔. การติดตาม
และประเมินผล
การอบรม
๑. การวิเคราะห์หาความ
จาเป็นในการอบรม
ปัจจัยนาเข้า
ทรัพยากร
กระบวนการ
กิจกรรม
ผลงาน ผลลัพธ์
ข้อมูลย้อนกลับ
สิ่งแวดล้อมต่างๆที่ส่งผลต่อการอบรม +/-
วงจรการฝึกอบรม ๔ ขั้นตอน
แหล่ง
สาร
เนื้อหา
สาร ช่องทาง ผู้รับสาร
สิ่งแวดล้อมต่างๆที่ส่งผลต่อการอบรม +/-
ข้อมูลย้อนกลับ
พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปนั้น ควรจะต้องมีความคงทนถาวร เมื่อพฤติกรรมเดิม
เปลี่ยนไปเป็นพฤติกรรมที่มุ่งหวัง ก็แสดงว่าเกิดการเรียนรู้ขึ้นแล้ว
การเรียนรู้ คือ “การเปลี่ยนแปลง “พฤติกรรม” (ความคิด ความรู้ การกระทา)ของ
บุคคล อย่างค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจากการฝึกฝน หรือ การมีประสบการณ์”
วิทยากรเป็นผู้จัดการให้เกิดการเรียนรู้ แก่ผู้เข้าอบรม*
การเรียนรู้ เกิดขึ้นตลอดชีวิต ในสถานที่ต่างๆ การรู้แหล่งความรู้ และวิธีการหา/
เข้าถึงความรู้ มีความสาคัญ
ผู้เข้าอบรมแล้ว เกิดการเรียนรู้หรือไม่ ในด้านใด มากน้อยเพียงใด
ดอลลาร์ด และมิลเลอร์ (Dallard and Miller) เสนอว่าการเรียนรู้ มีองค์ประกอบสาคัญ ๔ ประการ คือ
๑. แรงขับ (Drive) เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล เป็นความพร้อมที่จะเรียนรู้ของบุคคลทั้ง
สมอง ระบบประสาทสัมผัส และกล้ามเนื้อ แรงขับและความพร้อมเหล่านี้ จะก่อให้เกิดปฏิกิริยาหรือ
พฤติกรรมที่จะชักนาไปสู่การเรียนรู้อย่างดีต่อไป
๒. สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นตัวการที่ทาให้บุคคลมีปฏิกิริยา
หรือพฤติกรรมตอบสนองออกมาในสภาพการเรียนการสอน สิ่งเร้าจะหมายถึงผู้สอน กิจกรรมการสอนและ
อุปกรณ์การสอนต่างๆ ที่ผู้สอนนามาใช้
๓. การตอบสนอง (Response) เป็นปฏิกิริยาหรือพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกมาเมื่อบุคคลได้รับการกระตุ้น
จากสิ่งเร้าทั้งส่วนที่สังเกตเห็นได้และส่วนที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ เช่น การเคลื่อนไหว ท่าทาง คาพูด การ
คิด การรับรู้ ความสนใจ และความรู้สึก เป็นต้น
๔. การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นการให้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคคลอันมีผลในการเพิ่มพลังให้เกิดการ
เชื่อมโยงระหว่าง สิ่งเร้ากับการตอบสนองเพิ่มขึ้น การเสริมแรงมีทั้งทางบวก(ให้รางวัล ชมเชยฯ) และทางลบ
(ลงโทษ ตาหนิฯ) ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้ของบุคคลเป็นอันมาก
องค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้
ปิรามิดแห่งการเรียนรู้*
อ่าน
ได้ยิน
ได้เห็น
ได้ยิน และ ได้เห็น
เช่น การสาธิต
มีส่วนร่วมในการพูด
อภิปราย บรรยาย
ได้ลงมือทา และไปแนะนา สอนผู้อื่น
๑๐%
๒๐%
๓๐%
๕๐%
๗๐%
๙๐%
การเรียนรู้ที่เหลืออยู่ หลังจาก ๒ สัปดาห์
การเรียนรู้ของเด็ก
น.ร.ชั้นประถม
แบบดั้งเดิม
การเรียนรู้ของนร.นศ.
การเรียนรู้ของ
ผู้ใหญ่
ผู้เข้าอบรม เป็นใคร เด็ก หรือ ผู้ใหญ่
การเรียนรู้ของเด็ก และการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ มีส่วนเหมือน และแตกต่างกัน*
เหมือนกัน แตกต่างกัน
ผู้ใหญ่มีเป้าหมายในการใช้ประโยชน์
เป็นหลัก ยืดหยุ่น มีส่วนร่วมมาก
ผู้ใหญ่เป็นอิสระ ไม่ถูกบังคับ
เรียนรู้จากข้อมูล ข่าวสาร ประสบการณ์
ที่ได้ ใช้กลไกสมอง เด็กมีประสบการณ์น้อยกว่าผู้ใหญ่
ความพร้อมร่างกาย จิตใจ
สภาพแวดล้อม ส่งผลต่อการเรียนรู้
ครู มีบทบาทสาคัญในการเรียนรู้ของเด็ก ส่วน
ผู้ใหญ่มีต้นทุนเดิม และเรียนรู้จากผู้อื่น วิทยากร
การเรียนรู้ของเด็ก และการเรียนรู้ของผู้ใหญ่
ประเด็น การเรียนรู้ของเด็กนร. การเรียนรู้ของผู้ใหญ่
๑. การใช้ประโยชน์
๒. ผู้เรียน
๓. ความรู้ประสบการณ์
ของผู้เรียนรู้
๔. เนื้อหาการเรียน/อบรม
๕. บทบาทของวิทยากร
๖. จุดเน้นของการเรียนรู้
-ใช้ในการสอนนร.,นศ. ซึ่งเป็นผู้เยาว์
-พึ่งพาครู
- ผู้เรียนไม่มี หรือมีประสบการณ์น้อยที่
จะแลกเปลี่ยน จึงใช้วิธีบรรยายเป็น
หลัก
-ผู้เรียน เรียนตามเนื้อหาของหลักสูตรที่
กาหนดไว้
-วิทยากร/ครูมีบทบาทเป็นผู้สอน
-เน้นไปตามหลักสูตรการเรียนการสอน
-ใช้ในการอบรมผู้ใหญ่
-เป็นอิสระ
-ผู้เรียนมีประสบการณ์มาก การอบรม
ต้องใช้วิธีการมีส่วนร่วม นาอภิปราย และ
เน้นแก้ปัญหา
-เนื้อหาปรับตามความต้องการของผู้เรียน
- ผู้เรียนมีแรงจูงใจของตนเอง วิทยากร
เป็นผู้แนะนา เป็นผู้จัดการเรียนรู้
- เน้นเป้าหมายในการใช้ประโยชน์เป็น
หลัก ยืดหยุ่น
หลักการเรียนรู้
ของผู้ใหญ่
ต้องได้รับ “การจูงใจให้
เห็นประโยชน์” ความ
จาเป็นที่ต้องเรียน
ต้องรู้ว่า “ทาไมต้อง
เรียนรู้เรื่องนั้น”
ต้องการเรียนรู้
“ตามทิศทาง/ความ
ต้องการของตัวเอง”
เรียนรู้ “จาก
ประสบการณ์ให้ทาได้
และมุ่งเน้นที่งาน และ
ประโยชน์ต่อชีวิต” ผู้อบรมพร้อมที่จะเรียนรู้
เมื่อ “มีความจาเป็น/
ต้องการจะเรียน”
ผู้อบรม “มีความรู้
ประสบการณ์ มาก
กว่านร.นศ ผู้เยาว์”
หลักการ
เรียนรู้ของ
ผู้ใหญ่
จูงใจให้เห็น
ประโยชน์” ที่
ต้องเรียน
รู้ว่า “ทาไมต้อง
เรียนรู้เรื่องนั้น”
เรียนรู้
“ตามความ
ต้องการ”
เรียนรู้ “จาก
ประสบการณ์ให้ทา
ได้ และเน้นที่งาน/
ประโยชน์ต่อชีวิต” พร้อมเรียนรู้
เมื่อ “มีความ
จาเป็น/ต้องการ
“มีความรู้
ประสบการณ์
มากกว่าผู้เยาว์”
มีทางเลือก
ต่างๆ ให้
เนื้อหา บนพื้นฐานของ
ประสบการณ์ทางานจริง
กิจกรรมออกแบบ
สะท้อนการ
ทางานจริง
อย่าเร่งรีบยัดเยียดข้อมูล
เนื้อหามากไป
เน้นกิจกรรมให้
”ทา” มากกว่า
เพียงแต่ “รู้”
ต้องสาธิต ทาให้เห็น
ว่าเกิดประโยชน์ต่อ
การทางานอย่างไร
การนาหลักการเรียนรู้ของผู้ใหญ่
ไปใช้ในการฝึกอบรม
วิทยากรแบบดั้งเดิม และวิทยากรกระบวนการ* (ด้านสิทธิมนุษยชน)
วิทยากรแบบดั้งเดิม วิทยากรกระบวนการ
ใช้การสื่อสารสองทาง
เน้นการมีส่วนร่วมของผู้อบรม
ใช้การสื่อสารทางเดียว
เน้นการบรรยายเป็นหลัก
มีรูปแบบ กิจกรรมที่หลากหลาย
มีรูปแบบ กิจกรรมน้อย
ใช้เวลาในการแลกเปลี่ยนความรู้
ประสบการณ์ระหว่างกันมาก
ใช้เวลาแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์
น้อย โดยวิทยากรเป็นตัวหลัก/ศูนย์กลาง
การจัดสถานที่ เปิดโอกาสให้แลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นประสบการณ์กันสะดวก
การจัดสถานที่ห้องอบรมเป็นแบบชั้นเรียน
ความแตกต่างของวิทยากรกระบวนการฯ กับวิทยากรแบบดั้งเดิม (ฉบับย่อ ๗ -๘ ข้อ)
ประเด็น วิทยากรแบบดั้งเดิม วิทยากรกระบวนการ
๑.จุดเน้น
๒. บทบาทวิทยากร
๓.รูปแบบการสื่อสาร
๔. เทคนิควิธีการ
๕. การมีส่วนร่วมของผู้อบรม
๖. การจัดสถานที่ และการใช้
อุปกรณ์
๗.ใช้เวลา
๘.การอบรมด้านสิทธิ
มนุษยชน
- อยู่ที่ตัววิทยากร
- เป็นตัวหลักในการเรียนรู้
- ส่วนใหญ่มักเป็นการสื่อสารทางเดียว
- มีวิธีการ รูปแบบ ไม่มากนัก
- น้อย ถึงปานกลาง
-มักจัดห้องแบบห้องเรียน ห้องประชุม
ปกติ ใช้โสตทัศนูปกรณ์
- ไม่มากนักในแต่ละหัวข้อ
- อยู่ที่ตัวผู้เข้าอบรม
-เป็นผจก./อานวยความสะดวก
- ใช้การสื่อสารสองทาง
- มีวิธีการ รูปแบบที่หลากหลาย
- สูง
-จัดสถานที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โสตฯที่
หลากหลาย สไลด์ คลิป ดนตรี เกมส์
-ใช้เวลามากสาหรับผู้อบรมในการ
แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
- เน้นการให้ความสาคัญของคุณค่าของ
ผู้เข้าอบรม และการมีส่วนร่วม
มีรูปแบบ กิจกรรมที่หลากหลาย
