SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
“สิทธิมนุษยชน” กับ “ศาสนา”
โดย
นายพิทยา จินาวัฒนน
ที่ปรึกษาประจาคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม และอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาาพ
วัตถุประสงค์และแนวทางการฝึกอบรม
•วัตถุประสงค : เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าอบรมในเรื่อง
• - “ความสัมพันธของ ศาสนา คาสอนสาคัญของศาสนาสาคัญที่ประชาชนใน
ประเทศไทยเคารพนับถือ กับสิทธิมนุษยชนตามหลักสากล และหลักของ
ประเทศไทย”
•อันจะเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และการดาเนินชีวิตประจาวันได้อย่าง
สอดคล้อง เหมาะสมต่อไป
•แนวทางการฝึกอบรม : การบรรยาย การนาอภาิปราย ประกอบคลิป
•วิทยากร : ผู้แทนองคกรศาสนาพุทธ คริสต และอิสลาม และนายพิทยา จิ
นาวัฒนน เป็นผู้ดาเนินการอภาิปราย
•เวลา : ๑ ช.ม.๓๐ นาที
การเรียนรู้ของผู้เข้าอบรม
ผู้เข้าอบรม
วิทยากร
เพื่อนผู้เข้า
อบรม
ฝ่ายจัดการ
อบรม
สภาาพแวดล้อมในการฝึกอบรม (สนับสนุน และข้อจากัด)
สถานที่อบรม ทรัพยกรฯ
ภาัยคุกคาม (โควิดฯ)
นโยบาย ก.ม.
ความพร้อมทาง
ร่างกาย จิตใจ
การเรียนรู้ของผู้เข้าอบรม
ผู้เข้าอบรม
(ตัวท่าน)
วิทยากร
เพื่อนผู้เข้า
อบรม
ฝ่ายจัดการ
อบรม
สภาาพแวดล้อมในการฝึกอบรม (สนับสนุน และข้อจากัด)
สถานที่อบรม ทรัพยกรฯ
ภาัยคุกคาม (โควิดฯ)
นโยบาย ก.ม.
ความพร้อมทาง
ร่างกาย จิตใจ
ผู้แทนจาก
องคกรศาสนา
พุทธ คริสต
อิสลาม
จานวน ๕๐๐ คน
จากองคกร/
สถานศึกษา
กทม.และ
จังหวัดต่างๆ
๑. ความสัมพันธของศาสนา กับ สิทธิมนุษยชน
ประเด็นในการฝึกอบรม/เสวนา
๒. หลักคาสอนของศาสนาที่สาคัญ ที่ปรากฏอยู่ในสิทธิมนุษยชนสากล
และ สิทธิมนุษยชนไทย (ในลักษณะ รูปแบบต่างๆ)
๓. แนวทางการนาคาสอนตามหลักศาสนา ไปสร้างวัฒนนธรรมสิทธิ
มนุษยชนในกลุ่มเป้าหมายเด็ก/เยาวชน(และอื่นๆ) และความท้าทายฯ
๔. สรุป และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวม
๑. ความสัมพันธของศาสนา กับ สิทธิมนุษยชน
ประเด็นในการฝึกอบรม/เสวนา
๒. หลักคาสอนของศาสนาที่สาคัญ ที่ปรากฏอยู่ในสิทธิมนุษยชน
สากล และ สิทธิมนุษยชนไทย (ในลักษณะ รูปแบบต่างๆ)
๓. แนวทางการนาคาสอนตามหลักศาสนา ไปสร้างวัฒนนธรรมสิทธิ
มนุษยชนในกลุ่มเป้าหมายเด็ก/เยาวชน(และอื่นๆ) และความท้าทาย
๔. สรุป และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวม
๑๐ นาที
๔๕ นาที
๑๕ นาที
๒๐ นาที
๑. ความสัมพันธของศาสนา กับ สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสากล (ปรากฏอยู่ใน)
(ปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ อนุสัญญาสิทธิมนุษยชน ๙ ฉบับ และอื่นๆ
เช่น อนุสัญญาเจนีวา(เชลยศึก) อนุสัญญาผู้ลี้ภาัย อนุสัญญาแรงงานฯ
คณะผู้ยกร่างฯจากรัฐต่างๆ
สิทธิธรรมชาติกับกฎธรรมชาติ
การจัดทาปฏิญญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯค.ศ.๑๙๔๘/พ.ศ.๒๔๙๑
The first controversy to resolve was related to the very origin of the human rights,
basically the discussion between the supporters of the concepts of natural rights (which
humans are endowed by God or Nature) and positive rights (which humans acquire as
a result of a rational agreement).[6]
The second controversy was basically between the positions of the Marxist theory of
the Soviet Bloc and the liberal theory of the Western World. In philosophical terms, the
Soviet Bloc criticized the individualist stance of the issue, arguing in favor of
the collectivism approach, where the rights of the collective dominate that of an
individual. In political terms, the Soviet Union and its satellites, facing mounting
accusations of human rights violations, argued that the declaration is a mere formality if
it would not consider guarantees of economic and social rights. However these
objections were of surprisingly little consequence, because the Soviet Block was not
very active during the seating of the Commission, perhaps indicating a preestablished
decision not to sign the Declaration.[6]
Another issue is the legal status of the declaration. The majority considered the
document to be mainly of moral character. At the same time some participants argued
in favor of adding certain legal aspects in terms of international law.[6]
British representatives in particular were extremely frustrated that the proposal had
moral but no legal obligation. (It was not until 1976 that the International Covenant on
Civil and Political Rights came into force, giving a legal status to most of the
Declaration) [7]
UDHR timeline
Controversies ข้อถกเถียงในระหว่างยกร่างฯ
๑.สิทธิธรรมชาติ โดย
ธรรมชาติ หรือ พระเจ้า และ
เรื่องสิทธิเชิงบวก ที่มนุษย
ได้มาจากผลของข้อตกลงที่มี
เหตุผล
๒.ทฤษฎีมารกซิสต หรือ
ทฤษฎีเสรีนิยม ระหว่าง
collectivism กับสิทธิ
ปัจเจกชน
๓. สถานะ/ผลทางก.ม.ของ
ปฏิญญาสากลฯ (มีเรื่องประ
เด็นทางจริยธรรมมาก)ผู้แทน
อังกฤษผิดหวังที่ไม่เป็นIL จน
ถึงปี ค.ศ.๑๙๗๖/พ.ศ.๒๕๑๙
เมื่อ ICCPR มีผลบังคับใช้
เป็นกม.ระหว่างประเทศ)
ปฎิญญาสากลฯจัดทาขึ้นหลังตั้งUN โลกขณะนั้นแบ่งเป็น ๒ ค่าย โลกเสรี และ
หลังม่านเหล็ก คณะทางานยกร่างมีผู้แทนทั้งโลกเสรี สังคมนิยม รัฐอิสลาม
The vote for the declaration was 48 to 0 (๑๐ ธค. ค.ศ. ๑๙๔๘/พ.ศ.๒๔๙๑ มีผู้ไม่ออกเสียง ๘ คน)
with eight abstentions: the Byelorussian Soviet Socialist Republic, Czechoslovakia,
the People's Republic of Poland, the Kingdom of Saudi Arabia, the Ukrainian Soviet
Socialist Republic, the Union of South Africa, the Union of Soviet Socialist Republics,
and the Socialist Federal Republic of Yugoslavia
The Drafting Committee[1] included
•Eleanor Roosevelt, United States (Chair) P. C. Chang, Republic of China
•Charles Malik, Lebanon William Roy Hodgson, Australia Hernán Santa Cruz, Chile
•René Cassin, France (ยกร่างที่ ๒ โครงสร้างของปฎิญญาฯ ได้รับอิทธิพลจาก Napolean Code
เปรียบเป็นส่วนๆ เหมือนโครงสร้างของวิหารกรีก ต่อมาได้รับรางวัล Nobel prize)
•Alexander E. Bogomolov, Soviet Union
•Charles Dukes, 1st Baron Dukeston, United Kingdom
•John Peters Humphrey, Canada (ผอ.กองสิทธิมนุษยชน ในสำนักเลขำธิกำรฯ เป็นผู้ยกร่ำงแรกฯ)
สรุปสาระสาคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ(สากล ไร้พรมแดนฯ)
๑. ทุกคนมีศักดิ์ศรี สิทธิ และเสรีภาาพเท่าเทียมกัน และต้องปฏิบัติต่อกันฉันพี่น้อง
๒. ทุกคนมีสิทธิ และเสรีภาาพ อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติ
๓. ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิตอยู่ และมีความมั่นคง
๔. ห้ามบังคับคนให้เป็นทาส และห้ามค้าทาสทุกรูปแบบ
.๕. ห้ามการทรมาน หรือการลงโทษทารุณโหดร้ายผิดมนุษย
๖. สิทธิในการได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลตามกฎหมาย
๗. สิทธิในการได้รับความคุ้มครองตามก.ม.อย่างเท่าเทียมกัน
