SlideShare a Scribd company logo
1 of 127
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
และหลักสิทธิมนุษยชนที่ใช้อยู่ในประเทศไทย
โดย
นายพิทยา จินาวัฒนน
ที่ปรึกษาประจาคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม อธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ รองเลขาธิการปปส.
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล และ สิทธิมนุษยชนไทย
สิทธิมนุษยชนสากล
สิทธิมนุษย์ชน
แบบไทย
อดีต ปัจจุบัน
อดีต ปัจจุบัน
แมค
นาคาตาร์
อังกฤษ
ปฏิวัติ
FR*
พระ
นารายณ์
เสรีภาพ
ศาสนา
ร.๔
อาแดง
เหมือน
ปฎิญญา
สากลฯ*
ร.๖ กบฎ
รศ.๑๓๐
ดุสิตธานี
ที่มา
กฏธรรมชาติ
ศ.คริสต์*
พ่อขุน
ราม
เสรีภาพ
ค้าขาย
ร.๕ เลิก
ทาส
ปฎิรูป
ราชการ
รถไฟ
ศึกษา
สธ.ฯ
ร.๗
เปลี่ยน
แปลง
การปก
ครอง*
อิสระภาพ
US*
UN*
เมเดลล่า
รูล (สิทธิ
ผู้ต้องขัง)
เอเลนอร์
รูสเวลท์
จอห์น
ล็อค*
อับราฮัม
ลินคอน
คานธี
ทุนเบริกสิทธิ
สิ่งแวดล้อม
เนลสัน
เมเดลล่า
ww2 อนุสัญญา*
ร.๘
WW2
ร.๙ สมาชิกUN ปฎิญญาฯ
อนุสัญญาฯ
ww
1
สันนิ
บาต
ชาติ
เชอรี่
แอน
๑๔ตค.
๑๖
๖ตค/
๑๙
ซ้อม
อุ้มหาย
ที่มา
ศ.พุทธ/
พราหมณ์
แผนสิทธิมนุษยชน
๑-๔
SDG
วาระ
แห่งชาติ
๖๑-๖๒
ข้อกาหนด
กรุงเทพ
จชต.
สงคราม
ยสต ปี๔๖
สิ่งแวดล้อม
ค้ามนุษย์
มาลาล่า
ยูซัฟไฟ
มีจุดร่วม (ที่มา ผู้นา
ความคิด) และ”จุดต่าง
ระหว่างหลักสากล กับ
หลักของไทย*
รธน.๔๐
อิทธิพลของศ.คริสต์ ต่อผู้ปกครอง มีปราชญ์ ชนชั้นกลาง ต่อสู้ลดช่องว่างของศาสนา การปกครอง
เกิดหลักนิติรัฐ/นิติธรรม มีการเปลี่ยนแปลงในอเมริกา ฝรั่งเศสขยายไป จนมีWW2 UN UDHRฯ
เทียนวรรณ
กุหลาบ สาย
ประดิษฐ
วัน
สันติ
ภาพ
โลก
แนวคิดสมมติเทพ มีช่องว่างระหว่างผู้ปกครองกับผู้ถูกปกครอง มีไพร่ทาส ขุนนางฯ การเปลี่ยนแปลงมาจากKing ปราชญ์
ชนชั้นกลางมีน้อย อิทธิพลตะวันตกเข้ามาไทย จนเกิดกลุ่มที่ต้องการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มีวิกฤตินาไปพัฒนา
สิทธิสภาพนอก
อาณาเขต
9/11
ปฎิวัติ
อุตสาหกรรม
สิทธิมนุษยชนยุคใหม่
ผลกระทบ
ต่อปัจจุบัน
บอส
กระทิง
แดง
ชุมนุมคณะ
ราษฎร์
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนตามหลักสากลและสิทธิมนุษยชนตามหลักของไทย
ที่มาตามหลักศาสนา
และกฎธรรมชาติ ปฏิวัติฝรั่งเศส
คศ.๑๗๘๙/พศ.๒๓๔๒.
แมคนาคาตา
อังกฤษ พศ.๑๗๕๘
การประกาศอิสรภาพ
ของUS.คศ.๑๗๗๖/
พศ.๒๓๒๙ ตั้งUN
พศ.๒๔๘๘
ปฏิญญาสากลฯ
พศ.๒๔๙๑
เนลสัน เมเดลลา
(๒๔๖๑-๒๕๕๖)
ดร.มาร์ติน ลูเธอร์ คิง
(พศ.๒๔๗๒-๒๕๑๑)
อับราฮัม ลินคอน
พศ.๒๓๕๒-๒๔๐๘ คานธี (พศ.
๒๔๑๒-๒๔๙๑)
จอห์น ล็อค
พศ.๒๑๗๕-๒๒๔๗
เป้าหมายการพัฒนาที่
ยั่งยืนของUN
(SDG)
พศ.๒๕๕๘-๒๕๗๓
กลุ่ม ๑ กลุ่ม ๒ กลุ่ม ๓ กลุ่ม ๔
WW2
พศ.๒๔๘๔-๒๔๘๘
เอเลนอร์ รูสเวลท์
พศ.๒๔๒๗ -๒๕๐๕
พ่อขุนรามคาแหงฯ
พ่อปกครองลูกฯ
(พศ.๑๗๘๒-๑๘๔๑)
ร.๕ เลิกทาส
พศ.๒๓๙๖-๒๔๕๓)
ร.๗ คณะราษฎร์
พ.ศ.๒๔๗๕
รัฐธรรมนูญ
ปี ๒๕๔๐
เกรต้า ทุนเบิร์ก
สวล.(๒๕๔๖- )
มาลาลา ยูซาฟไซ
Mary Wollstonecraft
พ.ศ.๒๓๐๒-๒๓๓๐
Cyrus the great
(๕๗๙-๕๓๐AD))
ข้อกาหนดกรุงเทพฯ
พ.ศ.๒๕๕๓
กม.คุ้มครองสิทธิฯออก
ตามรธน.ฯปี ๒๕๔๐
สื่อชาลี เอบโด
อนุสัญญา ๙ ฉบับ
GP.ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
ของUN
สากล
ไทย ร.๙ ไทยเป็นสมาชิกUN และ
ภาคีปฏิญญาฯ,อนุสัญญา
คาพิพากษาลงโทษ
ขรก.ชั้นผู้ใหญ่คดีค้า
มนุษย์และทรมาน
ร.๖ ดุสิตธานี, ผลฯที่
ไทยส่งทหารไปWW1
พระนารายณ์ฯ
อยุธยา
เสรีภาพศาสนา
การค้าฯ
คดีอาแดงเหมือน
สมัย ร.๔
กบฏรศ.๑๑๓
(รอ.เหล๊ง)
เหตุการณ์ บุคคล องค์กรที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน (แบ่งกลุ่มเรียนรู้ประเด็นสิทธิฯ)
หลักศาสนาและ
กฎธรรมชาติ
ปฏิวัติฝรั่งเศส
คศ.๑๗๘๙/พศ.
๒๓๔๒.
แมคนาคาตา
อังกฤษ พศ.
๑๗๕๘
การประกาศ
อิสรภาพของUS.
คศ.๑๗๗๖/พศ.
๒๓๒๙
ตั้งUN
พศ.๒๔๘๘
ปฏิญญาสากลฯ๒๔๙๑
และอนุสัญญาสิทธิ
มนุษยชน ๙ฉบับ*
เนลสัน เมเดลลา
(๒๔๖๑-๒๕๕๖)
มาร์ติน ลูเธอร์ คิง
(พศ.๒๔๗๒-๒๕๑๑)
อับราฮัม ลินคอน
พศ.๒๓๕๒-๒๔๐๘
คานธี (พศ.
๒๔๑๒-๒๔๙๑)
จอห์น ล็อค
พศ.๒๑๗๕-๒๒๔๗
เป้าหมายการ
พัฒนาที่ยั่งยืน
ของUN
(SDG)
พศ.๒๕๕๘-
๒๕๗๓
เชอรี่แอน ดันแคน
(เหตุเกิดพศ.๒๕๒๙)
เผาบ้านกระเหรี่ยง
แก่งกระจาน (๒๕๕๔)
จ่านิว อุทยานราชภักดิ์(ปี
๕๘), we walk (ปี๖๑) คนระยองกับมาบตาพุด(ปี
๕๐) และชาวบ้านเทพากับ
โรงไฟฟ้า(ปี๖๐)
คดีทนายสมชาย
(๒๕๔๗),บิลลี่(๒๕๕๗)
๑๔ ตค.๒๕๑๖
ชัยภูมิ ปะแส (ปี๖๐)
สงครามยาเสพ
ติด ปี ๒๕๔๖
กลุ่ม ๑ กลุ่ม ๒ กลุ่ม ๓ กลุ่ม ๔
WW2
พศ.๒๔๘๔-
๒๔๘๘
มิส เอเลนอร์ รูสเวลท์
พศ.๒๔๒๗ -๒๕๐๕
พ่อขุนรามคาแหง
(พศ.๑๗๘๒-๑๘๔๑)
รัชกาลที่ ๕
พศ.๒๓๙๖-๒๔๕๓)
คณะราษฎร์
พ.ศ.๒๔๗๕
รธน.ปี ๔๐ และกม.คุ้มครอง
สิทธิฯหลายฉบับ ออกมา
มาลาล่า ยูซุปไซ
(พศ.๒๕๔๐-- )
Mary Wollstonecraft
ผู้นาสิทธิสตรี พ.ศ.๒๓๐๒-๒๓๓๐
เกรต้า ทุนเบิร์ก
สวล.(๒๕๔๖- )
คดีอาแดงเหมือน
สมัย ร.๔
ร.๖ ผลฯที่ไทยส่ง
ทหารไปWW1
ร.๙ ไทยเป็นสมาชิกUNและ
ภาคีปฏิญญาฯ,อนุสัญญา
King Cyrus the great
(๕๗๙-๕๓๐AD))
การละเมิดสิทธิ
มนุษยชนก่อนWW2 การละเมิดสิทธิมนุษยชนหลัง
มีUN และอนุสัญญาสิทธิฯ
เหตุการณ์ที่ อ.
จาคุกนายพลฯ
คดีค้ามนุษย์ ปี
๖๐
ข้อกาหนดกรุงเทพฯ
พ.ศ.๒๕๕๓
คาพิพากษาลงโทษขรก
ชั้นผู้ใหญ่คดีค้ามนุษย
และทรมาน
สากล
ไทย ร.๖ ดุสิตธานี,กบฏ
รศ.๑๑๓,ผลฯที่ไทย
ส่งทหารไปWW1
พระนารายณ์
มหาราช
ชาลี แอบโด
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชน เกิดมาพร้อมกับ วิวัฒนาการของมนุษย์ และสังคม
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชน และผลกระทบที่มีต่อสิทธิมนุษยชนไทยในปัจจุบัน*
มนุษย์ต่างจากสัตว์โลกอื่นในเรื่อง “สมอง” ระบบคิด ความเชื่อ การปรับตัวกับ
สภาพแวดล้อม ซึ่งสัมพันธ์กับพัฒนาการของสังคม ตั้งแต่มนุษย์กาเนิดขึ้นมา
การเป็นสัตว์สังคม ต้องพึ่งพากัน มีการกาหนดหน้าที่ ระเบียบการอยู่ร่วมกันใน
กลุ่ม/ชุมชน เพื่อความอยู่รอด และการขยายตัวเป็นเมือง นครรัฐ รัฐ
มีการกาหนดชนชั้น เพื่อทาหน้าที่ในสังคม มีกลไก เช่น ก.ม.ฯ ผ่านความขัดแย้ง การ
ต่อสู้ วิกฤติต่างๆ มีความเหลื่อมล้า ทุกข์ยาก จนหวนมาสู่ความคิดเรื่องสิทธิมนุษยชน
พัฒนาการสิทธิมนุษยชนสากล (จากตะวันตก จากสิทธิเฉพาะกลุ่ม สู่ความเป็นสากล)*
ที่มา : สิทธิธรรมชาติ กฎ ก.ม.ธรรมชาติ และหลักศาสนา
มีหลักฐานแรก แท่งดินเหนียว สมัยกษัตริย์ไซรัส เรื่องเสรีภาพการนับถือศาสนาฯ
แมคนาคาต้า เสมือนรัฐธรรมนูญอังกฤษ ที่ลดอานาจกษัตริย์ในการเก็บภาษีและอื่นๆ มีหลักนิติธรรมเกิดขึ้น
ความคิดเห็นของนักปรัชญา เช่น จอห์น ล็อค ประชาชนเป็นผู้มีอานาจในการกาหนดและถอดถอนผู้ปกครองได้
หากไม่เป็นธรรมและไร้ประสิทธิภาพ การต่อสู้ของขุนนาง รัฐสภา นักก.ม.ชนชั้นกลางเพื่อลดอานาจผู้ปกครอง)
การประกาศอิสระภาพของอเมริกา ข้อความในรัฐธรรมนูญฯ มนุษย์เราถูกสร้างขึ้นมาอย่างเท่าเทียมกันฯ
คาประกาศในสิทธิพลเมืองฯของฝรั่งเศส หลังการปฏิวัติฯ “มนุษย์เกิดมาและดารงอยู่อย่างเสรีและเสมอภาคฯ
หลังWW2 ที่นาซีฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว ตั้งUN วัตถุประสงค์ข้อหนึ่งคือ การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน เกิด
ข้อตกลง(ปฎิญญาสากลฯ) และอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน ๙ ฉบับ และกลไกคุ้มครองสิทธิมนุษยชนขึ้นมา
มีผู้นาต่อสู้ ให้เลิกทาส เรียกร้องเอกราช เรียกร้องสิทธิคนผิวสี สตรี การคุ้มครองเด็ก แรงงาน ผู้ลี้ภัย ผู้พิการ
สิ่งแวดล้อมฯ เช่น ลินคอน,อีเลนอร์ รูสเวลท์ มาร์ติน ลูเธอร์ คิง, คานธี, เนลสัน เมเดลล่า. ยูเซปไฟ ทุนเบริกจ์ ฯ
The Cyrus cylinder ของพระเจ้าไซรัสมหาราช (424-401 BC)
ผู้ก่อตั้งจักรวรรดิเปอร์เซีย หรือ Achaemenid Empire*
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
ชิ้นแรกของโลกที่บันทึกเรื่อง
เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนเมื่อ
๕๓๙ ปีก่อนค.ศ. ในแท่งดิน
เหนียว โดยบันทึกว่า
“ประชาชนมีสิทธิที่จะ
ปฎิบัติตามความเชื่อของ
ตนโดยไม่ถูกบังคับให้
เปลี่ยนแปลงฯและลงโทษ”
พัฒนาการของสิทธิฯ
ราวๆ ค.ศ. 622 ได้เกิดมีรัฐธรรมนูญแห่งเมดินา (Constitution of Medina) ขึ้นมา ซึ่งได้เกิดการ
สถาปนาสิทธิหลายประการให้กับชาวยิวและมุสลิมในชุมชนต่างๆ ของเมดินา โดยสิทธิที่สาคัญที่สุดก็คือ
สิทธิในการเลือกนับถือศาสนา สาหรับผู้ที่ไม่ใช่มุสลิมและอื่นๆ (เมดินา อยู่ในซาอุดิอาราเบียในปัจจุบัน)
จากนั้นก็ล่วงมาอีกเกือบ 600 ปี จึงเกิดพัฒนาการที่ชัดเจนของสิทธิทางการเมือง คือ ในปี ค.ศ. 1215 ใน
อังกฤษได้เกิดกฎบัตรแม็กนาคาต้า (Magna Carta) ขึ้น ซึ่งกาหนดว่ากษัติรย์เองก็อยู่ใต้อานาจของก.ม.
เช่นกัน จากที่เดิมทีตัวสถาบันกษัตริย์ถือเป็นอานาจสูงสุดและคาสั่งของกษัตริย์ก็คือ ก.ม. แล้วก็มีอีกสารพัด
พัฒนาการที่สถาปนา ‘สิทธิ’ ขึ้นอย่างเป็นทางการ จากจุดนี้ มีการต่อรองทางการเมืองต่างๆ ขึ้นมากมาย
มาถึงจุดเปลี่ยนผ่านสาคัญ คือ จุดเริ่มต้นของ ‘สิทธิพลเมือง’ อย่างเป็นทางการ (ก่อนหน้านี้เป็น ‘สิทธิ’ ในทาง
การเมืองทั่วไปเฉยๆ) ซึ่งเริ่มต้นในอังกฤษและสก็อตแลนด์ ในปี ค.ศ. 1689 โดยในอังกฤษมี Bill of
Rights ในขณะที่สก็อตแลนด์มี Claim of Rights เกิดขึ้น โดยเนื้อหาใกล้เคียงกัน คือ สถาปนา
สิทธิในฐานะ ‘พล เมือง’ และ ‘การเมือง’ ให้กับประชาชนอังกฤษ/สก็อตแลนด์ เกิด Bill of Rights ใน
มหากฎบัตร Magna cartaของอังกฤษ ค.ศ.๑๒๑๕ (การปรากฎตัวของหลักนิติธรรม)*
กล่าวถึง สิทธิในการได้รับความคุ้มครองตามก.ม.ของเสรี
ชน ไม่ว่าบุคคลนั้นจะอยู่ในชนชั้นหรือวรรณะใดก็ตาม
กษัตริย์จะต้องมอบสิทธินี้ให้กับขุนนาง/ผู้ครอบครองที่ดิน
(Vassal) ซึ่งจะต้องมอบสิทธิให้กับพลเมือง/ไพร่ในสังกัด
โดยพลเมืองทุกคนจะไม่ถูกกดขี่ พ่อค้าและชาวนาไม่
จาเป็นต้องมอบสินค้าบางส่วน/ผลิตผลทางเกษตรให้กับขุน
นางหรือกษัตริย์ เพื่อเป็นค่าคุ้มครอง ดังเนื้อความในส่วน
หนึ่งของมหากฎบัตร ที่กล่าวว่า
"จะไม่มีบุคคลที่ถูกกักขัง หน่วงเหนี่ยว โดยปราศ
จากอิสรภาพ หรือถูกยึด ขู่กรรโชก ทรัพย์สินโดย
ปราศจากคาตัดสินของศาล" นอกจากนี้พระเจ้า
แผ่นดิน ไม่อาจเก็บภาษีได้ โดยไม่ผ่านการเห็น
ชอบจากสภาบริหารราชการแผ่นดิน”
เป็นที่มาของ “หลักนิติธรรม” และรัฐธรรมนูญ
แบบจารีตประเพณี
กฎหมายสิทธิพลเมืองของอังกฤษ (English Bill of Rights of 1689)
เป็น พ.ร.บ.ที่รัฐสภาแห่งอังกฤษประกาศใช้ในค.ศ.1689
(รับรองสิทธิพื้นฐานของประชาชนของราชอาณาจักร
สิทธิดังกล่าวก็ยังถือปฏิบัติอยู่จนทุกวันนี้)
ซึ่งถือกันว่าเป็นก.ม.หนึ่งที่เป็นรากฐานของก.ม.
รัฐธรรมนูญของประเทศอังกฤษ ที่นอกเหนือไปจาก
มหากฎบัตร, พ.ร.บ.การสืบสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701 และ
ก.ม.อื่น ๆ ที่ประกาศใช้มาโดยรัฐสภาแห่งอังกฤษ
นอกจากนั้นพ.ร.บ.สิทธิพลเมือง ค.ศ. 1689 ก็ยังเป็น
รากฐานของก.ม.อันสาคัญหลายฉบับของบรรดา
ประเทศในเครือจักรภพ อีกด้วย เช่น พ.ร.บ.ว่าด้วยการ
ประกาศสิทธิ ค.ศ. 1689 (Claim of Right Act
1689) ของประเทศนิวซีแลนด์ และประเทศแคนาดา
.จอห์น ล็อค *..พระเจ้าทรงสร้างมนุษย์ทุกคนให้มี
ธรรมชาติแบบเดียวกัน มนุษย์ทุกคนจึงมีอิสระและ
ความเสมอภาคกัน ดังนั้นมนุษย์ทุกคนจึงควรมีสิทธิ
แบบเดียวกันและเสมอภาคกัน และไม่ควรมีผู้ใดมี
สิทธิเหนือกว่าผู้อื่น
เขาถือว่าปัจเจกชนทุกคนต่างล้วนมีสิทธิ/อานาจที่มา
เองโดยธรรมชาติ โดยมนุษย์เป็นเจ้าของสิทธิ และ
ครอบครองสิทธิในทรัพย์สินที่อยู่ตามธรรมชาติ และ
สิทธิในชีวิตของปัจเจกชน
รัฐมีหน้าที่ในการรับใช้ประชาชน สิทธิทาง
การเมืองทั้งหมดเป็นของประชาชน ประชาชนเป็น
ผู้มีอานาจในการกาหนดและถอดถอนรัฐบาล
ได้ หากรัฐบาลไม่มีความเป็นธรรมและไร้
ประสิทธิภาพในการบริหารประเทศ
นักปรัชญาการเมืองชาวอังกฤษ จอห์น ล็อค (John
Locke) ค.ศ ๑๖๓๒-๑๗๐๔/พ.ศ.๒๐๗๕-๒๑๔๗. (ศ.ที่๑๗)