ความแตกต่างของ “วิทยากรความหมายเดิม”กับ “วิทยากรกระบวนการ” (ฉบับเต็ม ๑๓ ข้อ)
วิทยากรตามความหมายเดิม วิทยากรกระบวนการ
๑. เป็น ครู (teacher)ผู้สอน
๒. เป็นผุ้นาความรู้ มาให้ เน้นการถ่ายทอด
และการฟัง
๓. มีเป้าหมายให้ผู้ฟังเชื่อในสิ่งที่นาเสนอ
๔. วิทยากรเป็นศูนย์กลาง
๕. เป็นผู้ตัดสินการเปลี่ยนแปลงความรู้ของ
ผู้เข้าร่วมกิจกรรม
๖. ความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ เป็นความ
รับผิดชอบของวิทยากร
๑.เป็น ครูฝึก (coach) ช่วยแนะนา
๒.เป็นผู้จัดกระบวนการให้เกิดความรู้ เน้นการ
แลกเปลี่ยนความรู้
๓. มีเป้าหมายให้ผุดเกิดความรู้ใหม่
๔. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นศูนย์กลาง
๕. เป็นกระจกสะท้อนให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ
เปลี่ยนแปลงตนเอง
๖.ความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ เป็นความรับ
ผิดของผู้ร่วมกิจกรรมฯ กับวิทยากร
วิทยากรตามความหมายเดิม วิทยากรกระบวนการ
๗. การสื่อสารทางเดียว
๘. มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ
๙. ต้องตอบคาถามได้ทุกอย่าง
๑๐. สนใจได้รับความรู้ พิ่งพาวิทยากร
๑๑.มุ่งยกระดับความรู้
๑๒. มักเป็นระบบปิด และไม่ยืดหยุ่น
๑๓.สนใจเนื้อหา มากกว่ากระบวนการ
๗.การสื่อสารสองทาง
๘. มีความรู้ที่เป็นแบบสหวิทยาการ องค์รวม
๙. ไม่จาเป็นต้องเป็นผู้รู้ทุกอย่าง ความรู้อยู่ที่
การเรียนรู้ร่วมกัน
๑๐. สนใจให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน
นาไปสู่พลังทวีคูณ และพึ่งพาตนเอง
๑๑. มุ่งยกระดับความคิด(Meta Level)
๑๒. เป็นระบบเปิดและยืดหยุ่น
๑๓. สนใจกระบวนการ ปฏิสัมพันธ์ การเกิด
ความรู้และวิธีการทางานของผู้อบรมใหม่ๆ
มากกว่าการมารับเนื้อหาเพียงอย่างเดียว
หน้า ๒
อ.พรชัย แก้วประเสริฐ: วิทยากรกระบวนการ https://www.gotoknow.org/posts/183826
วิทยากร และคุณสมบัติของวิทยากรที่ดี*
• วิทยากรกระบวนการ ก็คือ
• ผู้ทรงความรู้ความสามารถ ที่ใช้กระบวนการกลุ่มนาเอาความรู้
ประสบการณ์ของผู้อบรม และวิทยากร มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
• วิทยากรคือใคร
• ผู้มีความรู้ความสามารถในเรื่องที่จะไปเป็นวิทยากร และทาให้ผู้เข้าอบรม
ได้เรียนรู้ในประเด็นหัวข้อนั้นๆ (ไม่ใช่วิทยากล วิทยากลวง)
• บทบาทจากครูผู้สอน ปรับเปลี่ยนเป็น วิทยากร ผู้จัดการการเรียนรู้
คุณสมบัติของวิทยากรกระบวนการที่ดี*
มีทักษะในการสื่อสารสองทาง (ช่างสังเกต เป็นผู้ฟังที่ดี การใช้ภาษาท่าทาง สื่อสารเนื้อหาสาระ
และแก้ปัญหาได้ดีฯ)
มีบุคลิกภาพดี ทั้งภายนอกและภายใน (ทัศนคติเชิงบวก ร่างกาย การแต่งกาย การสื่อสาร กริยาฯ
มีความเชื่อมั่นในเรื่องการพัฒนาบุคคล เชื่อมั่นในศักยภาพของบุคคล และเชื่อมั่นตนเองในการ
เป็นวิทยากร
มีการเตรียมการ (รู้วัตถุประสงค์หลักสูตร และหัวข้อ รู้ผู้เอบรม เนื้อหาฯ) เตรียมตัว เตรียมแผนฯ)
มีความจริงใจ ตั้งใจ และให้เกียรติผู้เข้าอบรม ฝ่ายผู้จัดอบรม วิทยากรอื่น เช่น ตรงต่อเวลา
มีความรู้ ทักษะการใช้กระบวนการ เพื่อก่อให้เกิดการเรียนรู้ ( กระบวนการกลุ่ม การฟัง สรุปฯ)
วิทยากรที่ดี ควรมีคุณสมบัติอะไร
• มีทัศนคติเชิงบวก
- ที่จะให้/แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์กับผู้อื่น
- เชื่อว่าคนเราเปลี่ยนแปลง พัฒนาได้
- ให้ความสาคัญในเรื่องการเรียนรู้ จากแหล่งต่างๆ,อย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านความสาเร็จและไม่
สาเร็จฯ)
- สนใจในเรื่องการพัฒนาตนเองและผู้อื่น
• ลงมือในการพัฒนาตนเอง (ทั้งวิชาการและทักษะ) ให้เป็นวิทยากร ทั้งในด้าน
- ความรู้เนื้อหา (เช่น เรื่องสิทธิมนุษยชน เรื่องการแก้ไขปัญหายาเสพติด เรื่อง......)
- วิธีการเทคนิคในการเป็นวิทยากร (การสื่อสารทั้งภาษาและอื่นๆ,เทคนิคการฝึกอบรมแบบต่างๆ,
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม,การจัดการกับพฤติกรรมผู้อบรมชนิดต่างๆ...ฯลฯ)
- บุคคลิกภาพ (ภายในและภายนอก)
เทคนิควิธีการฝึกอบรมสาหรับวิทยากรกระบวนการ
• การบรรยาย ( Lecture )
• การอภิปราย (Discussion)
• การสอนแนะนา (Coaching)
• การสาธิต (Demonstration)
• การระดมสมอง (Brainstorming)
• กิจกรรมกลุ่มสัมพัน๋ ละลายพธ์ เกมส์ สเปคตรัม
• การประชุมกลุ่มย่อย (Buzz session)
• การใช้บทบาทสมมติ(Roleplaying)
• กรณีศึกษา (Case Study)
• การต่อชิ้นส่วน (jigsawing)
• การแสดงละครใบ้ (Street threathor)
• เกมการบริหาร ( Management Games)
• การประชุมแบบฟอรัม (Forum)
พวกระมัดระวังป้องกันตัวเอง
พวกเกะกะรุกราน (ต่อเพื่อน วิทยากร)
พวกทาเป็นไม่สนใจ แต่แอบฟัง
พวกชอบเด่น ชอบทาเรื่องยาว”
“พวกสงวนท่าที” มีมาด” อมภูมิ
พวกชอบแซวเพื่อน และวิทยากร
พวกเบื่อการประชุม /หลับยัน/ ใช้มือถือตลอด
พวกนิ่งเสียตาลึงทอง” นางอาย
ชอบผูกขาดการพูด หรือ “พวกบ้าน้าลาย”
พวกเอาไหนเอานั่น ว่าไงว่าตามกัน
พฤติกรรมของผู้เข้ารับการอบรม การดาเนินการของวิทยากรต่อพฤติกรรมของผู้เข้าอบรม
ให้โอกาส จูงใจให้เป็นผู้เสนอความเห็น เป็นผู้นากิจกรรมมากขึ้น
ให้ความสนใจ ดึงให้เข้ามาอยู่ในกระบวนการกลุ่มมากขึ้น
ช่วยนาเกราะ เปลือกนอกออกโดยดึงเข้ามาร่วมที่ละนิด พยายามรู้สาเหตุ
อย่าให้ความสนใจมากจนเกินไป ใช้กระบวนการกลุ่มเข้าช่วย และหารือเฉพาะตัว
ถ้าแซวพอดี แซวเชิงบวก ช่วยสร้างบรรยากาศ ถ้าเกินไปอาจเพิกเฉย ใช้กลุ่มช่วย
ให้สิ่งเร้าที่ดี ง่ายฯ เพื่อสร้างความมั่นใจ ให้รู้สาเหตุ (เช่น บุคคลิคภาพ หรือไม่พร้อมจะมาฯ)
ลด/หันเหความสนใจ ใช้กระบวนการกลุ่มช่วย
อาจมีภูมิ หรือมีน้อย... วิทยากรช่วยดึง “ภูมิ”ออกมา ให้แรงเสริมเชิงบวก
หาสาเหตุ แก้สาเหตุ (เช่น อดนอน เนื้อหาวิธีการ น่าเบื่อ) แทรกแซง ใช้กติกากลุ่ม
ขอให้คนอื่นมีโอกาสพูด บอกเวลาที่ให้พูด ย้ากติกากลุ่ม แทรกแซง
การดูแลพฤติกรรมผู้เข้าอบรมที่หลากหลาย โดยวิทยากรกระบวนการ
พฤติการที่สนับสนุนการเรียนรู้ พฤติกรรมที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้
พวกทาเป็นไม่สนใจ อมภูมิ
พวกเกะกะรุกราน (ต่อเพื่อน และวิทยากร)
พวกเบื่อการประชุม /หลับ ใช้มือถือตลอด
ชอบผูกขาดการพูด ถามบ่อย ถามยาวเกินไป
พวกชอบเด่น ชอบทาเรื่องยาว”
พวกเอาไหนเอานั่น ว่าไงว่าตามกัน
สนใจฟัง อภิปรายตรงประเด็นไม่นอกเรื่อง
ช่วยเป็นหน้าม้า ถามนา อภิปรายเสริม
หลักการสาคัญในการเป็นวิทยากรกระบวนการ
ยึดผู้เข้าอบรม หรือ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้เข้าอบรม เป็นหลัก
นาหลักการเรียนรู้ของผู้ใหญ่มาใช้ในการอบรม
มีการเตรียมความพร้อมของผู้เข้าอบรม
มีการจัดการสภาพแวดล้อมให้สนับสนุนการเรียนรู้
เป็นแนวทางที่เหมาะสมสาหรับ
การเรียนรู้เรื่องสิทธิมนุษยชน
แหล่งความรู้มาจากหลายแห่ง
ไม่ได้มาจากวิทยากรเพียงแห่งเดียว
วิทยากรเป็นผู้จัดการการเรียนรู้
ไม่ใช่ครูผู้สอนผู้เข้าอบรม
วิธีการ และสื่อที่ใช้ หลากหลาย เหมาะสม
เพื่อให้เกิดการเรียนรู้
“คุณสมบัติ”ของวิทยากรกระบวนการ
มีมากกว่า “ความรู้” ในหัวข้อวิชานั้น
แผนการอบรมของวิทยากรกระบวนการ หรือแผนการเรียนรู้สาหรับผู้เข้าอบรม
วิทยากรกระบวนการฯ ต้องมีการเตรียมการ
จัดทาแผนเป็นกรอบแนวทางการดาเนินงาน
จัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับผู้เข้าอบรม
คล้ายคลึงกับแผนการสอน(Lesson plan)ของครูอาจารย์
หรือแนวทางการนาเสนอ(Presentation plan/
