SlideShare a Scribd company logo
1 of 149
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
และแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๔
แผนปฏิบัติการธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
โดย
นายพิทยา จินาวัฒนน
ที่ปรึกษาประจาคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม และอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาาพ
ที่ปรึกษาการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด และรองเลขาธิการปปส.
ความสัมพันธ์ของก.ม.สิทธิมนุษยชน แผนสิทธิมนุษยชน และแผนฯธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
ประชาชน
ประชาชนได้รับการเคารพ ปกป้องเยียวยา หากมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน
จากเจ้าหน้าที่รัฐ บุคคล ธุรกิจ ฯ
ความสัมพันธ์ของก.ม.สิทธิมนุษยชน แผนสิทธิมนุษยชน และแผนฯธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
ประชาชน
ประชาชนได้รับการเคารพ ปกป้องเยียวยา หากมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน
จากเจ้าหน้าที่รัฐ บุคคล ธุรกิจ ฯ
ประชาชนมีสิทธิเสรีภาาพในการทาอะไรก็ได้ ถ้าไม่ละเมิด
ผู้อื่น ไม่ละเมิดก.ม. /ไม่มีก.ม.ห้ามไว้ ไม่ผิดศีลธรรมอันดี
ความสัมพันธ์ของก.ม.สิทธิมนุษยชน แผนสิทธิมนุษยชน และแผนฯธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
ประชาชน
หน่วยงาน
ภาาครัฐ
หน่วยงานธุรกิจ
เอกชน
ประชาชนได้รับการเคารพ ปกป้องเยียวยา หากมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน จากบุคคล องคกรฯ
รัฐบาล
เคารพ ปกป้อง
คุ้มครอง เติมเต็ม
ความสัมพันธ์ของก.ม.สิทธิมนุษยชน แผนสิทธิมนุษยชน และแผนฯธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
ประชาชน
หน่วยงาน
ภาาครัฐ
หน่วยงานธุรกิจ
เอกชน
รัฐบาล/
การเมือง
ประชาชนได้รับการเคารพ ปกป้องเยียวยา หากมีการละเมิดสิทธิฯ จากองคกรรัฐ ธุรกิจ บุคคลอื่น
๑.ก.ม.คุ้มครองสิทธิฯที่
เกี่ยวข้อง
ความสัมพันธ์ของก.ม.สิทธิมนุษยชน แผนสิทธิมนุษยชน และแผนฯธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน
ประชาชน
หน่วยงาน
ภาาครัฐ
หน่วยงานธุรกิจ
เอกชน
รัฐบาล/
การเมือง
ประชาชนได้รับการเคารพ ปกป้องเยียวยา หากมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน จากบุคคล องคกรฯ
รัฐธรรมนูญ
ก.ม.ภาายใน :ป.วิ.อาญาฯ ก.ม.พิเศษฯ
พรบ.เยียวยาฯ พรบ.คุ้มครองพยาน
,พรบ.ไกล่เกลี่ยฯ
๒.แผนสิทธิมนุษยชน
๑.ก.ม.คุ้มครองสิทธิฯที่
เกี่ยวข้อง ๓.แผนฯธุรกิจกับ
สิทธิมนุษยชน
รัฐธรรมนูญ
ก.ม.ภาายใน : ป.วิ.อาญาฯ ก.ม.พิเศษฯ
พรบ.เยียวยาฯ พรบ.คุ้มครองพยาน,พรบ.ไกล่เกลี่ยฯ
(๑) การใช้สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนของประชาชน
ในสถานการณปกติ ประชาชนใช้สิทธิ เสรีภาาพ ตามที่ก.ม.รองรับไว้ โดยรัฐคุ้มครองฯ
มีความจาเป็นต้องมีก.ม.บางฉบับที่กระทบต่อสิทธิเสรีภาาพของปชช.เพื่อให้จนท.ฯ
สามารถปฏิบัติหน้าที่เพื่อความมั่นคงของรัฐฯ ความปลอดภาัยในชีวิตฯของประชาชนได้
(เช่น ก.ม.ยาเสพติด,ก.ม.ฟอกเงินฯ) แต่ต้องยึดหลักความชอบด้วยก.ม.
ในสถานะการณพิเศษที่มีภาัยต่อความมั่นคง ความปลอดภาัยในชีวิตฯของประชาชนฯ
ประชาชนอาจมีข้อจากัดในการใช้สิทธิ และเสรีภาาพ
โดยรัฐออกก.ม.พิเศษออกมา แต่ต้องยึดหลักความชอบด้วย ก.ม.
(๒) ข้อจากัดในการใช้สิทธิ เสรีภาาพฯ ของประชาชน
หลักทั่วไป : การใช้สิทธิฯ ต้องไม่กระทบกระเทือน หรือ เป็นอันตรายต่อ
๑.ความมั่นคงของรัฐ
๒.ความสงบเรียบร้อย หรือ ศีลธรรมอันดีของประชาชน
๓. ไม่ละเมิดสิทธิ หรือ เสรีภาาพของบุคคลอื่น
๔. มีกฎหมายออกมาจากัดการใช้สิทธิ เสรีภาาพของประชาชน
แต่ต้องสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ
กฎหมายดังกล่าว
๑. ต้องไม่ขัดต่อหลักนิติธรรม
๒. ไม่เพิ่มภาระ หรือจํากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลเกินสมควรแก่เหตุ
๓. จะกระทบต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคลมิได้
๔. ต้องระบุเหตุผลความจําเป็นในการจํากัดสิทธิ และเสรีภาพไว้
กฎหมายนี้ ต้องมีผลใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใด
กรณีหนึ่งหรือแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นการเจาะจง
รัฐธรรมนูญฯคุ้มครองสิทธิฯ แม้จะออกกฏหมายมาจากัดสิทธิเสรีภาาพประชาชน
การคุ้มครองสิทธิฯของประชาชน ตามรัฐธรรมนูญ ปี ๒๕๖๐ (มาตรา ๔ มาตรา ๒๕)
• รัฐธรรมนูญฯคุ้มครอง ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย สิทธิ เสรีภาาพ และความเสมอ
ภาาคของบุคคล
• บุคคลย่อมมีสิทธิ และเสรีภาาพที่จะทาอะไรก็ได้ และได้รับความคุ้มครองตาม
รัฐธรรมนูญ
• ๑. ถ้ารัฐธรรมนูญ หรือก.ม.อื่น ไม่ได้ห้าม จากัดไว้ และ
• ๒. ไม่กระทบกระเทือนหรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบร้อย
หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาาพของบุคคลอื่น
• ผู้ถูกละเมิดฯสามารถ ยกบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญเพื่อใช้สิทธิทางศาล หรือยกขึ้น
เป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้
การคุ้มครองสิทธิฯของประชาชน ตามรัฐธรรมนูญ ปี ๒๕๖๐
(มาตรา ๔ และ มาตรา ๒๕)
• สิทธิหรือเสรีภาาพใดที่รัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามที่ก.ม.บัญญัติ หรือให้เป็นไป
ตามหลักเกณฑ และวิธีการที่ก.ม.บัญญัติ แม้ยังไม่มีการตราก.ม.นั้นขึ้นใช้
บังคับ บุคคลหรือชุมชนย่อมสามารถ ใช้สิทธิหรือเสรีภาพนั้นได้ตาม
เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๒๕
• บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิฯจากการทาผิดอาญาของ
บุคคลอื่น ได้รับการเยียวยาตามที่ก.ม.บัญญัติ
การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชนชาวไทย ตามรัฐธรรมนูญ ปี ๒๕๖๐
มาตรา ๔ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย สิทธิ เสรีภาาพ และความเสมอภาาคของบุคคล ย่อม
ได้รับความคุ้มครอง ปวงชนชาวไทยย่อมได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญเสมอกัน
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย
สิทธิ เสรีภาาพ
ความเสมอภาาคของบุคคล
รัฐธรรมนูญ ปี ๖๐
คุ้มครอง
ตามรัฐธรรมนูญฯ ตามก.ม.ไทย ตามสนธิสัญญาที่
ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติ
พรบ.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 3
การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทยที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้
มาตรา ๒๕ สิทธิและเสรีภาาพของปวงชนชาวไทย นอกจากที่บัญญัติคุ้มครองไว้เป็นการเฉพาะ ใน
รัฐธรรมนูญแล้ว การใดที่มิได้ห้ามหรือจํากัดไว้ในรัฐธรรมนูญหรือในก.ม.อื่น บุคคลย่อมมีสิทธิ
และเสรีภาพที่จะทําการนั้นได้และได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ ตราบเท่าที่การใช้สิทธิ
หรือเสรีภาาพ เช่นว่านั้นไม่กระทบกระเทือนหรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบ
เรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และไม่ละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอื่น
สิทธิหรือเสรีภาาพใดที่รัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามที่ก.ม.บัญญัติ หรือให้เป็นไปตามหลักเกณฑ
และวิธีการที่ก.ม.บัญญัติ แม้ยังไม่มีการตราก.ม.นั้นขึ้นใช้บังคับ บุคคลหรือชุมชนย่อมสามารถ
ใช้สิทธิหรือเสรีภาพนั้นได้ตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ
บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาาพที่ได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ สามารถยก
บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญเพื่อใช้สิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้
บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาาพหรือจากการกระทาความผิด
อาญาของบุคคลอื่น ย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเยียวยาหรือช่วยเหลือจากรัฐตามที่ก.ม.บัญญัติ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐
มาตรา ๒๕ สิทธิและเสรีภาาพของปวงชนชาวไทย นอกจากที่บัญญัติคุ้มครองไว้เป็นการเฉพาะ
ในรัฐธรรมนูญแล้ว การใดที่มิได้ห้ามหรือจํากัดไว้ในรัฐธรรมนูญหรือในก.ม.อื่น บุคคลย่อมมี
สิทธิ และเสรีภาพที่จะทําการนั้นได้และได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ ตราบเท่าที่การ
ใช้สิทธิหรือเสรีภาาพ เช่นว่านั้นไม่กระทบกระเทือนหรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐ
ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และไม่ละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของ
บุคคลอื่น
สิทธิหรือเสรีภาาพใดที่รัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามที่ก.ม.บัญญัติ หรือให้เป็นไปตาม
หลักเกณฑ และวิธีการที่ก.ม.บัญญัติ แม้ยังไม่มีการตราก.ม.นั้นขึ้นใช้บังคับ บุคคลหรือชุมชน
ย่อมสามารถ ใช้สิทธิหรือเสรีภาพนั้นได้ตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ
บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาาพที่ได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ สามารถยก
บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญเพื่อใช้สิทธิทางศาล หรือ ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้
บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาาพหรือจากการกระทาความผิด
อาญาของบุคคลอื่น ย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเยียวยาหรือช่วยเหลือจากรัฐตามที่ก.ม.บัญญัติ
หลักการ
คุ้มครองสิทธิ
เสรีภาาพของ
ประชาชน
ทาอะไรก็ได้
ถ้าไม่มีก.ม.ห้าม ไม่
กระทบความมั่นคง
ความสงบ ศีลธรรม
อันดี ไม่ละเมิดสิทธิ
เสรีภาาพผู้อื่น
ยกรัฐธรรมนูญขึ้น
ต่อสู้ได้
การเยียวยาจากรัฐ
มาตรา ๒๖ การตรากฎหมายที่มีผลเป็นการจากัดสิทธิหรือ
เสรีภาาพของบุคคลต้องเป็นไป ตามเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ใน
รัฐธรรมนูญ ในกรณีที่รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติเงื่อนไขไว้
กฎหมายดังกล่าว ต้องไม่ขัดต่อ หลักนิติธรรม ไม่เพิ่มภาาระ หรือ
จากัดสิทธิหรือเสรีภาาพของบุคคลเกินสมควรแก่เหตุ และจะ
กระทบต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษยของบุคคลมิได้ รวมทั้งต้อง
ระบุเหตุผลความจาเป็นในการจากัดสิทธิ และเสรีภาาพไว้ด้วย
กฎหมายตามวรรคหนึ่ง ต้องมีผลใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่มุ่ง
หมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใด กรณีหนึ่งหรือแก่บุคคลใดบุคคล
หนึ่งเป็นการเจาะจง
การออก ก.ม.เพื่อจากัดสิทธิ
เสรีภาาพของบุคคล
• ต้องเป็นตามเงื่อนไขที่
รัฐธรรมนูญ กาหนด
• ไม่ขัดหลักนิติธรรม
• ไม่เพิ่มภาาระ จากัดสิทธิ
บุคคลเกินเหตุ
• กระทบศักดิ์ศรีความเป็น
มนุษยไม่ได้
• ต้องระบุเหตุผลความ
จาเป็นในการจากัดสิทธิไว้
• ต้องมีผลบังคับทั่วไป
มาตรา ๒๗ บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาาพและได้รับความ
คุ้มครอง ตามกฎหมายเท่าเทียมกัน
ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน
การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล ไม่ว่าด้วยเหตุความแตกต่างในเรื่องถิ่น
กาเนิด เชื้อชาติ ภาาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาาพทางกายหรือสุขภาาพ สถานะของ
บุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความ
คิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือเหตุอื่นใด จะกระทา
มิได้
มาตรการที่รัฐกาหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถใช้สิทธิ
หรือเสรีภาาพ ได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่น หรือเพื่อคุ้มครองหรืออานวยความสะดวกให้แก่
เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ หรือผู้ด้อยโอกาส ย่อมไม่ถือว่าเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่
เป็นธรรมตามวรรคสาม
บุคคลผู้เป็นทหาร ตารวจ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ และพนักงานหรือ
ลูกจ้างขององคกร ของรัฐย่อมมีสิทธิและเสรีภาาพเช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป เว้นแต่ที่
จากัดไว้ในกฎหมายเฉพาะในส่วนที่ เกี่ยวกับการเมือง สมรรถภาาพ วินัย หรือจริยธรรม
หลัก
ความเสมอภาาค
มาตรา ๒๙ บุคคลไม่ต้องรับโทษอาญา เว้นแต่ได้กระทาการอันกฎหมาย
ที่ใช้อยู่ในเวลา ที่กระทานั้นบัญญัติเป็นความผิดและกาหนดโทษไว้ และ
โทษที่จะลงแก่บุคคลนั้นจะหนักกว่าโทษที่บัญญัติไว้ในกฎหมายที่ใช้อยู่
ในเวลาที่กระทาความผิดมิได้ ในคดีอาญา ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า
ผู้ต้องหาหรือจาเลยไม่มีความผิด และก่อนมีคาพิพากษา อันถึงที่สุด
แสดงว่าบุคคลใดได้กระทาความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็น
ผู้กระทาความผิดมิได้ การควบคุมหรือคุมขังผู้ต้องหาหรือจาเลยให้
กระทาได้เพียงเท่าที่จาเป็น เพื่อป้องกันมิให้มีการหลบหนี ในคดีอาญา
จะบังคับให้บุคคลให้การเป็นปฏิปักษต่อตนเองมิได้ คาขอประกัน
ผู้ต้องหาหรือจาเลยในคดีอาญาต้องได้รับการพิจารณาและจะเรียก
หลักประกัน จนเกินควรแก่กรณีมิได้ การไม่ให้ประกันต้องเป็นไปตามที่
กฎหมายบัญญัติ
หลักไม่มีความผิด
ไม่มีโทษ ถ้าไม่มี
ก.ม.กาหนดไว้
หลักสันนิษฐานว่า
บริสุทธิ์ไว้ก่อน
หลักการควบคุม
คุมขังบุคคล
หลักไม่ให้การเป็น
ปฏิปักษต่อตนเอง
หลักการให้
ประกันตัว
มาตรา ๓๒ บุคคลย่อมมีสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ ชื่อเสียง และครอบครัว
การกระทาอันเป็นการละเมิดหรือกระทบต่อสิทธิของบุคคลตามวรรคหนึ่ง หรือการนา
ข้อมูล ส่วนบุคคลไปใช้ประโยชนไม่ว่าในทางใดๆ จะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจ
ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ที่ตราขึ้นเพียงเท่าที่จาเป็นเพื่อประโยชนสาธารณะ
มาตรา ๓๓ บุคคลย่อมมีเสรีภาาพในเคหสถาน การเข้าไปในเคหสถานโดยปราศจากความ
ยินยอมของผู้ครอบครอง หรือการค้นเคหสถาน หรือที่รโหฐานจะกระทามิได้ เว้นแต่มี
คาสั่ง หรือหมายของศาล หรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
มาตรา ๓๔ บุคคลย่อมมีเสรีภาาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ การ
โฆษณา และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น การจากัดเสรีภาาพดังกล่าวจะกระทามิได้ เว้นแต่
โดยอาศัยอานาจ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ตราขึ้นเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ
เพื่อคุ้มครองสิทธิหรือเสรีภาาพของ บุคคลอื่น เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรม
อันดีของประชาชน หรือเพื่อป้องกันสุขภาาพของ ประชาชน เสรีภาาพทางวิชาการย่อมได้รับ
ความคุ้มครอง แต่การใช้เสรีภาาพนั้นต้องไม่ขัดต่อหน้าที่ของ ปวงชนชาวไทยหรือศีลธรรม
อันดีของประชาชน และต้องเคารพและไม่ปิดกั้นความเห็นต่างของบุคคลอื่น
เสรีภาาพการ
แสดงความเห็น
เสรีภาาพทาง
วิชาการ
สิทธิความเป็นอยู่
ส่วนตัว
เสรีภาาพใน
เคหสถาน
มาตรา ๓๖ บุคคลย่อมมีเสรีภาาพในการติดต่อสื่อสารถึงกันไม่ว่าในทางใดๆ การ
ตรวจ การกัก หรือการเปิดเผยข้อมูลที่บุคคลสื่อสารถึงกัน รวมทั้งการกระทาด้วย
ประการใดๆ เพื่อให้ล่วงรู้หรือได้มาซึ่งข้อมูลที่บุคคลสื่อสารถึงกันจะกระทามิได้
เว้นแต่มีคาสั่งหรือหมายของศาล หรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ
เสรีภาาพการ
ติดต่อสื่อสาร
มาตรา ๔๔ บุคคลย่อมมีเสรีภาาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ
การจากัดเสรีภาาพตามวรรคหนึ่งจะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตาม
บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ตราขึ้น เพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ ความ