๘. สิทธิในการได้รับการเยียวยาจากศาล
๙. ห้ามการจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ
๑๐. สิทธิในการได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมและเปิดเผย
๑๑. สิทธิในการได้รับการสันนิษฐานว่าบริสุทธิ์ก่อนศาลตัดสิน และต้องมีก.ม.กาหนดว่าการ
กระทานั้นเป็นความผิด
๑๒. ห้ามรบกวนความเป็นอยู่ส่วนตัว ครอบครัว เคหสถาน การติดต่อสื่อสาร รวมทั้งห้าม
ทาลายชื่อเสียง และเกียรติยศ
๑๓. เสรีภาาพในการเดินทางและเลือกถิ่นที่อยู่ในประเทศ รวมทั้งการออกนอกประเทศหรือ
กลับเข้าประเทศโดยเสรี
๑๔. สิทธิในการลี้ภาัยไปประเทศอื่นเพื่อให้พ้นจากการถูกประหัตประหาร
๑๕. สิทธิในการได้รับสัญชาติ และการเปลี่ยนสัญชาติ
๑๖. สิทธิในการเลือกคู่ครอง และสร้างครอบครัว
๑๗. สิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพยสิน
๑๘. เสรีภาาพในความคิด มโนธรรม ความเชื่อ หรือการถือศาสนา
๑๙. เสรีภาาพในการแสดงความคิดเห็นและแสดงออก รวมทั้งการได้รับข้อมูลข่าวสาร
๒๐.สิทธิในการชุมนุมโดยสงบและรวมกลุ่ม และห้ามบังคับเป็นสมาชิกสมาคม
๕๐
๒๑. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในรัฐบาลทั้งทางตรง และโดยผ่านผู้แทน อย่างอิสระ และมีสิทธิเข้าถึง
บริการสาธารณะโดยเท่าเทียมกัน
๒๒.สิทธิในการได้รับความมั่นคงทางสังคม และได้รับสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนนธรรม
โดยการกาหนดระเบียบและทรัพยากรของประเทศตนเอง
๒๓. สิทธิในการมีงานทาตามที่ต้องการ และได้รับการประกันการว่างงาน รวมทั้งได้รับ
ค่าตอบแทนเท่ากัน สาหรับงานอย่างเดียวกัน และรายได้ต้องพอแก่การดารงชีพสาหรับตนเอง
และครอบครัว ตลอดจนมีสิทธิก่อตั้ง และเข้าร่วมสหภาาพแรงงาน
๒๔. สิทธิในการพักผ่อนและมีเวลาพักจากการทางาน
๒๕. สิทธิในการได้รับมาตรฐานการครองชีพอย่างเพียงพอ ได้รับปัจจัยสี่ สวัสดิการสังคม
ประกันการว่างงาน เจ็บป่วย เป็นหม้าย ผู้สูงอายุ ตลอดจนต้องคุ้มครองแม่และเด็กเป็นพิเศษ
๒๖. สิทธิในการได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน
๒๗. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในวัฒนนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน และได้รับการคุ้มครองทรัพยสิน
ทางปัญญา
๕๑
กฎบัตรด้านสิทธิมนุษยชนของชาติอาหรับ
(The Arab Charter on Human Rights (ACHR))
ในการประชุมให้ความเห็นชอบปฏิญญาสากลฯ เมื่อปีค.ศ. ๑๙๔๘/พ.ศ. ๒๔๙๑ ผู้แทนเลบานอน
ไม่ออกเสียง และผู้แทนซาอุดิอาราเบีย ออกจากที่ประชุม เพราะปฏิญญาสากลฯ มีบางข้อ ยัง
ไม่สอดคล้องกับแนวคิด แนวปฏิบัติของประเทศที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม
หลังจากนั้น มีการยกร่างกฎบัตรด้านสิทธิมนุษยชนของชาติอาหรับขึ้นเมื่อ ๒๒ พค.๒๐๐๔/๒๕๔๗
แล้วจัดทาร่างที่ ๒ หลังจากนั้นใช้เวลาอีก ปี เพื่อแก้ไข ไม่ให้ขัดแย้งกับปฏิญญาสากลว่าด้วย
สิทธิมนุษยชน เช่น สิทธิสตรี การประหารชีวิตเด็ก สตรีมีครรภา เสรีภาาพในการนับถือศาสนาฯ
จนถึง พ.ย.ค.ศ. ๒๐๑๓/พ.ศ.๒๕๕๖ กฎบัตรนี้จึงได้รับความเห็นชอบจากชาติอาหรับส่วนใหญ่
ต่อมาปีค.ศ.๒๐๑๔ มีอนุสัญญาตั้งศาลสิทธิมนุษยชนอาหรับขึ้น โดยซาอุดอาราเบียให้สัตยาบัน
เป็นชาติแรก
The Arab Charter on Human Rights (ACHR), adopted by the Council of the League of Arab States on 22 May 2004, affirms
the principles contained in the UN Charter, the Universal Declaration of Human Rights, the International Covenants on
Human Rights and the Cairo Declaration on Human Rights in Islam. It provides for a number of traditional human rights,
including the right to liberty and security of persons, equality of persons before the law, protection of persons from torture, the
right to own private property, freedom to practice religious observance and freedom of peaceful assembly and association.
The Charter also provides for the election of a seven-person Committee of Experts on Human Rights to consider states'
reports. A first version of the Charter was created on 15 September 1994, but no state ratified it. The updated (2004) version
of the Charter came into force in 2008 after seven of the members of the League of Arab States had ratified it. On 24 January
2008, then UN High Commissioner for Human Rights Louise Arbour said the Arab charter was incompatible with the UN's
understanding of universal human rights, including with respect to women's rights and capital punishment for children, in
addition to other provisions in the Charter. The charter is listed on the website of her office, among texts adopted by
international groups aimed at promoting and consolidating democracy. As of November 2013 the Charter had been ratified by
Algeria, Bahrain, Iraq, Jordan, Kuwait, Lebanon, Libya, Palestine, Qatar, Saudi Arabia, Syria, the UAE and Yemen. The
Charter was criticized for setting human rights standards in the region below the internationally recognized regime. In 2014
Arab League states elaborated an additional treaty - the Statute of the Arab Court of Human Rights, - to allow inter-state
litigation concerning violations of the Charter. The statute will enter into force after 7 ratifications. The first country to ratify it
was Saudi Arabia in 2016.
The Arab Charter on Human Rights (ACHR)
อิทธิพลของศาสนาพราหมณ พุทธ และศาสนาอื่น (ศาสนาคริสต อิสลาม เต๋าฯ)
ต่อสังคมไทย และหลักสิทธิมนุษยชนของไทย
• การฟังคลิปผู้แทนองคกรศาสนา ๓ ศาสนาๆ ละ ๕ นาที และอภาิปราย ๑๐ นาที
รวม ๑๕ นาที
• ๑. ศาสนาพุทธ
• ๒. ศาสนาคริสต
• ๓. ศาสนาอิสลาม
๒. หลักคาสอนของศาสนาที่สาคัญ ที่ปรากฏอยู่ในสิทธิมนุษยชนสากล และ สิทธิ
มนุษยชนไทย (ในลักษณะ รูปแบบต่างๆ) ๔๕-๖๐ นาที
ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม
หลักพุทธรรมกับสิทธิ
มนุษยชน
-พระพุทธเจ้าทรงค้นพบ
หลักธรรม แล้วเผยแพร่ให้
มนุษยทุกคนโดยไม่แบ่งชั้น
วรรณ เพศ ผิวพรรณ
-หลักธรรมนึ้ จะช่วยให้คน
ดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข
- สังคมอยู่ในช่วงวิกฤติ เปลี่ยนแปลง
เร็ว มีการละเมิดสิทธิ การใช้ความ
รุนแรงต่อกลุ่มเสี่ยง เด็ก สตรี ..ชกน.ผู้
เห็นต่างฯ ถูกเอาเปรียบตีตรา กีดกัน
ไม่ให้มีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมกัน
- เป็นหน้าที่ของเราทุกคนที่จะช่วยกัน
ยุติการละเมิดสิทธิฯ ฟื้นฟูศักดิศรีฯ
พระคัมภาีรให้ความสาคัญการฟื้นฟูสิทธิ
มนุษยชน เพราะมนุษยเราเป็นฉายา
ของพระผู้เป็นเจ้า
-มนุษยได้รับสิทธิเสรีภาาพพื้นฐานที่สา
ความเป็นสิทธิมนุษยชน มาจาก
หลักศีลธรรม
สิทธิมนุษยชนยุคใหม่เพิ่งเกิดขึ้น
คาสอนศาสนาอิสลามให้
ความสาคัญมาตั้งแต่สร้าง
มนุษยชน ให้เกียรติ ยกย่อง ใน
คัมภาีรกล่าวถึงการให้เกียรติ ยก
ย่อง ไม่ละเมิด-ศักดิ์ศรี พระเจ้า
สร้างมนุษยมาจากอาดัม เอวา มา
จากดิน เท่าเทียมกัน
๒. หลักคาสอนของศาสนาที่สาคัญ ที่ปรากฏอยู่ในสิทธิมนุษยชนสากล และ สิทธิ
มนุษยชนไทย (ในลักษณะ รูปแบบต่างๆ)
ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต ดร.ประเวช ศาสนาอิสลาม
หลักสิทธิมนุษยชนในคาสอน
พุทธศาสนา ทุกคนมีสิทธิ
เสรีภาาพ ในการมีชีวิตอยู่ การ
ครอบครองทรัพยสิน มีคู่ครอง
การรับข้อมูลข่าวสารที่เป็นจริง
การดูแลตนเองให้ปลอดภาัย
เป็นสิทธิพื้นฐานเบื้องต้น บางที
อาจผิดพลาดไปบ้าง
ทุกคนเกิดมาเท่าเทียมกัน
มีหน้าที่ที่ต้องทา แต่จะทาตาม
ใจชอบไม่ได้ สิทธิเสรีภาาพมี
มนุษยทุกคนมีศักยภาาพที่จะพัฒนนา
ตนเองให้มีชีวิตอย่างปกติสุขได้
มีศักยภาาพ พัฒนนาตนให้มีชีวิตปกติ
ศาสนาคริสต ให้ความสาคัญเรื่องนี้
๑.สิทธิมนุษยชนฯ เป็นภาาระทางใจที่จะ
กอบกู้ศักดิ ช่วยเหลือผู้ถูกข่มเหงาถูก
ทอดทิ้ง โดยไม่แยก เชื้อชาติ สีผืว
ภาาษา ศาสนา ความเชิ่อ
๒. เป็นการหนุนเสริมผู้ถูกละเมิดสิทธิฯ
ให้สามารถช่วยตนเองได้ เพราะมนุษย
ถูกสร้างมาบนพื้นฐานของความเท่า
การวัดคุณค่าของความเป็นมนุษยชน
อยู่ที่ จริยธรรมของมนุษย ไม่ใช่เชื้อ
ชาติ ผิวพรรณ
๑. ศ.ให้ความสาคัญกับการมีศาสนา
ทุกคนมีสิทธิ เสรีภาาพในการนับถือ
ศาสนาใด ไม่มีการบังคับ ศาสนาเป็น
สิ่งสูงส่ง ต้องไม่ละเมิดสิทธิของผู้นับ
ถือศาสนา อย่าประจาน กล่าวร้าย
ความเชื่อของศาสนาอื่น และปกป้อง
ศาสนาอิสลสม
๒. หลักคาสอนของศาสนาที่สาคัญ ที่ปรากฏอยู่ในสิทธิมนุษยชนสากล และ สิทธิ
มนุษยชนไทย (ในลักษณะ รูปแบบต่างๆ)
ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม
มนุษยเราอยู่คนเดียวไม่ได้ ต้อง
อยู่ร่วมกับผู้อื่น ต้องพบกันครึ่ง
ทาง บ้านเมืองต้องมีก.ม. ไม่ให้
เกิดการละเมิดกัน ทรงบัญญัติ
วินัยสงฆขึ้นเพื่อเป็นกรอบการ
ดาเนินชีวิต และให้ปฎิบัติตาม
กรอบนั้น สิทธิ เสรีภาาพ อยู่
ควบคู่กับหน้าที่ การอยู่ร่วมกัน
ต้องมีกฎกติกา ต้องปฎิบัติให้
บรรลุธรรม ศีล สมาธิ ปัญญา
เป็นสิ่งสาคัญ
พระธรรมกิตติเมธี กรรมการ
มหาเถรสมาคม รองเจ้าอาวาส
วัดราชาธิวาสวิหาร
๓ เป็นการปฏิบัติตามพระบัญชา และ
พันธะสัญญาที่คริสตชนทุกคนมีต่อพระ
ผู้เป็นเจ้า พระเจ้าปรารถนาให้มนุษย
เห็นคุณค่าของความเป็นคน ที่มีศักดิศรี
ฯ เท่าเทียมกัน และให้ทาทุกวิถีทางที่
จะปกป้องรักษาสิทธิฯนั้นไว้ เป็น
พื้นฐานของความเชื่อทุกศาสนา มี
เป้าหมายเดียวกัน ร่วมกันทาใก้เป็น
จริงได้ในสังคมไทยปัจจุบัน
ดร.ประเวศน คิดอ่าน
เลขาธิการสภาาคริสตจักรแห่งประเทศ
ไทยเลขาธิการ สภาาคริสตจักรแห่ง
ประเทศไทย
๒. สิทธิในความเป็นมนุษยทั้งมีชีวิต
และเสียชีวิตแล้ว
๓. สิทธิในการศึกษา หาความรู้ ใช้
สมอง แสดงออก
๔. ละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย
กล่าวให้ร้ายไม่ได้
๕. สิทธิในทรัพยสิน ปกป้อง
๖. การใช้สิทธิ ต้องไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น
ต้องมีหน้าที่ควบคู่กัน
(อ.ประสาน ศรีเจริญ รองประธาน
คณะผู้ทรงคุณวุฒนิ จุฬาราชมนตรี)
สิทธิมนุษยชนในหลักธรรมอิสลาม
1.ถ้อยแถลงต่างๆจากบรรดาโองการในพระคัมภาีรอัลกุรอานและแบบฉบับของศาสดาที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
2. คาสอนของศาสนาอิสลามที่เกี่ยวกับสิทธิของพลเมือง
3. คาสอนอิสลามที่รับรองสิทธิและเสรีภาาพของเพื่อนมนุษยในการเลือกนับถือ
4. สิทธิของเพื่อนมนุษยในการปฏิบัติตามข้อคาสอนของศาสนาของตนในรัฐอิสลาม
5.สิทธิของเพื่อนมนุษย ( ที่มิใช่มุสลิม )
Arab Charter on Human Rights (ตัวอย่าง)
Article 10
The death penalty may be imposed only for the most serious crimes and anyone sentenced to death shall have the right
to seek pardon or commutation of the sentence.
Article 12
The death penalty shall not be inflicted on a person under 18 years of age, on a pregnant woman prior to her delivery
or on a nursing mother within two years from the date on which she gave birth.
Article 27
Adherents of every religion have the right to practise their religious observances and to manifest their views through
expression. practice or teaching, without prejudice to the rights of others. No restrictions shall be imposed on the
exercise of freedom of belief, thought and opinion except as provided by law.
Article 37
Minorities shall not be deprived of their right to enjoy their culture or to follow the teachings of their religions.
อิทธิพลของศาสนาที่มีต่อหลักสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย ความรักความเมตตา ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย ไม่เบียดเบียน
ชีวิต ร่างกาย ทรัพยสินฯ การมีคุณธรรม จริยธรรม หน้าที่ของบุคคลในสังคม การทาดี
ไม่ทาบาป (แบ่งชั้นวรรณะ กตัญญู ระบบอุปถัมภา พรหมลิขิต กระทบสิทธิของคนบางกลุ่ม)
Dr.Ibrahim Madkur ผู้อำนวยกำรสถำบันภำษำอำหรับ กรุงไคโรกล่ำวว่ำ
“
สิทธิมนุษยชนที่มีการละเมิดในทุกวันนี้ ทั้งๆที่เรามีหน้าที่ต้องส่งเสริม
และคุ้มครองไว้ ความจริงแล้วอิสลามได้วางกฏเกณฑและให้มวลมนุษยดารงไว้
ซึ่งสิทธิมนุษยชนมาตั้งแต่ 14 ศตวรรษแล้ว อิสลามได้วางรากฐานสิทธิมนุษยชน
ก่อนที่จะมีการพูดถึงอย่างแพร่หลายใน ศตวรรษที่ 18 ที่ถือว่าเป็นศตวรรษแห่ง
สิทธิมนุษยชนด้วยซ้าไป อิสลามได้ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและได้
กาหนดเป็นส่วนหนึ่งของบทบัญญัติทางศาสนา และสิ่งที่พึงปฏิบัติในโลกดุนยา
พร้อมกับได้กาหนดเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการส่งเสริมจริยธรรมและจิต
วิญญาณ”
หลักคาสอนทางศาสนา และจารีตประเพณี ที่สอดคล้อง และที่ยังไม่
กลมกลืนกับ สิทธิมนุษยชนสากล และสิทธิมนุษยชนไทย
• ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย สิทธิเสรีภาาพ การ
ไม่เบียดเบียน ไม่เลือกปฎิบัติ ความ
ยุติธรรม เป็นธรรมฯ มีการออก/แก้ก.ม.
รองรับ
• มีการคุ้มครอง ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย สิทธิ
เสรีภาาพของประชาชนได้รับการคุ้มครอง
ตามรัฐธรรมนูญ ก.ม.ภาายใต้ และพันธกรณี
ของไทยที่มีต่ออนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน
ที่ไทยเป็นสมาชิก
ยังไม่ค่อยกลมกลืน
และการปรับให้เข้าบริบทของไทย
• การซ้อมทรมาน ทารุณโหดร้าย
• การเลือกปฏิบัติในบางประเด็น
• สิทธิของผู้เปราะบาง แรงงานต่างด้าว ผู้หลากหลาย
ทางเพศ
• การปรับแก้ สิทธิมนุษยชนสากล ให้เข้าบริบทพื้นที่
สามจังหวัดชายแดนภาาคใต้ ในเรื่อง การสมรส
ครอบครัวฯ
สอดคล้องกลมกลืนกัน
๓. แนวทางการนาคาสอนตามหลักศาสนา ไปเผยแพร่ อบรม สร้าง
วัฒนนธรรมสิทธิมนุษยชน (ค่านิยม การปฏิบัติตน) ในกลุ่มเป้าหมายเด็ก/
เยาวชน(และอื่นๆ) และความท้าทาย
• แต่ละท่านมีภาารกิจในหน่วยงาน เช่น บริหาร สอน จัดกิจกรรมฯ ขอให้นาเอา
เรื่องนี่ไปสอดแทรกในภาารกิจหลัก/ประจาของท่าน
• จะปรับเอาเรื่องใดนา มีความสัมพันธกันอยู่ ขึ้นกับวัตถุประสงค ภาารกิจ โอกาส
• ใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน เป็นแบบอย่างที่ดี
• ความท้าทายคือ ในกลุ่มเด็ก เยาวชน เนื่องจากมีปัจจัยของตัววัยรุ่นเองและ
สภาาพแวดล้อมที่ผลัก และดึงให้ห่างจากคาสอนของศาสนา สิทธิมนุษยชนฯ
ความท้าทายในการส่งเสริมฯ
• ประเด็นสิทธิมนุษย
• ประเด็นศาสนา
• ประเด็นกลุ่มเป้าหมาย (โดยเฉพาะเด็ก เยาวชนฯ)
• ประเด็นอื่นๆ
๔. สรุป และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวม

More Related Content

What's hot

กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลYosiri
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้Yosiri
 
โครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ
โครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติโครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ
โครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติDota00961
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)Narong Jaiharn
 
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์krupornpana55
 
แผ่นพับภูมิประเทศ
แผ่นพับภูมิประเทศแผ่นพับภูมิประเทศ
แผ่นพับภูมิประเทศstudentkc3 TKC
 
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงานpop Jaturong
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายChi Wasana
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติPatt Thank
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงานPinutchaya Nakchumroon
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายNurat Puankhamma
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานJitiya Purksametanan
 
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 25511.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551วายุ วรเลิศ
 
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคนกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayWichai Likitponrak
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมYosiri
 

What's hot (20)

กฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคลกฏหมายบุคคล
กฏหมายบุคคล
 
กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้กฎหมายหนี้
กฎหมายหนี้
 
โครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ
โครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติโครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ
โครงงานศึกษาประสิทธิภาพของโอเอซิสจากวัสดุเหลือใช้ในธรรมชาติ
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์หน่วยย่อยที่ 5  โมเมนต์
หน่วยย่อยที่ 5 โมเมนต์
 
แผ่นพับภูมิประเทศ
แผ่นพับภูมิประเทศแผ่นพับภูมิประเทศ
แผ่นพับภูมิประเทศ
 
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญาพ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา
 
บทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขายบทที่ 5 ซื้อขาย
บทที่ 5 ซื้อขาย
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534.
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
บทที่ 2  งาน และพลังงานบทที่ 2  งาน และพลังงาน
บทที่ 2 งาน และพลังงาน
 
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมายการเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
การเขียนตอบข้อสอบกฎหมาย
 