guideline) ซึ่งมีลาดับขั้นตอน/ก่อนหลัง เทคนิค/วิธีการ สื่อ
เวลาที่ใช้ฯ
ความแตกต่างกับแผนการสอนของครู/อาจารย์ในอดีต อยู่ที่เน้น
หลักการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ การมีส่วนร่วมของผู้เข้าอบรม ที่มี
ความรู้ ประสบการณ์ นามาแลกเปลี่ยนกัน
แผนการสร้างการเรียนรู้ จะช่วยวิทยากรในการเตรียม
ตัว เตรียมประเด็นเนื้อหา วิธีการ/กิจกรรม สื่อ
ช่วงเวลาที่ใช้ รวมทั้งการประเมินการเรียนรู้ฯ
ให้สอดคล้องกับ หลักสูตรการอบรม และผู้เข้าอบรม
แม้จะทาแผนฯไว้แล้ว วิทยากรฯยังต้องประเมินความเสี่ยง
และเตรียมแผนสารอง เป็นทางเลือกสารองไว้ ในกรณีมี
เหตุขัดข้อง เช่น ไฟฟ้าดับ โสตทัศนูปกรณ์ขัดข้อง กลุ่มผู้
อบรมเปลี่ยนแปลง เวลากระชั้นชิดจากหัวข้อก่อนหน้านั้นฯ
วิทยากร และการดาเนินการต่อพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของผู้เข้าอบรมในเชิงสร้างสรรค์
(วิทยากรคิอใคร) คุณสมบัติที่ดีของ
วิทยากร
สิ่งที่วิทยากรควรทา และไม่ควร
ทา
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของผู้เข้าอบรม การดาเนินการต่อพฤติกรรมผู้
อบรมในเชิงสร้างสรรค์
วิทยากร คือ
คุณสมบัติที่ดีของวิทยากร :
- มีทัศนคติที่ดี
- พัฒนาตนเองอยู่เสมอ
- แก้ปัญหาได้ดี
- มีทักษะในการสื่อสาร
1. พวกระมัดระวังป้องกันตัวเอง”
2. “พวกเกะกะรุกราน”
3. “พวกทาเป็นไม่สนใจ แต่แอบฟัง
4. “พวกชอบเด่น ชอบทาเรื่องยาว”
5. “พวกเบื่อการประชุม” หรือ
“หลับยัน”
6. “พวกหัวหมอ ชอบผูกขาดการ
พูด หรือ “พวกบ้าน้าลาย”
7. “พวกเอาไหนเอานั่น”
8. “พวกนิ่งเสียตาลึงทอง” นางอาย
9. “พวกชอบตีตลบหลัง” หรือ “แซว
สาราญ”
11. “พวกสงวนท่าที” แสดงท่าภูมิ
ฐาน”
พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของผู้เข้าประชุม
1. พวกระมัดระวังป้องกันตัวเอง”
2. “พวกเกะกะรุกราน”
3. “พวกทาเป็นไม่สนใจ แต่แอบฟัง ทาตัวเหมือนผู้สังเกตการณ์”
4. “พวกชอบเด่น ชอบทาให้เรื่องยาว”
5. “พวกเบื่อหน่ายการประชุม” หรือ “หลับยัน”
6. “พวกเจ้าตารับหัวหมอ ซึ่งจะผูกขาดการพูดอยู่ตลอดเวลา หรือ “พวกบ้าน้าลาย”
7. “พวกเอาไหนเอานั่น”
8. “พวกนิ่งเสียตาลึงทอง”
9. “พวกชอบตีตลบหลัง” หรือ “แซวสาราญ”
10. “พวกไมรู้เรื่องอะไรเลย” หรือ “พวกนางอาย”
11. “พวกสงวนท่าที” หรือ “พวกแสดงท่าภูมิฐาน”
ตัวอย่าง แผนจัดกระบวนการเรียนรู้ของวิทยากรฯ
ขั้นตอน ประเด็นเนื้อหา วิธีการ/สื่อ เวลา วิทยากร ประเมิน
๐.เตรียมการ
-ตรวจสอบความพร้อม
ของวิทยากรฯ การจัด
สถานที่ สื่อ อุปกรณ์ฯ
๒.ขั้นเตรียมความพร้อมผู้
เข้าอบรม..
๒.๑ ดึงความสนใจ
๒.๒ โยงเข้าสู่หัวข้อ
๒.๓ แนะนาหัวข้อ และ
หัวข้อย่อย และแนวทาง
การอบรม
๒.๔ จูงใจ/ประโยชน์ที่ได้
- พิธีกรแนะนาหัวข้อการอบรม และ
(คณะ)วิทยากร
- แนะนาวิทยากร (เพิ่มเติม ถ้าจาเป็น)
และทาความรู้จักกับผู้เข้าอบรม
- กิจกรรมเตรียมความพร้อม
- นาข้อมูลข่าวสาร เรื่องที่เป็นประเด็น
น่าสนใจมากระตุ้นความสนใจ
- โยงเข้าสู่หัวข้อที่จะอบรม
- แนะนาหัวข้อ ประเด็นการอบรม และ
เทคนิควิธีการ เรียนรู้ร่วมกันโดยใช้
ความรู้ประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนกัน
- จูงใจให้เห็นประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับผู้
-ใช้สไลด์หรือภาพข่าว
คลิป
-หัวข้อ.ที่มา วัตถุประสงค์
ของการอบรม
ตัวอย่าง แผนจัดกระบวนการเรียนรู้ของวิทยากรฯ
ขั้นตอน ประเด็นเนื้อหา วิธีการ/สื่อ เวลา วิทยากร ประเมิน
๐.เตรียมการ
-ตรวจสอบความพร้อม
ของวิทยากรฯ การจัด
สถานที่ สื่อ อุปกรณ์ฯ
๒.ขั้นเตรียมความพร้อมผู้
เข้าอบรม..
๒.๑ ดึงความสนใจ
๒.๒ โยงเข้าสู่หัวข้อ
๒.๓ แนะนาหัวข้อ และ
หัวข้อย่อย และแนวทาง
การอบรม
๒.๔ จูงใจ/ประโยชน์ที่ได้
- พิธีกรแนะนาหัวข้อการอบรม และ
(คณะ)วิทยากร
- แนะนาวิทยากร (เพิ่มเติม ถ้าจาเป็น)
และทาความรู้จักกับผู้เข้าอบรม
- กิจกรรมเตรียมความพร้อม
- นาข้อมูลข่าวสาร เรื่องที่เป็นประเด็น
น่าสนใจมากระตุ้นความสนใจ
- โยงเข้าสู่หัวข้อที่จะอบรม
- แนะนาหัวข้อ ประเด็นการอบรม และ
เทคนิควิธีการ เรียนรู้ร่วมกันโดยใช้
ความรู้ประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนกัน
- จูงใจให้เห็นประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับผู้
-ใช้สไลด์หรือภาพข่าว
คลิป
-หัวข้อ.ที่มา วัตถุประสงค์
ของการอบรม
ขั้นตอน ประเด็นเนื้อหา วิธีการ/สื่อ เวลา วิทยากร ประเมิน
๓. เข้าสู่
เนื้อหา
การอบรม
ในหัวข้อ
ต่างๆ
๑๐-๑๐.๑๕
- นาเรื่องโดยถามถึงปัญหาด้านสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพที่
เราพบเห็นในชีวิตประจาวัน มีอะไรบ้าง ทาไมถึงเกิด มี
ผลกระทบเชิงลบอย่างไรต่อประชาชนในพื้นที่ และอื่นๆ
มากระทบละเมิดสิทธิฯเรา
๑.ทบทวนความเข้าใจเรื่องสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ และ
สิทธิมนุษยชน
- ความหมาย ขอบเขต ความสัมพันธ์ของสี่คานี้ เป็นคู่
เช่น สิทธิกับหน้าที่ เสรีภาพกับสิทธิ สิทธิ เสรีภาพกับ
สิทธิมนุษยชน
- อะไรเกิดก่อน
- การเป็นพลวัตเปลี่ยนแปลงได้
- ปัจจัยที่ส่งผลกระทบ (การเมือง การปกครอง
ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจฯ)
- เน้นสิทธิมนุษยชนสากล กับ สิทธิมนุษยชนไทย
เบื้องต้น (ก่อนไปทากิจกรรม พัฒนาการของหลัก
สากล กับไทย)
-นาอภิปราย ประกอบสไลด์ที่
มีภาพปัญหาในพื้นที่
-มีคลิป และสไลด์ สิทธิ หน้าที่
เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน
-แบ่งกลุ่ม ทากิจกรรม มีบัตร
คา รูปภาพประกอบ
หน้า ๒
ขั้นตอน ประเด็นเนื้อหา วิธีการ/สื่อ เวลา วิทยากร ประเมิน
๔. สรุป
๔.๑ ดึงความสนใจ
๔.๒ ถามตอบ
๔.๓ สรุป
๔.๔ จบ
๒. พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
และสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย และ
ความเหมือน ความต่าง ความสัมพันธ์
เชื่อมโยง และผลกระทบมาสู่ปัจจุบัน
๓. ขอบเขต ประเภท ของสิทธิมนุษยชน
๔. หลักการที่สาคัญของสิทธิมนุษยชน
๖-๗ ประการ สักดิศรี,เสมอภาค,สากลฯ
๕. ปัญหาสิทธิมนุษยชนที่สาคัญ
-ดึงความสนใจให้กลับมาอีกครั้ง
-ถามตอบในช่วงสุดท้ายอีกครั้ง
-สรุป
- จบ ขอบคุณผู้เข้าอบรม หน่วยงานฯ
-บัตรคา แบ่งกลุ่มค้นหาความหมาย
นาเสนอในกลุ่ม ต่อบัตรคาเป็น
Time line
-สรุปด้วยคลิป และสไลด์ภาพ
-กิจกรรมกลุ่มบัตรคา ต่อภาพ
-กิจกรรมเรือมนุษย์หรือ วัคซีน
อภิปราย และสรุป
-กิจกรรมใช้บัตรคา แบ่งกลุ่ม
เรียนรู้
-กิจกรรม spectrum
-พูดจูงใจ มีภาพสไลด์ประกอบ
ใช้ถาม มีสไลด์ บัตรคาใหญ่ๆ
ใช้สไลด์ประกอบ การสรุป
หน้า ๓
เทคนิควิธีการฝึกอบรมสาหรับวิทยากรกระบวนการ
• การบรรยาย ( Lecture )
• การอภิปราย (Discussion)
• การสอนแนะนา (Coaching)
• การสาธิต (Demonstration)
• การระดมสมอง (Brainstorming)
• กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เกมส์ สเปคตรัม
• การประชุมกลุ่มย่อย (Buzz session)
• การใช้บทบาทสมมติ(Roleplaying)
• กรณีศึกษา (Case Study)
• การต่อชิ้นส่วน (jigsawing)
• การแสดงละครใบ้ (Pantomime /Street theatre)
• เกมการบริหาร ( Management Games)
• การประชุมแบบฟอรัม (Forum)
เทคนิคการอบรมที่ใช้ในการอบรมครั้งนี้
• การบรรยาย ประกอบสื่อ
• การนาอภิปราย
• กรณีตัวอย่าง กรณีศึกษา
• การใช้สื่อ คลิปฯ
• กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์
สรุป คาถาม แลกเปลี่ยนความคิดเห็น