ปลอดภาัยสาธารณะ ความสงบเรียบร้อย หรือ ศีลธรรมอันดีของประชาชน
หรือ เพื่อคุ้มครองสิทธิหรือเสรีภาาพของบุคคลอื่น
เสรีภาาพในการชุมนุม
โดยสงบ และปราศจากอาวุธ
๑. การจับ
๒. การค้น
๓. การคงบคุมคุมขัง
๔. การสอบสวน
๕. การฟ้องคดี
๖. การพิจารณาพิพากษาคดี
๗. การบังคับโทษ
(๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
• ๑. การจับ
- ผู้มีอานาจจับ (จพง,ราษฎร) เหตุการขอหมายจับ ต้องมีหลักฐานฯ
- ต้องมีหมายจับหรือคาสั่งศาล ม.๙๘ (ตั้งแต่ ๑๑ ตค.๔๐) ยกเว้นจับโดยไม่มีหมาย(ม.๗๘) เช่น ทาความผิด
ซึ่งหน้า มีพฤติการณควรสงสัยว่าจะก่อเหตุร้าย โดยมีอาวุธฯ อาจใช้ทาความผิด จาเป็นเร่งด่วนไม่อาจขอหมาย
ทัน จับผู้หนีประกันฯ
- แสดงหมาย(ถ้ามี) ต้องแจ้งว่าถูกจับ แจ้งข้อหาและเหตุฯ แจ้งสิทธิ ทาบันทึกจับกุม แจ้งญาติฯ ที่ถูกคุม (ม.
๘๓)
- ห้ามจับในสถานที่ต้องห้าม(ม.๘๑/๑) ห้ามจับในที่รโหฐานเว้นแต่ทาตามก.ม. (ม.๘๑)
- จับแล้วต้องส่งที่ทาการพงส.ทันทีและทาตามขั้นตอนของก.ม.(ม.๘๔)
(๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
• ๒. การค้น ม.๑๓๒ (ตัวบุคคล สถานที่)
- ผู้มีอานาจค้น เหตุออกหมายค้น(ม.๖๙) ต้องมีคาสั่งหรือหมายศาล หรือมีเหตุตามก.ม (ม.๙๒ เช่น มี
เสียงร้อง ความผิดซึ่งหน้าฯ) วิธีการและเวลาในการค้นตัวบุคคล สถานที่ เช่น ค้นผู้หญิง ค้นสิ่งของ ค้นเวลา
กลางคืนฯ และราษฎรไม่มีอานาจค้น (และการเข้าไปในเคหสถาน ต้องได้รับความยินยอมของเจ้าของ/ผู้
ครอบครอง) การทารายงาน (การค้นในที่สาธารณสถาน ไม่เข้มงวดเท่ากับค้นในที่รโหฐาน... เข้าไปจับในบ้าน
ต้องมีหมายจับ และหมายค้นด้วย)
- จพง..ผู้จับ/รับตัวผู้ถูกจับ มีอานาจค้นตัว ยึดสิ่งของ แต่ต้องค้นอย่างสุภาาพ ค้นผู้หญิงใช้ผู้หญิงค้น (ม.๘๕)
• การค้น การจับ เป็นคนละขั้นตอนของการสอบสวน การตรวจค้นจับกุม ไม่ชอบฯไม่ทาให้การสอบสวนไม่
ชอบ
(๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
• ๓. การควบคุม คุมขัง
- ควบคุมผู้ถูกจับ โดยวิธีการที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการหลบหนี (ม.๘๖)
- ไม่ควบคุมเกินเวลาแห่งความจาเป็นตามพฤติการณคดี พิจารณาจากความผิดและอัตราโทษ (ม.๘๗)
- ไม่นาไปควบคุมในสถานที่ ที่ก.ม.ไม่ได้บัญญัติไว้ เช่น safe house
- การขังผู้ต้องหา จาเลย ระหว่างสอบสวน หรือพิจารณาฯ เป็นไปตามหมายขังที่ศาลกาหนดสถานที่
ระยะเวลา ส่วนการจาคุกตามคาพิพากษาฯ ให้เป็นไปตามคาสั่ง หรือหมายจาคุก
- การขังผู้เปราะบาง เช่น หญิงท้อง หรือ เพิ่งคลอด เด็ก ผู้ป่วย ต้องเป็นไปอย่างเหมาะสม ตามระเบียบฯ
- การปล่อย ต้องเป็นไปตามที่ก.ม.บัญญัติ มีคาสั่งปล่อย หรือหมายปล่อยจากศาล ไม่ปล่อยเลยกาหนดฯ
(๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
• ๔. การสอบสวน
- ทาโดยจนท.ผู้มีอานาจ เป็นพนักงานสอบสวน(พงส.)
- ก่อนสอบปากคา ให้พงส.ถามข้อมูลส่วนบุคคล แจ้งข้อเท็จจริง และข้อหา แจ้งสิทธิต่างๆ(ม.๑๓๔)
และถ้าเป็นคดีที่มีโทษประหาร หริออายุไม่เกิน ๑๘ ปี แล้วไม่มีทนายฯ ให้จัดหาทนายให้ หรือเป็นคดี
ที่มีโทษจาคุก แล้วไม่มีทนาย หากต้องการทนาย ก็จัดหาให้ (ม.๑๓๔/๑)
- ผู้ต้องหามีสิทธิพบ หารือทนาย ผู้จะเป็นทนายเป็นการเฉพาะ
- การสอบฯให้ผู้ต้องหามีทนาย หรือผู้ที่เขาไว้วางใจ ร่วมฟังการสอบด้วย
- พงส.มีอานาจ ตรวจตัวผู้เสียหาย(ถ้ายินยอม) ถ้าเป็นผู้หญิงให้ผู้หญิงตรวจ หรือได้รับความ
ยินยอมและบันทึกเหตุจาเป็นไว้หรือให้มีบุคคลอื้นอยู่ด้วย ตรวจตัวผู้ต้องหา สิ่งของ ออกหมายเรียก
บุคคลที่ครอบครอง (ม.๑๓๒)หมายเรียกผู้เสียหายหรือบุคคลใด (ม.๑๓๓)
(๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
- การสอบปากคาผู้เสียหาย พยาน ซึ่งเป็นเด็ก ให้จัดสถานที่ที่เหมาะสม มีสหวิชาชีพมาร่วม และ
มีวิธีการถามที่เหมาะสม- การชี้ตัวผู้กระทาความผิด ของผู้เสียหาย พยาน ซึ่งเป็นเด็กให้จัดสถานที่
เพื่อความปลอดภาัยแก่ผู้เสียหาย
- ผู้ต้องหามีสิทธิที่จะได้รับการสอบสวนที่รวดเร็วไม่ชักช้า (ม.๑๓๐) ต่อเนื่อง เป็นธรรม
- ผู้ต้องหามีสิทธิที่จะไม่ให้การ หรือไม่ให้การเป็นปฏิปักษต่อตนเอง
- ผู้ต้องหา ต้องไม่ถูกซ้อม ทรมาน ขู่เข็ญฯ เพื่อให้การ ต่อพงส.
- ผู้ต้องหามีสิทธิที่จะไม่ไปชี้สถานที่เกิดเหตุ รวมทั้งไม่ร่วมนั่งแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน
- วิธีการส่งสานวนพร้อมความเห็นว่าควรสั่งฟ้องหรือไม่ ไปยังพนักงานอัยการ ในกรณีที่รู้ตัว
ผู้กระทาความผิด แต่ยังเรียกตัวหรือจับตัวมาไม่ได้ เมื่ออัยการเห็นว่าควรสั่งฟ้อง ให้พงส.จัดกรนาตัว
ผู้ต้องหามา (ม.๑๔๑)
(๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
•สิทธิในกระบวนการยุติธรรม :
- เข้าถึงง่าย สะดวก รวดเร็ว ทั่วถึง
- สิทธิพื้นฐานในกระบวนการพิจารณา พิจารณาเปิดเผย ทราบข้อเท็จจริง ตรวจเอกสาร การเสนอข้อ
เท็จ จริง ข้อโต้แย้ง พยานหลักฐาน การค้านผู้พิพากษา การนั่งพิจารณาโดยองคคณะ การทราบเหตุผลของ
คาพิพากษา
- สิทธิให้คดีของตน ได้รับการพิจารณาถูกต้องเป็นธรรม สิทธิได้รับการปฏิบัติที่เหมาะสม สิทธิที่ได้รับการ
คุ้มครอง ช่วยเหลือ เยียวยา สิทธิที่ผู้เปราะบาง (เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการฯ) ได้รับการพิจารณา
อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในคดีฯเพศ
- สิทธิของผู้ต้องหา จาเลย ได้รับการสอบสวน พิจารณาคดี ที่ถูกต้อง รวดเร็ว เป็นธรรม มีโอกาสต่อสู้คดี
ได้ประกัน มีทนาย
(๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
• ๑. สิทธิของผู้ถูกจับ (มาตรา ๘๓ และ ๘๔)
- ได้รับแจ้งว่าถูกจับ ข้อกล่าวหาและเหตุ ให้ญาติรู้(ถ้าไม่ขัดขวางฯ) ถูกส่งตัวไปที่ทาการพงส.ทันที
- พงส.ต้องแจ้งสิทธิให้ผู้ต้องหาอีกครั้ง แจ้งญาติฯ พบ/ปรึกษาทนาย ให้ทนาย/ผู้ไว้ใจร่วมฟัง เข้าเยี่ยม รักษาฯโดยเร็ว
เมื่อป่วย
• ๒. สิทธิของผู้ต้องหาในชั้นสอบสวน (มาตรา ๑๓๔)
- ได้รับแจ้งข้อเท็จจริงเกียวกับการทาผิด ข้อกล่าวหา มีโอกาสแก้ข้อกล่าวหา แสดงข้อเท็จจริงที่เป็นประโยชนต่อตน
มีได้รับการสอบสวนรวดเร็ว ต่อเนื่อง เป็นธรรม มีสิทธิที่จะมีทนายในชั้นสอบสวน ให้ทนายฯร่วมฟัง มีสิทธิไม่ให้การ
- กรณีเด็กอายุไม่เกิน ๑๘ ปี การสอบฯ ต้องมีสถานที่เป็นสัดส่วน มีสหวิชาชีพร่วมอยู่ด้วย
• ๓. สิทธิของจาเลยในชั้นศาล (มาตรา ๘)
- ได้รับการพิจารณาคดีด้วยความรวดเร็ว ต่อเนื่อง เป็นธรรม
- แต่งทนายแก้ต่างในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง ชั้นพิจารณาในศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ และศาลฎีกา ปรึกษาทนาย/ผู้จะเป็น
ทนาย
- ตรวจดูสานวนไต่สวนมูลฟ้อง หรือพิจารณาของศาล ค้ด/ขอรับสาเนาคาให้การของตนในชั้นสอบสวนฯ
- ทนายจาเลยมีสิทธิเช่นเดียวกับจาเลย
(๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
•๔. สิทธิของผู้เสียหาย
- เดิมสิทธิผู้เสียหายถูกละเลย หลังรัฐธรรมนูญปีพ.ศ. ๒๕๔๐ ผู้เสียหายได้รับความสนใจมากขึ้น โดยรัฐ
เข้ามาดูแล เพราะถือเป็นความบกพร่องของรัฐในการคุ้มครองประชาชน
- ผู้เสียหาย หมายถึง บุคคลผู้ที่ได้รับความเสียหายเนื่องจากการกระทาผิดฐานใดฐานหนึ่ง รวมทั้งบุคคล
ที่มีอานาจจัดการแทนได้ ดังบัญญัติไว้ใน ม.๔, ๕ และ ๖
- หลักเกณฑ มีการกระทาความผิดทางอาญา บุคคลนั้นได้รับความเสียหาย ต้องไม่มีส่วนร่วมในการทา
ความผิด
- ผู้เสียหาย แบ่งเป็นผู้เสียหายแท้จริง และผู้มีอานาจจัดการแทน
• สิทธิของผู้เสียหายอาจแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนแรก เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับคดี และส่วนที่สอง
เป็นสิทธิที่จะได้รับการเยียวยา
(๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
๔.๑ สิทธิเกี่ยวกับการดาเนินคดี ของผู้เสียหาย
• สิทธิในการร้องทุกขต่อพงส. ในความผิดต่อส่วนตัว เป็นเงื่อนไข ทาให้ พงส.สอบสวนได้ และ พนง.อัยการ