คาประกาศอิสรภาพของอเมริกา ปีค.ศ.๑๗๗๖ และรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกา*
“.......มนุษย์ทุกคนถูกสร้างขึ้นมาอย่างเท่าเทียมกัน และพระผู้สร้างได้มอบ
สิทธิบางประการที่จะเพิกถอนมิได้ไว้ให้แก่มนุษย์ ในบรรดาสิทธิเหล่านั้น
ได้แก่ ชีวิต เสรีภาพและการเสาะแสวงหาความสุข..”
การปฎิวัติฝรั่งเศส และคาประกาศสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ค.ศ. ๑๗๘๙*
เป็นเอกสารสาคัญซึ่งเกิดขึ้นในสมัยปฏิวัติฝรั่งเศส
กาหนดให้ สิทธิของปัจเจกชนและสิทธิมวลชน
เป็นสิทธิสากล ประกาศฉบับนี้ได้รับอิทธิพลจาก
ทฤษฎีสิทธิธรรมชาติ ซึ่งหมายความว่า สิทธิดังกล่าวมี
อยู่ไม่ว่าเมื่อใดและที่ใด เนื่องจากเป็นสิทธิที่ตั้งอยู่บน
พื้นฐานธรรมชาติของมนุษย์ (ไม่อ้างศาสนา)
.“ มนุษย์เกิดมาและดารงอยู่อย่างเสรีและ
เสมอภาคกันในสิทธิ การเลือกปฏิบัติทางสังคม
จะกระทาได้ก็แต่เพื่อประโยชน์ส่วนรวม“
สภาร่างรัฐธรรมนูญ รับรองร่างสุดท้ายของประกาศนี้
เมื่อวันที่ ๒๖ ส.ค.พ.ศ.๒๓๓๒ /ค.ศ.๑๗๘๙
การค้าทาส ช่วงเวลาที่สาคัญในคริสต์ศตวรรษที่ ๑๖-๑๙ (ค.ศ.๑๕๐๐-๑๙๐๐/พ.ศ.๒๐๔๐-๒๔๑๐)*
Abraham Lincoln 16th President (1809-1865) “ Those who would deny freedom to others,
deserve it not for themselves.”
การเลิกทาสในสหรัฐอเมริกา ค.ศ.๑๘๖๒ และสงครามกลางเมือง ระหว่างฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้ (ที่ชนชั้นสูง
เจ้าของที่ดินใช้แรงงานทาสเป็นปัจจัยสาคัญในการผลิตภาคเกษตร)*
ภาพอนุสรณ์ของคอลสตัน พ่อค้าทาส ก่อนถูกทาลายและหลังถูกโค่นทิ้งน้า จากคลิปของ William
Want (@willwantwrites)
ปัญหาการใช้แรงงานเด็ก
และผู้หญิงในยุคปฏิวัติ
อุตสาหกรรมในอังกฤษ
ค.ศ.๑๗๕๐-๑๘๕๐
( พ.ศ. ๒๒๕๓-
๒๓๕๓)*
แมรี่ โวลสโตนคราฟ สตรีชาวอเมริกัน ผู้ต่อสู้เรียกร้องสิทธิสตรีคนแรก(ค.ศ.๑๗๕๙-๑๗๙๗/พ.ศ.๒๓๐๒-๒๓๔๐)
๗๓
ฉันไม่ปรารถนาให้ผู้หญิงมีอานาจเหนือผู้ชาย
แต่ต้องการให้ผู้หญิงมีอานาจเหนือตัวของ
พวกเขาเอง (กล้าแสดงออกกล้าเรียกร้อง
สิทธิฯของผู้หญิงเอง*
การละเมิดสิทธิมนุษยชนก่อนWW2 : Armenian Genocide ในค.ศ.๑๙๑๕/พ.ศ.๒๔๕๘ คนสอง
ล้านคนต้องเดินเท้าสี่ปี ป่ วย/ อดตาย ถูกฆ่า ข่มขืนฯโดยทหารตุรกีช่วงสงครามโลกครั้งที่ ๑*
การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิวโดยนาซี ช่วงสมัยสงครามโลกครั้งที่ ๒ *
การสังหารหมู่ชาวจีนโดยทหารญี่ปุ่นที่นานกิง
การก่อตั้งองค์การสหประชาชาติ ในปีค.ศ.๑๙๔๕/พ.ศ.๒๔๘๙ หลังWW2*
พิธีลงนาม UN charter ปี 1945 ที่ San
Francisco
วัตถุประสงค์ และหลักการขององค์การสหประชาชาติ*
วัตถุประสงค์ของสหประชาชาติ
๑. ธารงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ
๒. การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน
๓. การเคารพในหลักความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ
๔. การส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคมของ
ประชากรโลก ตลอดจนส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ
การจัดทาปฏิญญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯค.ศ.๑๙๔๘/พ.ศ.๒๔๙๑
มิสซิส อิลลินอร์ รูสเวลล์ ภรรยาของประธานาธิบดี แฟรงคลิน ดี รูสเวลล์ แห่งสหรัฐอเมริกา
ผู้มีบทบาทสาคัญในการยกร่างปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ (๓๐ ข้อ)*
สรุปสาระสาคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ (สากล ไร้พรมแดนฯ)
๑. ทุกคนมีศักดิ์ศรี สิทธิ และเสรีภาพเท่าเทียมกัน และต้องปฏิบัติต่อกันฉันพี่น้อง
๒. ทุกคนมีสิทธิ และเสรีภาพ อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติ
๓. ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิตอยู่ และมีความมั่นคง
๔. ห้ามบังคับคนให้เป็นทาส และห้ามค้าทาสทุกรูปแบบ (ค้ามนุษย์)
.๕. ห้ามการทรมาน หรือการลงโทษทารุณโหดร้ายผิดมนุษย์
๖. สิทธิในการได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลตามกฎหมาย
๗. สิทธิในการได้รับความคุ้มครองตามก.ม.อย่างเท่าเทียมกัน
๘. สิทธิในการได้รับการเยียวยาจากศาล
๙. ห้ามการจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ
๑๐. สิทธิในการได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมและเปิดเผย
๔๙
๑๑. สิทธิในการได้รับการสันนิษฐานว่าบริสุทธิ์ก่อนศาลตัดสิน และต้องมีก.ม.กาหนดว่าการ
กระทานั้นเป็นความผิด
๑๒. ห้ามรบกวนความเป็นอยู่ส่วนตัว ครอบครัว เคหสถาน การติดต่อสื่อสาร รวมทั้งห้าม
ทาลายชื่อเสียง และเกียรติยศ
๑๓. เสรีภาพในการเดินทางและเลือกถิ่นที่อยู่ในประเทศ รวมทั้งการออกนอกประเทศหรือ
กลับเข้าประเทศโดยเสรี
๑๔. สิทธิในการลี้ภัยไปประเทศอื่นเพื่อให้พ้นจากการถูกประหัตประหาร
๑๕. สิทธิในการได้รับสัญชาติ และการเปลี่ยนสัญชาติ
๑๖. สิทธิในการเลือกคู่ครอง และสร้างครอบครัว
๑๗. สิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สิน
๑๘. เสรีภาพในความคิด มโนธรรม ความเชื่อ หรือการถือศาสนา
๑๙. เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและแสดงออก รวมทั้งการได้รับข้อมูลข่าวสาร
๒๐.สิทธิในการชุมนุมโดยสงบและรวมกลุ่ม และห้ามบังคับเป็นสมาชิกสมาคม
๕๐
๒๑. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในรัฐบาลทั้งทางตรง และโดยผ่านผู้แทน อย่างอิสระ และมีสิทธิเข้าถึง
บริการสาธารณะโดยเท่าเทียมกัน
๒๒.สิทธิในการได้รับความมั่นคงทางสังคม และได้รับสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
โดยการกาหนดระเบียบและทรัพยากรของประเทศตนเอง
๒๓. สิทธิในการมีงานทาตามที่ต้องการ และได้รับการประกันการว่างงาน รวมทั้งได้รับ
ค่าตอบแทนเท่ากัน สาหรับงานอย่างเดียวกัน และรายได้ต้องพอแก่การดารงชีพสาหรับตนเอง
และครอบครัว ตลอดจนมีสิทธิก่อตั้ง และเข้าร่วมสหภาพแรงงาน
๒๔. สิทธิในการพักผ่อนและมีเวลาพักจากการทางาน
๒๕. สิทธิในการได้รับมาตรฐานการครองชีพอย่างเพียงพอ ได้รับปัจจัยสี่ สวัสดิการสังคม
ประกันการว่างงาน เจ็บป่วย เป็นหม้าย ผู้สูงอายุ ตลอดจนต้องคุ้มครองแม่และเด็กเป็นพิเศษ
๒๖. สิทธิในการได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน
๒๗. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน และได้รับการคุ้มครองทรัพย์สิน
ทางปัญญา
๕๑
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.๑๙๔๘/พ.ศ.๒๔๙๑
ขจัดการเลือกปฏิบัติ
ทางเชื้อชาติ
ค.ศ.๑๙๖๕/พ.ศ.๒๕๐๘
เด็ก
ค.ศ.๑๙๘๙/พ.ศ.๒๕๓๒
ต่อต้านการทรมาน
ค.ศ.๑๙๘๔/พ.ศ.๒๕๒๗
ต่อต้านอุ้มหาย
ค.ศ. ๒๐๐๖/พ.ศ.๒๕๔๙
แรงงานอพยพฯ
ค.ศ.๑๙๙๐/พ.ศ.๒๕๓๓
สตรี
ค.ศ..๑๙๗๙/พ.ศ.๒๕๒๒
คนพิการ
ค.ศ.๒๐๐๖/พ.ศ.๒๕๔๙
ปัญหาการละเมิดสิทธิฯในรูปแบบต่างๆเช่น ฆ่าล้างเผ่าพันธ์ฯ*
การจัดตั้งองค์กรสหประชาชาติ ค.ศ.๑๙๔๕/พ.ศ.๒๔๘๘
กติกาฯว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
ค.ศ.๑๙๖๖/พ.ศ.๒๕๐๙
กติกาฯว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
ค.ศ.๑๙๖๖/พ.ศ.๒๕๐๙
การจัดกลุ่มของ
อนุสัญญาด้านสิทธิ
มนุษยชน
เจตนารมย์ร่วมกัน
ไม่มีสภาพบังคับ
เป็นก.ม.ระหว่าง
ประเทศ
อนุสัญญาสิทธิ
มนุษยชน ๙ ฉบับ มี
สถานะเป็นก.ม.
ระหว่างประเทศ
ทุกฉบับเป็นสิทธิ
มนุษยชนสากล
ไร้พรมแดนฯ
ข้อตกลงฯและอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ*
๘๘
มหาตมะ คานธี (ค.ศ.๑๘๖๙-๑๙๔๗) ผู้นาอินเดียในการเรียกร้องเอกราช จากอังกฤษ
ด้วยวิธีสันติ (อหิงสา) คานธีดาเนินกิจกรรมมากในช่วงค.ศ.๑๙๑๖-๑๙๔๘
ผู้นาในการเรียกร้องสิทธิฯให้ชาว
อเมริกันผิวดา Dr. Martin
Luther King Jr. (ค.ศ.๑๙๒๙/
พ.ศ.๒๔๗๒ - ค.ศ.๑๙๖๘/พ.ศ.
๒๕๓๑) กล่าวคาปราศรัยแห่ง
ประวัติศาสตร์ ในหัวข้อชื่อ ผมมี
ความฝัน
(I have a dream) ใน
ระหว่างการชุมนุมที่อนุสาวรีย์
ประธานาธิบดีลินคอล์น กรุง
วอชิงตัน ดีซี เมื่อ ๒๗ สิงหาคม
ค.ศ.๑๙๖๓/พ.ศ.๒๕๐๖ *
๙๑
เนลสัน แมนเดลา อดีตประธานาธิบดีอัฟริกาใต้ ผู้ต่อสู้เพื่อสิทธิของ
คนผิวสีในอัฟริกาใต้ อดึตถูกจาคุก ๒๗ ปี(ค.ศ.๑๙๖๔-๑๙๙๐)*
มาลาลา ยูซาฟไซ*
ผู้ต่อสู้เพื่อสิทธิใน
การศึกษาของเด็กผู้หญิงใน
ปากีสถาน เธอถูกกลุ่มตาลี
บันยิงที่ศรีษะ ๙ ต.ค.ปีค.ศ.
๒๐๑๒ต่อมาเธอได้รับ
รางวัลโนเบลสาขา
สันติภาพในปีค.ศ.๒๐๑๔
ซึ่งเป็นผู้รับรางวัลที่อายุ
น้อยที่สุดในวัย เพียง ๑๗ ปี
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของสหประชาชาติ ภายใน ๑๕ ปี พ.ศ.๒๕๕๘ -๒๕๗๓*
The Bhopal disaster, was a gas leak incident on the night of 2–3 December 1984 at the Union Carbide India Limited
pesticide plant in Bhopal, Madhya Pradesh, India. It was considered as of 2010 to be the world's worst industrial
disaster. At least 3,787 deaths; over 16,000 claimed, At least 558,125 Non-fatal injuries
โรงงานยูเนียนคาร์ไบนด์ระเบิดที่ Bhopal, Madhya Pradesh อินเดีย เมื่อ ธค.๑๙๘๔
เสียชีวิตเกือบสี่พันคน บาดเจ็บเกือบหกแสนคน กระตุ้นให้UN ผลักดันให้เกิดการแก้ไขปัญหา*
The Bhopal disaster, was a gas leak incident on the night of 2–3 December 1984 at the Union Carbide India Limited
pesticide plant in Bhopal, Madhya Pradesh, India. It was considered as of 2010 to be the world's worst industrial
disaster. At least 3,787 deaths; over 16,000 claimed, At least 558,125 Non-fatal injuries
การละเมิดสิทธิมนุษยชนขององค์กรธุรกิจ
โรงงานยูเนียน คาร์ไบด์ระเบิด ในอินเดีย ผู้เสียชีวิตเกือบสี่พันคน บาดเจ็บมากกว่าห้าแสนคน
๕
หลักการชี้แนะ“ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน” แผนปฏิบัติการฯ UN และเครือข่ายองค์กรฯ
เพื่อป้องกันปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนขององค์กรธุรกิจทั่วโลก
เกรียตา ทุนแบร์ก เริ่ม “การหยุดเรียนประท้วงเพื่อสภาพ
ภูมิอากาศ” ที่ด้านหน้าอาคารรัฐสภาของสวีเดนในกรุง
สต็อกโฮล์ม เมื่อเดือน ส.ค. ๒๕๖๑ จากนั้นก็มักหยุดเรียนไป
ประท้วงทุกวันศุกร์ เธอเริ่มเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก จากการขึ้น
กล่าวสุนทรพจน์บนเวทีประชุมของสหประชาชาติว่าด้วย
การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกครั้งที่ 24 หรือ
COP24 ที่ประเทศโปแลนด์ เมื่อเดือน ธ.ค. ที่ผ่านมา การ
หยุดเรียนประท้วงของเธอได้สร้างแรงบันดาลใจให้เยาวชน
ทั่วโลก*
๙๓
แม้มีปฏิญญาสากลฯและอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนแล้ว
ก็ยังมีปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนในประเทศต่างๆอยู่
The Bhopal disaster, was a gas leak incident on the night of 2–3 December 1984 at the Union Carbide India Limited
pesticide plant in Bhopal, Madhya Pradesh, India. It was considered as of 2010 to be the world's worst industrial
disaster. At least 3,787 deaths; over 16,000 claimed, At least 558,125 Non-fatal injuries
โรงงานบริษัทยูเนียน คาร์ไบด์ในอินเดีย ระเบิดปี ๑๙๘๔ มีผู้เสียชีวิตมาก เป็นที่มาของ “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
แม้มีสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนแล้ว เขมรแดงยังฆ่าชาวเขมรด้วยกันเป็นล้านคน ๙๐
เหตุการณ์ 911 กับสิทธิมนุษยชน
ผลกระทบจากการใช้เสรีภาพของสื่อ “ชาลี เอบโด”ในฝรั่งเศส ปีค.ศ.๒๐๑๓ /พ.ศ.๒๕๕๘
ไม่ได้ทาเป็นบัตรคาแจกให้ศึกษา
สงครามกลางเมือง ซีเรีย ปีค.ศ.2011- ปัจจุบัน และผลกระทบในด้านสิทธิมนุษยชน
กรณี ต.ร.จับกุม จอร์จ ฟลอยด์ จนเสียชีวิต ที่เมืองมินิอาโปลิส รัฐมินิโซต้า สหรัฐฯ
ความรู้สึกเกลียดชังคนเอเชียฯในสหรัฐ จากการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด ๑๙
ปีค.ศ.๒๐๒๐-๒๐๒๑ (พ.ศ.๒๕๖๓-๒๕๖๔)
สถานการณ์ความรุนแรงและการละเมิดสิทธิมนุษยชนในอัฟกานิสถาน
ชาวโรฮีนจา อพยพหนีตายออกจากรัฐยะไข่ เมียนมาร์ ในระหว่าง ปีพ.ศ.๒๕๕๐ -๒๕๖๐