More Related Content

What's hot

การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภการจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
pairop
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
Attapon Phonkamchon
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
Suppakuk Clash
 
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครูการปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
khon Kaen University
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
Wichai Likitponrak
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ครูเจริญศรี
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
sukanya5729
 

What's hot (20)

การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภการจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
 
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
 
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครูการปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Editโครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
โครงการค่ายวิชาการสะเต็มศึกษาพัฒนาทักษะการแก้ปัญหาด้วยระบบสมองกล Edit
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
พันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่มพันธุกรรมเพิ่ม
พันธุกรรมเพิ่ม
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
 
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทยอิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
อิทธิพลของภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
บท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโนบท3 พันธุเทคโน
บท3 พันธุเทคโน
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยหน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
 
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัลการเป็นพลเมืองดิจิทัล
การเป็นพลเมืองดิจิทัล
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 

Similar to เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง

มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guide
chickyshare
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
krupornpana55
 
นาว
นาวนาว
นาว
wisnun
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
Iaon Srichiangsa
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
wisnun
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Thitaporn Chobsanchon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Pang' Infinity
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
290840829041912
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
Pignoi Chimpong
 

Similar to เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง (20)

มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guide
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
นาว
นาวนาว
นาว
 
How to Create an Educational Media
How to Create an Educational MediaHow to Create an Educational Media
How to Create an Educational Media
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
Teaching listening
Teaching listeningTeaching listening
Teaching listening
 
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 3
 
Focus5
Focus5Focus5
Focus5
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
การใช้สื่อการเรียนรู้2003
การใช้สื่อการเรียนรู้2003การใช้สื่อการเรียนรู้2003
การใช้สื่อการเรียนรู้2003
 
จุดเน้นที่ 3 การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...
จุดเน้นที่  3             การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...จุดเน้นที่  3             การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...
จุดเน้นที่ 3 การจัดการศึกษาเพื่อเตรียมคนเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและ...
 