ฟ้องคดีได้ ส่วนความผิดต่อรัฐ พงส.สอบสวนได้อยู่แล้ว แม้ผู้เสียหายไม่ร้องทุกข
• สิทธิในการให้ปากคาต่อจนท./พงส. และตรวจร่างกายผู้เสียหายที่เป็นผู้หญิง ให้พงส.หญิงดาเนินการ ยกเว้น
เหตุจาเป็น และยินยอม มีการทาบันทึกไว้
• สิทธิในการชี้ตัวผู้กระทาความผิด ผู้เสียหายต้องอยู่ในสถานที่ปลอดภาัย
• สิทธิในการฟ้องคดีอาญาด้วยตนเอง มีอานาจฟ้อง ตามหลักการฟ้องคดีของราษฎรผู้เสียหาย (private
prosecution) ศาลต้องไต่สวนมูลฟ้องก่อน ฟ้องคดีด้วยตนเอง หรือ-มีสิทธิขอเป็นโจทกร่วมกับอัยการฟ้อง
คดีอาญา
• สิทธิฟ้องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องคดีอาญา ขอให้ศาลสั่งเพื่อการเยียวยา หรือใช้สิทธิฟ้องแพ่ง คดีละเมิด
• มีสิทธิยื่นคาขอรับการเยียวยา ต่อศาล เมื่ออัยการฟ้องคดีอาญา ผู้เสียหายไม่ได้เป็นโจทกร่วมแต่ให้ศาลสั่งให้
จาเลยชดใช้ค่าเสียหาย
(๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
๔.๒ สิทธิของผู้เสียหายในการรับการเยียวยา
๔.๒.๑ การเยียวยา จากผู้ทาละเมิด หรือ ผู้กระทาความผิดต่อผู้เสียหาย
- การทาผิดทางอาญา เป็นการละเมิดตาม ม.๔๒๐ ปพพ.ผู้ละเมิดจาต้องชดใช้ค่าสินไหม โดยผู้ถูกละเมิด อาจ
ฟ้องคดีแพ่งเอง หรือฟ้องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องคดีอาญา
๔.๒.๒ การเยียวยาจากรัฐ โดยกระทรวงยุติธรรม
- ปีพ.ศ. ๒๕๔๔ มีการประกาศใช้พรบ.ค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จาเลย
คดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔. โดยรัฐเยียวยาผู้เสียหายในคดีอาญา เพราะรัฐบกพร่องในหน้าที่การดูแลความปลอดภาัย
แก่ประชาชน เป็นการเยียวยาขั้นต่าจากรัฐ เพราะผู้เสียหายอาจได้รับการเยียวยาจากผู้ละเมิดฯ รวมทั้งบุคคลที่
๓ เช่น บริษัทประกันชีวิต หรือ ประกันภาัย
- การช่วยเหลือเยียวยา จากกองทุนยุติธรรม ตามพรบ.กองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘
นอกจากนั้นยังมีการเยียวยาจากส่วนราชการอื่น ตามก.ม.ระเบียบมี่กาหนดไว้ เช่น กระทรวงมหาดไทย
พัฒนนาสังคมฯ
๔.๒.๓ การเยียวยาจากองคกรอื่น เช่น หน่วยงานประกันชีวิต ประกันภาัย และกองทุนสวัสดิการอื่นๆ
(๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
• ๕) การฟ้องคดี
• - เป็นไปตามรัฐธรรมนูญฯ ป.วิ.อาญา ภาาค ๓ เป็นไปตามหลักการฟ้องคดีโดยรัฐ แต่ราษฎรมีสิทธิฟ้องคดีไ
• - การฟ้องคดีต้องมีการสอบสวนมาก่อน เป็นเงื่อนไขสาคัญของการฟ้องคดี
• - ในความผิดส่วนตัว ราษฎรต้องไปร้องทุกขต่อพงส.ก่อนและจะต้องมีการไต่สวนมูลฟ้องโดยศาล เพื่อ
ป้องกันการกลั่นแกล้งกัน ส่วนคดีความผิดต่อแผ่นดินซึ่งราษฎรได้รับความเสียหาย พงส.มีอานาจหน้าที่ใน
การสอบสวน เพราะรัฐเป็นผู้เสียหาย
• ๖) การพิจารณา พิพากษาคดี
• - เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ,ป.วิ.อาญา ภาาค ๓ และภาาค ๔ ,พรบ.พระธรรมนูญศาลยุติธรรมฯ แก้ไขเพิ่มเติม
ครั้งที่ ๖ พ.ศ.๒๕๖๒
๗) การบังคับโทษ
- การบังคับโทษทางอาญา เป็นไปตามก.ม. เช่น พรบ.ราชทัณฑ พ.ศ.๒๔๗๙ แก้ไขเพิ่มเติมฯ
- สิทธิของผู้ต้องขัง นักโทษเด็ดขาด เป็นไปตามมาตรฐานขั้นต่าของข้อตกลงฯ สนธิสัญญาระหว่างประเทศ
ที่ไทยเป็นภาาคี และมีก.ม.ภาายในรองรับ
(๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
• ๑) การจับ
- ผู้มีอานาจจับ (จพง,ราษฎร) เหตุการขอหมายจับ ต้องมีหลักฐานฯ
- ต้องมีหมายจับหรือคาสั่งศาล(ตั้งแต่๑๑ ตค.๔๐) ยกเว้น ทาความผิดซึ่งหน้า มีพฤติการณควรสงสัยว่าจะก่อ
เหตุร้าย โดยมีอาวุธฯ อาจใช้ทาความผิด จาเป็นเร่งด่วนไม่อาจขอหมายทัน จับผู้หนีประกันฯ
- แสดงหมาย(ถ้ามี) ต้องแจ้งว่าถูกจับ แจ้งข้อหาและเหตุฯ แจ้งสิทธิ ทาบันทึกจับกุม แจ้งญาติฯ ที่ถูกคุม
- ห้ามจับในที่ต้องห้าม จับในที่รโหฐานเว้นแต่ทาตามก.ม.
- จับแล้วต้องส่งที่ทาการพงส.ทันทีและทาตามขั้นตอนของก.ม.
• ๒) การค้น
- ผู้มีอานาจค้น เหตุออกหมายค้น ต้องมีคาสั่งหรือหมายศาล หรือมีเหตุตามก.ม (เช่น มีเสียงร้อง ความผิดซึ่ง
หน้าฯ) วิธีการและเวลาในการค้นตัวบุคคล สถานที่ เช่น ค้นผู้หญิง ค้นสิ่งของ ค้นเวลากลางคืนฯ และราษฎรไม่มี
อานาจค้น (และการเข้าไปในเคหสถาน ต้องได้รับความยินยอมของเจ้าของ) การทารายงาน
• การค้น การจับ เป็นคนละขั้นตอนของการสอบสวน การตรวจค้นจับกุม ไม่ชอบฯไม่ทาให้การสอบสวนไม่ชอบ
(๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
ก.ม.ภายในของประเทศไทย ที่สอดรับกับข้อตกลง และอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนฯ
- แก้ไขเรื่อง
๑. การประกันตัวผุ้มีอัตราโทษจาคุกเกิน ๑๐ ปีขึ้นไป ผู้ถูกปล่อยชั่วคราว ต้องมีประกัน
และจะมีหลักประกันด้วยหรือไม่ก็ได้
๒. การจับผู้ต้องหา จาเลย ที่ศาลสั่งปล่อยชั่วคราว โดยจพง.ปกครอง ตร. ที่จพง.ศาลแจ้ง
ให้จับ หรือการจับ โดยจพง.ศาลเมื่อมีเหตุจาเป็น เมื่อจับได้ ให้นาตัวไปศาลโดยเร็ว
๓. การฟ้องคดีอาญาโดยราษฎรเป็นโจทก ถ้าไม่สุจริต บิดเบือนข้อเท็จจริง กลั่นแกล้ง เอา
เปรียบจาเลย มุ่งหลังผลอย่างอื่นยิ่งกว่าประโยชนที่พึงได้โดยชอบ ให้ศาลยกฟ้อง และ
ห้ามโจทกยื่นฟ้องในเรื่องเดียงกันอีก
(๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
๓). การใช้สิทธิเสรีภาพ สิทธิมนุษยชนอย่างสอดคล้องกับความมั่นคงฯ
ประชาชน เจ้าหน้าที่รัฐฯต้อง “รู้” สิทธิ (หน้าที่) เสรีภาาพ ที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ
(อะไรทาได้ อะไรทาไม่ได้ ในเงื่อนไข สถานการณใด)
ในสถานการณฯ ที่รัฐจาเป็นต้อง “จากัด” การใช้สิทธิ เสรีภาาพของประชาชน
ต้องเป็นไปตามที่กฎหมายให้อานาจไว้ (ในการออกก.ม. บังคับใช้ก.ม.ฯ)
รัฐจาเป็นต้อง “แจ้ง“ ให้ประชาชนได้ทราบถีง การจากัดการใช้สิทธิฯ และมีการ
“เตรียมการ”ที่ดี ในการออกและใช้ก.ม. โดยให้เกิด “ผลกระทบเชิงลบ” น้อยที่สุด
หากประชาชน ได้รับผลกระทบจากการใช้อานาจของ(จนท.)รัฐ ที่ไม่ถูกต้องกับหลัก
ความชอบด้วยก.ม. ประชาชนจะได้รับการ”เยียวยา”จากผู้ละเมิดฯ และรัฐตามก.ม.
องค์ประกอบสาคัญของความมั่นคงของชาติ
ปลอดภาัยจากภาัยคุกคาม
การยอมรับนับถือจากนานาประเทศ
บูรณภาาพแห่ง
ดินแดน
ประชาธิปไตย
มีพระมหากษัตริยเป็น
ประมุข
ประชาชนปลอดภาัย
มีชิวิตผาสุก
ปกป้องผลประโยชน
แห่งชาติ
ความเข้มแข็งของชาติ
พร้อมเผชิญสถานการณ
28
การใช้สิทธิฯอย่างสอดคล้องกับความมั่นคงของชาติ
ปลอดภาัยจากภาัยคุกคาม
การยอมรับนับถือจากนานาประเทศ
บูรณภาาพแห่ง
ดินแดน
ประชาธิปไตย
มีพระมหากษัตริยเป็น
ประมุข
ประชาชนปลอดภาัย
มีชิวิตผาสุก
ปกป้องผลประโยชน
แห่งชาติ
ความเข้มแข็งของชาติ
พร้อมเผชิญสถานการณ
28/1
สิทธิมนุษยชน จากความมั่นคง
มนุษยไปสู่ความมั่นคงของชาติ
สิทธิมนุษยชนกับความมั่นคงของชาติ ศึกษาบทเรียนจากประเทศที่ปกครองในประชาธิปไตย
ปลอดภาัยจากภาัยคุกคาม
การยอมรับนับถือจากนานาประเทศ
บูรณภาาพแห่ง
ดินแดน*
ประชาธิปไตย
มีพระมหากษัตริยเป็น
ประมุข
ปกป้องผลประโยชน
แห่งชาติ*
ความเข้มแข็งของชาติ*
พร้อมเผชิญสถานการณ
29
ประเทศที่มีการละเมิดสิทธิ
มนุษยชนรุนแรงมาก นาไปสู่
ความไม่สงบฯ มีการ
แทรกแซงจากภาายนอก
ปชช.ไม่ค่อยปลอดภาัย
มีชิวิตไม่ค่อยผาสุก
ความมั่นคงมนุษยลด
รูปแบบความสัมพันธ์ของ สิทธิมนุษยชน กับความมั่นคงของชาติ ในการปกครองฯ
ความ
มั่นคงของ
ชาติ
สิทธิ
มนุษยชน
สากล
เผด็จการ
ปชค. จนท.
-ศักดิ์ศรีความ
เป็นมนุษย
-สิทธิเสรีภาาพ
-เสมอภาาคไม่
เลือกปฏิบัติ
สถานการณก่อความไม่สงบ
-ปลอดจากภาัยคุกคามต่อ
-อธิปไตยของชาติ
-อาณาเขต
-ความมั่นคงสถาบันหลัก
(ศาสนา พระมหากษัตริย)
-เศรษฐกิจประเทศ
-ความปลอดภาัยการ
ดาเนินชีวิตโดยปกติสุข
ของปชช.
-ความพร้อมที่เผชิญภาัย
คุกคามทุกรูปแบบ
ความมั่นคงมนุษย /รัฐ
ความมั่นคงผู้ปกครอง/รัฐ
หลักนิติธรรม ความชอบด้วยก.ม.
หลักประสิทธิผล รักษาความความสงบ
ประโยชนของมนุษย
ผลประโยชนของชาติ
ปชต.แบบไทย ชาติ ศาสน กษัตริย ปชช.
เสรีประชาธิปไตย
30
๔). ก.ม.ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงฯ และการใช้ก.ม.ของเจ้าหน้าที่รัฐ