พัฒนาการสิทธิมนุษยชนสากล (จากตะวันตก จากสิทธิเฉพาะกลุ่ม สู่ความเป็นสากล)*
ที่มา : สิทธิธรรมชาติ กฎ ก.ม.ธรรมชาติ และหลักศาสนา
มีหลักฐานแรก แท่งดินเหนียว สมัยกษัตริย์ไซรัส เรื่องเสรีภาพการนับถือศาสนาฯ
แมคนาคาต้า เสมือนรัฐธรรมนูญอังกฤษ ที่ลดอานาจกษัตริย์ในการเก็บภาษีและอื่นๆ มีหลักนิติธรรมเกิดขึ้น
ความคิดเห็นของนักปรัชญา เช่น จอห์น ล็อค ประชาชนเป็นผู้มีอานาจในการกาหนดและถอดถอนผู้ปกครองได้
หากไม่เป็นธรรมและไร้ประสิทธิภาพ การต่อสู้ของขุนนาง รัฐสภา นักก.ม.ชนชั้นกลางเพื่อลดอานาจผู้ปกครอง)
การประกาศอิสระภาพของอเมริกา ข้อความในรัฐธรรมนูญฯ มนุษย์เราถูกสร้างขึ้นมาอย่างเท่าเทียมกันฯ
คาประกาศในสิทธิพลเมืองฯของฝรั่งเศส หลังการปฏิวัติฯ “มนุษย์เกิดมาและดารงอยู่อย่างเสรีและเสมอภาคฯ
หลังWW2 ที่นาซีฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว ตั้งUN วัตถุประสงค์ข้อหนึ่งคือ การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน เกิด
ข้อตกลง(ปฎิญญาสากลฯ) และอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน ๙ ฉบับ และกลไกคุ้มครองสิทธิมนุษยชนขึ้นมา
มีผู้นาต่อสู้ ให้เลิกทาส เรียกร้องเอกราช เรียกร้องสิทธิคนผิวสี สตรี การคุ้มครองเด็ก แรงงาน ผู้ลี้ภัย ผู้พิการ
สิ่งแวดล้อมฯ เช่น ลินคอน,อีเลนอร์ รูสเวลท์ มาร์ติน ลูเธอร์ คิง, คานธี, เนลสัน เมเดลล่า. ยูเซปไฟ ทุนเบริกจ์ ฯ
พัฒนาการสิทธิมนุษยชนไทย*
ที่มา: จากกฎธรรมชาติ หลักศาสนาพราหมณ์ พุทธ และอื่นบ้าง
สมัยสุโขทัย : พ่อขุนรามคาแหง มีเสรีภาพในการค้า การร้องทุกข์ฯ
สมัยอยุธยา : พระนารายณ์ฯ เสรีภาพการนับถือศาสนาฯ
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ : ตอนต้น กลาง ปัจจุบัน
สมัย ร.๔ จุดเริ่มต้นการเรียกร้องสิทธิสตรี กรณีอาแดงเหมือน
สมัย ร.๕ เลิกทาส ปฏิรูปราชการ ก.ม.วางพื้นฐานการศึกษา สาธารณสุข คมนาคม เริ่มเกิดกระแส
สมัย ร.๖ ไทยร่วมWW1 เมืองจาลองดุสิตธานี เรียนรู้ประชาธิปไตย กบฎรศ.๑๓๐ กระแสเริ่มแรง
สมัย ร.๗ เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ เตรียมเข้าสู่สิทธิมนุษยชนยุคใหม่
สมัย ร.๘ WW2 ไทยเป็นสมาชิกUN มีจุดเปลี่ยนจากเป็นฝ่ายอักษะเป็นไม่แพ้สงครามโลก
สมัย ร.๙ ไทยเป็นภาคีอนุสัญญาสิทธิมนุษยชน มีรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน กม.คุ้มครองสิทธิ
สมัย ร.๑๐ สานต่อปรับปรุง/ร่างก.ม.สิทธิฯเช่น ก.ม.ขจัดการทรมาน อุ้มหาย,คู่ชีวิตฯ มีความท้าทาย
ในอดีต บทบาทของผู้รู้ ขุนนาง
ชนชั้นกลาง ทหาร มีน้อยมาก
ในการขับเคลื่อนฯ
เมื่อเปรียบเทียบกับสังคม
ตะวันตก
อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ พุทธ และศาสนาอื่น (ศาสนาคริสต์ อิสลาม เต๋าฯ)
ต่อสังคมไทย และหลักสิทธิมนุษยชนของไทย
พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ครองราชย์ พ.ศ. ๑๘๒๒ - ๑๘๔๑
จากศิลาจารึกสะท้อนให้เห็นสิทธิ เสรีภาพของราษฎร
๑) เศรษฐกิจการค้า ราษฎรค้าขายได้โดยเสรี เจ้าเมืองไม่เรียกเก็บ
จังกอบหรือภาษีผ่านทาง มีการค้ากับจีน นาช่างจีนมาทาชามสังคโลก
(สิทธิทางเศรษฐกิจ)
ผู้ใดล้มตายลง ทรัพย์มรดกก็ตกแก่บุตร
๒) การปกครอง หากผู้ใดไม่ได้รับความเป็นธรรมในกรณีพิพาท ก็มี
สิทธิไปสั่นกระดิ่งที่แขวนไว้หน้าประตูวังเพื่อถวายฎีกา(สิทธิใน
กระบวนการยุติธรรม)
๓) ศาสนา วัฒนธรรม ทรงประดิษฐ์อักษรไทย และทรงสร้างพระ
แท่นศิลาอาสน์ให้พระสงฆ์มาเทศน์ในวันพระ (สิทธิทางวัฒนธรรม)
สรุป สิทธิต่างๆที่จารีกไว้ ได้แก่
๑.สิทธิที่จะล้มพระราชอานาจ (ศิลาจารึกที่ ๓ นครชุม) ๒.สิทธิในทรัพย์สินของราษฏร มีหลักกรรมสิทธิ์เหนือที่ดิน ใช้ยันกับราษฏร
ด้วยกันได้ แต่ใช้ยันกับกษัตริย์ไม่ได้(ศิลาจารึกหลักที่ ๑) ๓.สืบในการสืบมรดก(เฉพาะชั้นบุตร) ๔.สิทธิในการเลือกประกอบอาชีพ ๕.
สิทธิมนุษยชน ๕.๑ สิทธิของเชลยศึก ๕.๒สิทธิของผู้ลี้ภัยสิทธิของผู้ต้องหา/นักโทษทางอาญา (ศิลาจารึกก.ม.ลักษณะโจร) ๕.๓ สิทธิ
ของราษฏรในการถวายฏีกา ๕.๔ สิทธิของราษฏรในการแสดงออก (ศิลาจารึกหลักที่ ๑๑ ด้านที่ ๒)
สิทธิในสมัยอยุธยา : กษัตริย์เป็นเทวราชาจากอิทธิขอม ศาสนาพราหมณ์
• พระมหากษัตริย์เป็นเจ้าชีวิต ที่เหลือไม่ว่าเจ้า ราษฏร เป็นข้าแผ่นดินทั้งสิ้น
• ลักษณะของสิทธิ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา (มรว.เสนีย์ ปราโมช,คาปาฐกถาเรื่องก.ม.สมัยกรุงศรีอยุธยา)
๑. สิทธิของไพร่ ต้องเป็นไพร่สังกัดมูลนาย จึงมีสิทธิร้องฟ้องคดี ไพร่ได้รับการคุ้มครองตาม ก.ม.ลักษณะอาญา
หลวง ม.๒๕ ห้ามข้าราชการใช้ไพร่ของตนเยี่ยงทาส
๒. สิทธิของทาส ทาสเป็นผู้ใช้แรงงานต่างดอกเบี้ย เป็นข้าเก่าเต่าเลี้ยง ไม่ใช่มีสถานะเหมือนวัวควาย สัตว์พาหนะ
ก.ม.รับรองสิทธิทาสไว้ ดังนี้
- สิทธิในชีวิตของทาส ไม่ให้ลงโทษถึงตาย, สิทธิในการฟ้องคดีของทาส เมื่อใช้ค่าตัวหมดแล้ว,สิทธิในทรัพย์สิน
และการตกทอดทรัพย์สินซึ่งเป็นมรดกของทาส(มีสิทธิในทรัพย์สินที่ได้มาก่อนตกเป็นทาส), -สิทธิในเนื้อตัว
ร่างกายของทาสหญิง ผห้ามบังคับให้มีผ้วหากไม่ยินยอมหรือข่มขืนเอาเป็นเมียนายเงิน,สิทธิในการหลุดพ้นความ
เป็นทาส เมื่อนายไม่เลี้ยง เมื่อบวชพระทาสหญิงเป็นเมียชายไทจนมีลูก
๓. สิทธิ ในทรัพย์สินของราษฏร : ๑. มีสิทธิในทรัพย์ในที่ทามาหาได้ ๒. สิทธิครอบครองที่ดิน, ๓. สิทธิของผู้ลี้ภัย
๔. สิทธิในการรับบาเหน็จ เมื่อทาความชอบให้แผ่นดิน ๕. สิทธิในการทานิติกรรมสัญญา
ช่องว่างระหว่างผู้ปกครอง
กับราษฎรกว้างขึ้น
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ครองราชย์ พ.ศ.๒๑๙๙-๒๒๓๑
ราชทูตสยามนาโดยโกษาปานเข้าเฝ้าพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ที่ ห้องกระจก
พระราชวังแวร์ซาย ณ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2229 (ค.ศ. 1686)
สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ทอดพระเนตรจันทรุปราคา
ร่วมกับคณะทูต นักบวช
คณะเยสุอิต และนักดารา
ศาสตร์ชาวฝรั่งเศส เมื่อวันที่
11 ธค. พ.ศ. 2228 ณ พระที่
นั่งเย็น ทะเลชุบศร เมือง
ลพบุรี
สิทธิในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น
• พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นเจ้าชีวิต ที่เหลือไม่ว่าเจ้า ราษฏร เป็นข้าแผ่นดิน เช่นเดียวกับสมัยอยุธยา
• ลักษณะของสิทธิ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ซึ่งมีก.ม.ตราสามดวงรับรองสิทธิและฐานะทางก.ม.ของ
ราษฎรไว้ แต่ไม่มีสถานะที่เท่าเทียมกันในก.ม. เพียงแต่รับรองให้ราษฏรมีสิทธิได้รับความเป็นธรรมเท่านั้น
๑. สิทธิของราษฏร ในการซื้อขาย เช่าทรัพย์สิน บ้าน สวน นา ไร่ สิทธิถือครองที่ดิน สิทธิในสืบมรดก สิทธิในการทานิติ
กรรมสัญญา
๒. สิทธิของทาส มีสิทธิไถ่ถอนตนเองหรือให้ผู้อื่นมาไถ่ถอนได้ หากทาสไม่ได้รับความเป็นธรรม อาจมีสิทธิฟ้องนายเงินได้
(พระอัยการทาษ ม.๘๕)
๓. สิทธิของไพร่
๓.๑ ในการเข้ารับราชการ สมัยรัชกาลที่ ๑ ผ่อนคลายหลักชาติวุฒิให้ไพร่รับราชการได้ ซึ่งเดิมต้องเป็นลูกเสนาบดีเท่านั้นที่รับ
ราชการได้ (หลักเกณฑ์นี้ มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยพระบรมโกษฐ์ ) และให้สิทธิไพร่ถวายตัวเป็นมหาดเล็กได้
๓.๒ ในการฟ้องร้องคดี เมื่อไพร่มีสิทธิครบตามก.ม. เช่น สังกัดมูลนายแล้วจึงเป็นคู่ความในคดีได้,ส่งค่าตัวให้นายทาสก่อนจึงจะ
ฟ้องนายเงินได้ ยกเว้นคดีความสงบเรียบร้อยของแผ่นดิน คดีความผิดมหันตโทษ
สนธิสัญญาบาวริ่ง ค.ศ.๑๙๘๕/พ.ศ.๒๓๙๘- ค.ศ.๑๙๓๘/๒๔๘๒
และ สิทธิสภาพนอกอาณาเขตที่มีต่อประเทศไทย ๗๐ ปี (ตั้งแต่สมัย ร.๔-ร.๖/ร.๗)
คณะทูตไทยเข้าเฝ้าพระราชินีวิคตอเรีย
คณะทูตอังกฤษเข้าเฝ้ารัชกาลที่๔
เทียนวรรณ ปราชญ์ราษฎรสมัยรัชกาลที่ ๔-๖ : สะท้อนให้เห็นข้อจากัดของการเสนอความคิดในการปกครอง
พัฒนาประเทศ (ซึ่งเป็นของพระมหากษัตริย์พระบรมวงศานุวงศ์ และชนชั้นสูง) เมื่อเทียบกับโลกตะวันตก
เทียนวรรณ หรือ ต.ว.ส. วัณณาโภ เป็นนามปากกาของ เทียน วัณณาโภ (พ.ศ. 2385 - พ.ศ. 2458) ทนายความ และนัก
คิดนักเขียนคนสาคัญ ที่มีบทความวิพากษด้านนโยบายการต่างประเทศ ด้านเศรษฐกิจ และด้านการศึกษา ในสมัยรัชกาล
ที่ 4 ถึงรัชกาลที่ 6 เทียนวรรณศึกษาก.ม.ด้วยตนเองอย่างจริงจัง และเริ่มทางานเป็นที่ปรึกษาก.ม.รวมทั้งศึกษาเพิ่มเติมทั้ง
ภาษาไทยและอังกฤษอย่างต่อเนื่อง เขาเขียนทั้งบทความ, บันทึกประจาวัน, กาพยกลอน และทางานช่วยเหลือประชาชน
ทั่วไปให้ได้รับความยุติธรรมทางก.ม.
ในปี พ.ศ. 2425 เทียนวรรณถูกฟ้องร้องกรณีเขียนฎีกาให้กับราษฎรผู้หนึ่ง และถูกตัดสินว่าหมิ่นตราพระราชสีห ซึ่งเท่ากับ
หมิ่นพระบรมเดชานุภาพและหมิ่นประมาทเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงเกษตร ถูกโบย 50 ที และขังคุกโดย
ไม่มีกาหนด เทียนวรรณถูกจาขังอยู่ 17 ปี จึงได้รับอิสรภาพในปี พ.ศ. 2442 ระหว่างถูกคุมขังได้มีผลงานเขียนสม่าเสมอ
เทียนวรรณ ได้ออกนสพ.รายปักษ ชื่อ "ตุลวิภาคพจนกิจ" ระหว่าง พ.ศ. 2442 ถึง พ.ศ. 2449 และ "ศิริพจนภาค" เมื่อ พ.ศ.
2451 โดยวิจารณสังคมไทยในยุคนั้น เช่น เรื่องการมีภรรยาหลายคน การเล่นการพนัน การรับสินบน และยัง
เสนอแนะให้รัฐบาลปรับปรุงพัฒนาประเทศ ตั้งโรงเรียนสอนวิชาแพทย์ วิชาช่าง ตั้งศาลยุติธรรม ตัดถนนและ
ทางรถไฟ ก่อตั้งกิจการไปรษณีย์ โทรเลข และธนาคารพาณิชย์ เสนอ ก.ม.ห้ามสูบฝิ่น เลิกทาส ห้ามเล่นการพนัน
ห้ามชายไทยมีภรรยาหลายคน เทียนวรรณเสียชีวิตเมื่อ ปี พ.ศ. 2458 ขณะอายุได้ 73 ปี
อาแดงเหมือน ซึ่งเป็นลูกของนายเกตกับอาแดง (นาง) นุ่น
มีอาชีพทาสวนอยู่ที่ ต.บางม่วง แขวงเมืองนนทบุรี พ่อ
และแม่ยกอาแดงเหมือนให้เป็นภรรยานายภู อาแดง
เหมือนไม่ยอม พ่อแม่ก็ให้นายภูมาฉุดเอาตัวไป แต่
อาแดงเหมือนหนีกลับบ้านของตน นายภูมาฉุดไปอีก
อาแดงเหมือนก็หนีไปอีก ไปอยู่กับนายริด ชายคนรัก นาย
ภูจึงฟ้องนายริดว่าลักพาเมียตน ระหว่างที่โจทก์จาเลยยังสู้
ความกันอยู่ที่ศาล อาแดงเหมือนได้ถูกควบคุมไว้ในตะราง
ที่จวนของพระนนทบุรี เจ้าเมืองนนทบุรี และถูกนายเปี่ ยม
พะทามะรงซึ่งกินสินบนของนายภูกลั่นแกล้งทารุณต่างๆ
นานาเพื่อบีบบังคับให้อาแดงเหมือนยอมเป็นภรรยานายภู
อาแดงเหมือนจึงหนีตะรางไปถวายฎีกาต่รัชกาลที่ ๔
ณ พระที่นั่งสุทไธศวรรย์ เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๑๐ ธันวาคม
พ.ศ. ๒๔๐๘
๑๐๐
การเปลี่ยนแปลงในสมัย ร.๕
ไทยเลิกทาส พ.ศ. อีงกฤษเลิกทาสปั ๒๓๑๖ อเมริกาปี ๒๔๐๘
๑๐๒
การเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญในสมัย ร.๕
การเปลี่ยนแปลงด้านสิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ในสมัยรัชกาลที่ ๖
รัชกาลที่ ๖ เป็นพระมหากษัตริย์
ไทยองค์แรกที่จบการศึกษาจาก
ต่างประเทศ (รร.นายร้อยแซนเฮิรส์
และมหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด)
ทหารไทยร่วมรบในWW1
พ.ศ.๒๔๖๐ นาไปสู่การแก้
ไขสนธิสัญญาฯที่ไทย
เสียเปรียบ
กบฏ ทหารหนุ่ม รศ.๑๓๐/พ.ศ.๒๔๕๕
เมืองจาลอง ดุสิตธานี ๒๔๖๐
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ๒๔๕๙
เหตุการณ์กบฎ ร.ศ 130 (เหล็ง ศรีจันทร์)
เกิดขึ้นก่อนการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ถึง 24 ปี โดย
เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อพ.ศ. 2455
(ร.ศ. 130)
เมื่อนายทหารและปัญญาชนกลุ่มหนึ่งปฏิบัติการ
โดยหมายให้พระมหากษัตริย์ทรงพระราชทาน
รัฐธรรมนูญให้และเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่
ระบอบประชาธิปไตย แต่แผนการแตกเสีย ก่อน
มีการจับกุมผู้คิดก่อการหลายคนไว้ได้ มีการ
พิจารณาตัดสินลงโทษให้จาคุกและประหารชีวิต
ท้ายที่สุดได้รับการพระราชทานอภัยโทษ
กบฎ รศ.๑๓๐ : สัญญานเตือนเรื่องกระแสประชาธิปไตยจากกลุ่มทหารหนุ่ม
ดุสิตธานี เมืองจาลองแห่งประชาธิปไตย ร.๖ ทรงสร้างในปีพ.ศ. ๒๔๖๐
ไม่ได้ทาเป็นบัตรคาแจกให้ศึกษา