หน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถมหน่วยการเรียนรู้ประถม
หน่วยการเรียนรู้ประถม
 

More from ssuserd18196

More from ssuserd18196 (15)

สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา  สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
 
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2565)
 แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4  (พ.ศ. 2562-2565) แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4  (พ.ศ. 2562-2565)
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2565)
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
 
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพLandmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
 
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากลพัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
 
หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน
 
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
 การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็ก
 
เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
 

เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง

  • 4. การเป็นวิทยากร ต้องมีความรู้ด้านการสื่อสาร การฝึกอบรมฯ* ๑.ผู้ส่งสาร (source/sender) ๔.ผู้รับสาร (receiver) ๒.เนื้อหา/สาร (message) ๓.ช่องทาง/สื่อ (channel) ๕.ข้อมูลย้อนกลับ (feed back) ๖.สภาพแวดล้อมที่ส่งผลต่อการสื่อสาร/การเป็นวิทยากร (สถานที่ เวลา แสงสว่าง อุณหภูมิฯ) วิทยากร สอดคล้องกับ วัตถุประสงค์ หลักสูตรฯ ผู้เข้าอบรม -สื่อ กิจกรรมต่างๆ ที่ จะนาสาร ไปถึงผู้รับ เป็นใคร ภูมิหลังเป็น อย่างไร จานวนเท่าไหร่ เกิดการเรียนรู้ การ เปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
  • 5. วงจร กระบวนการ/ขั้นตอนการฝึกอบรมอย่างเป็นระบบ ๒. การจัดทา / พัฒนาหลักสูตร ๓. การจัดฝึกอบรม* ๔. การติดตาม และประเมินผล การอบรม ๑. การวิเคราะห์หาความ จาเป็นในการอบรม ปัจจัยนาเข้า ทรัพยากร กระบวนการ กิจกรรม ผลงาน ผลลัพธ์ ข้อมูลย้อนกลับ สิ่งแวดล้อมต่างๆที่ส่งผลต่อการอบรม +/- วงจรการฝึกอบรม ๔ ขั้นตอน แหล่ง สาร เนื้อหา สาร ช่องทาง ผู้รับสาร สิ่งแวดล้อมต่างๆที่ส่งผลต่อการอบรม +/- ข้อมูลย้อนกลับ
  • 6. พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปนั้น ควรจะต้องมีความคงทนถาวร เมื่อพฤติกรรมเดิม เปลี่ยนไปเป็นพฤติกรรมที่มุ่งหวัง ก็แสดงว่าเกิดการเรียนรู้ขึ้นแล้ว การเรียนรู้ คือ “การเปลี่ยนแปลง “พฤติกรรม” (ความคิด ความรู้ การกระทา)ของ บุคคล อย่างค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมาจากการฝึกฝน หรือ การมีประสบการณ์” วิทยากรเป็นผู้จัดการให้เกิดการเรียนรู้ แก่ผู้เข้าอบรม* การเรียนรู้ เกิดขึ้นตลอดชีวิต ในสถานที่ต่างๆ การรู้แหล่งความรู้ และวิธีการหา/ เข้าถึงความรู้ มีความสาคัญ ผู้เข้าอบรมแล้ว เกิดการเรียนรู้หรือไม่ ในด้านใด มากน้อยเพียงใด
  • 7. ดอลลาร์ด และมิลเลอร์ (Dallard and Miller) เสนอว่าการเรียนรู้ มีองค์ประกอบสาคัญ ๔ ประการ คือ ๑. แรงขับ (Drive) เป็นความต้องการที่เกิดขึ้นภายในตัวบุคคล เป็นความพร้อมที่จะเรียนรู้ของบุคคลทั้ง สมอง ระบบประสาทสัมผัส และกล้ามเนื้อ แรงขับและความพร้อมเหล่านี้ จะก่อให้เกิดปฏิกิริยาหรือ พฤติกรรมที่จะชักนาไปสู่การเรียนรู้อย่างดีต่อไป ๒. สิ่งเร้า (Stimulus) เป็นสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งเป็นตัวการที่ทาให้บุคคลมีปฏิกิริยา หรือพฤติกรรมตอบสนองออกมาในสภาพการเรียนการสอน สิ่งเร้าจะหมายถึงผู้สอน กิจกรรมการสอนและ อุปกรณ์การสอนต่างๆ ที่ผู้สอนนามาใช้ ๓. การตอบสนอง (Response) เป็นปฏิกิริยาหรือพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกมาเมื่อบุคคลได้รับการกระตุ้น จากสิ่งเร้าทั้งส่วนที่สังเกตเห็นได้และส่วนที่ไม่สามารถสังเกตเห็นได้ เช่น การเคลื่อนไหว ท่าทาง คาพูด การ คิด การรับรู้ ความสนใจ และความรู้สึก เป็นต้น ๔. การเสริมแรง (Reinforcement) เป็นการให้สิ่งที่มีอิทธิพลต่อบุคคลอันมีผลในการเพิ่มพลังให้เกิดการ เชื่อมโยงระหว่าง สิ่งเร้ากับการตอบสนองเพิ่มขึ้น การเสริมแรงมีทั้งทางบวก(ให้รางวัล ชมเชยฯ) และทางลบ (ลงโทษ ตาหนิฯ) ซึ่งมีผลต่อการเรียนรู้ของบุคคลเป็นอันมาก องค์ประกอบสาคัญของการเรียนรู้
  • 8. ปิรามิดแห่งการเรียนรู้* อ่าน ได้ยิน ได้เห็น ได้ยิน และ ได้เห็น เช่น การสาธิต มีส่วนร่วมในการพูด อภิปราย บรรยาย ได้ลงมือทา และไปแนะนา สอนผู้อื่น ๑๐% ๒๐% ๓๐% ๕๐% ๗๐% ๙๐% การเรียนรู้ที่เหลืออยู่ หลังจาก ๒ สัปดาห์ การเรียนรู้ของเด็ก น.ร.ชั้นประถม แบบดั้งเดิม การเรียนรู้ของนร.นศ. การเรียนรู้ของ ผู้ใหญ่
  • 9. ผู้เข้าอบรม เป็นใคร เด็ก หรือ ผู้ใหญ่ การเรียนรู้ของเด็ก และการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ มีส่วนเหมือน และแตกต่างกัน* เหมือนกัน แตกต่างกัน ผู้ใหญ่มีเป้าหมายในการใช้ประโยชน์ เป็นหลัก ยืดหยุ่น มีส่วนร่วมมาก ผู้ใหญ่เป็นอิสระ ไม่ถูกบังคับ เรียนรู้จากข้อมูล ข่าวสาร ประสบการณ์ ที่ได้ ใช้กลไกสมอง เด็กมีประสบการณ์น้อยกว่าผู้ใหญ่ ความพร้อมร่างกาย จิตใจ สภาพแวดล้อม ส่งผลต่อการเรียนรู้ ครู มีบทบาทสาคัญในการเรียนรู้ของเด็ก ส่วน ผู้ใหญ่มีต้นทุนเดิม และเรียนรู้จากผู้อื่น วิทยากร