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงานตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
ตัวอย่างคำกล่าวรายงาน
 
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 25511.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
1.สรุป พรบ.ข้าราชการพลเรือน 2551
 
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
6 การดูแลและรักษาระบบเคลื่อนที่ของคน
 
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplayแบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
แบบบันทึกกิจกรรมRighttoplay
 
กฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรมกฎหมายนิติกรรม
กฎหมายนิติกรรม
 

Similar to สิทธิมนุษยชนกับศาสนา

หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
ปฏิญญาสากลฯ
ปฏิญญาสากลฯปฏิญญาสากลฯ
ปฏิญญาสากลฯkrupiyorod
 
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
 การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากลพัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากลssuserd18196
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet apeemai12
 
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมรายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมNanthapong Sornkaew
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนiearn4234
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไป
ข้อสอบความรู้ทั่วไปข้อสอบความรู้ทั่วไป
ข้อสอบความรู้ทั่วไปLhin Za
 

Similar to สิทธิมนุษยชนกับศาสนา (17)

หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
Book
BookBook
Book
 
Human2.1 1
Human2.1 1Human2.1 1
Human2.1 1
 
Human2.1
Human2.1Human2.1
Human2.1
 
ปฏิญญาสากลฯ
ปฏิญญาสากลฯปฏิญญาสากลฯ
ปฏิญญาสากลฯ
 
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
 การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
 
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากลพัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
 
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมรายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
สตรี
สตรีสตรี
สตรี
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไป
ข้อสอบความรู้ทั่วไปข้อสอบความรู้ทั่วไป
ข้อสอบความรู้ทั่วไป
 

More from ssuserd18196

เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง  เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง ssuserd18196
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง ssuserd18196
 
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2565)
 แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4  (พ.ศ. 2562-2565) แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4  (พ.ศ. 2562-2565)
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2565)ssuserd18196
 
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา ssuserd18196
 
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพLandmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพssuserd18196
 
หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน ssuserd18196
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็กssuserd18196
 
เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน ssuserd18196
 
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรมssuserd18196
 
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 

More from ssuserd18196 (10)

เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง  เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
 
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2565)
 แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4  (พ.ศ. 2562-2565) แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4  (พ.ศ. 2562-2565)
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2565)
 
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
 
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพLandmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
 
หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็ก
 
เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน
 
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
 

สิทธิมนุษยชนกับศาสนา

  • 1. “สิทธิมนุษยชน” กับ “ศาสนา” โดย นายพิทยา จินาวัฒนน ที่ปรึกษาประจาคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม และอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาาพ
  • 2. วัตถุประสงค์และแนวทางการฝึกอบรม •วัตถุประสงค : เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจของผู้เข้าอบรมในเรื่อง • - “ความสัมพันธของ ศาสนา คาสอนสาคัญของศาสนาสาคัญที่ประชาชนใน ประเทศไทยเคารพนับถือ กับสิทธิมนุษยชนตามหลักสากล และหลักของ ประเทศไทย” •อันจะเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน และการดาเนินชีวิตประจาวันได้อย่าง สอดคล้อง เหมาะสมต่อไป •แนวทางการฝึกอบรม : การบรรยาย การนาอภาิปราย ประกอบคลิป •วิทยากร : ผู้แทนองคกรศาสนาพุทธ คริสต และอิสลาม และนายพิทยา จิ นาวัฒนน เป็นผู้ดาเนินการอภาิปราย •เวลา : ๑ ช.ม.๓๐ นาที
  • 4. การเรียนรู้ของผู้เข้าอบรม ผู้เข้าอบรม (ตัวท่าน) วิทยากร เพื่อนผู้เข้า อบรม ฝ่ายจัดการ อบรม สภาาพแวดล้อมในการฝึกอบรม (สนับสนุน และข้อจากัด) สถานที่อบรม ทรัพยกรฯ ภาัยคุกคาม (โควิดฯ) นโยบาย ก.ม. ความพร้อมทาง ร่างกาย จิตใจ ผู้แทนจาก องคกรศาสนา พุทธ คริสต อิสลาม จานวน ๕๐๐ คน จากองคกร/ สถานศึกษา กทม.และ จังหวัดต่างๆ
  • 5. ๑. ความสัมพันธของศาสนา กับ สิทธิมนุษยชน ประเด็นในการฝึกอบรม/เสวนา ๒. หลักคาสอนของศาสนาที่สาคัญ ที่ปรากฏอยู่ในสิทธิมนุษยชนสากล และ สิทธิมนุษยชนไทย (ในลักษณะ รูปแบบต่างๆ) ๓. แนวทางการนาคาสอนตามหลักศาสนา ไปสร้างวัฒนนธรรมสิทธิ มนุษยชนในกลุ่มเป้าหมายเด็ก/เยาวชน(และอื่นๆ) และความท้าทายฯ ๔. สรุป และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวม
  • 6. ๑. ความสัมพันธของศาสนา กับ สิทธิมนุษยชน ประเด็นในการฝึกอบรม/เสวนา ๒. หลักคาสอนของศาสนาที่สาคัญ ที่ปรากฏอยู่ในสิทธิมนุษยชน สากล และ สิทธิมนุษยชนไทย (ในลักษณะ รูปแบบต่างๆ) ๓. แนวทางการนาคาสอนตามหลักศาสนา ไปสร้างวัฒนนธรรมสิทธิ มนุษยชนในกลุ่มเป้าหมายเด็ก/เยาวชน(และอื่นๆ) และความท้าทาย ๔. สรุป และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นรวม ๑๐ นาที ๔๕ นาที ๑๕ นาที ๒๐ นาที
  • 7. ๑. ความสัมพันธของศาสนา กับ สิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชนสากล (ปรากฏอยู่ใน) (ปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ อนุสัญญาสิทธิมนุษยชน ๙ ฉบับ และอื่นๆ เช่น อนุสัญญาเจนีวา(เชลยศึก) อนุสัญญาผู้ลี้ภาัย อนุสัญญาแรงงานฯ คณะผู้ยกร่างฯจากรัฐต่างๆ สิทธิธรรมชาติกับกฎธรรมชาติ
  • 9. The first controversy to resolve was related to the very origin of the human rights, basically the discussion between the supporters of the concepts of natural rights (which humans are endowed by God or Nature) and positive rights (which humans acquire as a result of a rational agreement).[6] The second controversy was basically between the positions of the Marxist theory of the Soviet Bloc and the liberal theory of the Western World. In philosophical terms, the Soviet Bloc criticized the individualist stance of the issue, arguing in favor of the collectivism approach, where the rights of the collective dominate that of an individual. In political terms, the Soviet Union and its satellites, facing mounting accusations of human rights violations, argued that the declaration is a mere formality if it would not consider guarantees of economic and social rights. However these objections were of surprisingly little consequence, because the Soviet Block was not very active during the seating of the Commission, perhaps indicating a preestablished decision not to sign the Declaration.[6] Another issue is the legal status of the declaration. The majority considered the document to be mainly of moral character. At the same time some participants argued in favor of adding certain legal aspects in terms of international law.[6] British representatives in particular were extremely frustrated that the proposal had moral but no legal obligation. (It was not until 1976 that the International Covenant on Civil and Political Rights came into force, giving a legal status to most of the Declaration) [7] UDHR timeline Controversies ข้อถกเถียงในระหว่างยกร่างฯ ๑.สิทธิธรรมชาติ โดย ธรรมชาติ หรือ พระเจ้า และ เรื่องสิทธิเชิงบวก ที่มนุษย ได้มาจากผลของข้อตกลงที่มี เหตุผล ๒.ทฤษฎีมารกซิสต หรือ ทฤษฎีเสรีนิยม ระหว่าง collectivism กับสิทธิ ปัจเจกชน ๓. สถานะ/ผลทางก.ม.ของ ปฏิญญาสากลฯ (มีเรื่องประ เด็นทางจริยธรรมมาก)ผู้แทน อังกฤษผิดหวังที่ไม่เป็นIL จน ถึงปี ค.ศ.๑๙๗๖/พ.ศ.๒๕๑๙ เมื่อ ICCPR มีผลบังคับใช้ เป็นกม.ระหว่างประเทศ) ปฎิญญาสากลฯจัดทาขึ้นหลังตั้งUN โลกขณะนั้นแบ่งเป็น ๒ ค่าย โลกเสรี และ หลังม่านเหล็ก คณะทางานยกร่างมีผู้แทนทั้งโลกเสรี สังคมนิยม รัฐอิสลาม
  • 10. The vote for the declaration was 48 to 0 (๑๐ ธค. ค.ศ. ๑๙๔๘/พ.ศ.๒๔๙๑ มีผู้ไม่ออกเสียง ๘ คน) with eight abstentions: the Byelorussian Soviet Socialist Republic, Czechoslovakia, the People's Republic of Poland, the Kingdom of Saudi Arabia, the Ukrainian Soviet Socialist Republic, the Union of South Africa, the Union of Soviet Socialist Republics, and the Socialist Federal Republic of Yugoslavia The Drafting Committee[1] included •Eleanor Roosevelt, United States (Chair) P. C. Chang, Republic of China •Charles Malik, Lebanon William Roy Hodgson, Australia Hernán Santa Cruz, Chile •René Cassin, France (ยกร่างที่ ๒ โครงสร้างของปฎิญญาฯ ได้รับอิทธิพลจาก Napolean Code เปรียบเป็นส่วนๆ เหมือนโครงสร้างของวิหารกรีก ต่อมาได้รับรางวัล Nobel prize) •Alexander E. Bogomolov, Soviet Union •Charles Dukes, 1st Baron Dukeston, United Kingdom •John Peters Humphrey, Canada (ผอ.กองสิทธิมนุษยชน ในสำนักเลขำธิกำรฯ เป็นผู้ยกร่ำงแรกฯ)
  • 11. สรุปสาระสาคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ(สากล ไร้พรมแดนฯ) ๑. ทุกคนมีศักดิ์ศรี สิทธิ และเสรีภาาพเท่าเทียมกัน และต้องปฏิบัติต่อกันฉันพี่น้อง ๒. ทุกคนมีสิทธิ และเสรีภาาพ อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติ ๓. ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิตอยู่ และมีความมั่นคง ๔. ห้ามบังคับคนให้เป็นทาส และห้ามค้าทาสทุกรูปแบบ .๕. ห้ามการทรมาน หรือการลงโทษทารุณโหดร้ายผิดมนุษย ๖. สิทธิในการได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลตามกฎหมาย ๗. สิทธิในการได้รับความคุ้มครองตามก.ม.อย่างเท่าเทียมกัน ๘. สิทธิในการได้รับการเยียวยาจากศาล ๙. ห้ามการจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ ๑๐. สิทธิในการได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมและเปิดเผย
  • 12. ๑๑. สิทธิในการได้รับการสันนิษฐานว่าบริสุทธิ์ก่อนศาลตัดสิน และต้องมีก.ม.กาหนดว่าการ กระทานั้นเป็นความผิด ๑๒. ห้ามรบกวนความเป็นอยู่ส่วนตัว ครอบครัว เคหสถาน การติดต่อสื่อสาร รวมทั้งห้าม ทาลายชื่อเสียง และเกียรติยศ ๑๓. เสรีภาาพในการเดินทางและเลือกถิ่นที่อยู่ในประเทศ รวมทั้งการออกนอกประเทศหรือ กลับเข้าประเทศโดยเสรี ๑๔. สิทธิในการลี้ภาัยไปประเทศอื่นเพื่อให้พ้นจากการถูกประหัตประหาร ๑๕. สิทธิในการได้รับสัญชาติ และการเปลี่ยนสัญชาติ ๑๖. สิทธิในการเลือกคู่ครอง และสร้างครอบครัว ๑๗. สิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพยสิน ๑๘. เสรีภาาพในความคิด มโนธรรม ความเชื่อ หรือการถือศาสนา ๑๙. เสรีภาาพในการแสดงความคิดเห็นและแสดงออก รวมทั้งการได้รับข้อมูลข่าวสาร ๒๐.สิทธิในการชุมนุมโดยสงบและรวมกลุ่ม และห้ามบังคับเป็นสมาชิกสมาคม ๕๐
  • 13. ๒๑. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในรัฐบาลทั้งทางตรง และโดยผ่านผู้แทน อย่างอิสระ และมีสิทธิเข้าถึง บริการสาธารณะโดยเท่าเทียมกัน ๒๒.สิทธิในการได้รับความมั่นคงทางสังคม และได้รับสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนนธรรม โดยการกาหนดระเบียบและทรัพยากรของประเทศตนเอง ๒๓. สิทธิในการมีงานทาตามที่ต้องการ และได้รับการประกันการว่างงาน รวมทั้งได้รับ ค่าตอบแทนเท่ากัน สาหรับงานอย่างเดียวกัน และรายได้ต้องพอแก่การดารงชีพสาหรับตนเอง และครอบครัว ตลอดจนมีสิทธิก่อตั้ง และเข้าร่วมสหภาาพแรงงาน ๒๔. สิทธิในการพักผ่อนและมีเวลาพักจากการทางาน ๒๕. สิทธิในการได้รับมาตรฐานการครองชีพอย่างเพียงพอ ได้รับปัจจัยสี่ สวัสดิการสังคม ประกันการว่างงาน เจ็บป่วย เป็นหม้าย ผู้สูงอายุ ตลอดจนต้องคุ้มครองแม่และเด็กเป็นพิเศษ ๒๖. สิทธิในการได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน ๒๗. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในวัฒนนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน และได้รับการคุ้มครองทรัพยสิน ทางปัญญา ๕๑
  • 14. กฎบัตรด้านสิทธิมนุษยชนของชาติอาหรับ (The Arab Charter on Human Rights (ACHR)) ในการประชุมให้ความเห็นชอบปฏิญญาสากลฯ เมื่อปีค.ศ. ๑๙๔๘/พ.ศ. ๒๔๙๑ ผู้แทนเลบานอน ไม่ออกเสียง และผู้แทนซาอุดิอาราเบีย ออกจากที่ประชุม เพราะปฏิญญาสากลฯ มีบางข้อ ยัง ไม่สอดคล้องกับแนวคิด แนวปฏิบัติของประเทศที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาอิสลาม หลังจากนั้น มีการยกร่างกฎบัตรด้านสิทธิมนุษยชนของชาติอาหรับขึ้นเมื่อ ๒๒ พค.๒๐๐๔/๒๕๔๗ แล้วจัดทาร่างที่ ๒ หลังจากนั้นใช้เวลาอีก ปี เพื่อแก้ไข ไม่ให้ขัดแย้งกับปฏิญญาสากลว่าด้วย สิทธิมนุษยชน เช่น สิทธิสตรี การประหารชีวิตเด็ก สตรีมีครรภา เสรีภาาพในการนับถือศาสนาฯ จนถึง พ.ย.ค.ศ. ๒๐๑๓/พ.ศ.๒๕๕๖ กฎบัตรนี้จึงได้รับความเห็นชอบจากชาติอาหรับส่วนใหญ่ ต่อมาปีค.ศ.๒๐๑๔ มีอนุสัญญาตั้งศาลสิทธิมนุษยชนอาหรับขึ้น โดยซาอุดอาราเบียให้สัตยาบัน เป็นชาติแรก
  • 15. The Arab Charter on Human Rights (ACHR), adopted by the Council of the League of Arab States on 22 May 2004, affirms the principles contained in the UN Charter, the Universal Declaration of Human Rights, the International Covenants on Human Rights and the Cairo Declaration on Human Rights in Islam. It provides for a number of traditional human rights, including the right to liberty and security of persons, equality of persons before the law, protection of persons from torture, the right to own private property, freedom to practice religious observance and freedom of peaceful assembly and association. The Charter also provides for the election of a seven-person Committee of Experts on Human Rights to consider states' reports. A first version of the Charter was created on 15 September 1994, but no state ratified it. The updated (2004) version of the Charter came into force in 2008 after seven of the members of the League of Arab States had ratified it. On 24 January 2008, then UN High Commissioner for Human Rights Louise Arbour said the Arab charter was incompatible with the UN's understanding of universal human rights, including with respect to women's rights and capital punishment for children, in addition to other provisions in the Charter. The charter is listed on the website of her office, among texts adopted by international groups aimed at promoting and consolidating democracy. As of November 2013 the Charter had been ratified by Algeria, Bahrain, Iraq, Jordan, Kuwait, Lebanon, Libya, Palestine, Qatar, Saudi Arabia, Syria, the UAE and Yemen. The Charter was criticized for setting human rights standards in the region below the internationally recognized regime. In 2014 Arab League states elaborated an additional treaty - the Statute of the Arab Court of Human Rights, - to allow inter-state litigation concerning violations of the Charter. The statute will enter into force after 7 ratifications. The first country to ratify it was Saudi Arabia in 2016. The Arab Charter on Human Rights (ACHR)
  • 16. อิทธิพลของศาสนาพราหมณ พุทธ และศาสนาอื่น (ศาสนาคริสต อิสลาม เต๋าฯ) ต่อสังคมไทย และหลักสิทธิมนุษยชนของไทย
  • 17. • การฟังคลิปผู้แทนองคกรศาสนา ๓ ศาสนาๆ ละ ๕ นาที และอภาิปราย ๑๐ นาที รวม ๑๕ นาที • ๑. ศาสนาพุทธ • ๒. ศาสนาคริสต • ๓. ศาสนาอิสลาม ๒. หลักคาสอนของศาสนาที่สาคัญ ที่ปรากฏอยู่ในสิทธิมนุษยชนสากล และ สิทธิ มนุษยชนไทย (ในลักษณะ รูปแบบต่างๆ) ๔๕-๖๐ นาที
  • 18. ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม หลักพุทธรรมกับสิทธิ มนุษยชน -พระพุทธเจ้าทรงค้นพบ หลักธรรม แล้วเผยแพร่ให้ มนุษยทุกคนโดยไม่แบ่งชั้น วรรณ เพศ ผิวพรรณ -หลักธรรมนึ้ จะช่วยให้คน ดาเนินชีวิตอย่างมีความสุข - สังคมอยู่ในช่วงวิกฤติ เปลี่ยนแปลง เร็ว มีการละเมิดสิทธิ การใช้ความ รุนแรงต่อกลุ่มเสี่ยง เด็ก สตรี ..ชกน.ผู้ เห็นต่างฯ ถูกเอาเปรียบตีตรา กีดกัน ไม่ให้มีส่วนร่วมอย่างเท่าเทียมกัน - เป็นหน้าที่ของเราทุกคนที่จะช่วยกัน ยุติการละเมิดสิทธิฯ ฟื้นฟูศักดิศรีฯ พระคัมภาีรให้ความสาคัญการฟื้นฟูสิทธิ มนุษยชน เพราะมนุษยเราเป็นฉายา ของพระผู้เป็นเจ้า -มนุษยได้รับสิทธิเสรีภาาพพื้นฐานที่สา ความเป็นสิทธิมนุษยชน มาจาก หลักศีลธรรม สิทธิมนุษยชนยุคใหม่เพิ่งเกิดขึ้น คาสอนศาสนาอิสลามให้ ความสาคัญมาตั้งแต่สร้าง มนุษยชน ให้เกียรติ ยกย่อง ใน คัมภาีรกล่าวถึงการให้เกียรติ ยก ย่อง ไม่ละเมิด-ศักดิ์ศรี พระเจ้า สร้างมนุษยมาจากอาดัม เอวา มา จากดิน เท่าเทียมกัน ๒. หลักคาสอนของศาสนาที่สาคัญ ที่ปรากฏอยู่ในสิทธิมนุษยชนสากล และ สิทธิ มนุษยชนไทย (ในลักษณะ รูปแบบต่างๆ)