ดุสิตธานี เมืองจาลองแห่งประชาธิปไตย ร.๖ ทรงสร้างในปีพ.ศ. ๒๔๖๐ หลังกบฎรศ.๑๓๐
การเปลี่ยนแปลงการปกครองฯ สมัยรัชกาลที่ ๗ พื้นฐานสู่สิทธิมนุษยชนยุคใหม่ของไทย
รัชกาลที่ ๘ ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ ๒
รัชกาลที่ ๘ ไทยกับสงครามโลกครั้งที่ ๒
ปราชญ์ชาวบ้าน นักคิด ข้าราชการ ชนชั้นกลาง ที่ริเริ่ม ผลักดันเรื่องสิทธิมนุษยชนไทย
อาแดงเหมือน สมัย ร.๔ เทียนวรรณ สมัย ร.๔- ร.๖ กุหลาบ สายประดิษฐ์ สมัยร.๗-ร.๙
นายทหาร กบฏ ร.ศ. ๑๓๐ สมัย ร.๖
ศ.ดร.ปรีดี พนมยงค์ นายทหารผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
ปราชญ์ชาวบ้าน นักคิด ข้าราชการ ชนชั้นกลาง ที่ริเริ่ม ผลักดันเรื่องสิทธิมนุษยชนไทย
อาแดงเหมือน สมัย ร.๔ เทียนวรรณ สมัย ร.๔- ร.๖ กุหลาบ สายประดิษฐ์ สมัยร.๗-ร.๙
นายทหาร กบฏ ร.ศ. ๑๓๐ สมัย ร.๖
ศ.ดร.ปรีดี พนมยงค์ นายทหารผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือรู้จักกันดีในนามปากกา
ว่า ศรีบูรพา[1] (31 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 16
มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงชาวไทย
เจ้าของวาทะ "ฉันรักธรรมศาสตร์ เพราะธรรมศาสตร์
สอนให้ฉันรักประชาชน"[2]
บุคคลดีเด่นของโลกจากองค์การยูเนสโก พ.ศ. 2548
ปัญญาชนสยาม ผู้ต่อสู้เพื่ออุดมการณ์
• สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคของบุคคล
คุณค่าของคนมิใช่มาแต่เพียงชาติกาเนิด
และ
• การปกครองในระบอบประชาธิปไตย
ตั้งแต่ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
๑๖ ธ.ค.พ.ศ. ๒๔๘๙ ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ (UN) ฐานะสมาชิกใหม่เป็นลาดับที่ ๕๕
รัชกาลที่ ๙ ทรงครองราชย์นาน
ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติไทย
ผ่านเส้นทางยาวนานของการ
พัฒนาสิทธิมนุษยชนไทย
เหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ จุดเริ่มต้นของพลัง นศ.ปชช.ขับไล่เผด็จการฯ
เหตุการณ์ ๖ ต.ค. ๒๕๑๙ จะกลับมาเกิดขึ้นอีก เมื่อคนไทยมีความขัดแย้ง
ทางความคิดเห็นทางการเมือง ใช้ความรุนแรงเข่นฆ่าคนไทยด้วยกันได้
เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ (๑๗-๒๔ พฤษภาคม ๒๕๓๕)
ต่อต้านการสืบทอดอานาจ รสช.ของพล อ.สุจินดาฯ
คดีฆาตกรรมน.ส.เชอรีแอน ดันแคน ในปีพ.ศ. ๒๕๒๙
สะท้อนให้เห็นปัญหาในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย นาไปสู่การปรับปรุงครั้งสาคัญ
-
รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.๒๕๔๐ (รัฐธรรมนูญ ฉบับประชาชน)
เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐ ก็คือการปฏิรูปการเมืองโดยมี
เป้าหมาย ๓ ประการ[2]
๑. ขยายสิทธิ เสรีภาพ และส่วนร่วมของพลเมืองในการเมือง สิทธิใน
กระบวนการการยุติธรรม เยียวยาฯ
๒. การเพิ่มการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐโดยประชาชน เพื่อให้เกิด
ความสุจริตและโปร่งใสในระบอบการเมือง
๓.การทาให้ระบบการเมืองมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพ
รัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐ มีผลกระทบที่สาคัญต่อพัฒนาการสิทธิมนุยชน
ในประเทศไทย หลายประการ
- บทบัญญัติเรื่องสิทธิฯต่างๆ
- นาไปสู่ก.ม.ภายในด้านการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและการเยียวยา
- การจัดตั้งองค์กรคุ้มครองสิทธิฯและการตรวจสอบรัฐบาลฯ
ผลกระทบจากการดาเนินงานตามยุทธศาสตร์การประกาศสงครามยาเสพติด ปี ๒๕๔๖
บทเรียนข้อพิพาทระหว่างชาวเล ที่หาดราไวย์ กับนายทุนเจ้าของที่ดิน
กรณีตากใบ จ.นราธิวาสปี ๒๕๔๗ การปฏิบัติงานของจนท.ฯมีความเสี่ยงในการละเมิดสิทธิฯ
เพลิงไหม้โรงงานเคเดอร์ อ.สามพราน นครปฐม เมื่อ10 พค.2536 มีผู้เสียชีวิตเกือบสองร้อยคน
คดีอุ้มหาย กรณีทนายสมชาย อุ้มแขวนคอที่กาฬสินธ์ เอกยุทธ และบิลลี่
คดีจับผู้ต้องหาแขวนคอที่กาฬสินธ์พ.ศ.๒๕๔๗ คดีอุ้มบิลลี่ หายตัวไป ปีพ.ศ.๒๕๕๗
คดีอุ้มทนายสมชาย ปีพ.ศ.๒๕๔๖
ปัญหาการจับผู้ต้องหาผิดตัว ซึ่งไม่มีก.ม.เยียวยา ต้องออก/แก้ไขก.ม.
การค้ามนุษย์ รูปแบบของการค้าทาสในยุคปัจจุบัน
การจับกุมผู้ต้องหาผิดตัว
ตร.ปราบปรามยาเสพติดจับผู้ต้องหาผิดตัว
นายสมชัย แซ่ลิ้ม คนเลี้ยงหมูจากเพชรบุรี ถูก
ขัง ๒๓ วัน จนภรรยาหาข้อมูลเดินเรื่องจน
ศาลฯพระโขนงเปิดไต่สวนจนสาเร็จ
จับผิดตัวคดีวิ่งราวทรัพย์ที่ธัญบุรี จนศาล
ชั้นต้นพิพากษาลงโทษแฝดผู้น้อง
การจับผิดตัวไม่น่าเกิดขึ้น ถ้าจนท.ระมัดระวังและภาคประชาสังคมช่วยกันเฝ้าระวัง
จนท.ฯ เผาบ้าน เผาที่ทากิน ขับลาชาวกระเหรี่ยงแก่งกระจาน ให้ออกจากพื้นที่
คดีทายาทกระทิงแดง ชนตารวจตายแล้วหนี เกือบ ๘ ปีไม่คืบหน้า มีจนท.รัฐหลายฝ่ายช่วยเหลือ
เหตุการณ์ก่อความไม่สงบในพื้นที่จชต.และมีการใช้กฎหมายพิเศษเพื่อความมั่นคงฯ
การละเมิดสิทธิฯ ในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
การชุมนุมต่อต้านรัฐบาลของกลุ่มพันธมิตรและนปช.ในปี ๒๕๕๑-๕๓
ความเสี่ยงในการละเมิดสิทธิฯของเจ้าหน้าที่ฯจากการปฏิบัติงานกับกลุ่มผู้ประท้วง.ในปี ๒๕๕๓
การละมิดสิทธิการเมือง
โดยการรัฐประหาร ๑๓ ครั้งในประเทศไทย
เหตุการณ์ และบทเรียน ที่นาไปสู่การพัฒนาสิทธิมนุษยชนไทย ในสมัย รัชกาลที่ ๑๐
เป็นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี่ ตปท.ที่
รวดเร็ว ในขณะที่ระบบการเมืองการปกครองไทย ยังไม่พัฒนามาก
พ.ศ. ๒๕๕๙ ถึงปัจจุบัน
มีภัยคุกคามทางธรรมชาติ (ภาวะโลกร้อนฯ) โรคระบาด (ไวรัสโควิด
๑๙ และ disruption เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี่
ประชาชนมีความคาดหวังจากรัฐบาล สถาบันการเมือง/สังคม ในการ
แก้ไขปัญหาเหล่านี้มีการแสดงออก การวิพากษ์วิจารณ์ การชุมนุมฯ
มีปัญหาต่างๆที่ยังแก้ไขไม่สาเร็จ เช่น กระบวนการยุติธรรมทาง
อาญา ความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจ คอรัปชั่น มลภาวะ ฯ และมี
ปัญหาใหม่ที่เกิดจากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป
ลุงน้าอาพี่ ขยี้กาม ดญ. ๑๒ ปีนาน ๒ ปี
การละเมิดสิทธิเด็ก จากเหตุการณ์ปี ๒๕๖๑-๒๕๖๓
การชุมนุมต่อต้านรัฐบาลในประเทศไทย ปี ๒๕๖๓-๒๕๖๔
การชุมนุมต่อต้านรัฐประหารรัฐบาลพลเรือนในพม่า ๑ กพ. ปี ๒๕๖๔
ปัญหาฝุ่ น PM2.5ตั้งแต่ปี ๒๕๖๐ - ปัจจุบัน
คดีทายาทกระทิงแดง ชนตารวจตายแล้วหนี เกือบ ๘ ปีไม่คืบหน้า มีจนท.รัฐหลายฝ่ายช่วยเหลือ
๑.หลักสิทธิมนุษยชน
๒.หลักนิติธรรม
๓.ความยุติธรรม
-ศักดิศรีความเป็นมนุษย์
-เลือกปฎิบัติ
-จนท.ในกระบวนการยุติธรรม
คอรัปชั่น ทาผิดก.ม.
-การกระทาของจนท.ผิดก.ม.
ไม่ยึดหลักปกครองโดยก.ม.
-เจ้าหน้าที่ในกระบวนการ
ยุติธรรมฯทางานเป็น
เครือข่ายช่วยผู้กระทาผิด
-ไม่เป็นกลาง ไม่เป็นธรรม คน
รวยทาผิดไม่ถูกนามาลงโทษ
การระบาดของโควิด-19 ในประเทศไทย ปี ๒๕๖๓- ปัจจุบัน
พัฒนาการสิทธิมนุษยชนไทย*
ที่มา: จากกฎธรรมชาติ หลักศาสนาพราหมณ์ พุทธ และอื่นบ้าง
สมัยสุโขทัย : พ่อขุนรามคาแหง มีเสรีภาพในการค้า การร้องทุกข์ฯ
สมัยอยุธยา : พระนารายณ์ฯ เสรีภาพการนับถือศาสนาฯ
สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ : ตอนต้น กลาง ปัจจุบัน
สมัย ร.๔ จุดเริ่มต้นการเรียกร้องสิทธิสตรี กรณีอาแดงเหมือน
สมัย ร.๕ เลิกทาส ปฏิรูปราชการ ก.ม.วางพื้นฐานการศึกษา สาธารณสุข คมนาคม เริ่มเกิดกระแส
สมัย ร.๖ ไทยร่วมWW1 เมืองจาลองดุสิตธานี เรียนรู้ประชาธิปไตย กบฎรศ.๑๓๐ กระแสเริ่มแรง
สมัย ร.๗ เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ เตรียมเข้าสู่สิทธิมนุษยชนยุคใหม่
สมัย ร.๘ WW2 ไทยเป็นสมาชิกUN มีจุดเปลี่ยนจากเป็นฝ่ายอักษะเป็นไม่แพ้สงครามโลก
สมัย ร.๙ ไทยเป็นภาคีอนุสัญญาสิทธิมนุษยชน มีรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน กม.คุ้มครองสิทธิ
สมัย ร.๑๐ สานต่อปรับปรุง/ร่างก.ม.สิทธิฯเช่น ก.ม.ขจัดการทรมาน อุ้มหาย,คู่ชีวิตฯ มีความท้าทาย
ในอดีต บทบาทของผู้รู้ ขุนนาง
ชนชั้นกลาง ทหาร มีน้อยมาก
ในการขับเคลื่อนฯ
เมื่อเปรียบเทียบกับสังคม
ตะวันตก
ความเหมือนและความแตกต่างของพัฒนาการสิทธิมนุษยชนสากล และ สิทธิมนุษยชนไทย
สิทธิมนุษยชนสากล สิทธิมนุษยชนไทย
ประเด็น
ที่มา กฎธรรมชาติ ศาสนาคริสต์ กฎธรรมชาติ ศาสนาพราหมณ์ พุทธฯ
ผู้นา /ขับเคลื่อนการ
เปลี่ยนแปลง
นักปราชญ์ ขุนนาง ชนชั้นกลาง พระมหากษัตริย์ ต่อมาทหาร พลเรือน
ศึกษาจากต่างประเทศเป็นแกนนา ระยะ
หลังนักวิชาการ นศ.CSOsมีบทบาทมาก
สาเหตุของการเปลี่ยน
แปลง
ลดอานาจผู้ปกครอง ต้องการ
มีส่วนร่วม ให้ยึดก.ม.เป็นหลัก
เห็นตัวอย่างจากประเทศที่เจริญ ใช้
หลักประชาธิปไตย ลดอานาจกษัตริย์
วิธีการเปลี่ยนแปลง เผยแพร่ความรู้ อุดมการณ์ และ
มีการใช้กาลัง เสียชีวิตมาก
ใช้กาลังทหารเปลี่ยนแปลงการ
ปกครอง บาดเจ็บเสียชีวิตน้อยมาก
ความเหมือน ความแตกต่างของพัฒนาการสิทธิมนุษยชนสากล และ สิทธิมนุษยชนไทย*
สิทธิมนุษยชนสากล สิทธิมนุษยชนไทย
ประเด็น
ความครอบคลุม ความเป็นสากล ใช้กับมนุษย์
ทุกคน
มักเน้นบริบทของไทย ต้องมี
ก.ม.ภายในรองรับ
วัตถุประสงค์/
เจตนารมณ์
มุ่งคุ้มครองสิทธิพื้นฐานของ
มนุษย์ทุกคน ไม่คานึงสัญชาติ
มุ่งคุ้มครองสิทธิพื้นฐานของบุคคล
ต่างๆในประเทศ เน้นคนไทยก่อนฯ
ผู้ได้รับประโยชน์ เดิมเสรีชน ผู้ชาย แล้วขยายครอบ
ไปกลุ่มอื่น
เดิมผู้ชาย ต่อมาขยายไปยังหญิง เด็ก
กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ฯ
เสรีภาพ
สิทธิ
หน้าที่
สิทธิมนุษยชน
ยกระดับขึ้น
เป็นสิทธิ
ปฎิบัติตามก.มฯ
อิสระที่จะทา หรือ ไม่ทาอะไร
แต่ต้องไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น/ก.ม.
ประโยชน์ อานาจของ
บุคคล ที่รัฐรับรองให้
ความหมาย และความสัมพันธ์ระหว่าง สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
สิทธิธรรมชาติติดตัวคนมาตั้งแต่เกิด ข้ามพรหมแดนฯ
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เสมอภาค เข้าถึงสิทธิต่างๆ
ไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น
รัฐดูแลให้ปชช.เข้าถึงสิทธิ
ไม่ละเมิดสิทธิ และเยียวยา
เมื่อถูกละเมิดฯ
รัฐดูแลปชช.ใช้เสรีภาพ
โดยไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น
ไม่ละเมิดก.ม.
ปชช.ทาหน้าที่ด้วยความเต็มใจ
สิทธิมนุษยชน หลักนิติธรรม และความยุติธรรม*
สิทธิมนุษยชน
-ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เป็นสิทธิธรรมชาติ ติดตัวมาแต่เกิด เป็นสากลข้ามพรหมแดน
“ความเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ”*
-การเข้าถึง/มีสิทธิ ไม่อาจพรากไปได้ แบ่งแยกไม่ได้ สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน มีส่วนร่วม เป็นส่วนหนึ่ง
ของสิทธิ ตรวจสอบได้ ใช้หลักนิติธรรม
- (สิทธิพื้นฐานขั้นต่าของมนุษย์ทุกคน)
๑
- ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
- สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง หรือคุ้มครอง
- ตามรัฐธรรมนูญฯไทย
- ตามกฎหมายไทย
- ตามสนธิสัญญาที่ไทยมีพันธกรณีที่ต้องปฏิบัติ
(พรบ.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน พศ.๒๕๔๒ มาตรา๓)
สิทธิมนุษยชน หลักนิติธรรม และความยุติธรรม*
นิติธรรม ความยุติธรรม
ความถูกต้องตามศีลธรรม บน
พื้นฐานของจริยธรรม ความ
สมเหตุสมผล ก.ม. ก.ม.ธรรมชาติ*
ศาสนา ความเที่ยงธรรม (equity)
และความเป็นธรรม (fairness)
ตลอดจนการบังคับใช้ก.ม.
การปกครองที่ดีนั้นควรต้องให้ก.ม.อยู่สูงสุด(supremacy
of law) และทุกๆ คนต้องมีสถานะที่เสมอภาค และเท่า
เทียมกันภายใต้ก.ม.
การปกครอง/บริหาร ยึดก.ม.เป็นหลัก
๑).การออกก.ม.
๒).เนื้อหาก.ม.
๓).การใช้ก.ม.ต้องถูกต้อง เป็นธรรม เพื่อประโยชน์ของคน
ส่วนใหญ่และมีการควบคุมการใช้ก.ม.อย่างเหมาะสม*
๑
หลักนิติธรรม บรรจุในรัฐธรรมนูญฯพ.ศ.๒๕๕๐ เป็นครั้งแรก
( ใน มาตรา ๓ วรรค ๒ ,มาตรา ๗๘)
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล

More Related Content

What's hot

อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์6091429
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยPadvee Academy
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์พัน พัน
 
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20mintra_duangsamorn
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานJitiya Purksametanan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxssuser6a0d4f
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารTaraya Srivilas
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ARM ARM
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559ประพันธ์ เวารัมย์
 

What's hot (20)

อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
อารยธรรมเมโสโปเตเมียและอียิปต์
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
กฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
 
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
วิกฤตการณ์ทางการเมืองศตวรรษที่ 20
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
บุคลิกภาพ
บุคลิกภาพบุคลิกภาพ
บุคลิกภาพ
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
 
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหารคุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
Human2.1 1
Human2.1 1Human2.1 1
Human2.1 1
 
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
มาตรฐานการดำเนินงานศูนย์พัฒนาเด็กเล็กของ อปท. ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2559
 

Similar to พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล

กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา ssuserd18196
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนNoojen
 
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา  สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา ssuserd18196
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
เจน1111
เจน1111เจน1111
เจน1111Noojen
 
หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน ssuserd18196
 

Similar to พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล (9)

กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
 
Human2.1
Human2.1Human2.1
Human2.1
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน
 
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา  สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
 
Book
BookBook
Book
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
เจน1111
เจน1111เจน1111
เจน1111
 
หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน
 

More from ssuserd18196

เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง  เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง ssuserd18196
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง ssuserd18196
 
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2565)
 แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4  (พ.ศ. 2562-2565) แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4  (พ.ศ. 2562-2565)
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2565)ssuserd18196
 
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพLandmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพssuserd18196
 
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
 การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็กssuserd18196
 
เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน ssuserd18196
 
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรมssuserd18196
 
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 

More from ssuserd18196 (9)

เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง  เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
 
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2565)
 แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4  (พ.ศ. 2562-2565) แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4  (พ.ศ. 2562-2565)
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2565)
 
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพLandmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
 
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
 การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็ก
 
เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน
 
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
 

พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล

  • 2. พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล และ สิทธิมนุษยชนไทย สิทธิมนุษยชนสากล สิทธิมนุษย์ชน แบบไทย อดีต ปัจจุบัน อดีต ปัจจุบัน แมค นาคาตาร์ อังกฤษ ปฏิวัติ FR* พระ นารายณ์ เสรีภาพ ศาสนา ร.๔ อาแดง เหมือน ปฎิญญา สากลฯ* ร.๖ กบฎ รศ.๑๓๐ ดุสิตธานี ที่มา กฏธรรมชาติ ศ.คริสต์* พ่อขุน ราม เสรีภาพ ค้าขาย ร.๕ เลิก ทาส ปฎิรูป ราชการ รถไฟ ศึกษา สธ.ฯ ร.๗ เปลี่ยน แปลง การปก ครอง* อิสระภาพ US* UN* เมเดลล่า รูล (สิทธิ ผู้ต้องขัง) เอเลนอร์ รูสเวลท์ จอห์น ล็อค* อับราฮัม ลินคอน คานธี ทุนเบริกสิทธิ สิ่งแวดล้อม เนลสัน เมเดลล่า ww2 อนุสัญญา* ร.๘ WW2 ร.๙ สมาชิกUN ปฎิญญาฯ อนุสัญญาฯ ww 1 สันนิ บาต ชาติ เชอรี่ แอน ๑๔ตค. ๑๖ ๖ตค/ ๑๙ ซ้อม อุ้มหาย ที่มา ศ.พุทธ/ พราหมณ์ แผนสิทธิมนุษยชน ๑-๔ SDG วาระ แห่งชาติ ๖๑-๖๒ ข้อกาหนด กรุงเทพ จชต. สงคราม ยสต ปี๔๖ สิ่งแวดล้อม ค้ามนุษย์ มาลาล่า ยูซัฟไฟ มีจุดร่วม (ที่มา ผู้นา ความคิด) และ”จุดต่าง ระหว่างหลักสากล กับ หลักของไทย* รธน.๔๐ อิทธิพลของศ.คริสต์ ต่อผู้ปกครอง มีปราชญ์ ชนชั้นกลาง ต่อสู้ลดช่องว่างของศาสนา การปกครอง เกิดหลักนิติรัฐ/นิติธรรม มีการเปลี่ยนแปลงในอเมริกา ฝรั่งเศสขยายไป จนมีWW2 UN UDHRฯ เทียนวรรณ กุหลาบ สาย ประดิษฐ วัน สันติ ภาพ โลก แนวคิดสมมติเทพ มีช่องว่างระหว่างผู้ปกครองกับผู้ถูกปกครอง มีไพร่ทาส ขุนนางฯ การเปลี่ยนแปลงมาจากKing ปราชญ์ ชนชั้นกลางมีน้อย อิทธิพลตะวันตกเข้ามาไทย จนเกิดกลุ่มที่ต้องการเปลี่ยนแปลงการปกครอง มีวิกฤตินาไปพัฒนา สิทธิสภาพนอก อาณาเขต 9/11 ปฎิวัติ อุตสาหกรรม สิทธิมนุษยชนยุคใหม่ ผลกระทบ ต่อปัจจุบัน บอส กระทิง แดง ชุมนุมคณะ ราษฎร์
  • 3. พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนตามหลักสากลและสิทธิมนุษยชนตามหลักของไทย ที่มาตามหลักศาสนา และกฎธรรมชาติ ปฏิวัติฝรั่งเศส คศ.๑๗๘๙/พศ.๒๓๔๒. แมคนาคาตา อังกฤษ พศ.๑๗๕๘ การประกาศอิสรภาพ ของUS.คศ.๑๗๗๖/ พศ.๒๓๒๙ ตั้งUN พศ.๒๔๘๘ ปฏิญญาสากลฯ พศ.๒๔๙๑ เนลสัน เมเดลลา (๒๔๖๑-๒๕๕๖) ดร.มาร์ติน ลูเธอร์ คิง (พศ.๒๔๗๒-๒๕๑๑) อับราฮัม ลินคอน พศ.๒๓๕๒-๒๔๐๘ คานธี (พศ. ๒๔๑๒-๒๔๙๑) จอห์น ล็อค พศ.๒๑๗๕-๒๒๔๗ เป้าหมายการพัฒนาที่ ยั่งยืนของUN (SDG) พศ.๒๕๕๘-๒๕๗๓ กลุ่ม ๑ กลุ่ม ๒ กลุ่ม ๓ กลุ่ม ๔ WW2 พศ.๒๔๘๔-๒๔๘๘ เอเลนอร์ รูสเวลท์ พศ.๒๔๒๗ -๒๕๐๕ พ่อขุนรามคาแหงฯ พ่อปกครองลูกฯ (พศ.๑๗๘๒-๑๘๔๑) ร.๕ เลิกทาส พศ.๒๓๙๖-๒๔๕๓) ร.๗ คณะราษฎร์ พ.ศ.๒๔๗๕ รัฐธรรมนูญ ปี ๒๕๔๐ เกรต้า ทุนเบิร์ก สวล.(๒๕๔๖- ) มาลาลา ยูซาฟไซ Mary Wollstonecraft พ.ศ.๒๓๐๒-๒๓๓๐ Cyrus the great (๕๗๙-๕๓๐AD)) ข้อกาหนดกรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๕๓ กม.คุ้มครองสิทธิฯออก ตามรธน.ฯปี ๒๕๔๐ สื่อชาลี เอบโด อนุสัญญา ๙ ฉบับ GP.ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ของUN สากล ไทย ร.๙ ไทยเป็นสมาชิกUN และ ภาคีปฏิญญาฯ,อนุสัญญา คาพิพากษาลงโทษ ขรก.ชั้นผู้ใหญ่คดีค้า มนุษย์และทรมาน ร.๖ ดุสิตธานี, ผลฯที่ ไทยส่งทหารไปWW1 พระนารายณ์ฯ อยุธยา เสรีภาพศาสนา การค้าฯ คดีอาแดงเหมือน สมัย ร.๔ กบฏรศ.๑๑๓ (รอ.เหล๊ง)
  • 4. เหตุการณ์ บุคคล องค์กรที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน (แบ่งกลุ่มเรียนรู้ประเด็นสิทธิฯ) หลักศาสนาและ กฎธรรมชาติ ปฏิวัติฝรั่งเศส คศ.๑๗๘๙/พศ. ๒๓๔๒. แมคนาคาตา อังกฤษ พศ. ๑๗๕๘ การประกาศ อิสรภาพของUS. คศ.๑๗๗๖/พศ. ๒๓๒๙ ตั้งUN พศ.๒๔๘๘ ปฏิญญาสากลฯ๒๔๙๑ และอนุสัญญาสิทธิ มนุษยชน ๙ฉบับ* เนลสัน เมเดลลา (๒๔๖๑-๒๕๕๖) มาร์ติน ลูเธอร์ คิง (พศ.๒๔๗๒-๒๕๑๑) อับราฮัม ลินคอน พศ.๒๓๕๒-๒๔๐๘ คานธี (พศ. ๒๔๑๒-๒๔๙๑) จอห์น ล็อค พศ.๒๑๗๕-๒๒๔๗ เป้าหมายการ พัฒนาที่ยั่งยืน ของUN (SDG) พศ.๒๕๕๘- ๒๕๗๓ เชอรี่แอน ดันแคน (เหตุเกิดพศ.๒๕๒๙) เผาบ้านกระเหรี่ยง แก่งกระจาน (๒๕๕๔) จ่านิว อุทยานราชภักดิ์(ปี ๕๘), we walk (ปี๖๑) คนระยองกับมาบตาพุด(ปี ๕๐) และชาวบ้านเทพากับ โรงไฟฟ้า(ปี๖๐) คดีทนายสมชาย (๒๕๔๗),บิลลี่(๒๕๕๗) ๑๔ ตค.๒๕๑๖ ชัยภูมิ ปะแส (ปี๖๐) สงครามยาเสพ ติด ปี ๒๕๔๖ กลุ่ม ๑ กลุ่ม ๒ กลุ่ม ๓ กลุ่ม ๔ WW2 พศ.๒๔๘๔- ๒๔๘๘ มิส เอเลนอร์ รูสเวลท์ พศ.๒๔๒๗ -๒๕๐๕ พ่อขุนรามคาแหง (พศ.๑๗๘๒-๑๘๔๑) รัชกาลที่ ๕ พศ.๒๓๙๖-๒๔๕๓) คณะราษฎร์ พ.ศ.๒๔๗๕ รธน.ปี ๔๐ และกม.คุ้มครอง สิทธิฯหลายฉบับ ออกมา มาลาล่า ยูซุปไซ (พศ.๒๕๔๐-- ) Mary Wollstonecraft ผู้นาสิทธิสตรี พ.ศ.๒๓๐๒-๒๓๓๐ เกรต้า ทุนเบิร์ก สวล.(๒๕๔๖- ) คดีอาแดงเหมือน สมัย ร.๔ ร.๖ ผลฯที่ไทยส่ง ทหารไปWW1 ร.๙ ไทยเป็นสมาชิกUNและ ภาคีปฏิญญาฯ,อนุสัญญา King Cyrus the great (๕๗๙-๕๓๐AD)) การละเมิดสิทธิ มนุษยชนก่อนWW2 การละเมิดสิทธิมนุษยชนหลัง มีUN และอนุสัญญาสิทธิฯ เหตุการณ์ที่ อ. จาคุกนายพลฯ คดีค้ามนุษย์ ปี ๖๐ ข้อกาหนดกรุงเทพฯ พ.ศ.๒๕๕๓ คาพิพากษาลงโทษขรก ชั้นผู้ใหญ่คดีค้ามนุษย และทรมาน สากล ไทย ร.๖ ดุสิตธานี,กบฏ รศ.๑๑๓,ผลฯที่ไทย ส่งทหารไปWW1 พระนารายณ์ มหาราช ชาลี แอบโด
  • 5. พัฒนาการของสิทธิมนุษยชน เกิดมาพร้อมกับ วิวัฒนาการของมนุษย์ และสังคม พัฒนาการของสิทธิมนุษยชน และผลกระทบที่มีต่อสิทธิมนุษยชนไทยในปัจจุบัน* มนุษย์ต่างจากสัตว์โลกอื่นในเรื่อง “สมอง” ระบบคิด ความเชื่อ การปรับตัวกับ สภาพแวดล้อม ซึ่งสัมพันธ์กับพัฒนาการของสังคม ตั้งแต่มนุษย์กาเนิดขึ้นมา การเป็นสัตว์สังคม ต้องพึ่งพากัน มีการกาหนดหน้าที่ ระเบียบการอยู่ร่วมกันใน กลุ่ม/ชุมชน เพื่อความอยู่รอด และการขยายตัวเป็นเมือง นครรัฐ รัฐ มีการกาหนดชนชั้น เพื่อทาหน้าที่ในสังคม มีกลไก เช่น ก.ม.ฯ ผ่านความขัดแย้ง การ ต่อสู้ วิกฤติต่างๆ มีความเหลื่อมล้า ทุกข์ยาก จนหวนมาสู่ความคิดเรื่องสิทธิมนุษยชน
  • 6. พัฒนาการสิทธิมนุษยชนสากล (จากตะวันตก จากสิทธิเฉพาะกลุ่ม สู่ความเป็นสากล)* ที่มา : สิทธิธรรมชาติ กฎ ก.ม.ธรรมชาติ และหลักศาสนา มีหลักฐานแรก แท่งดินเหนียว สมัยกษัตริย์ไซรัส เรื่องเสรีภาพการนับถือศาสนาฯ แมคนาคาต้า เสมือนรัฐธรรมนูญอังกฤษ ที่ลดอานาจกษัตริย์ในการเก็บภาษีและอื่นๆ มีหลักนิติธรรมเกิดขึ้น ความคิดเห็นของนักปรัชญา เช่น จอห์น ล็อค ประชาชนเป็นผู้มีอานาจในการกาหนดและถอดถอนผู้ปกครองได้ หากไม่เป็นธรรมและไร้ประสิทธิภาพ การต่อสู้ของขุนนาง รัฐสภา นักก.ม.ชนชั้นกลางเพื่อลดอานาจผู้ปกครอง) การประกาศอิสระภาพของอเมริกา ข้อความในรัฐธรรมนูญฯ มนุษย์เราถูกสร้างขึ้นมาอย่างเท่าเทียมกันฯ คาประกาศในสิทธิพลเมืองฯของฝรั่งเศส หลังการปฏิวัติฯ “มนุษย์เกิดมาและดารงอยู่อย่างเสรีและเสมอภาคฯ หลังWW2 ที่นาซีฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว ตั้งUN วัตถุประสงค์ข้อหนึ่งคือ การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน เกิด ข้อตกลง(ปฎิญญาสากลฯ) และอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน ๙ ฉบับ และกลไกคุ้มครองสิทธิมนุษยชนขึ้นมา มีผู้นาต่อสู้ ให้เลิกทาส เรียกร้องเอกราช เรียกร้องสิทธิคนผิวสี สตรี การคุ้มครองเด็ก แรงงาน ผู้ลี้ภัย ผู้พิการ สิ่งแวดล้อมฯ เช่น ลินคอน,อีเลนอร์ รูสเวลท์ มาร์ติน ลูเธอร์ คิง, คานธี, เนลสัน เมเดลล่า. ยูเซปไฟ ทุนเบริกจ์ ฯ
  • 7. The Cyrus cylinder ของพระเจ้าไซรัสมหาราช (424-401 BC) ผู้ก่อตั้งจักรวรรดิเปอร์เซีย หรือ Achaemenid Empire* หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ชิ้นแรกของโลกที่บันทึกเรื่อง เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนเมื่อ ๕๓๙ ปีก่อนค.ศ. ในแท่งดิน เหนียว โดยบันทึกว่า “ประชาชนมีสิทธิที่จะ ปฎิบัติตามความเชื่อของ ตนโดยไม่ถูกบังคับให้ เปลี่ยนแปลงฯและลงโทษ”
  • 8. พัฒนาการของสิทธิฯ ราวๆ ค.ศ. 622 ได้เกิดมีรัฐธรรมนูญแห่งเมดินา (Constitution of Medina) ขึ้นมา ซึ่งได้เกิดการ สถาปนาสิทธิหลายประการให้กับชาวยิวและมุสลิมในชุมชนต่างๆ ของเมดินา โดยสิทธิที่สาคัญที่สุดก็คือ สิทธิในการเลือกนับถือศาสนา สาหรับผู้ที่ไม่ใช่มุสลิมและอื่นๆ (เมดินา อยู่ในซาอุดิอาราเบียในปัจจุบัน) จากนั้นก็ล่วงมาอีกเกือบ 600 ปี จึงเกิดพัฒนาการที่ชัดเจนของสิทธิทางการเมือง คือ ในปี ค.ศ. 1215 ใน อังกฤษได้เกิดกฎบัตรแม็กนาคาต้า (Magna Carta) ขึ้น ซึ่งกาหนดว่ากษัติรย์เองก็อยู่ใต้อานาจของก.ม. เช่นกัน จากที่เดิมทีตัวสถาบันกษัตริย์ถือเป็นอานาจสูงสุดและคาสั่งของกษัตริย์ก็คือ ก.ม. แล้วก็มีอีกสารพัด พัฒนาการที่สถาปนา ‘สิทธิ’ ขึ้นอย่างเป็นทางการ จากจุดนี้ มีการต่อรองทางการเมืองต่างๆ ขึ้นมากมาย มาถึงจุดเปลี่ยนผ่านสาคัญ คือ จุดเริ่มต้นของ ‘สิทธิพลเมือง’ อย่างเป็นทางการ (ก่อนหน้านี้เป็น ‘สิทธิ’ ในทาง การเมืองทั่วไปเฉยๆ) ซึ่งเริ่มต้นในอังกฤษและสก็อตแลนด์ ในปี ค.ศ. 1689 โดยในอังกฤษมี Bill of Rights ในขณะที่สก็อตแลนด์มี Claim of Rights เกิดขึ้น โดยเนื้อหาใกล้เคียงกัน คือ สถาปนา สิทธิในฐานะ ‘พล เมือง’ และ ‘การเมือง’ ให้กับประชาชนอังกฤษ/สก็อตแลนด์ เกิด Bill of Rights ใน
  • 9. มหากฎบัตร Magna cartaของอังกฤษ ค.ศ.๑๒๑๕ (การปรากฎตัวของหลักนิติธรรม)* กล่าวถึง สิทธิในการได้รับความคุ้มครองตามก.ม.ของเสรี ชน ไม่ว่าบุคคลนั้นจะอยู่ในชนชั้นหรือวรรณะใดก็ตาม กษัตริย์จะต้องมอบสิทธินี้ให้กับขุนนาง/ผู้ครอบครองที่ดิน (Vassal) ซึ่งจะต้องมอบสิทธิให้กับพลเมือง/ไพร่ในสังกัด โดยพลเมืองทุกคนจะไม่ถูกกดขี่ พ่อค้าและชาวนาไม่ จาเป็นต้องมอบสินค้าบางส่วน/ผลิตผลทางเกษตรให้กับขุน นางหรือกษัตริย์ เพื่อเป็นค่าคุ้มครอง ดังเนื้อความในส่วน หนึ่งของมหากฎบัตร ที่กล่าวว่า "จะไม่มีบุคคลที่ถูกกักขัง หน่วงเหนี่ยว โดยปราศ จากอิสรภาพ หรือถูกยึด ขู่กรรโชก ทรัพย์สินโดย ปราศจากคาตัดสินของศาล" นอกจากนี้พระเจ้า แผ่นดิน ไม่อาจเก็บภาษีได้ โดยไม่ผ่านการเห็น ชอบจากสภาบริหารราชการแผ่นดิน” เป็นที่มาของ “หลักนิติธรรม” และรัฐธรรมนูญ แบบจารีตประเพณี
  • 10. กฎหมายสิทธิพลเมืองของอังกฤษ (English Bill of Rights of 1689) เป็น พ.ร.บ.ที่รัฐสภาแห่งอังกฤษประกาศใช้ในค.ศ.1689 (รับรองสิทธิพื้นฐานของประชาชนของราชอาณาจักร สิทธิดังกล่าวก็ยังถือปฏิบัติอยู่จนทุกวันนี้) ซึ่งถือกันว่าเป็นก.ม.หนึ่งที่เป็นรากฐานของก.ม. รัฐธรรมนูญของประเทศอังกฤษ ที่นอกเหนือไปจาก มหากฎบัตร, พ.ร.บ.การสืบสันตติวงศ์ ค.ศ. 1701 และ ก.ม.อื่น ๆ ที่ประกาศใช้มาโดยรัฐสภาแห่งอังกฤษ นอกจากนั้นพ.ร.บ.สิทธิพลเมือง ค.ศ. 1689 ก็ยังเป็น รากฐานของก.ม.อันสาคัญหลายฉบับของบรรดา ประเทศในเครือจักรภพ อีกด้วย เช่น พ.ร.บ.ว่าด้วยการ ประกาศสิทธิ ค.ศ. 1689 (Claim of Right Act 1689) ของประเทศนิวซีแลนด์ และประเทศแคนาดา
  • 11. .จอห์น ล็อค *..พระเจ้าทรงสร้างมนุษย์ทุกคนให้มี ธรรมชาติแบบเดียวกัน มนุษย์ทุกคนจึงมีอิสระและ ความเสมอภาคกัน ดังนั้นมนุษย์ทุกคนจึงควรมีสิทธิ แบบเดียวกันและเสมอภาคกัน และไม่ควรมีผู้ใดมี สิทธิเหนือกว่าผู้อื่น เขาถือว่าปัจเจกชนทุกคนต่างล้วนมีสิทธิ/อานาจที่มา เองโดยธรรมชาติ โดยมนุษย์เป็นเจ้าของสิทธิ และ ครอบครองสิทธิในทรัพย์สินที่อยู่ตามธรรมชาติ และ สิทธิในชีวิตของปัจเจกชน รัฐมีหน้าที่ในการรับใช้ประชาชน สิทธิทาง การเมืองทั้งหมดเป็นของประชาชน ประชาชนเป็น ผู้มีอานาจในการกาหนดและถอดถอนรัฐบาล ได้ หากรัฐบาลไม่มีความเป็นธรรมและไร้ ประสิทธิภาพในการบริหารประเทศ นักปรัชญาการเมืองชาวอังกฤษ จอห์น ล็อค (John Locke) ค.ศ ๑๖๓๒-๑๗๐๔/พ.ศ.๒๐๗๕-๒๑๔๗. (ศ.ที่๑๗)
  • 12. คาประกาศอิสรภาพของอเมริกา ปีค.ศ.๑๗๗๖ และรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกา* “.......มนุษย์ทุกคนถูกสร้างขึ้นมาอย่างเท่าเทียมกัน และพระผู้สร้างได้มอบ สิทธิบางประการที่จะเพิกถอนมิได้ไว้ให้แก่มนุษย์ ในบรรดาสิทธิเหล่านั้น ได้แก่ ชีวิต เสรีภาพและการเสาะแสวงหาความสุข..”
  • 13. การปฎิวัติฝรั่งเศส และคาประกาศสิทธิของมนุษย์และของพลเมือง ค.ศ. ๑๗๘๙* เป็นเอกสารสาคัญซึ่งเกิดขึ้นในสมัยปฏิวัติฝรั่งเศส กาหนดให้ สิทธิของปัจเจกชนและสิทธิมวลชน เป็นสิทธิสากล ประกาศฉบับนี้ได้รับอิทธิพลจาก ทฤษฎีสิทธิธรรมชาติ ซึ่งหมายความว่า สิทธิดังกล่าวมี อยู่ไม่ว่าเมื่อใดและที่ใด เนื่องจากเป็นสิทธิที่ตั้งอยู่บน พื้นฐานธรรมชาติของมนุษย์ (ไม่อ้างศาสนา) .“ มนุษย์เกิดมาและดารงอยู่อย่างเสรีและ เสมอภาคกันในสิทธิ การเลือกปฏิบัติทางสังคม จะกระทาได้ก็แต่เพื่อประโยชน์ส่วนรวม“ สภาร่างรัฐธรรมนูญ รับรองร่างสุดท้ายของประกาศนี้ เมื่อวันที่ ๒๖ ส.ค.พ.ศ.๒๓๓๒ /ค.ศ.๑๗๘๙
  • 15. Abraham Lincoln 16th President (1809-1865) “ Those who would deny freedom to others, deserve it not for themselves.” การเลิกทาสในสหรัฐอเมริกา ค.ศ.๑๘๖๒ และสงครามกลางเมือง ระหว่างฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้ (ที่ชนชั้นสูง เจ้าของที่ดินใช้แรงงานทาสเป็นปัจจัยสาคัญในการผลิตภาคเกษตร)*
  • 18. แมรี่ โวลสโตนคราฟ สตรีชาวอเมริกัน ผู้ต่อสู้เรียกร้องสิทธิสตรีคนแรก(ค.ศ.๑๗๕๙-๑๗๙๗/พ.ศ.๒๓๐๒-๒๓๔๐) ๗๓ ฉันไม่ปรารถนาให้ผู้หญิงมีอานาจเหนือผู้ชาย แต่ต้องการให้ผู้หญิงมีอานาจเหนือตัวของ พวกเขาเอง (กล้าแสดงออกกล้าเรียกร้อง สิทธิฯของผู้หญิงเอง*
  • 19. การละเมิดสิทธิมนุษยชนก่อนWW2 : Armenian Genocide ในค.ศ.๑๙๑๕/พ.ศ.๒๔๕๘ คนสอง ล้านคนต้องเดินเท้าสี่ปี ป่ วย/ อดตาย ถูกฆ่า ข่มขืนฯโดยทหารตุรกีช่วงสงครามโลกครั้งที่ ๑*
  • 21.
  • 22.
  • 25. วัตถุประสงค์ และหลักการขององค์การสหประชาชาติ* วัตถุประสงค์ของสหประชาชาติ ๑. ธารงไว้ซึ่งสันติภาพและความมั่นคงระหว่างประเทศ ๒. การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน ๓. การเคารพในหลักความยุติธรรมและกฎหมายระหว่างประเทศ ๔. การส่งเสริมความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจและสังคมของ ประชากรโลก ตลอดจนส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศ
  • 27. มิสซิส อิลลินอร์ รูสเวลล์ ภรรยาของประธานาธิบดี แฟรงคลิน ดี รูสเวลล์ แห่งสหรัฐอเมริกา ผู้มีบทบาทสาคัญในการยกร่างปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ (๓๐ ข้อ)*
  • 28. สรุปสาระสาคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ (สากล ไร้พรมแดนฯ) ๑. ทุกคนมีศักดิ์ศรี สิทธิ และเสรีภาพเท่าเทียมกัน และต้องปฏิบัติต่อกันฉันพี่น้อง ๒. ทุกคนมีสิทธิ และเสรีภาพ อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติ ๓. ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิตอยู่ และมีความมั่นคง ๔. ห้ามบังคับคนให้เป็นทาส และห้ามค้าทาสทุกรูปแบบ (ค้ามนุษย์) .๕. ห้ามการทรมาน หรือการลงโทษทารุณโหดร้ายผิดมนุษย์ ๖. สิทธิในการได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลตามกฎหมาย ๗. สิทธิในการได้รับความคุ้มครองตามก.ม.อย่างเท่าเทียมกัน ๘. สิทธิในการได้รับการเยียวยาจากศาล ๙. ห้ามการจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ ๑๐. สิทธิในการได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมและเปิดเผย ๔๙