  • 10. การเรียนรู้ของเด็ก และการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ ประเด็น การเรียนรู้ของเด็กนร. การเรียนรู้ของผู้ใหญ่ ๑. การใช้ประโยชน์ ๒. ผู้เรียน ๓. ความรู้ประสบการณ์ ของผู้เรียนรู้ ๔. เนื้อหาการเรียน/อบรม ๕. บทบาทของวิทยากร ๖. จุดเน้นของการเรียนรู้ -ใช้ในการสอนนร.,นศ. ซึ่งเป็นผู้เยาว์ -พึ่งพาครู - ผู้เรียนไม่มี หรือมีประสบการณ์น้อยที่ จะแลกเปลี่ยน จึงใช้วิธีบรรยายเป็น หลัก -ผู้เรียน เรียนตามเนื้อหาของหลักสูตรที่ กาหนดไว้ -วิทยากร/ครูมีบทบาทเป็นผู้สอน -เน้นไปตามหลักสูตรการเรียนการสอน -ใช้ในการอบรมผู้ใหญ่ -เป็นอิสระ -ผู้เรียนมีประสบการณ์มาก การอบรม ต้องใช้วิธีการมีส่วนร่วม นาอภิปราย และ เน้นแก้ปัญหา -เนื้อหาปรับตามความต้องการของผู้เรียน - ผู้เรียนมีแรงจูงใจของตนเอง วิทยากร เป็นผู้แนะนา เป็นผู้จัดการเรียนรู้ - เน้นเป้าหมายในการใช้ประโยชน์เป็น หลัก ยืดหยุ่น
  • 11. หลักการเรียนรู้ ของผู้ใหญ่ ต้องได้รับ “การจูงใจให้ เห็นประโยชน์” ความ จาเป็นที่ต้องเรียน ต้องรู้ว่า “ทาไมต้อง เรียนรู้เรื่องนั้น” ต้องการเรียนรู้ “ตามทิศทาง/ความ ต้องการของตัวเอง” เรียนรู้ “จาก ประสบการณ์ให้ทาได้ และมุ่งเน้นที่งาน และ ประโยชน์ต่อชีวิต” ผู้อบรมพร้อมที่จะเรียนรู้ เมื่อ “มีความจาเป็น/ ต้องการจะเรียน” ผู้อบรม “มีความรู้ ประสบการณ์ มาก กว่านร.นศ ผู้เยาว์”
  • 12. หลักการ เรียนรู้ของ ผู้ใหญ่ จูงใจให้เห็น ประโยชน์” ที่ ต้องเรียน รู้ว่า “ทาไมต้อง เรียนรู้เรื่องนั้น” เรียนรู้ “ตามความ ต้องการ” เรียนรู้ “จาก ประสบการณ์ให้ทา ได้ และเน้นที่งาน/ ประโยชน์ต่อชีวิต” พร้อมเรียนรู้ เมื่อ “มีความ จาเป็น/ต้องการ “มีความรู้ ประสบการณ์ มากกว่าผู้เยาว์” มีทางเลือก ต่างๆ ให้ เนื้อหา บนพื้นฐานของ ประสบการณ์ทางานจริง กิจกรรมออกแบบ สะท้อนการ ทางานจริง อย่าเร่งรีบยัดเยียดข้อมูล เนื้อหามากไป เน้นกิจกรรมให้ ”ทา” มากกว่า เพียงแต่ “รู้” ต้องสาธิต ทาให้เห็น ว่าเกิดประโยชน์ต่อ การทางานอย่างไร การนาหลักการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ ไปใช้ในการฝึกอบรม
  • 13. วิทยากรแบบดั้งเดิม และวิทยากรกระบวนการ* (ด้านสิทธิมนุษยชน) วิทยากรแบบดั้งเดิม วิทยากรกระบวนการ ใช้การสื่อสารสองทาง เน้นการมีส่วนร่วมของผู้อบรม ใช้การสื่อสารทางเดียว เน้นการบรรยายเป็นหลัก มีรูปแบบ กิจกรรมที่หลากหลาย มีรูปแบบ กิจกรรมน้อย ใช้เวลาในการแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์ระหว่างกันมาก ใช้เวลาแลกเปลี่ยนความรู้ประสบการณ์ น้อย โดยวิทยากรเป็นตัวหลัก/ศูนย์กลาง การจัดสถานที่ เปิดโอกาสให้แลกเปลี่ยน ความคิดเห็นประสบการณ์กันสะดวก การจัดสถานที่ห้องอบรมเป็นแบบชั้นเรียน
  • 14. ความแตกต่างของวิทยากรกระบวนการฯ กับวิทยากรแบบดั้งเดิม (ฉบับย่อ ๗ -๘ ข้อ) ประเด็น วิทยากรแบบดั้งเดิม วิทยากรกระบวนการ ๑.จุดเน้น ๒. บทบาทวิทยากร ๓.รูปแบบการสื่อสาร ๔. เทคนิควิธีการ ๕. การมีส่วนร่วมของผู้อบรม ๖. การจัดสถานที่ และการใช้ อุปกรณ์ ๗.ใช้เวลา ๘.การอบรมด้านสิทธิ มนุษยชน - อยู่ที่ตัววิทยากร - เป็นตัวหลักในการเรียนรู้ - ส่วนใหญ่มักเป็นการสื่อสารทางเดียว - มีวิธีการ รูปแบบ ไม่มากนัก - น้อย ถึงปานกลาง -มักจัดห้องแบบห้องเรียน ห้องประชุม ปกติ ใช้โสตทัศนูปกรณ์ - ไม่มากนักในแต่ละหัวข้อ - อยู่ที่ตัวผู้เข้าอบรม -เป็นผจก./อานวยความสะดวก - ใช้การสื่อสารสองทาง - มีวิธีการ รูปแบบที่หลากหลาย - สูง -จัดสถานที่เอื้อต่อการเรียนรู้ โสตฯที่ หลากหลาย สไลด์ คลิป ดนตรี เกมส์ -ใช้เวลามากสาหรับผู้อบรมในการ แลกเปลี่ยนความคิดเห็น - เน้นการให้ความสาคัญของคุณค่าของ ผู้เข้าอบรม และการมีส่วนร่วม มีรูปแบบ กิจกรรมที่หลากหลาย
  • 15. ความแตกต่างของ “วิทยากรความหมายเดิม”กับ “วิทยากรกระบวนการ” (ฉบับเต็ม ๑๓ ข้อ) วิทยากรตามความหมายเดิม วิทยากรกระบวนการ ๑. เป็น ครู (teacher)ผู้สอน ๒. เป็นผุ้นาความรู้ มาให้ เน้นการถ่ายทอด และการฟัง ๓. มีเป้าหมายให้ผู้ฟังเชื่อในสิ่งที่นาเสนอ ๔. วิทยากรเป็นศูนย์กลาง ๕. เป็นผู้ตัดสินการเปลี่ยนแปลงความรู้ของ ผู้เข้าร่วมกิจกรรม ๖. ความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ เป็นความ รับผิดชอบของวิทยากร ๑.เป็น ครูฝึก (coach) ช่วยแนะนา ๒.เป็นผู้จัดกระบวนการให้เกิดความรู้ เน้นการ แลกเปลี่ยนความรู้ ๓. มีเป้าหมายให้ผุดเกิดความรู้ใหม่ ๔. ผู้เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ เป็นศูนย์กลาง ๕. เป็นกระจกสะท้อนให้ผู้เข้าร่วมกิจกรรมฯ เปลี่ยนแปลงตนเอง ๖.ความสาเร็จตามวัตถุประสงค์ เป็นความรับ ผิดของผู้ร่วมกิจกรรมฯ กับวิทยากร
  • 16. วิทยากรตามความหมายเดิม วิทยากรกระบวนการ ๗. การสื่อสารทางเดียว ๘. มีความเชี่ยวชาญเฉพาะ ๙. ต้องตอบคาถามได้ทุกอย่าง ๑๐. สนใจได้รับความรู้ พิ่งพาวิทยากร ๑๑.มุ่งยกระดับความรู้ ๑๒. มักเป็นระบบปิด และไม่ยืดหยุ่น ๑๓.สนใจเนื้อหา มากกว่ากระบวนการ ๗.การสื่อสารสองทาง ๘. มีความรู้ที่เป็นแบบสหวิทยาการ องค์รวม ๙. ไม่จาเป็นต้องเป็นผู้รู้ทุกอย่าง ความรู้อยู่ที่ การเรียนรู้ร่วมกัน ๑๐. สนใจให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน นาไปสู่พลังทวีคูณ และพึ่งพาตนเอง ๑๑. มุ่งยกระดับความคิด(Meta Level) ๑๒. เป็นระบบเปิดและยืดหยุ่น ๑๓. สนใจกระบวนการ ปฏิสัมพันธ์ การเกิด ความรู้และวิธีการทางานของผู้อบรมใหม่ๆ มากกว่าการมารับเนื้อหาเพียงอย่างเดียว หน้า ๒ อ.พรชัย แก้วประเสริฐ: วิทยากรกระบวนการ https://www.gotoknow.org/posts/183826
  • 17. วิทยากร และคุณสมบัติของวิทยากรที่ดี* • วิทยากรกระบวนการ ก็คือ • ผู้ทรงความรู้ความสามารถ ที่ใช้กระบวนการกลุ่มนาเอาความรู้ ประสบการณ์ของผู้อบรม และวิทยากร มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน • วิทยากรคือใคร • ผู้มีความรู้ความสามารถในเรื่องที่จะไปเป็นวิทยากร และทาให้ผู้เข้าอบรม ได้เรียนรู้ในประเด็นหัวข้อนั้นๆ (ไม่ใช่วิทยากล วิทยากลวง) • บทบาทจากครูผู้สอน ปรับเปลี่ยนเป็น วิทยากร ผู้จัดการการเรียนรู้