  • 19. ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต ดร.ประเวช ศาสนาอิสลาม หลักสิทธิมนุษยชนในคาสอน พุทธศาสนา ทุกคนมีสิทธิ เสรีภาาพ ในการมีชีวิตอยู่ การ ครอบครองทรัพยสิน มีคู่ครอง การรับข้อมูลข่าวสารที่เป็นจริง การดูแลตนเองให้ปลอดภาัย เป็นสิทธิพื้นฐานเบื้องต้น บางที อาจผิดพลาดไปบ้าง ทุกคนเกิดมาเท่าเทียมกัน มีหน้าที่ที่ต้องทา แต่จะทาตาม ใจชอบไม่ได้ สิทธิเสรีภาาพมี มนุษยทุกคนมีศักยภาาพที่จะพัฒนนา ตนเองให้มีชีวิตอย่างปกติสุขได้ มีศักยภาาพ พัฒนนาตนให้มีชีวิตปกติ ศาสนาคริสต ให้ความสาคัญเรื่องนี้ ๑.สิทธิมนุษยชนฯ เป็นภาาระทางใจที่จะ กอบกู้ศักดิ ช่วยเหลือผู้ถูกข่มเหงาถูก ทอดทิ้ง โดยไม่แยก เชื้อชาติ สีผืว ภาาษา ศาสนา ความเชิ่อ ๒. เป็นการหนุนเสริมผู้ถูกละเมิดสิทธิฯ ให้สามารถช่วยตนเองได้ เพราะมนุษย ถูกสร้างมาบนพื้นฐานของความเท่า การวัดคุณค่าของความเป็นมนุษยชน อยู่ที่ จริยธรรมของมนุษย ไม่ใช่เชื้อ ชาติ ผิวพรรณ ๑. ศ.ให้ความสาคัญกับการมีศาสนา ทุกคนมีสิทธิ เสรีภาาพในการนับถือ ศาสนาใด ไม่มีการบังคับ ศาสนาเป็น สิ่งสูงส่ง ต้องไม่ละเมิดสิทธิของผู้นับ ถือศาสนา อย่าประจาน กล่าวร้าย ความเชื่อของศาสนาอื่น และปกป้อง ศาสนาอิสลสม ๒. หลักคาสอนของศาสนาที่สาคัญ ที่ปรากฏอยู่ในสิทธิมนุษยชนสากล และ สิทธิ มนุษยชนไทย (ในลักษณะ รูปแบบต่างๆ)
  • 20. ศาสนาพุทธ ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม มนุษยเราอยู่คนเดียวไม่ได้ ต้อง อยู่ร่วมกับผู้อื่น ต้องพบกันครึ่ง ทาง บ้านเมืองต้องมีก.ม. ไม่ให้ เกิดการละเมิดกัน ทรงบัญญัติ วินัยสงฆขึ้นเพื่อเป็นกรอบการ ดาเนินชีวิต และให้ปฎิบัติตาม กรอบนั้น สิทธิ เสรีภาาพ อยู่ ควบคู่กับหน้าที่ การอยู่ร่วมกัน ต้องมีกฎกติกา ต้องปฎิบัติให้ บรรลุธรรม ศีล สมาธิ ปัญญา เป็นสิ่งสาคัญ พระธรรมกิตติเมธี กรรมการ มหาเถรสมาคม รองเจ้าอาวาส วัดราชาธิวาสวิหาร ๓ เป็นการปฏิบัติตามพระบัญชา และ พันธะสัญญาที่คริสตชนทุกคนมีต่อพระ ผู้เป็นเจ้า พระเจ้าปรารถนาให้มนุษย เห็นคุณค่าของความเป็นคน ที่มีศักดิศรี ฯ เท่าเทียมกัน และให้ทาทุกวิถีทางที่ จะปกป้องรักษาสิทธิฯนั้นไว้ เป็น พื้นฐานของความเชื่อทุกศาสนา มี เป้าหมายเดียวกัน ร่วมกันทาใก้เป็น จริงได้ในสังคมไทยปัจจุบัน ดร.ประเวศน คิดอ่าน เลขาธิการสภาาคริสตจักรแห่งประเทศ ไทยเลขาธิการ สภาาคริสตจักรแห่ง ประเทศไทย ๒. สิทธิในความเป็นมนุษยทั้งมีชีวิต และเสียชีวิตแล้ว ๓. สิทธิในการศึกษา หาความรู้ ใช้ สมอง แสดงออก ๔. ละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย กล่าวให้ร้ายไม่ได้ ๕. สิทธิในทรัพยสิน ปกป้อง ๖. การใช้สิทธิ ต้องไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น ต้องมีหน้าที่ควบคู่กัน (อ.ประสาน ศรีเจริญ รองประธาน คณะผู้ทรงคุณวุฒนิ จุฬาราชมนตรี)
  • 21. สิทธิมนุษยชนในหลักธรรมอิสลาม 1.ถ้อยแถลงต่างๆจากบรรดาโองการในพระคัมภาีรอัลกุรอานและแบบฉบับของศาสดาที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน 2. คาสอนของศาสนาอิสลามที่เกี่ยวกับสิทธิของพลเมือง 3. คาสอนอิสลามที่รับรองสิทธิและเสรีภาาพของเพื่อนมนุษยในการเลือกนับถือ 4. สิทธิของเพื่อนมนุษยในการปฏิบัติตามข้อคาสอนของศาสนาของตนในรัฐอิสลาม 5.สิทธิของเพื่อนมนุษย ( ที่มิใช่มุสลิม ) Arab Charter on Human Rights (ตัวอย่าง) Article 10 The death penalty may be imposed only for the most serious crimes and anyone sentenced to death shall have the right to seek pardon or commutation of the sentence. Article 12 The death penalty shall not be inflicted on a person under 18 years of age, on a pregnant woman prior to her delivery or on a nursing mother within two years from the date on which she gave birth. Article 27 Adherents of every religion have the right to practise their religious observances and to manifest their views through expression. practice or teaching, without prejudice to the rights of others. No restrictions shall be imposed on the exercise of freedom of belief, thought and opinion except as provided by law. Article 37 Minorities shall not be deprived of their right to enjoy their culture or to follow the teachings of their religions.
  • 22. อิทธิพลของศาสนาที่มีต่อหลักสิทธิมนุษยชนของประเทศไทย ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย ความรักความเมตตา ช่วยเหลือเพื่อนมนุษย ไม่เบียดเบียน ชีวิต ร่างกาย ทรัพยสินฯ การมีคุณธรรม จริยธรรม หน้าที่ของบุคคลในสังคม การทาดี ไม่ทาบาป (แบ่งชั้นวรรณะ กตัญญู ระบบอุปถัมภา พรหมลิขิต กระทบสิทธิของคนบางกลุ่ม)
  • 23. Dr.Ibrahim Madkur ผู้อำนวยกำรสถำบันภำษำอำหรับ กรุงไคโรกล่ำวว่ำ “ สิทธิมนุษยชนที่มีการละเมิดในทุกวันนี้ ทั้งๆที่เรามีหน้าที่ต้องส่งเสริม และคุ้มครองไว้ ความจริงแล้วอิสลามได้วางกฏเกณฑและให้มวลมนุษยดารงไว้ ซึ่งสิทธิมนุษยชนมาตั้งแต่ 14 ศตวรรษแล้ว อิสลามได้วางรากฐานสิทธิมนุษยชน ก่อนที่จะมีการพูดถึงอย่างแพร่หลายใน ศตวรรษที่ 18 ที่ถือว่าเป็นศตวรรษแห่ง สิทธิมนุษยชนด้วยซ้าไป อิสลามได้ส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและได้ กาหนดเป็นส่วนหนึ่งของบทบัญญัติทางศาสนา และสิ่งที่พึงปฏิบัติในโลกดุนยา พร้อมกับได้กาหนดเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการส่งเสริมจริยธรรมและจิต วิญญาณ”
  • 24. หลักคาสอนทางศาสนา และจารีตประเพณี ที่สอดคล้อง และที่ยังไม่ กลมกลืนกับ สิทธิมนุษยชนสากล และสิทธิมนุษยชนไทย • ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย สิทธิเสรีภาาพ การ ไม่เบียดเบียน ไม่เลือกปฎิบัติ ความ ยุติธรรม เป็นธรรมฯ มีการออก/แก้ก.ม. รองรับ • มีการคุ้มครอง ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย สิทธิ เสรีภาาพของประชาชนได้รับการคุ้มครอง ตามรัฐธรรมนูญ ก.ม.ภาายใต้ และพันธกรณี ของไทยที่มีต่ออนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน ที่ไทยเป็นสมาชิก ยังไม่ค่อยกลมกลืน และการปรับให้เข้าบริบทของไทย • การซ้อมทรมาน ทารุณโหดร้าย • การเลือกปฏิบัติในบางประเด็น • สิทธิของผู้เปราะบาง แรงงานต่างด้าว ผู้หลากหลาย ทางเพศ • การปรับแก้ สิทธิมนุษยชนสากล ให้เข้าบริบทพื้นที่ สามจังหวัดชายแดนภาาคใต้ ในเรื่อง การสมรส ครอบครัวฯ สอดคล้องกลมกลืนกัน
  • 25. ๓. แนวทางการนาคาสอนตามหลักศาสนา ไปเผยแพร่ อบรม สร้าง วัฒนนธรรมสิทธิมนุษยชน (ค่านิยม การปฏิบัติตน) ในกลุ่มเป้าหมายเด็ก/ เยาวชน(และอื่นๆ) และความท้าทาย • แต่ละท่านมีภาารกิจในหน่วยงาน เช่น บริหาร สอน จัดกิจกรรมฯ ขอให้นาเอา เรื่องนี่ไปสอดแทรกในภาารกิจหลัก/ประจาของท่าน • จะปรับเอาเรื่องใดนา มีความสัมพันธกันอยู่ ขึ้นกับวัตถุประสงค ภาารกิจ โอกาส • ใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน เป็นแบบอย่างที่ดี • ความท้าทายคือ ในกลุ่มเด็ก เยาวชน เนื่องจากมีปัจจัยของตัววัยรุ่นเองและ สภาาพแวดล้อมที่ผลัก และดึงให้ห่างจากคาสอนของศาสนา สิทธิมนุษยชนฯ
  • 26. ความท้าทายในการส่งเสริมฯ • ประเด็นสิทธิมนุษย • ประเด็นศาสนา • ประเด็นกลุ่มเป้าหมาย (โดยเฉพาะเด็ก เยาวชนฯ) • ประเด็นอื่นๆ