ก) ก.ม.พิเศษที่ใช้ในการรักษาความมั่นคงฯ
๑. พรบ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗
๒.พ.ร.ก.ว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘
๓. พรบ.การรักษาความมั่นคงภาายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑
ข) การใช้ก.ม.พิเศษของเจ้าหน้าที่รัฐ
๔. พรบ.การบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาาคใต้ พ.ศ.๒๕๕๓
31
สรุปก.ม.พิเศษที่ใช้ในการรักษาความมั่นคงฯ
“พรบ.กฎอัยการศึกฯ”
ทหารมีอานาจเหนือพลเรือน
ทั้งการปฎิบัติ และศาล
ไม่ต้องใช้หมายฯไม่เกิน ๗ วัน
คุ้มครองทหาร ฟ้องไม่ได้
“พรก.ฉุกเฉิน”
-นายกฯประกาศ,ให้ครม.เห็นชอบ
ใช้ทั้งประเทศ.บางเขตพื้นที่
-มีพนง.จนท.,จับ ควบคุมผู้ต้องสงสัย
ต้องขอหมายศาล
-ควบคุมได้ ๗ วัน ขอต่อ< ๓๐ วัน
-คุ้มครองพนง.จนท.ปฏิบัติถูกก.ม.
ไม่ต้องรับผิด.แต่ฟ้องละเมิดได้
ภาัยต่อความมั่นคงฯ
ภาัยคุกคามรุนแรง
“พรบ..รักษาความมั่นคงภาายในฯ”
-ป้องกัน ควบคุม ฟื้นฟูสถานการณ
-ตั้งกอ.รมน.ระดับต่างๆขึ้น
นายกฯ: ผอ.,กอ.รมน.ผบ.ทบ.:เลขาฯ
-ค้น จับ คุม สอบสวนฯ ใช้ป.วิ.อาญา
ขอศาลสั่งผู้หลงผิดเข้าอบรม สิทธิใน
การฟ้องระงับ
ภาัยคุกคาม
32
๑. สรุป พ.ร.บ. กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗
• ก.ม.ที่ใช้ในยามศึก สงคราม หรือมีความจาเป็นต้องรักษาความสงบเรียบร้อยให้ปราศจากภาัยฯ
- เป็นมาตรการทางก.ม.อย่างหนึ่งของทหาร โดยเป็นก.ม.รักษาความมั่นคงที่มีระดับความเข้มข้นสูงสุด
- ให้อานาจกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร รักษาความสงบฯและความปลอดภาัยทั้งภาายนอก หรือภาายในประเทศ
• ผลของการประกาศ : อานาจเหนือฝ่ายพลเรือนในด้านต่างๆ (รวมทั้งให้จนท.ทหารเป็นเจ้าพนักงานฯ)
๑) อานาจของฝ่ายทหารมีอานาจเหนือฝ่ายพลเรือน ในการยุทธ การระงับปราบปราม การรักษาความสงบฯ
๒) อานาจของฝ่ายทหารในด้านอรรถคดี ศาลพลเรือนยังคงมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีตามปกติ เว้นแต่คดี
ที่อยู่ในอานาจของศาลอาญาศึก และผู้มีอานาจประกาศ มีอานาจให้ศาลทหาร พิจารณาฯคดีอาญาซึ่งเกิดใน
เขตพื้นที่ และในระหว่างที่ใช้กฎฯ รวมทั้งคดีอาญาที่มีเหตุพิเศษเกี่ยวกับความมั่นคงฯ ความสงบเรียบร้อย
๓) จนท.ทหารมีอานาจในการ ตรวจค้น เกณฑ ห้าม จับกุม ควบคุมตัวผู้ต้องหา/ผู้ต้องสงสัย (โดยไม่ต้องมี
หมายฯไม่เกิน ๗ วัน) โดยมีการกาหนดแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสม โดยหน่วยงานทหาร เช่น กรมพระธรรมนูญ
• มีมาตรการคุ้มครองการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ทหาร บุคคลหรือบริษัทใดๆ จะร้องขอค่าเสียหาย หรือ
ค่าปรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารไม่ได้ และอยู่นอกเขตความรับผิดชอบของศาลปกครอง
33
๒. สรุปพ.ร.ก.ว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘
• ก.ม.ฉบับนี้กาหนดมาตรการบริหารราชการสาหรับสถานการณฉุกเฉินไว้เป็นพิเศษ เพื่อให้รัฐสามารถรักษาความ
มั่นคงความปลอดภาัย และการรักษาสิทธิฯของประชาชนให้กลับสู่สภาาพปกติโดยเร็ว หรือมีการการก่อการร้าย การรบ
• สถานการณฉุกเฉิน หมายความถึง สถานการณอัน(อาจ)กระทบความสงบเรียบร้อย หรือเป็นภาัยต่อความมั่นคงฯ หรือ
อาจทาให้ประเทศตกอยู่ในภาาวะคับขัน หรือมีการก่อการร้าย การรบหรือการสงคราม ต้องมีมาตรการเร่งด่วน
• ให้นายกรัฐมนตรีโดยครม.เห็นชอบ มีอานาจประกาศสถานการณฉุกเฉิน ใช้ทั่วประเทศ หรือบางเขตพื้นที่ เมื่อจาเป็น
และเป็นผู้รักษาการพรก.ฯนี้มีอานาจแต่งตั้ง “พนักงานเจ้าหน้าที่” ให้ปฏิบัติหน้าที่รวมทั้งการแต่งตั้งให้ขรก.ระดับ
อธิบดี ผบช.ตร.แม่ทัพฯขึ้นไป กาหนดเป็นผู้รับผิดชอบในการแก้ไขปัญหาฉุกเฉินในพื้นที
• การจับกุมและควบคุมตัว “ผู้ต้องสงสัย”
• พนง.จนท.มีอานาจจับกุมตัวผู้ต้องสงสัย โดยร้องขอต่อศาลฯ มีอานาจจับกุม และควบคุมตัวไว้ในสถานที่ที่กาหนด
โดยจะปฏิบัติต่อผู้ต้องสงสัยในลักษณะที่บุคคลเหล่านั้นเป็นผู้กระทาผิดไม่ได้ ในกรณีจาเป็น อาจร้องขอต่อศาล ขยาย
เวลาได้คราวละ ๗ วัน แต่รวมเวลาแล้ว ต้องไม่เกิน ๓๐ วัน เมื่อครบกาหนด จะควบคุมตัวต่อไปให้ใช้ ตาม. ป.วิ.อาญา
• มาตรการคุ้มครองพนง.จนท.ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพรก.ฯ ให้จนท.(ทหารฯ)ที่ได้แต่งตั้งเป็น “พนง.จนท.”ตามพรก.นี้
เป็นจพง.ตามป.อาญาและมีอานาจหน้าที่เป็น พนง.ฝ่ายปกครองหรือต.ร.ตามป.วิอาญา(ค้น จับ สอบสวน) ไม่ต้องรับ
ผิดทั้งทาง แพ่ง อาญา หรือ วินัย เนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ หากเป็นการกระทาที่ สุจริต ไม่เลือกปฏิบัติ และไม่เกิน
สมควรแก่เหตุหรือ ไม่เกินกว่ากรณีจาเป็น แต่ไม่ตัดสิทธิผู้เสียหาย ไปฟ้องตามก.ม.ความรับผิดทางละเมิดของจนท.ฯ
34
๓. สรุปพรบ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑
• การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร หมายความว่า การดาเนินการเพื่อป้องกัน ควบคุม แก้ไขและฟื้นฟูสถานการณ์
ใดที่ (อาจ)เป็นภัย อันเกิดจากบุคคล กลุ่มบุคคลที่ก่อให้เกิดความไม่สงบสุข ทาลาย หรือทาความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย
ทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ ให้กลับสู่ภาวะปกติฯ
• การประกาศใช้ : กรณีมีเหตุอันกระทบต่อความมั่นคงฯ แต่ยังไม่จาเป็นต้องประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินฯ และ
จาเป็นต้องประกาศ “พื้นที่” ที่ปรากฏเหตุการณ์อันกระทบต่อความมั่นคงภายในราชอาณาจักรด้วย ที่ผ่านมา มีการใช้
พรบ.นี้ในบางพื้นที่ เช่น ใช้ใน ๔ อาเภอ ในจ.สงขลา
• มีการตั้งกอ.รมน.ขึ้นในสานักนายกรัฐมนตรี ทาหน้าที่ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่กระทบต่อความมั่นคงภายใน
ราชอาณาจักรและความสงบเรียบร้อยของสังคม
• มีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาการตามพรบ.นี้ และเป็นผอ.กอ.รมน.มี ผบ.ทบ. เป็นรองผอ., เสนาธิการทบ.เป็นเลขาธิการฯ
และตั้งกอ.รมน.ระดับต่างๆ(ภาค จังหวัด)ขึ้น
• ในการตรวจค้นและการจับกุมผู้ต้องหา เป็นไปตามประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา คือ ต้องขอหมายศาลฯ
รวมทั้งการควบคุมตัว การสอบสวนฯ ให้ใช้ก.ม.ปกติ คือ ป.วิ.อ.
• มีมาตรการพิเศษ คือ ศาลอาจพิจารณาสั่งให้ผู้หลงผิด รู้เท่าไม่ถึงการณ์ เข้าอบรม ทาให้สิทธิการฟ้องคดีอาญาระงับไป
35
• - ให้สมช.จัดทานโยบายการบริหารและพัฒนนาจชต.(ทุก ๓ ปีหรือน้อยกว่า) และมีกรรมการพัฒนนา
ยุทธศาสตรด้านการพัฒนนาจชต.(กพต.) รวมทั้งตั้งศูนยบริหารจังหวัดชายแดนภาาคใต้(ศอ.บต.)ขึ้น
• - อานาจหน้าที่ของศอ.บต. ตามมาตรา ๙ (๑) - (๕) เกี่ยวข้องกับการจัดทายุทธศาสตร ทาแผนปฏิบัติการ
เสนอแนะ บูรณาการแผนฯ ดาเนินงานตามแผน/โครงการต่อเนื่องฯ เร่งรัดติดตาม
• - ส่วนใน (๖) คุ้มครองสิทธิเสรีภาาพและอานวยความเป็นธรรมแก่ประชาชน โดยการรับเรื่องราวร้องทุกข
ให้ความช่วยเหลือและประสานการปฏิบัติกับหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งตรวจสอบและแก้ไข
ปัญหาพฤติ้กรรมที่ไม่เหมาะสมของจนท.รัฐ (๗) ให้ความช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายและผู้ที่
ได้รับผลกระทบจากการกระทาของจนท.รัฐ อันสืบเนื่องมาจากเหตุการณความไม่สงบในจชต.ตาม
ระเบียบที่ กพต.กาหนด ทั้งนี้ ไม่ตัดสิทธิประโยชนที่ผู้นั้นได้รับตามกฎหมายอื่น (๘) เสนอแนะมาตรการ
สร้างขวัญและกาลังใจสาหรับจนท.รัฐในจังหวัดชายแดนภาาคใต้ ต่อครม.
.๔. พรบ.การบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาาคใต้ พ.ศ.๒๕๕๓ (มี ๕ จังหวัด) 36
ข) การใช้กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคงฯของเจ้าหน้าที่รัฐ
เป็นไปตามหลักความชอบด้วยกฎหมาย (ตามที่ก.ม.ให้อานาจไว้เท่านั้น)
เจ้าหน้าที่ฯที่ปฎิบัติหน้าที่ตามก.ม.พิเศษ ต้องมีการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่จาก