  • 18. คุณสมบัติของวิทยากรกระบวนการที่ดี* มีทักษะในการสื่อสารสองทาง (ช่างสังเกต เป็นผู้ฟังที่ดี การใช้ภาษาท่าทาง สื่อสารเนื้อหาสาระ และแก้ปัญหาได้ดีฯ) มีบุคลิกภาพดี ทั้งภายนอกและภายใน (ทัศนคติเชิงบวก ร่างกาย การแต่งกาย การสื่อสาร กริยาฯ มีความเชื่อมั่นในเรื่องการพัฒนาบุคคล เชื่อมั่นในศักยภาพของบุคคล และเชื่อมั่นตนเองในการ เป็นวิทยากร มีการเตรียมการ (รู้วัตถุประสงค์หลักสูตร และหัวข้อ รู้ผู้เอบรม เนื้อหาฯ) เตรียมตัว เตรียมแผนฯ) มีความจริงใจ ตั้งใจ และให้เกียรติผู้เข้าอบรม ฝ่ายผู้จัดอบรม วิทยากรอื่น เช่น ตรงต่อเวลา มีความรู้ ทักษะการใช้กระบวนการ เพื่อก่อให้เกิดการเรียนรู้ ( กระบวนการกลุ่ม การฟัง สรุปฯ)
  • 19. วิทยากรที่ดี ควรมีคุณสมบัติอะไร • มีทัศนคติเชิงบวก - ที่จะให้/แลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์กับผู้อื่น - เชื่อว่าคนเราเปลี่ยนแปลง พัฒนาได้ - ให้ความสาคัญในเรื่องการเรียนรู้ จากแหล่งต่างๆ,อย่างต่อเนื่อง ทั้งในด้านความสาเร็จและไม่ สาเร็จฯ) - สนใจในเรื่องการพัฒนาตนเองและผู้อื่น • ลงมือในการพัฒนาตนเอง (ทั้งวิชาการและทักษะ) ให้เป็นวิทยากร ทั้งในด้าน - ความรู้เนื้อหา (เช่น เรื่องสิทธิมนุษยชน เรื่องการแก้ไขปัญหายาเสพติด เรื่อง......) - วิธีการเทคนิคในการเป็นวิทยากร (การสื่อสารทั้งภาษาและอื่นๆ,เทคนิคการฝึกอบรมแบบต่างๆ, การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม,การจัดการกับพฤติกรรมผู้อบรมชนิดต่างๆ...ฯลฯ) - บุคคลิกภาพ (ภายในและภายนอก)
  • 20. เทคนิควิธีการฝึกอบรมสาหรับวิทยากรกระบวนการ • การบรรยาย ( Lecture ) • การอภิปราย (Discussion) • การสอนแนะนา (Coaching) • การสาธิต (Demonstration) • การระดมสมอง (Brainstorming) • กิจกรรมกลุ่มสัมพัน๋ ละลายพธ์ เกมส์ สเปคตรัม • การประชุมกลุ่มย่อย (Buzz session) • การใช้บทบาทสมมติ(Roleplaying) • กรณีศึกษา (Case Study) • การต่อชิ้นส่วน (jigsawing) • การแสดงละครใบ้ (Street threathor) • เกมการบริหาร ( Management Games) • การประชุมแบบฟอรัม (Forum)
  • 21. พวกระมัดระวังป้องกันตัวเอง พวกเกะกะรุกราน (ต่อเพื่อน วิทยากร) พวกทาเป็นไม่สนใจ แต่แอบฟัง พวกชอบเด่น ชอบทาเรื่องยาว” “พวกสงวนท่าที” มีมาด” อมภูมิ พวกชอบแซวเพื่อน และวิทยากร พวกเบื่อการประชุม /หลับยัน/ ใช้มือถือตลอด พวกนิ่งเสียตาลึงทอง” นางอาย ชอบผูกขาดการพูด หรือ “พวกบ้าน้าลาย” พวกเอาไหนเอานั่น ว่าไงว่าตามกัน พฤติกรรมของผู้เข้ารับการอบรม การดาเนินการของวิทยากรต่อพฤติกรรมของผู้เข้าอบรม ให้โอกาส จูงใจให้เป็นผู้เสนอความเห็น เป็นผู้นากิจกรรมมากขึ้น ให้ความสนใจ ดึงให้เข้ามาอยู่ในกระบวนการกลุ่มมากขึ้น ช่วยนาเกราะ เปลือกนอกออกโดยดึงเข้ามาร่วมที่ละนิด พยายามรู้สาเหตุ อย่าให้ความสนใจมากจนเกินไป ใช้กระบวนการกลุ่มเข้าช่วย และหารือเฉพาะตัว ถ้าแซวพอดี แซวเชิงบวก ช่วยสร้างบรรยากาศ ถ้าเกินไปอาจเพิกเฉย ใช้กลุ่มช่วย ให้สิ่งเร้าที่ดี ง่ายฯ เพื่อสร้างความมั่นใจ ให้รู้สาเหตุ (เช่น บุคคลิคภาพ หรือไม่พร้อมจะมาฯ) ลด/หันเหความสนใจ ใช้กระบวนการกลุ่มช่วย อาจมีภูมิ หรือมีน้อย... วิทยากรช่วยดึง “ภูมิ”ออกมา ให้แรงเสริมเชิงบวก หาสาเหตุ แก้สาเหตุ (เช่น อดนอน เนื้อหาวิธีการ น่าเบื่อ) แทรกแซง ใช้กติกากลุ่ม ขอให้คนอื่นมีโอกาสพูด บอกเวลาที่ให้พูด ย้ากติกากลุ่ม แทรกแซง
  • 22. การดูแลพฤติกรรมผู้เข้าอบรมที่หลากหลาย โดยวิทยากรกระบวนการ พฤติการที่สนับสนุนการเรียนรู้ พฤติกรรมที่เป็นอุปสรรคต่อการเรียนรู้ พวกทาเป็นไม่สนใจ อมภูมิ พวกเกะกะรุกราน (ต่อเพื่อน และวิทยากร) พวกเบื่อการประชุม /หลับ ใช้มือถือตลอด ชอบผูกขาดการพูด ถามบ่อย ถามยาวเกินไป พวกชอบเด่น ชอบทาเรื่องยาว” พวกเอาไหนเอานั่น ว่าไงว่าตามกัน สนใจฟัง อภิปรายตรงประเด็นไม่นอกเรื่อง ช่วยเป็นหน้าม้า ถามนา อภิปรายเสริม
  • 23. หลักการสาคัญในการเป็นวิทยากรกระบวนการ ยึดผู้เข้าอบรม หรือ ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมของผู้เข้าอบรม เป็นหลัก นาหลักการเรียนรู้ของผู้ใหญ่มาใช้ในการอบรม มีการเตรียมความพร้อมของผู้เข้าอบรม มีการจัดการสภาพแวดล้อมให้สนับสนุนการเรียนรู้ เป็นแนวทางที่เหมาะสมสาหรับ การเรียนรู้เรื่องสิทธิมนุษยชน แหล่งความรู้มาจากหลายแห่ง ไม่ได้มาจากวิทยากรเพียงแห่งเดียว วิทยากรเป็นผู้จัดการการเรียนรู้ ไม่ใช่ครูผู้สอนผู้เข้าอบรม วิธีการ และสื่อที่ใช้ หลากหลาย เหมาะสม เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ “คุณสมบัติ”ของวิทยากรกระบวนการ มีมากกว่า “ความรู้” ในหัวข้อวิชานั้น
  • 24. แผนการอบรมของวิทยากรกระบวนการ หรือแผนการเรียนรู้สาหรับผู้เข้าอบรม วิทยากรกระบวนการฯ ต้องมีการเตรียมการ จัดทาแผนเป็นกรอบแนวทางการดาเนินงาน จัดกิจกรรมการเรียนรู้สาหรับผู้เข้าอบรม คล้ายคลึงกับแผนการสอน(Lesson plan)ของครูอาจารย์ หรือแนวทางการนาเสนอ(Presentation plan/ guideline) ซึ่งมีลาดับขั้นตอน/ก่อนหลัง เทคนิค/วิธีการ สื่อ เวลาที่ใช้ฯ ความแตกต่างกับแผนการสอนของครู/อาจารย์ในอดีต อยู่ที่เน้น หลักการเรียนรู้ของผู้ใหญ่ การมีส่วนร่วมของผู้เข้าอบรม ที่มี ความรู้ ประสบการณ์ นามาแลกเปลี่ยนกัน แผนการสร้างการเรียนรู้ จะช่วยวิทยากรในการเตรียม ตัว เตรียมประเด็นเนื้อหา วิธีการ/กิจกรรม สื่อ ช่วงเวลาที่ใช้ รวมทั้งการประเมินการเรียนรู้ฯ ให้สอดคล้องกับ หลักสูตรการอบรม และผู้เข้าอบรม แม้จะทาแผนฯไว้แล้ว วิทยากรฯยังต้องประเมินความเสี่ยง และเตรียมแผนสารอง เป็นทางเลือกสารองไว้ ในกรณีมี เหตุขัดข้อง เช่น ไฟฟ้าดับ โสตทัศนูปกรณ์ขัดข้อง กลุ่มผู้ อบรมเปลี่ยนแปลง เวลากระชั้นชิดจากหัวข้อก่อนหน้านั้นฯ
  • 25. วิทยากร และการดาเนินการต่อพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของผู้เข้าอบรมในเชิงสร้างสรรค์ (วิทยากรคิอใคร) คุณสมบัติที่ดีของ วิทยากร สิ่งที่วิทยากรควรทา และไม่ควร ทา พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของผู้เข้าอบรม การดาเนินการต่อพฤติกรรมผู้ อบรมในเชิงสร้างสรรค์ วิทยากร คือ คุณสมบัติที่ดีของวิทยากร : - มีทัศนคติที่ดี - พัฒนาตนเองอยู่เสมอ - แก้ปัญหาได้ดี - มีทักษะในการสื่อสาร 1. พวกระมัดระวังป้องกันตัวเอง” 2. “พวกเกะกะรุกราน” 3. “พวกทาเป็นไม่สนใจ แต่แอบฟัง 4. “พวกชอบเด่น ชอบทาเรื่องยาว” 5. “พวกเบื่อการประชุม” หรือ “หลับยัน” 6. “พวกหัวหมอ ชอบผูกขาดการ พูด หรือ “พวกบ้าน้าลาย” 7. “พวกเอาไหนเอานั่น” 8. “พวกนิ่งเสียตาลึงทอง” นางอาย 9. “พวกชอบตีตลบหลัง” หรือ “แซว สาราญ” 11. “พวกสงวนท่าที” แสดงท่าภูมิ ฐาน”