  • 29. ๑๑. สิทธิในการได้รับการสันนิษฐานว่าบริสุทธิ์ก่อนศาลตัดสิน และต้องมีก.ม.กาหนดว่าการ กระทานั้นเป็นความผิด ๑๒. ห้ามรบกวนความเป็นอยู่ส่วนตัว ครอบครัว เคหสถาน การติดต่อสื่อสาร รวมทั้งห้าม ทาลายชื่อเสียง และเกียรติยศ ๑๓. เสรีภาพในการเดินทางและเลือกถิ่นที่อยู่ในประเทศ รวมทั้งการออกนอกประเทศหรือ กลับเข้าประเทศโดยเสรี ๑๔. สิทธิในการลี้ภัยไปประเทศอื่นเพื่อให้พ้นจากการถูกประหัตประหาร ๑๕. สิทธิในการได้รับสัญชาติ และการเปลี่ยนสัญชาติ ๑๖. สิทธิในการเลือกคู่ครอง และสร้างครอบครัว ๑๗. สิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สิน ๑๘. เสรีภาพในความคิด มโนธรรม ความเชื่อ หรือการถือศาสนา ๑๙. เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและแสดงออก รวมทั้งการได้รับข้อมูลข่าวสาร ๒๐.สิทธิในการชุมนุมโดยสงบและรวมกลุ่ม และห้ามบังคับเป็นสมาชิกสมาคม ๕๐
  • 30. ๒๑. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในรัฐบาลทั้งทางตรง และโดยผ่านผู้แทน อย่างอิสระ และมีสิทธิเข้าถึง บริการสาธารณะโดยเท่าเทียมกัน ๒๒.สิทธิในการได้รับความมั่นคงทางสังคม และได้รับสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยการกาหนดระเบียบและทรัพยากรของประเทศตนเอง ๒๓. สิทธิในการมีงานทาตามที่ต้องการ และได้รับการประกันการว่างงาน รวมทั้งได้รับ ค่าตอบแทนเท่ากัน สาหรับงานอย่างเดียวกัน และรายได้ต้องพอแก่การดารงชีพสาหรับตนเอง และครอบครัว ตลอดจนมีสิทธิก่อตั้ง และเข้าร่วมสหภาพแรงงาน ๒๔. สิทธิในการพักผ่อนและมีเวลาพักจากการทางาน ๒๕. สิทธิในการได้รับมาตรฐานการครองชีพอย่างเพียงพอ ได้รับปัจจัยสี่ สวัสดิการสังคม ประกันการว่างงาน เจ็บป่วย เป็นหม้าย ผู้สูงอายุ ตลอดจนต้องคุ้มครองแม่และเด็กเป็นพิเศษ ๒๖. สิทธิในการได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน ๒๗. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน และได้รับการคุ้มครองทรัพย์สิน ทางปัญญา ๕๑
  • 31. ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.๑๙๔๘/พ.ศ.๒๔๙๑ ขจัดการเลือกปฏิบัติ ทางเชื้อชาติ ค.ศ.๑๙๖๕/พ.ศ.๒๕๐๘ เด็ก ค.ศ.๑๙๘๙/พ.ศ.๒๕๓๒ ต่อต้านการทรมาน ค.ศ.๑๙๘๔/พ.ศ.๒๕๒๗ ต่อต้านอุ้มหาย ค.ศ. ๒๐๐๖/พ.ศ.๒๕๔๙ แรงงานอพยพฯ ค.ศ.๑๙๙๐/พ.ศ.๒๕๓๓ สตรี ค.ศ..๑๙๗๙/พ.ศ.๒๕๒๒ คนพิการ ค.ศ.๒๐๐๖/พ.ศ.๒๕๔๙ ปัญหาการละเมิดสิทธิฯในรูปแบบต่างๆเช่น ฆ่าล้างเผ่าพันธ์ฯ* การจัดตั้งองค์กรสหประชาชาติ ค.ศ.๑๙๔๕/พ.ศ.๒๔๘๘ กติกาฯว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ.๑๙๖๖/พ.ศ.๒๕๐๙ กติกาฯว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ค.ศ.๑๙๖๖/พ.ศ.๒๕๐๙ การจัดกลุ่มของ อนุสัญญาด้านสิทธิ มนุษยชน เจตนารมย์ร่วมกัน ไม่มีสภาพบังคับ เป็นก.ม.ระหว่าง ประเทศ อนุสัญญาสิทธิ มนุษยชน ๙ ฉบับ มี สถานะเป็นก.ม. ระหว่างประเทศ ทุกฉบับเป็นสิทธิ มนุษยชนสากล ไร้พรมแดนฯ
  • 33. ๘๘ มหาตมะ คานธี (ค.ศ.๑๘๖๙-๑๙๔๗) ผู้นาอินเดียในการเรียกร้องเอกราช จากอังกฤษ ด้วยวิธีสันติ (อหิงสา) คานธีดาเนินกิจกรรมมากในช่วงค.ศ.๑๙๑๖-๑๙๔๘
  • 34. ผู้นาในการเรียกร้องสิทธิฯให้ชาว อเมริกันผิวดา Dr. Martin Luther King Jr. (ค.ศ.๑๙๒๙/ พ.ศ.๒๔๗๒ - ค.ศ.๑๙๖๘/พ.ศ. ๒๕๓๑) กล่าวคาปราศรัยแห่ง ประวัติศาสตร์ ในหัวข้อชื่อ ผมมี ความฝัน (I have a dream) ใน ระหว่างการชุมนุมที่อนุสาวรีย์ ประธานาธิบดีลินคอล์น กรุง วอชิงตัน ดีซี เมื่อ ๒๗ สิงหาคม ค.ศ.๑๙๖๓/พ.ศ.๒๕๐๖ *
  • 35. ๙๑ เนลสัน แมนเดลา อดีตประธานาธิบดีอัฟริกาใต้ ผู้ต่อสู้เพื่อสิทธิของ คนผิวสีในอัฟริกาใต้ อดึตถูกจาคุก ๒๗ ปี(ค.ศ.๑๙๖๔-๑๙๙๐)*
  • 36. มาลาลา ยูซาฟไซ* ผู้ต่อสู้เพื่อสิทธิใน การศึกษาของเด็กผู้หญิงใน ปากีสถาน เธอถูกกลุ่มตาลี บันยิงที่ศรีษะ ๙ ต.ค.ปีค.ศ. ๒๐๑๒ต่อมาเธอได้รับ รางวัลโนเบลสาขา สันติภาพในปีค.ศ.๒๐๑๔ ซึ่งเป็นผู้รับรางวัลที่อายุ น้อยที่สุดในวัย เพียง ๑๗ ปี
  • 38. The Bhopal disaster, was a gas leak incident on the night of 2–3 December 1984 at the Union Carbide India Limited pesticide plant in Bhopal, Madhya Pradesh, India. It was considered as of 2010 to be the world's worst industrial disaster. At least 3,787 deaths; over 16,000 claimed, At least 558,125 Non-fatal injuries โรงงานยูเนียนคาร์ไบนด์ระเบิดที่ Bhopal, Madhya Pradesh อินเดีย เมื่อ ธค.๑๙๘๔ เสียชีวิตเกือบสี่พันคน บาดเจ็บเกือบหกแสนคน กระตุ้นให้UN ผลักดันให้เกิดการแก้ไขปัญหา*
  • 39. The Bhopal disaster, was a gas leak incident on the night of 2–3 December 1984 at the Union Carbide India Limited pesticide plant in Bhopal, Madhya Pradesh, India. It was considered as of 2010 to be the world's worst industrial disaster. At least 3,787 deaths; over 16,000 claimed, At least 558,125 Non-fatal injuries การละเมิดสิทธิมนุษยชนขององค์กรธุรกิจ โรงงานยูเนียน คาร์ไบด์ระเบิด ในอินเดีย ผู้เสียชีวิตเกือบสี่พันคน บาดเจ็บมากกว่าห้าแสนคน ๕
  • 40. หลักการชี้แนะ“ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน” แผนปฏิบัติการฯ UN และเครือข่ายองค์กรฯ เพื่อป้องกันปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนขององค์กรธุรกิจทั่วโลก
  • 41. เกรียตา ทุนแบร์ก เริ่ม “การหยุดเรียนประท้วงเพื่อสภาพ ภูมิอากาศ” ที่ด้านหน้าอาคารรัฐสภาของสวีเดนในกรุง สต็อกโฮล์ม เมื่อเดือน ส.ค. ๒๕๖๑ จากนั้นก็มักหยุดเรียนไป ประท้วงทุกวันศุกร์ เธอเริ่มเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก จากการขึ้น กล่าวสุนทรพจน์บนเวทีประชุมของสหประชาชาติว่าด้วย การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศโลกครั้งที่ 24 หรือ COP24 ที่ประเทศโปแลนด์ เมื่อเดือน ธ.ค. ที่ผ่านมา การ หยุดเรียนประท้วงของเธอได้สร้างแรงบันดาลใจให้เยาวชน ทั่วโลก* ๙๓
  • 43. The Bhopal disaster, was a gas leak incident on the night of 2–3 December 1984 at the Union Carbide India Limited pesticide plant in Bhopal, Madhya Pradesh, India. It was considered as of 2010 to be the world's worst industrial disaster. At least 3,787 deaths; over 16,000 claimed, At least 558,125 Non-fatal injuries โรงงานบริษัทยูเนียน คาร์ไบด์ในอินเดีย ระเบิดปี ๑๙๘๔ มีผู้เสียชีวิตมาก เป็นที่มาของ “ธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน”
  • 48. สงครามกลางเมือง ซีเรีย ปีค.ศ.2011- ปัจจุบัน และผลกระทบในด้านสิทธิมนุษยชน
  • 49. กรณี ต.ร.จับกุม จอร์จ ฟลอยด์ จนเสียชีวิต ที่เมืองมินิอาโปลิส รัฐมินิโซต้า สหรัฐฯ
  • 53. พัฒนาการสิทธิมนุษยชนสากล (จากตะวันตก จากสิทธิเฉพาะกลุ่ม สู่ความเป็นสากล)* ที่มา : สิทธิธรรมชาติ กฎ ก.ม.ธรรมชาติ และหลักศาสนา มีหลักฐานแรก แท่งดินเหนียว สมัยกษัตริย์ไซรัส เรื่องเสรีภาพการนับถือศาสนาฯ แมคนาคาต้า เสมือนรัฐธรรมนูญอังกฤษ ที่ลดอานาจกษัตริย์ในการเก็บภาษีและอื่นๆ มีหลักนิติธรรมเกิดขึ้น ความคิดเห็นของนักปรัชญา เช่น จอห์น ล็อค ประชาชนเป็นผู้มีอานาจในการกาหนดและถอดถอนผู้ปกครองได้ หากไม่เป็นธรรมและไร้ประสิทธิภาพ การต่อสู้ของขุนนาง รัฐสภา นักก.ม.ชนชั้นกลางเพื่อลดอานาจผู้ปกครอง) การประกาศอิสระภาพของอเมริกา ข้อความในรัฐธรรมนูญฯ มนุษย์เราถูกสร้างขึ้นมาอย่างเท่าเทียมกันฯ คาประกาศในสิทธิพลเมืองฯของฝรั่งเศส หลังการปฏิวัติฯ “มนุษย์เกิดมาและดารงอยู่อย่างเสรีและเสมอภาคฯ หลังWW2 ที่นาซีฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิว ตั้งUN วัตถุประสงค์ข้อหนึ่งคือ การส่งเสริมสิทธิมนุษยชน เกิด ข้อตกลง(ปฎิญญาสากลฯ) และอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน ๙ ฉบับ และกลไกคุ้มครองสิทธิมนุษยชนขึ้นมา มีผู้นาต่อสู้ ให้เลิกทาส เรียกร้องเอกราช เรียกร้องสิทธิคนผิวสี สตรี การคุ้มครองเด็ก แรงงาน ผู้ลี้ภัย ผู้พิการ สิ่งแวดล้อมฯ เช่น ลินคอน,อีเลนอร์ รูสเวลท์ มาร์ติน ลูเธอร์ คิง, คานธี, เนลสัน เมเดลล่า. ยูเซปไฟ ทุนเบริกจ์ ฯ
  • 54. พัฒนาการสิทธิมนุษยชนไทย* ที่มา: จากกฎธรรมชาติ หลักศาสนาพราหมณ์ พุทธ และอื่นบ้าง สมัยสุโขทัย : พ่อขุนรามคาแหง มีเสรีภาพในการค้า การร้องทุกข์ฯ สมัยอยุธยา : พระนารายณ์ฯ เสรีภาพการนับถือศาสนาฯ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ : ตอนต้น กลาง ปัจจุบัน สมัย ร.๔ จุดเริ่มต้นการเรียกร้องสิทธิสตรี กรณีอาแดงเหมือน สมัย ร.๕ เลิกทาส ปฏิรูปราชการ ก.ม.วางพื้นฐานการศึกษา สาธารณสุข คมนาคม เริ่มเกิดกระแส สมัย ร.๖ ไทยร่วมWW1 เมืองจาลองดุสิตธานี เรียนรู้ประชาธิปไตย กบฎรศ.๑๓๐ กระแสเริ่มแรง สมัย ร.๗ เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ เตรียมเข้าสู่สิทธิมนุษยชนยุคใหม่ สมัย ร.๘ WW2 ไทยเป็นสมาชิกUN มีจุดเปลี่ยนจากเป็นฝ่ายอักษะเป็นไม่แพ้สงครามโลก สมัย ร.๙ ไทยเป็นภาคีอนุสัญญาสิทธิมนุษยชน มีรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน กม.คุ้มครองสิทธิ สมัย ร.๑๐ สานต่อปรับปรุง/ร่างก.ม.สิทธิฯเช่น ก.ม.ขจัดการทรมาน อุ้มหาย,คู่ชีวิตฯ มีความท้าทาย ในอดีต บทบาทของผู้รู้ ขุนนาง ชนชั้นกลาง ทหาร มีน้อยมาก ในการขับเคลื่อนฯ เมื่อเปรียบเทียบกับสังคม ตะวันตก
  • 55. อิทธิพลของศาสนาพราหมณ์ พุทธ และศาสนาอื่น (ศาสนาคริสต์ อิสลาม เต๋าฯ) ต่อสังคมไทย และหลักสิทธิมนุษยชนของไทย
  • 56. พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ครองราชย์ พ.ศ. ๑๘๒๒ - ๑๘๔๑ จากศิลาจารึกสะท้อนให้เห็นสิทธิ เสรีภาพของราษฎร ๑) เศรษฐกิจการค้า ราษฎรค้าขายได้โดยเสรี เจ้าเมืองไม่เรียกเก็บ จังกอบหรือภาษีผ่านทาง มีการค้ากับจีน นาช่างจีนมาทาชามสังคโลก (สิทธิทางเศรษฐกิจ) ผู้ใดล้มตายลง ทรัพย์มรดกก็ตกแก่บุตร ๒) การปกครอง หากผู้ใดไม่ได้รับความเป็นธรรมในกรณีพิพาท ก็มี สิทธิไปสั่นกระดิ่งที่แขวนไว้หน้าประตูวังเพื่อถวายฎีกา(สิทธิใน กระบวนการยุติธรรม) ๓) ศาสนา วัฒนธรรม ทรงประดิษฐ์อักษรไทย และทรงสร้างพระ แท่นศิลาอาสน์ให้พระสงฆ์มาเทศน์ในวันพระ (สิทธิทางวัฒนธรรม) สรุป สิทธิต่างๆที่จารีกไว้ ได้แก่ ๑.สิทธิที่จะล้มพระราชอานาจ (ศิลาจารึกที่ ๓ นครชุม) ๒.สิทธิในทรัพย์สินของราษฏร มีหลักกรรมสิทธิ์เหนือที่ดิน ใช้ยันกับราษฏร ด้วยกันได้ แต่ใช้ยันกับกษัตริย์ไม่ได้(ศิลาจารึกหลักที่ ๑) ๓.สืบในการสืบมรดก(เฉพาะชั้นบุตร) ๔.สิทธิในการเลือกประกอบอาชีพ ๕. สิทธิมนุษยชน ๕.๑ สิทธิของเชลยศึก ๕.๒สิทธิของผู้ลี้ภัยสิทธิของผู้ต้องหา/นักโทษทางอาญา (ศิลาจารึกก.ม.ลักษณะโจร) ๕.๓ สิทธิ ของราษฏรในการถวายฏีกา ๕.๔ สิทธิของราษฏรในการแสดงออก (ศิลาจารึกหลักที่ ๑๑ ด้านที่ ๒)
  • 57. สิทธิในสมัยอยุธยา : กษัตริย์เป็นเทวราชาจากอิทธิขอม ศาสนาพราหมณ์ • พระมหากษัตริย์เป็นเจ้าชีวิต ที่เหลือไม่ว่าเจ้า ราษฏร เป็นข้าแผ่นดินทั้งสิ้น • ลักษณะของสิทธิ ในสมัยกรุงศรีอยุธยา (มรว.เสนีย์ ปราโมช,คาปาฐกถาเรื่องก.ม.สมัยกรุงศรีอยุธยา) ๑. สิทธิของไพร่ ต้องเป็นไพร่สังกัดมูลนาย จึงมีสิทธิร้องฟ้องคดี ไพร่ได้รับการคุ้มครองตาม ก.ม.ลักษณะอาญา หลวง ม.๒๕ ห้ามข้าราชการใช้ไพร่ของตนเยี่ยงทาส ๒. สิทธิของทาส ทาสเป็นผู้ใช้แรงงานต่างดอกเบี้ย เป็นข้าเก่าเต่าเลี้ยง ไม่ใช่มีสถานะเหมือนวัวควาย สัตว์พาหนะ ก.ม.รับรองสิทธิทาสไว้ ดังนี้ - สิทธิในชีวิตของทาส ไม่ให้ลงโทษถึงตาย, สิทธิในการฟ้องคดีของทาส เมื่อใช้ค่าตัวหมดแล้ว,สิทธิในทรัพย์สิน และการตกทอดทรัพย์สินซึ่งเป็นมรดกของทาส(มีสิทธิในทรัพย์สินที่ได้มาก่อนตกเป็นทาส), -สิทธิในเนื้อตัว ร่างกายของทาสหญิง ผห้ามบังคับให้มีผ้วหากไม่ยินยอมหรือข่มขืนเอาเป็นเมียนายเงิน,สิทธิในการหลุดพ้นความ เป็นทาส เมื่อนายไม่เลี้ยง เมื่อบวชพระทาสหญิงเป็นเมียชายไทจนมีลูก ๓. สิทธิ ในทรัพย์สินของราษฏร : ๑. มีสิทธิในทรัพย์ในที่ทามาหาได้ ๒. สิทธิครอบครองที่ดิน, ๓. สิทธิของผู้ลี้ภัย ๔. สิทธิในการรับบาเหน็จ เมื่อทาความชอบให้แผ่นดิน ๕. สิทธิในการทานิติกรรมสัญญา ช่องว่างระหว่างผู้ปกครอง กับราษฎรกว้างขึ้น
  • 58. สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ครองราชย์ พ.ศ.๒๑๙๙-๒๒๓๑ ราชทูตสยามนาโดยโกษาปานเข้าเฝ้าพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ที่ ห้องกระจก พระราชวังแวร์ซาย ณ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2229 (ค.ศ. 1686) สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ทอดพระเนตรจันทรุปราคา ร่วมกับคณะทูต นักบวช คณะเยสุอิต และนักดารา ศาสตร์ชาวฝรั่งเศส เมื่อวันที่ 11 ธค. พ.ศ. 2228 ณ พระที่ นั่งเย็น ทะเลชุบศร เมือง ลพบุรี
  • 59. สิทธิในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น • พระมหากษัตริย์ ทรงเป็นเจ้าชีวิต ที่เหลือไม่ว่าเจ้า ราษฏร เป็นข้าแผ่นดิน เช่นเดียวกับสมัยอยุธยา • ลักษณะของสิทธิ ในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น ซึ่งมีก.ม.ตราสามดวงรับรองสิทธิและฐานะทางก.ม.ของ ราษฎรไว้ แต่ไม่มีสถานะที่เท่าเทียมกันในก.ม. เพียงแต่รับรองให้ราษฏรมีสิทธิได้รับความเป็นธรรมเท่านั้น ๑. สิทธิของราษฏร ในการซื้อขาย เช่าทรัพย์สิน บ้าน สวน นา ไร่ สิทธิถือครองที่ดิน สิทธิในสืบมรดก สิทธิในการทานิติ กรรมสัญญา ๒. สิทธิของทาส มีสิทธิไถ่ถอนตนเองหรือให้ผู้อื่นมาไถ่ถอนได้ หากทาสไม่ได้รับความเป็นธรรม อาจมีสิทธิฟ้องนายเงินได้ (พระอัยการทาษ ม.๘๕) ๓. สิทธิของไพร่ ๓.๑ ในการเข้ารับราชการ สมัยรัชกาลที่ ๑ ผ่อนคลายหลักชาติวุฒิให้ไพร่รับราชการได้ ซึ่งเดิมต้องเป็นลูกเสนาบดีเท่านั้นที่รับ ราชการได้ (หลักเกณฑ์นี้ มีมาตั้งแต่สมัยอยุธยา โดยพระบรมโกษฐ์ ) และให้สิทธิไพร่ถวายตัวเป็นมหาดเล็กได้ ๓.๒ ในการฟ้องร้องคดี เมื่อไพร่มีสิทธิครบตามก.ม. เช่น สังกัดมูลนายแล้วจึงเป็นคู่ความในคดีได้,ส่งค่าตัวให้นายทาสก่อนจึงจะ ฟ้องนายเงินได้ ยกเว้นคดีความสงบเรียบร้อยของแผ่นดิน คดีความผิดมหันตโทษ
  • 60. สนธิสัญญาบาวริ่ง ค.ศ.๑๙๘๕/พ.ศ.๒๓๙๘- ค.ศ.๑๙๓๘/๒๔๘๒ และ สิทธิสภาพนอกอาณาเขตที่มีต่อประเทศไทย ๗๐ ปี (ตั้งแต่สมัย ร.๔-ร.๖/ร.๗) คณะทูตไทยเข้าเฝ้าพระราชินีวิคตอเรีย คณะทูตอังกฤษเข้าเฝ้ารัชกาลที่๔
  • 61. เทียนวรรณ ปราชญ์ราษฎรสมัยรัชกาลที่ ๔-๖ : สะท้อนให้เห็นข้อจากัดของการเสนอความคิดในการปกครอง พัฒนาประเทศ (ซึ่งเป็นของพระมหากษัตริย์พระบรมวงศานุวงศ์ และชนชั้นสูง) เมื่อเทียบกับโลกตะวันตก เทียนวรรณ หรือ ต.ว.ส. วัณณาโภ เป็นนามปากกาของ เทียน วัณณาโภ (พ.ศ. 2385 - พ.ศ. 2458) ทนายความ และนัก คิดนักเขียนคนสาคัญ ที่มีบทความวิพากษด้านนโยบายการต่างประเทศ ด้านเศรษฐกิจ และด้านการศึกษา ในสมัยรัชกาล ที่ 4 ถึงรัชกาลที่ 6 เทียนวรรณศึกษาก.ม.ด้วยตนเองอย่างจริงจัง และเริ่มทางานเป็นที่ปรึกษาก.ม.รวมทั้งศึกษาเพิ่มเติมทั้ง ภาษาไทยและอังกฤษอย่างต่อเนื่อง เขาเขียนทั้งบทความ, บันทึกประจาวัน, กาพยกลอน และทางานช่วยเหลือประชาชน ทั่วไปให้ได้รับความยุติธรรมทางก.ม. ในปี พ.ศ. 2425 เทียนวรรณถูกฟ้องร้องกรณีเขียนฎีกาให้กับราษฎรผู้หนึ่ง และถูกตัดสินว่าหมิ่นตราพระราชสีห ซึ่งเท่ากับ หมิ่นพระบรมเดชานุภาพและหมิ่นประมาทเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย และกระทรวงเกษตร ถูกโบย 50 ที และขังคุกโดย ไม่มีกาหนด เทียนวรรณถูกจาขังอยู่ 17 ปี จึงได้รับอิสรภาพในปี พ.ศ. 2442 ระหว่างถูกคุมขังได้มีผลงานเขียนสม่าเสมอ เทียนวรรณ ได้ออกนสพ.รายปักษ ชื่อ "ตุลวิภาคพจนกิจ" ระหว่าง พ.ศ. 2442 ถึง พ.ศ. 2449 และ "ศิริพจนภาค" เมื่อ พ.ศ. 2451 โดยวิจารณสังคมไทยในยุคนั้น เช่น เรื่องการมีภรรยาหลายคน การเล่นการพนัน การรับสินบน และยัง เสนอแนะให้รัฐบาลปรับปรุงพัฒนาประเทศ ตั้งโรงเรียนสอนวิชาแพทย์ วิชาช่าง ตั้งศาลยุติธรรม ตัดถนนและ ทางรถไฟ ก่อตั้งกิจการไปรษณีย์ โทรเลข และธนาคารพาณิชย์ เสนอ ก.ม.ห้ามสูบฝิ่น เลิกทาส ห้ามเล่นการพนัน ห้ามชายไทยมีภรรยาหลายคน เทียนวรรณเสียชีวิตเมื่อ ปี พ.ศ. 2458 ขณะอายุได้ 73 ปี
  • 62. อาแดงเหมือน ซึ่งเป็นลูกของนายเกตกับอาแดง (นาง) นุ่น มีอาชีพทาสวนอยู่ที่ ต.บางม่วง แขวงเมืองนนทบุรี พ่อ และแม่ยกอาแดงเหมือนให้เป็นภรรยานายภู อาแดง เหมือนไม่ยอม พ่อแม่ก็ให้นายภูมาฉุดเอาตัวไป แต่ อาแดงเหมือนหนีกลับบ้านของตน นายภูมาฉุดไปอีก อาแดงเหมือนก็หนีไปอีก ไปอยู่กับนายริด ชายคนรัก นาย ภูจึงฟ้องนายริดว่าลักพาเมียตน ระหว่างที่โจทก์จาเลยยังสู้ ความกันอยู่ที่ศาล อาแดงเหมือนได้ถูกควบคุมไว้ในตะราง ที่จวนของพระนนทบุรี เจ้าเมืองนนทบุรี และถูกนายเปี่ ยม พะทามะรงซึ่งกินสินบนของนายภูกลั่นแกล้งทารุณต่างๆ นานาเพื่อบีบบังคับให้อาแดงเหมือนยอมเป็นภรรยานายภู อาแดงเหมือนจึงหนีตะรางไปถวายฎีกาต่รัชกาลที่ ๔ ณ พระที่นั่งสุทไธศวรรย์ เมื่อวันอาทิตย์ที่ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๐๘ ๑๐๐
  • 63. การเปลี่ยนแปลงในสมัย ร.๕ ไทยเลิกทาส พ.ศ. อีงกฤษเลิกทาสปั ๒๓๑๖ อเมริกาปี ๒๔๐๘
  • 65. การเปลี่ยนแปลงด้านสิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ในสมัยรัชกาลที่ ๖ รัชกาลที่ ๖ เป็นพระมหากษัตริย์ ไทยองค์แรกที่จบการศึกษาจาก ต่างประเทศ (รร.นายร้อยแซนเฮิรส์ และมหาวิทยาลัยอ๊อกฟอร์ด) ทหารไทยร่วมรบในWW1 พ.ศ.๒๔๖๐ นาไปสู่การแก้ ไขสนธิสัญญาฯที่ไทย เสียเปรียบ กบฏ ทหารหนุ่ม รศ.๑๓๐/พ.ศ.๒๔๕๕ เมืองจาลอง ดุสิตธานี ๒๔๖๐ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี ๒๔๕๙
  • 66. เหตุการณ์กบฎ ร.ศ 130 (เหล็ง ศรีจันทร์) เกิดขึ้นก่อนการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ถึง 24 ปี โดย เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อพ.ศ. 2455 (ร.ศ. 130) เมื่อนายทหารและปัญญาชนกลุ่มหนึ่งปฏิบัติการ โดยหมายให้พระมหากษัตริย์ทรงพระราชทาน รัฐธรรมนูญให้และเปลี่ยนแปลงการปกครองสู่ ระบอบประชาธิปไตย แต่แผนการแตกเสีย ก่อน มีการจับกุมผู้คิดก่อการหลายคนไว้ได้ มีการ พิจารณาตัดสินลงโทษให้จาคุกและประหารชีวิต ท้ายที่สุดได้รับการพระราชทานอภัยโทษ กบฎ รศ.๑๓๐ : สัญญานเตือนเรื่องกระแสประชาธิปไตยจากกลุ่มทหารหนุ่ม
  • 67. ดุสิตธานี เมืองจาลองแห่งประชาธิปไตย ร.๖ ทรงสร้างในปีพ.ศ. ๒๔๖๐ ไม่ได้ทาเป็นบัตรคาแจกให้ศึกษา
  • 68. ดุสิตธานี เมืองจาลองแห่งประชาธิปไตย ร.๖ ทรงสร้างในปีพ.ศ. ๒๔๖๐ หลังกบฎรศ.๑๓๐
  • 69. การเปลี่ยนแปลงการปกครองฯ สมัยรัชกาลที่ ๗ พื้นฐานสู่สิทธิมนุษยชนยุคใหม่ของไทย
  • 72. ปราชญ์ชาวบ้าน นักคิด ข้าราชการ ชนชั้นกลาง ที่ริเริ่ม ผลักดันเรื่องสิทธิมนุษยชนไทย อาแดงเหมือน สมัย ร.๔ เทียนวรรณ สมัย ร.๔- ร.๖ กุหลาบ สายประดิษฐ์ สมัยร.๗-ร.๙ นายทหาร กบฏ ร.ศ. ๑๓๐ สมัย ร.๖ ศ.ดร.ปรีดี พนมยงค์ นายทหารผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
  • 73. ปราชญ์ชาวบ้าน นักคิด ข้าราชการ ชนชั้นกลาง ที่ริเริ่ม ผลักดันเรื่องสิทธิมนุษยชนไทย อาแดงเหมือน สมัย ร.๔ เทียนวรรณ สมัย ร.๔- ร.๖ กุหลาบ สายประดิษฐ์ สมัยร.๗-ร.๙ นายทหาร กบฏ ร.ศ. ๑๓๐ สมัย ร.๖ ศ.ดร.ปรีดี พนมยงค์ นายทหารผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
  • 74. กุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือรู้จักกันดีในนามปากกา ว่า ศรีบูรพา[1] (31 มีนาคม พ.ศ. 2448 - 16 มิถุนายน พ.ศ. 2517) เป็นนักเขียนที่มีชื่อเสียงชาวไทย เจ้าของวาทะ "ฉันรักธรรมศาสตร์ เพราะธรรมศาสตร์ สอนให้ฉันรักประชาชน"[2] บุคคลดีเด่นของโลกจากองค์การยูเนสโก พ.ศ. 2548 ปัญญาชนสยาม ผู้ต่อสู้เพื่ออุดมการณ์ • สิทธิมนุษยชน ความเสมอภาคของบุคคล คุณค่าของคนมิใช่มาแต่เพียงชาติกาเนิด และ • การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ตั้งแต่ก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง
  • 75. ๑๖ ธ.ค.พ.ศ. ๒๔๘๙ ประเทศไทยเข้าเป็นสมาชิกองค์การสหประชาชาติ (UN) ฐานะสมาชิกใหม่เป็นลาดับที่ ๕๕ รัชกาลที่ ๙ ทรงครองราชย์นาน ที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติไทย ผ่านเส้นทางยาวนานของการ พัฒนาสิทธิมนุษยชนไทย
  • 76.
  • 77. เหตุการณ์ ๑๔ ตุลาคม ๒๕๑๖ จุดเริ่มต้นของพลัง นศ.ปชช.ขับไล่เผด็จการฯ
  • 78. เหตุการณ์ ๖ ต.ค. ๒๕๑๙ จะกลับมาเกิดขึ้นอีก เมื่อคนไทยมีความขัดแย้ง ทางความคิดเห็นทางการเมือง ใช้ความรุนแรงเข่นฆ่าคนไทยด้วยกันได้
  • 79. เหตุการณ์พฤษภาทมิฬ (๑๗-๒๔ พฤษภาคม ๒๕๓๕) ต่อต้านการสืบทอดอานาจ รสช.ของพล อ.สุจินดาฯ
  • 80. คดีฆาตกรรมน.ส.เชอรีแอน ดันแคน ในปีพ.ศ. ๒๕๒๙ สะท้อนให้เห็นปัญหาในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย นาไปสู่การปรับปรุงครั้งสาคัญ -
  • 81. รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.๒๕๔๐ (รัฐธรรมนูญ ฉบับประชาชน) เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐ ก็คือการปฏิรูปการเมืองโดยมี เป้าหมาย ๓ ประการ[2] ๑. ขยายสิทธิ เสรีภาพ และส่วนร่วมของพลเมืองในการเมือง สิทธิใน กระบวนการการยุติธรรม เยียวยาฯ ๒. การเพิ่มการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐโดยประชาชน เพื่อให้เกิด ความสุจริตและโปร่งใสในระบอบการเมือง ๓.การทาให้ระบบการเมืองมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพ รัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐ มีผลกระทบที่สาคัญต่อพัฒนาการสิทธิมนุยชน ในประเทศไทย หลายประการ - บทบัญญัติเรื่องสิทธิฯต่างๆ - นาไปสู่ก.ม.ภายในด้านการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและการเยียวยา - การจัดตั้งองค์กรคุ้มครองสิทธิฯและการตรวจสอบรัฐบาลฯ
  • 84. กรณีตากใบ จ.นราธิวาสปี ๒๕๔๗ การปฏิบัติงานของจนท.ฯมีความเสี่ยงในการละเมิดสิทธิฯ
  • 85. เพลิงไหม้โรงงานเคเดอร์ อ.สามพราน นครปฐม เมื่อ10 พค.2536 มีผู้เสียชีวิตเกือบสองร้อยคน
  • 86. คดีอุ้มหาย กรณีทนายสมชาย อุ้มแขวนคอที่กาฬสินธ์ เอกยุทธ และบิลลี่ คดีจับผู้ต้องหาแขวนคอที่กาฬสินธ์พ.ศ.๒๕๔๗ คดีอุ้มบิลลี่ หายตัวไป ปีพ.ศ.๒๕๕๗ คดีอุ้มทนายสมชาย ปีพ.ศ.๒๕๔๖
  • 89. การจับกุมผู้ต้องหาผิดตัว ตร.ปราบปรามยาเสพติดจับผู้ต้องหาผิดตัว นายสมชัย แซ่ลิ้ม คนเลี้ยงหมูจากเพชรบุรี ถูก ขัง ๒๓ วัน จนภรรยาหาข้อมูลเดินเรื่องจน ศาลฯพระโขนงเปิดไต่สวนจนสาเร็จ จับผิดตัวคดีวิ่งราวทรัพย์ที่ธัญบุรี จนศาล ชั้นต้นพิพากษาลงโทษแฝดผู้น้อง
  • 91.
  • 92. จนท.ฯ เผาบ้าน เผาที่ทากิน ขับลาชาวกระเหรี่ยงแก่งกระจาน ให้ออกจากพื้นที่
  • 93. คดีทายาทกระทิงแดง ชนตารวจตายแล้วหนี เกือบ ๘ ปีไม่คืบหน้า มีจนท.รัฐหลายฝ่ายช่วยเหลือ
  • 99. เหตุการณ์ และบทเรียน ที่นาไปสู่การพัฒนาสิทธิมนุษยชนไทย ในสมัย รัชกาลที่ ๑๐ เป็นช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี่ ตปท.ที่ รวดเร็ว ในขณะที่ระบบการเมืองการปกครองไทย ยังไม่พัฒนามาก พ.ศ. ๒๕๕๙ ถึงปัจจุบัน มีภัยคุกคามทางธรรมชาติ (ภาวะโลกร้อนฯ) โรคระบาด (ไวรัสโควิด ๑๙ และ disruption เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี่ ประชาชนมีความคาดหวังจากรัฐบาล สถาบันการเมือง/สังคม ในการ แก้ไขปัญหาเหล่านี้มีการแสดงออก การวิพากษ์วิจารณ์ การชุมนุมฯ มีปัญหาต่างๆที่ยังแก้ไขไม่สาเร็จ เช่น กระบวนการยุติธรรมทาง อาญา ความเหลื่อมล้าทางเศรษฐกิจ คอรัปชั่น มลภาวะ ฯ และมี ปัญหาใหม่ที่เกิดจากสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป
  • 100. ลุงน้าอาพี่ ขยี้กาม ดญ. ๑๒ ปีนาน ๒ ปี การละเมิดสิทธิเด็ก จากเหตุการณ์ปี ๒๕๖๑-๒๕๖๓
  • 103. ปัญหาฝุ่ น PM2.5ตั้งแต่ปี ๒๕๖๐ - ปัจจุบัน
  • 104. คดีทายาทกระทิงแดง ชนตารวจตายแล้วหนี เกือบ ๘ ปีไม่คืบหน้า มีจนท.รัฐหลายฝ่ายช่วยเหลือ ๑.หลักสิทธิมนุษยชน ๒.หลักนิติธรรม ๓.ความยุติธรรม -ศักดิศรีความเป็นมนุษย์ -เลือกปฎิบัติ -จนท.ในกระบวนการยุติธรรม คอรัปชั่น ทาผิดก.ม. -การกระทาของจนท.ผิดก.ม. ไม่ยึดหลักปกครองโดยก.ม. -เจ้าหน้าที่ในกระบวนการ ยุติธรรมฯทางานเป็น เครือข่ายช่วยผู้กระทาผิด -ไม่เป็นกลาง ไม่เป็นธรรม คน รวยทาผิดไม่ถูกนามาลงโทษ
  • 106. พัฒนาการสิทธิมนุษยชนไทย* ที่มา: จากกฎธรรมชาติ หลักศาสนาพราหมณ์ พุทธ และอื่นบ้าง สมัยสุโขทัย : พ่อขุนรามคาแหง มีเสรีภาพในการค้า การร้องทุกข์ฯ สมัยอยุธยา : พระนารายณ์ฯ เสรีภาพการนับถือศาสนาฯ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ : ตอนต้น กลาง ปัจจุบัน สมัย ร.๔ จุดเริ่มต้นการเรียกร้องสิทธิสตรี กรณีอาแดงเหมือน สมัย ร.๕ เลิกทาส ปฏิรูปราชการ ก.ม.วางพื้นฐานการศึกษา สาธารณสุข คมนาคม เริ่มเกิดกระแส สมัย ร.๖ ไทยร่วมWW1 เมืองจาลองดุสิตธานี เรียนรู้ประชาธิปไตย กบฎรศ.๑๓๐ กระแสเริ่มแรง สมัย ร.๗ เปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ.๒๔๗๕ เตรียมเข้าสู่สิทธิมนุษยชนยุคใหม่ สมัย ร.๘ WW2 ไทยเป็นสมาชิกUN มีจุดเปลี่ยนจากเป็นฝ่ายอักษะเป็นไม่แพ้สงครามโลก สมัย ร.๙ ไทยเป็นภาคีอนุสัญญาสิทธิมนุษยชน มีรัฐธรรมนูญฉบับประชาชน กม.คุ้มครองสิทธิ สมัย ร.๑๐ สานต่อปรับปรุง/ร่างก.ม.สิทธิฯเช่น ก.ม.ขจัดการทรมาน อุ้มหาย,คู่ชีวิตฯ มีความท้าทาย ในอดีต บทบาทของผู้รู้ ขุนนาง ชนชั้นกลาง ทหาร มีน้อยมาก ในการขับเคลื่อนฯ เมื่อเปรียบเทียบกับสังคม ตะวันตก
  • 107. ความเหมือนและความแตกต่างของพัฒนาการสิทธิมนุษยชนสากล และ สิทธิมนุษยชนไทย สิทธิมนุษยชนสากล สิทธิมนุษยชนไทย ประเด็น ที่มา กฎธรรมชาติ ศาสนาคริสต์ กฎธรรมชาติ ศาสนาพราหมณ์ พุทธฯ ผู้นา /ขับเคลื่อนการ เปลี่ยนแปลง นักปราชญ์ ขุนนาง ชนชั้นกลาง พระมหากษัตริย์ ต่อมาทหาร พลเรือน ศึกษาจากต่างประเทศเป็นแกนนา ระยะ หลังนักวิชาการ นศ.CSOsมีบทบาทมาก สาเหตุของการเปลี่ยน แปลง ลดอานาจผู้ปกครอง ต้องการ มีส่วนร่วม ให้ยึดก.ม.เป็นหลัก เห็นตัวอย่างจากประเทศที่เจริญ ใช้ หลักประชาธิปไตย ลดอานาจกษัตริย์ วิธีการเปลี่ยนแปลง เผยแพร่ความรู้ อุดมการณ์ และ มีการใช้กาลัง เสียชีวิตมาก ใช้กาลังทหารเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง บาดเจ็บเสียชีวิตน้อยมาก
  • 108. ความเหมือน ความแตกต่างของพัฒนาการสิทธิมนุษยชนสากล และ สิทธิมนุษยชนไทย* สิทธิมนุษยชนสากล สิทธิมนุษยชนไทย ประเด็น ความครอบคลุม ความเป็นสากล ใช้กับมนุษย์ ทุกคน มักเน้นบริบทของไทย ต้องมี ก.ม.ภายในรองรับ วัตถุประสงค์/ เจตนารมณ์ มุ่งคุ้มครองสิทธิพื้นฐานของ มนุษย์ทุกคน ไม่คานึงสัญชาติ มุ่งคุ้มครองสิทธิพื้นฐานของบุคคล ต่างๆในประเทศ เน้นคนไทยก่อนฯ ผู้ได้รับประโยชน์ เดิมเสรีชน ผู้ชาย แล้วขยายครอบ ไปกลุ่มอื่น เดิมผู้ชาย ต่อมาขยายไปยังหญิง เด็ก กลุ่มผู้ด้อยโอกาส ฯ
  • 109. เสรีภาพ สิทธิ หน้าที่ สิทธิมนุษยชน ยกระดับขึ้น เป็นสิทธิ ปฎิบัติตามก.มฯ อิสระที่จะทา หรือ ไม่ทาอะไร แต่ต้องไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น/ก.ม. ประโยชน์ อานาจของ บุคคล ที่รัฐรับรองให้ ความหมาย และความสัมพันธ์ระหว่าง สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน สิทธิธรรมชาติติดตัวคนมาตั้งแต่เกิด ข้ามพรหมแดนฯ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ เสมอภาค เข้าถึงสิทธิต่างๆ ไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น รัฐดูแลให้ปชช.เข้าถึงสิทธิ ไม่ละเมิดสิทธิ และเยียวยา เมื่อถูกละเมิดฯ รัฐดูแลปชช.ใช้เสรีภาพ โดยไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น ไม่ละเมิดก.ม. ปชช.ทาหน้าที่ด้วยความเต็มใจ
  • 110. สิทธิมนุษยชน หลักนิติธรรม และความยุติธรรม* สิทธิมนุษยชน -ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ เป็นสิทธิธรรมชาติ ติดตัวมาแต่เกิด เป็นสากลข้ามพรหมแดน “ความเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ”* -การเข้าถึง/มีสิทธิ ไม่อาจพรากไปได้ แบ่งแยกไม่ได้ สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน มีส่วนร่วม เป็นส่วนหนึ่ง ของสิทธิ ตรวจสอบได้ ใช้หลักนิติธรรม - (สิทธิพื้นฐานขั้นต่าของมนุษย์ทุกคน) ๑ - ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ - สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง หรือคุ้มครอง - ตามรัฐธรรมนูญฯไทย - ตามกฎหมายไทย - ตามสนธิสัญญาที่ไทยมีพันธกรณีที่ต้องปฏิบัติ (พรบ.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน พศ.๒๕๔๒ มาตรา๓)
  • 111. สิทธิมนุษยชน หลักนิติธรรม และความยุติธรรม* นิติธรรม ความยุติธรรม ความถูกต้องตามศีลธรรม บน พื้นฐานของจริยธรรม ความ สมเหตุสมผล ก.ม. ก.ม.ธรรมชาติ* ศาสนา ความเที่ยงธรรม (equity) และความเป็นธรรม (fairness) ตลอดจนการบังคับใช้ก.ม. การปกครองที่ดีนั้นควรต้องให้ก.ม.อยู่สูงสุด(supremacy of law) และทุกๆ คนต้องมีสถานะที่เสมอภาค และเท่า เทียมกันภายใต้ก.ม. การปกครอง/บริหาร ยึดก.ม.เป็นหลัก ๑).การออกก.ม. ๒).เนื้อหาก.ม. ๓).การใช้ก.ม.ต้องถูกต้อง เป็นธรรม เพื่อประโยชน์ของคน ส่วนใหญ่และมีการควบคุมการใช้ก.ม.อย่างเหมาะสม* ๑ หลักนิติธรรม บรรจุในรัฐธรรมนูญฯพ.ศ.๒๕๕๐ เป็นครั้งแรก ( ใน มาตรา ๓ วรรค ๒ ,มาตรา ๗๘)