  • 26. พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของผู้เข้าประชุม 1. พวกระมัดระวังป้องกันตัวเอง” 2. “พวกเกะกะรุกราน” 3. “พวกทาเป็นไม่สนใจ แต่แอบฟัง ทาตัวเหมือนผู้สังเกตการณ์” 4. “พวกชอบเด่น ชอบทาให้เรื่องยาว” 5. “พวกเบื่อหน่ายการประชุม” หรือ “หลับยัน” 6. “พวกเจ้าตารับหัวหมอ ซึ่งจะผูกขาดการพูดอยู่ตลอดเวลา หรือ “พวกบ้าน้าลาย” 7. “พวกเอาไหนเอานั่น” 8. “พวกนิ่งเสียตาลึงทอง” 9. “พวกชอบตีตลบหลัง” หรือ “แซวสาราญ” 10. “พวกไมรู้เรื่องอะไรเลย” หรือ “พวกนางอาย” 11. “พวกสงวนท่าที” หรือ “พวกแสดงท่าภูมิฐาน”
  • 27. ตัวอย่าง แผนจัดกระบวนการเรียนรู้ของวิทยากรฯ ขั้นตอน ประเด็นเนื้อหา วิธีการ/สื่อ เวลา วิทยากร ประเมิน ๐.เตรียมการ -ตรวจสอบความพร้อม ของวิทยากรฯ การจัด สถานที่ สื่อ อุปกรณ์ฯ ๒.ขั้นเตรียมความพร้อมผู้ เข้าอบรม.. ๒.๑ ดึงความสนใจ ๒.๒ โยงเข้าสู่หัวข้อ ๒.๓ แนะนาหัวข้อ และ หัวข้อย่อย และแนวทาง การอบรม ๒.๔ จูงใจ/ประโยชน์ที่ได้ - พิธีกรแนะนาหัวข้อการอบรม และ (คณะ)วิทยากร - แนะนาวิทยากร (เพิ่มเติม ถ้าจาเป็น) และทาความรู้จักกับผู้เข้าอบรม - กิจกรรมเตรียมความพร้อม - นาข้อมูลข่าวสาร เรื่องที่เป็นประเด็น น่าสนใจมากระตุ้นความสนใจ - โยงเข้าสู่หัวข้อที่จะอบรม - แนะนาหัวข้อ ประเด็นการอบรม และ เทคนิควิธีการ เรียนรู้ร่วมกันโดยใช้ ความรู้ประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนกัน - จูงใจให้เห็นประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับผู้ -ใช้สไลด์หรือภาพข่าว คลิป -หัวข้อ.ที่มา วัตถุประสงค์ ของการอบรม
  • 28. ตัวอย่าง แผนจัดกระบวนการเรียนรู้ของวิทยากรฯ ขั้นตอน ประเด็นเนื้อหา วิธีการ/สื่อ เวลา วิทยากร ประเมิน ๐.เตรียมการ -ตรวจสอบความพร้อม ของวิทยากรฯ การจัด สถานที่ สื่อ อุปกรณ์ฯ ๒.ขั้นเตรียมความพร้อมผู้ เข้าอบรม.. ๒.๑ ดึงความสนใจ ๒.๒ โยงเข้าสู่หัวข้อ ๒.๓ แนะนาหัวข้อ และ หัวข้อย่อย และแนวทาง การอบรม ๒.๔ จูงใจ/ประโยชน์ที่ได้ - พิธีกรแนะนาหัวข้อการอบรม และ (คณะ)วิทยากร - แนะนาวิทยากร (เพิ่มเติม ถ้าจาเป็น) และทาความรู้จักกับผู้เข้าอบรม - กิจกรรมเตรียมความพร้อม - นาข้อมูลข่าวสาร เรื่องที่เป็นประเด็น น่าสนใจมากระตุ้นความสนใจ - โยงเข้าสู่หัวข้อที่จะอบรม - แนะนาหัวข้อ ประเด็นการอบรม และ เทคนิควิธีการ เรียนรู้ร่วมกันโดยใช้ ความรู้ประสบการณ์มาแลกเปลี่ยนกัน - จูงใจให้เห็นประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับผู้ -ใช้สไลด์หรือภาพข่าว คลิป -หัวข้อ.ที่มา วัตถุประสงค์ ของการอบรม
  • 29. ขั้นตอน ประเด็นเนื้อหา วิธีการ/สื่อ เวลา วิทยากร ประเมิน ๓. เข้าสู่ เนื้อหา การอบรม ในหัวข้อ ต่างๆ ๑๐-๑๐.๑๕ - นาเรื่องโดยถามถึงปัญหาด้านสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพที่ เราพบเห็นในชีวิตประจาวัน มีอะไรบ้าง ทาไมถึงเกิด มี ผลกระทบเชิงลบอย่างไรต่อประชาชนในพื้นที่ และอื่นๆ มากระทบละเมิดสิทธิฯเรา ๑.ทบทวนความเข้าใจเรื่องสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ และ สิทธิมนุษยชน - ความหมาย ขอบเขต ความสัมพันธ์ของสี่คานี้ เป็นคู่ เช่น สิทธิกับหน้าที่ เสรีภาพกับสิทธิ สิทธิ เสรีภาพกับ สิทธิมนุษยชน - อะไรเกิดก่อน - การเป็นพลวัตเปลี่ยนแปลงได้ - ปัจจัยที่ส่งผลกระทบ (การเมือง การปกครอง ประวัติศาสตร์ เศรษฐกิจฯ) - เน้นสิทธิมนุษยชนสากล กับ สิทธิมนุษยชนไทย เบื้องต้น (ก่อนไปทากิจกรรม พัฒนาการของหลัก สากล กับไทย) -นาอภิปราย ประกอบสไลด์ที่ มีภาพปัญหาในพื้นที่ -มีคลิป และสไลด์ สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน -แบ่งกลุ่ม ทากิจกรรม มีบัตร คา รูปภาพประกอบ หน้า ๒
  • 30. ขั้นตอน ประเด็นเนื้อหา วิธีการ/สื่อ เวลา วิทยากร ประเมิน ๔. สรุป ๔.๑ ดึงความสนใจ ๔.๒ ถามตอบ ๔.๓ สรุป ๔.๔ จบ ๒. พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล และสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย และ ความเหมือน ความต่าง ความสัมพันธ์ เชื่อมโยง และผลกระทบมาสู่ปัจจุบัน ๓. ขอบเขต ประเภท ของสิทธิมนุษยชน ๔. หลักการที่สาคัญของสิทธิมนุษยชน ๖-๗ ประการ สักดิศรี,เสมอภาค,สากลฯ ๕. ปัญหาสิทธิมนุษยชนที่สาคัญ -ดึงความสนใจให้กลับมาอีกครั้ง -ถามตอบในช่วงสุดท้ายอีกครั้ง -สรุป - จบ ขอบคุณผู้เข้าอบรม หน่วยงานฯ -บัตรคา แบ่งกลุ่มค้นหาความหมาย นาเสนอในกลุ่ม ต่อบัตรคาเป็น Time line -สรุปด้วยคลิป และสไลด์ภาพ -กิจกรรมกลุ่มบัตรคา ต่อภาพ -กิจกรรมเรือมนุษย์หรือ วัคซีน อภิปราย และสรุป -กิจกรรมใช้บัตรคา แบ่งกลุ่ม เรียนรู้ -กิจกรรม spectrum -พูดจูงใจ มีภาพสไลด์ประกอบ ใช้ถาม มีสไลด์ บัตรคาใหญ่ๆ ใช้สไลด์ประกอบ การสรุป หน้า ๓
  • 31. เทคนิควิธีการฝึกอบรมสาหรับวิทยากรกระบวนการ • การบรรยาย ( Lecture ) • การอภิปราย (Discussion) • การสอนแนะนา (Coaching) • การสาธิต (Demonstration) • การระดมสมอง (Brainstorming) • กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เกมส์ สเปคตรัม • การประชุมกลุ่มย่อย (Buzz session) • การใช้บทบาทสมมติ(Roleplaying) • กรณีศึกษา (Case Study) • การต่อชิ้นส่วน (jigsawing) • การแสดงละครใบ้ (Pantomime /Street theatre) • เกมการบริหาร ( Management Games) • การประชุมแบบฟอรัม (Forum)
  • 32. เทคนิคการอบรมที่ใช้ในการอบรมครั้งนี้ • การบรรยาย ประกอบสื่อ • การนาอภิปราย • กรณีตัวอย่าง กรณีศึกษา • การใช้สื่อ คลิปฯ • กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์