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้เป็น “พนักงานเจ้าหน้าที่” โดยเฉพาะ
การบังคับใช้ก.ม.พิเศษ ของเจ้าหน้าที่ฯ ต้องใช้อย่างระมัดระวัง ให้กระทบสิทธิ
เสรีภาาพของประชาชนให้น้อยที่สุด เพื่อบรรลุเป้าหมายด้านความมั่นคงฯ
37
๒) บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐ ทหาร ตารวจ ปกครอง ท้องถิ่น และอื่นๆ
• รักษาความมั่นคงของรัฐจากภาัยคุกคามภาายนอกและภาายใน (ทหารเป็นหลัก)
• การบังคับใช้ก.ม. การรักษาความปลอดภาัยในชีวิต ทรัพยสินฯ(ตารวจเป็นหลัก)
• มีการตั้งทหาร ตารวจ เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ และ เจ้าพนักงานฯ
ปฏิบัติหน้าที่ด้านบังคับใช้ก.ม. และความมั่นคงฯ และแต่งตั้งผู้ช่วยเจ้าพนักงาน
• บริการสาธารณะ (เกษตร/ป่าไม้ สาธารณสุข ศึกษา พัฒนนาฯ แรงงาน ท้องถิ่นฯ )
38
ภารกิจของเจ้าหน้าที่ทหาร ตารวจในการรักษาความมั่นคง
ความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สินฯและคุ้มครองช่วยเหลือประชาชน
เหตุการณ์ก่อความไม่สงบในพื้นที่จชต.และมีการใช้กฎหมายพิเศษเพื่อความมั่นคงฯ
ปฏิบัติการทาลายเครือข่ายยาเสพติดภาาคใต้ (นราธิวาส)
38
การแก้ปัญหาโควิด ๑๙ ในพื้นที่จชต.
39
การปฏิบัติหน้าที่บังคับใช้ก.ม.ของฝ่ายปกครอง
บุกจับค้ากามเด็กสาว การตั้งด่านฯ
การปราบปรามยาเสพติด
การปฎิบัติหน้าที่ด้านบริการสาธารณะของจนท.รัฐ
(ฝ่ายพลเรือน ตร.และทหาร)
การบริการประชาชนที่ อาเภาอ รพ. และการส่งเสริมอาชีพ พัฒนนาชุมชน
บทบาทหน้าที่ ภาารกิจขององคกรปกครองส่วนท้องถิ่น
ข้าราชการฯที่ชาวบ้านชื่นชมในการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุ
ผู้ว่าฯลาปางจอดมอเตอรไซค แจ้งหน่วยงานมาช่วยผู้บาดเจ็บ
หมอทหารหญิง
ออกเวรจากรพ.
ค่ายเทพสตรีฯพบ
ผู้บาดเจ็บ ลงรถ
มาช่วยเหลือ
อย่างเต็มที่
ตร.ทางหลวงทุบ
กระจกรถช่วยคน
เจ็บออกมาขณะ
เดินทางไปนา
ขบวนเสด็จ
สมเด็จพระเทพฯ
พล ต อ.เฉลิมเกียรติ ศรีวรขาน รองผบ.ตร. พบอุบัติเหตุฯ
ลงมาอานวยการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
การปฏิบัติภารกิจของจนท.รัฐของประเทศไทย ให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน
ประเด็น ความมั่นคงแห่งชาติ การบังคับใช้ก.ม. การบริการสาธารณะ
๑.หน่วย
งาน
๒.ก.ม.,
กรอบ
นโยบาย
ที่สาคัญ
-ทหาร เป็นหน่วยงานหลัก
มี,ตชด.เป็นหน่วยงานรอง
ตร.ฝ่ายปกครองฯเสริม
-รัฐธรรมนูญ ปี๖๐
-พรบ.จัดระเบียบกห.ฯ
-กม.พิเศษ :พรบ.กฎอัยการศึกฯ,พรก.ฉุกเฉิน ปี๔๘,
พรบ.ความมั่นคงภาายใน ๒๕๕๑ ซึ่งกระทบสิทธิ
เสรีภาาพปชช.
-คาสั่งคสช.ที่๓/๕๘ (๔ฐานความผิด)
กฎการใช้กาลังฯ (มีอนุสัญญาฯตปท.ที่เกี่ยวข้อง),
คาสั่งฯที่๑๓/๕๘ (๒๗ ฐานฯความผิด)ให้เป็นจพง.ฯ
บังคับใช้กม.,
-ปอ.กม.ที่มีโทษทางอาญา,พรบ.การชุมนุมสาธารณะฯ
-ตร.เป็นหน่วยงานหลัก
-มีหน่วยงานที่มีภาารกิจบังคับใช้
กม.ที่กม.ให้อานาจไว้ เช่น ปค.
ปปส.ปปง. ปปท.,DSI,ป่าไม้
-รัฐธรรมนูญ ปี ๖๐
ปอ.,กม.ที่มีโทษอาญา,(เช่น
พรบ.ยาเสพติด
,พรบ.ปปช.ปปง.,ปปท.,
สอบสวนคดีพิเศษ,ป่าไม้,
-ป.วิ.อาญา.
-กม.พิเศษด้านความมั่นคงฯ
-ตร.มีระเบียบฯเกี่ยวกับคดี
หน่วยงานอื่นมีกม.ลาดับรอง,
ระเบียบต่างๆวางแนวทางไว้
-หน่วยงานรัฐส่วนใหญ่มี
ภาารกิจบริการสาธารณะ ทั้ง
หน่วยงานส่วนกลาง
ภาูมิภาาค ท้องถิ่น,
-รัฐธรรมนูญ ปี ๖๐
พรบ.วิธีปฏิบัติราชการ
,พรบ.ความรับผิดทาง
ละเมิดของจทน.พรบ.
ให้บริการฯของหน่วยงาน
กม.การกระจายอานาจฯให้
ท้องถิ่นฯ
การปฏิบัติภารกิจของจนท.รัฐให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน
ประเด็น ความมั่นคง บังคับใช้ก.ม. บริการสาธารณะ/พัฒนนา
๓.ปัญหา/ความ
เสี่ยงในการละเมิด
๔.ข้อยุติจากคา
พิพากษาศาลฯ
,มติครม.ฯ
๕.การป้องกันและ
แก้ไขปัญหาฯ
-ในชีวิต ร่างกาย...) เช่น ระยะ
เวลาควบคุมตัว ฯ
-การใช้กม.พิเศษ ไม่มีการ
ตรวจสอบ จึงมีความเสี่ยงในการ
ละเมิดฯ
สิทธิการเมือง((การชุมนุมฯ)
-ไม่สอดคล้องหลักศาสนา
-มีคาพิพากษาศาลฎีกาที่๒๔๑/๙๕
เรื่องการใช้อานาจทหารตามกฎ
อัยการศึก,ศาลปกครองฯเรื่องการ
ใช้ก.ม.พิเศษในพท.จชต
-เผยแพร่,อบรม,ทา/ใช้คู่มือ,เฝ้า
ระวัง,ติดตาม,ไกล่เกลี่ย,เยียวยา
-สิทธิในชีวิต ร่างกาย,ฯ ตามขั้นตอน
การบังคับใช้ก.ม.เช่น ตรวจค้น จับกุม
ควบคุมตัว สอบสวนฯ บังคับโทษ,
-การทุจริตฯ
-สาเหตุมาจากความไม่รู้กม.,ถูกผบ.
เร่งรัดมา,ความรู้สึกส่วนตัว,วิธีการที
ไม่ถูกต้องที่ถูกถ่ายทอดมา
-มีคาพิพากษาศาลยธ.ฯและศาล
ปกครองมาก รวมทั้งการตีความของ
กฤษฎีกา และมติครม.ให้แนวทาง
ปฏิบัติไว้
-เผยแพร่,อมรม,ทา/ใช้คู่มือ,เฝ้าระวัง,
แทรกแซงแก้ไข,ไกล่เกลี่ย,เยียวยา
-การเลือกปฎิบัติ
-การทุจริต
-การไม่ปฎิบัติตามขั้นตอนของ
ก.ม.ฯลฯ
มีกรณีศึกษามากที่เกี่ยวข้องกับ
ปัญหาการละเมิดฯและความ
เสี่ยงฯเนื่องจากความไม่รู้กม.
-มีคาพิพากษาศาลยธ.,ศาล
ปกครองฯมาก รวมทั้งมติครม.
- เผยแพร่,อมรม,ทา/ใช้คู่มือ,เฝ้า
ระวัง,แทรกแซงแก้ไข,ไกล่เกลี่ย
,เยียวยา
ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติ พฤติกรรมของบุคคล เกี่ยวกับ สิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน
ระดับประเทศ (ภาูมิหลังฯ การเมือง ปกครอง สังคม วัฒนนธรรม
ฯ) ตย.จีน สหรัฐ อังกฤษ เวียตนาม ไทยฯ
ลักษณะ/ภาารกิจ ระบบงาน และวัฒนนธรรมองคกรขององคกร
ที่บุคคลนั้นทางานอยู่ (ทหาร ตร.ปค.สธ.ฯ)
สถาบันการศึกษาที่อบรมสั่งสอนบุคคลนั้น
(รร.เหล่าฯ,มหาวิทยาลัยปิด/เปิด,รร.อาชีวะฯ,กศน.ฯ)
ภาูมิหลังการเลี้ยงดู อบรมจากครอบครัว ญาติ ชุมชนฯ
บุคคล/
จนท.รัฐ
การเรียนรู้ แรงจูงใจเชิงบวกและเชิงลบ และการเสริมแรง
มีผลต่อพฤติกรรมและการปฏิบัติหน้าที่ของบุคคล
๕). ลักษณะ รูปแบบ และความเสี่ยงของประชาชนที่ถูกละเมิดสิทธิฯ
ที่เป็นจุดสนใจ คือ ประชาชน มักเป็นผู้ถูกละเมิดสิทธิฯ โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาส
แต่ประชาชนบางกลุ่ม บางคนเอง ก็อาจเป็นผู้ละเมิดสิทธิฯผู้อื่น ก็ได้
ในประเทศ มีบุคคล องคกร ที่หลากหลาย ซึ่งอาจละเมิดสิทธิฯซึ่งกันและกันได้ เช่น
ประชาชน เจ้าหน้าที่รัฐ นักการเมือง องคกรธุรกิจ ผู้มีอิทธิพล ผู้ก่อความไม่สงบฯ
ผู้ละเมิดสิทธิฯผู้อื่น มักเป็นผู้ที่มีอานาจ มีทรัพยากรฯเหนือกว่าผู้ถูกละเมิดฯ มี
สภาาพแวดล้อม/โอกาส และกลไกเครื่องมือในการเฝ้าระวัง คุ้มครองสิทธิฯอ่อนแอ
บุคคล องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ปชช. ( - )
ประชาชน*
ผู้มีอิทธิพล
ผู้ก่อความไม่สงบ
รัฐ/ประโยชนสาธารณะ
เจ้าหน้าที่รัฐ*
องคกรธุรกิจ
นักการเมือง
45
๑
๒ ๓
๔
บุคคล องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ปชช. ( - )
ประชาชน*
ผู้มีอิทธิพล
ผู้ก่อความไม่สงบ
รัฐ/ประโยชนสาธารณะ
เจ้าหน้าที่รัฐ*
องคกรธุรกิจ
นักการเมือง
(-) ออกก.ม.ละเมิด
สิทธิเสรีภาาพปชช.ที่
ไม่เหมาะสมฯ,
(-) มีนโยบายไม่
เหมาะสม
(-)ซ้อม,อุ้มหาย,
จับผิดตัว,เรียกเงิน
เลือกปฏิบัติ/สอง
มาตรฐาน
45
บุคคล องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ปชช. ( - )
ประชาชน*
ผู้มีอิทธิพล
ผู้ก่อความไม่สงบ
รัฐ/ประโยชนสาธารณะ
เจ้าหน้าที่รัฐ*
องคกรธุรกิจ
(-) ชีวิต ร่างกาย ทรัพยสินฯ ปชช.
(-) ชีวิต ร่างกาย ทรัพยสินจนท.
ความสงบ ความมั่นคงของรัฐฯ
นักการเมือง
(-) ออกก.ม.ละเมิด
สิทธิเสรีภาาพปชช.ที่
ไม่เหมาะสมฯ,
(-) มีนโยบายไม่
เหมาะสม
(-)ซ้อม,อุ้มหาย,
จับผิดตัว,เรียกเงิน
เลือกปฏิบัติ/สอง
มาตรฐาน
เรียกค่าคุ้มครอง
ปิดกิจการ เลิก
จ้างงาน
45
รูปแบบของการทรมานฯที่เกิดในหลายประเทศ 46
การกรอกน้าและการใช้ผ้าคลุม
หน้าแล้วราดน้าให้สาลัก
การจับให้หัวห้อยลงพื้น เลือดไปไหลไป
ส่วนล่างของร่างกาย แล้วซ้อมทุบตี
การทรมานในติมอร์ตะวันออกโดยทหารอินโดนีเซีย 47
52
การละเมิดสิทธิฯ เกิดจากผู้คนหลายฝ่าย จะอ้างเพื่ออุดมการณ ก็ไม่ควรให้ผู้บริสุทธิ์ต้องเดือดร้อน
การก่อความไม่สงบในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาาคใต้
53
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน

More Related Content

What's hot

What's hot (10)

หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน
 
การถ่ายรูป
การถ่ายรูปการถ่ายรูป
การถ่ายรูป
 
Human1
Human1Human1
Human1
 
Human2.1 1
Human2.1 1Human2.1 1
Human2.1 1
 
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติมรายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
รายงาน260ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2
 
Human1.2
Human1.2Human1.2
Human1.2
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 

Similar to Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน

ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือรัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือNanthapong Sornkaew
 
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfกฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfIjimaruGin
 
กฎหมายคอมพิวเตอร์ประเทศมาเลเซีย
กฎหมายคอมพิวเตอร์ประเทศมาเลเซียกฎหมายคอมพิวเตอร์ประเทศมาเลเซีย
กฎหมายคอมพิวเตอร์ประเทศมาเลเซียNuchanatJaroensree
 
Panel_DrMark.pdf
Panel_DrMark.pdfPanel_DrMark.pdf
Panel_DrMark.pdfdatahatch
 
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านพรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านthaitrl
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003billy ratchadamri
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองbunchai
 
Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014 Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014 joansr9
 
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจ
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจสิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจ
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจ
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจสิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจ
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจMarr Ps
 
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมสรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 

Similar to Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน (20)

ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ฉบับลงประชามติ 7 สิงหาคม 2559
 
Human2.1
Human2.1Human2.1
Human2.1
 
Medical Law
Medical LawMedical Law
Medical Law
 
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือรัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
รัฐธรรมนูญใหม่ชีวิตใหม่สำหรับคนพิการจริงหรือ
 
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdfกฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
กฎหมายออนไลน์ ระบบสุขภาพ.pdf
 
กฎหมายคอมพิวเตอร์ประเทศมาเลเซีย
กฎหมายคอมพิวเตอร์ประเทศมาเลเซียกฎหมายคอมพิวเตอร์ประเทศมาเลเซีย
กฎหมายคอมพิวเตอร์ประเทศมาเลเซีย
 
Human rights in the the judicial process
Human rights in the the judicial processHuman rights in the the judicial process
Human rights in the the judicial process
 
Panel_DrMark.pdf
Panel_DrMark.pdfPanel_DrMark.pdf
Panel_DrMark.pdf
 
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
 
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้านพรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
พรบ คุ้มครอง มองรอบด้าน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย2003
 
Media law/1
Media law/1Media law/1
Media law/1
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
Human2.3
Human2.3Human2.3
Human2.3
 
Power point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมืองPower point การปฏิรูปการเมือง
Power point การปฏิรูปการเมือง
 
Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014 Draft 25 Nov 2014
Draft 25 Nov 2014
 
Law and SocialNetwork
Law and SocialNetworkLaw and SocialNetwork
Law and SocialNetwork
 
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจ
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจสิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจ
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจ
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจสิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจ
สิทธิและหน้าที่ของประชาชนตามรัฐธรรมนูญนักเรียนนายสิบตำรวจ
 
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมสรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สรุปการอภิปราย เรื่อง บทบาทของนักกฎหมายในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
 

More from ssuserd18196

เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง  เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง ssuserd18196
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง ssuserd18196
 
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพLandmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพssuserd18196
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็กssuserd18196
 
เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน ssuserd18196
 
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรมssuserd18196
 

More from ssuserd18196 (6)

เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง  เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
 
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพLandmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็ก
 
เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน
 
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 

Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน

  • 1. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน และแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ ๔ แผนปฏิบัติการธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน โดย นายพิทยา จินาวัฒนน ที่ปรึกษาประจาคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม และอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาาพ ที่ปรึกษาการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด และรองเลขาธิการปปส.
  • 2. ความสัมพันธ์ของก.ม.สิทธิมนุษยชน แผนสิทธิมนุษยชน และแผนฯธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ประชาชน ประชาชนได้รับการเคารพ ปกป้องเยียวยา หากมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน จากเจ้าหน้าที่รัฐ บุคคล ธุรกิจ ฯ
  • 3. ความสัมพันธ์ของก.ม.สิทธิมนุษยชน แผนสิทธิมนุษยชน และแผนฯธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ประชาชน ประชาชนได้รับการเคารพ ปกป้องเยียวยา หากมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน จากเจ้าหน้าที่รัฐ บุคคล ธุรกิจ ฯ ประชาชนมีสิทธิเสรีภาาพในการทาอะไรก็ได้ ถ้าไม่ละเมิด ผู้อื่น ไม่ละเมิดก.ม. /ไม่มีก.ม.ห้ามไว้ ไม่ผิดศีลธรรมอันดี
  • 6. ความสัมพันธ์ของก.ม.สิทธิมนุษยชน แผนสิทธิมนุษยชน และแผนฯธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ประชาชน หน่วยงาน ภาาครัฐ หน่วยงานธุรกิจ เอกชน รัฐบาล/ การเมือง ประชาชนได้รับการเคารพ ปกป้องเยียวยา หากมีการละเมิดสิทธิมนุษยชน จากบุคคล องคกรฯ รัฐธรรมนูญ ก.ม.ภาายใน :ป.วิ.อาญาฯ ก.ม.พิเศษฯ พรบ.เยียวยาฯ พรบ.คุ้มครองพยาน ,พรบ.ไกล่เกลี่ยฯ ๒.แผนสิทธิมนุษยชน ๑.ก.ม.คุ้มครองสิทธิฯที่ เกี่ยวข้อง ๓.แผนฯธุรกิจกับ สิทธิมนุษยชน
  • 7. รัฐธรรมนูญ ก.ม.ภาายใน : ป.วิ.อาญาฯ ก.ม.พิเศษฯ พรบ.เยียวยาฯ พรบ.คุ้มครองพยาน,พรบ.ไกล่เกลี่ยฯ
  • 8. (๑) การใช้สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนของประชาชน ในสถานการณปกติ ประชาชนใช้สิทธิ เสรีภาาพ ตามที่ก.ม.รองรับไว้ โดยรัฐคุ้มครองฯ มีความจาเป็นต้องมีก.ม.บางฉบับที่กระทบต่อสิทธิเสรีภาาพของปชช.เพื่อให้จนท.ฯ สามารถปฏิบัติหน้าที่เพื่อความมั่นคงของรัฐฯ ความปลอดภาัยในชีวิตฯของประชาชนได้ (เช่น ก.ม.ยาเสพติด,ก.ม.ฟอกเงินฯ) แต่ต้องยึดหลักความชอบด้วยก.ม. ในสถานะการณพิเศษที่มีภาัยต่อความมั่นคง ความปลอดภาัยในชีวิตฯของประชาชนฯ ประชาชนอาจมีข้อจากัดในการใช้สิทธิ และเสรีภาาพ โดยรัฐออกก.ม.พิเศษออกมา แต่ต้องยึดหลักความชอบด้วย ก.ม.
  • 9. (๒) ข้อจากัดในการใช้สิทธิ เสรีภาาพฯ ของประชาชน หลักทั่วไป : การใช้สิทธิฯ ต้องไม่กระทบกระเทือน หรือ เป็นอันตรายต่อ ๑.ความมั่นคงของรัฐ ๒.ความสงบเรียบร้อย หรือ ศีลธรรมอันดีของประชาชน ๓. ไม่ละเมิดสิทธิ หรือ เสรีภาาพของบุคคลอื่น ๔. มีกฎหมายออกมาจากัดการใช้สิทธิ เสรีภาาพของประชาชน แต่ต้องสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญ
  • 10. กฎหมายดังกล่าว ๑. ต้องไม่ขัดต่อหลักนิติธรรม ๒. ไม่เพิ่มภาระ หรือจํากัดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลเกินสมควรแก่เหตุ ๓. จะกระทบต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ของบุคคลมิได้ ๔. ต้องระบุเหตุผลความจําเป็นในการจํากัดสิทธิ และเสรีภาพไว้ กฎหมายนี้ ต้องมีผลใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใด กรณีหนึ่งหรือแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นการเจาะจง รัฐธรรมนูญฯคุ้มครองสิทธิฯ แม้จะออกกฏหมายมาจากัดสิทธิเสรีภาาพประชาชน
  • 11. การคุ้มครองสิทธิฯของประชาชน ตามรัฐธรรมนูญ ปี ๒๕๖๐ (มาตรา ๔ มาตรา ๒๕) • รัฐธรรมนูญฯคุ้มครอง ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย สิทธิ เสรีภาาพ และความเสมอ ภาาคของบุคคล • บุคคลย่อมมีสิทธิ และเสรีภาาพที่จะทาอะไรก็ได้ และได้รับความคุ้มครองตาม รัฐธรรมนูญ • ๑. ถ้ารัฐธรรมนูญ หรือก.ม.อื่น ไม่ได้ห้าม จากัดไว้ และ • ๒. ไม่กระทบกระเทือนหรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบร้อย หรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาาพของบุคคลอื่น • ผู้ถูกละเมิดฯสามารถ ยกบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญเพื่อใช้สิทธิทางศาล หรือยกขึ้น เป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้
  • 12. การคุ้มครองสิทธิฯของประชาชน ตามรัฐธรรมนูญ ปี ๒๕๖๐ (มาตรา ๔ และ มาตรา ๒๕) • สิทธิหรือเสรีภาาพใดที่รัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามที่ก.ม.บัญญัติ หรือให้เป็นไป ตามหลักเกณฑ และวิธีการที่ก.ม.บัญญัติ แม้ยังไม่มีการตราก.ม.นั้นขึ้นใช้ บังคับ บุคคลหรือชุมชนย่อมสามารถ ใช้สิทธิหรือเสรีภาพนั้นได้ตาม เจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ (มาตรา ๒๕ • บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิฯจากการทาผิดอาญาของ บุคคลอื่น ได้รับการเยียวยาตามที่ก.ม.บัญญัติ
  • 13. การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนของประชาชนชาวไทย ตามรัฐธรรมนูญ ปี ๒๕๖๐ มาตรา ๔ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย สิทธิ เสรีภาาพ และความเสมอภาาคของบุคคล ย่อม ได้รับความคุ้มครอง ปวงชนชาวไทยย่อมได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญเสมอกัน ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย สิทธิ เสรีภาาพ ความเสมอภาาคของบุคคล รัฐธรรมนูญ ปี ๖๐ คุ้มครอง ตามรัฐธรรมนูญฯ ตามก.ม.ไทย ตามสนธิสัญญาที่ ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติ พรบ.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 3
  • 14. การคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของปวงชนชาวไทยที่รัฐธรรมนูญบัญญัติไว้ มาตรา ๒๕ สิทธิและเสรีภาาพของปวงชนชาวไทย นอกจากที่บัญญัติคุ้มครองไว้เป็นการเฉพาะ ใน รัฐธรรมนูญแล้ว การใดที่มิได้ห้ามหรือจํากัดไว้ในรัฐธรรมนูญหรือในก.ม.อื่น บุคคลย่อมมีสิทธิ และเสรีภาพที่จะทําการนั้นได้และได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ ตราบเท่าที่การใช้สิทธิ หรือเสรีภาาพ เช่นว่านั้นไม่กระทบกระเทือนหรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบ เรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และไม่ละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของบุคคลอื่น สิทธิหรือเสรีภาาพใดที่รัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามที่ก.ม.บัญญัติ หรือให้เป็นไปตามหลักเกณฑ และวิธีการที่ก.ม.บัญญัติ แม้ยังไม่มีการตราก.ม.นั้นขึ้นใช้บังคับ บุคคลหรือชุมชนย่อมสามารถ ใช้สิทธิหรือเสรีภาพนั้นได้ตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาาพที่ได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ สามารถยก บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญเพื่อใช้สิทธิทางศาลหรือยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้ บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาาพหรือจากการกระทาความผิด อาญาของบุคคลอื่น ย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเยียวยาหรือช่วยเหลือจากรัฐตามที่ก.ม.บัญญัติ
  • 15. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐ มาตรา ๒๕ สิทธิและเสรีภาาพของปวงชนชาวไทย นอกจากที่บัญญัติคุ้มครองไว้เป็นการเฉพาะ ในรัฐธรรมนูญแล้ว การใดที่มิได้ห้ามหรือจํากัดไว้ในรัฐธรรมนูญหรือในก.ม.อื่น บุคคลย่อมมี สิทธิ และเสรีภาพที่จะทําการนั้นได้และได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ ตราบเท่าที่การ ใช้สิทธิหรือเสรีภาาพ เช่นว่านั้นไม่กระทบกระเทือนหรือเป็นอันตรายต่อความมั่นคงของรัฐ ความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรมอันดีของประชาชน และไม่ละเมิดสิทธิหรือเสรีภาพของ บุคคลอื่น สิทธิหรือเสรีภาาพใดที่รัฐธรรมนูญให้เป็นไปตามที่ก.ม.บัญญัติ หรือให้เป็นไปตาม หลักเกณฑ และวิธีการที่ก.ม.บัญญัติ แม้ยังไม่มีการตราก.ม.นั้นขึ้นใช้บังคับ บุคคลหรือชุมชน ย่อมสามารถ ใช้สิทธิหรือเสรีภาพนั้นได้ตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ บุคคลซึ่งถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาาพที่ได้รับความคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญ สามารถยก บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญเพื่อใช้สิทธิทางศาล หรือ ยกขึ้นเป็นข้อต่อสู้คดีในศาลได้ บุคคลซึ่งได้รับความเสียหายจากการถูกละเมิดสิทธิหรือเสรีภาาพหรือจากการกระทาความผิด อาญาของบุคคลอื่น ย่อมมีสิทธิที่จะได้รับการเยียวยาหรือช่วยเหลือจากรัฐตามที่ก.ม.บัญญัติ หลักการ คุ้มครองสิทธิ เสรีภาาพของ ประชาชน ทาอะไรก็ได้ ถ้าไม่มีก.ม.ห้าม ไม่ กระทบความมั่นคง ความสงบ ศีลธรรม อันดี ไม่ละเมิดสิทธิ เสรีภาาพผู้อื่น ยกรัฐธรรมนูญขึ้น ต่อสู้ได้ การเยียวยาจากรัฐ
  • 16. มาตรา ๒๖ การตรากฎหมายที่มีผลเป็นการจากัดสิทธิหรือ เสรีภาาพของบุคคลต้องเป็นไป ตามเงื่อนไขที่บัญญัติไว้ใน รัฐธรรมนูญ ในกรณีที่รัฐธรรมนูญมิได้บัญญัติเงื่อนไขไว้ กฎหมายดังกล่าว ต้องไม่ขัดต่อ หลักนิติธรรม ไม่เพิ่มภาาระ หรือ จากัดสิทธิหรือเสรีภาาพของบุคคลเกินสมควรแก่เหตุ และจะ กระทบต่อศักดิ์ศรีความเป็นมนุษยของบุคคลมิได้ รวมทั้งต้อง ระบุเหตุผลความจาเป็นในการจากัดสิทธิ และเสรีภาาพไว้ด้วย กฎหมายตามวรรคหนึ่ง ต้องมีผลใช้บังคับเป็นการทั่วไป ไม่มุ่ง หมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใด กรณีหนึ่งหรือแก่บุคคลใดบุคคล หนึ่งเป็นการเจาะจง การออก ก.ม.เพื่อจากัดสิทธิ เสรีภาาพของบุคคล • ต้องเป็นตามเงื่อนไขที่ รัฐธรรมนูญ กาหนด • ไม่ขัดหลักนิติธรรม • ไม่เพิ่มภาาระ จากัดสิทธิ บุคคลเกินเหตุ • กระทบศักดิ์ศรีความเป็น มนุษยไม่ได้ • ต้องระบุเหตุผลความ จาเป็นในการจากัดสิทธิไว้ • ต้องมีผลบังคับทั่วไป
  • 17. มาตรา ๒๗ บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมาย มีสิทธิและเสรีภาาพและได้รับความ คุ้มครอง ตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ชายและหญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรมต่อบุคคล ไม่ว่าด้วยเหตุความแตกต่างในเรื่องถิ่น กาเนิด เชื้อชาติ ภาาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาาพทางกายหรือสุขภาาพ สถานะของ บุคคล ฐานะทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การศึกษาอบรม หรือความ คิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ หรือเหตุอื่นใด จะกระทา มิได้ มาตรการที่รัฐกาหนดขึ้นเพื่อขจัดอุปสรรคหรือส่งเสริมให้บุคคลสามารถใช้สิทธิ หรือเสรีภาาพ ได้เช่นเดียวกับบุคคลอื่น หรือเพื่อคุ้มครองหรืออานวยความสะดวกให้แก่ เด็ก สตรี ผู้สูงอายุ คนพิการ หรือผู้ด้อยโอกาส ย่อมไม่ถือว่าเป็นการเลือกปฏิบัติโดยไม่ เป็นธรรมตามวรรคสาม บุคคลผู้เป็นทหาร ตารวจ ข้าราชการ เจ้าหน้าที่อื่นของรัฐ และพนักงานหรือ ลูกจ้างขององคกร ของรัฐย่อมมีสิทธิและเสรีภาาพเช่นเดียวกับบุคคลทั่วไป เว้นแต่ที่ จากัดไว้ในกฎหมายเฉพาะในส่วนที่ เกี่ยวกับการเมือง สมรรถภาาพ วินัย หรือจริยธรรม หลัก ความเสมอภาาค
  • 18. มาตรา ๒๙ บุคคลไม่ต้องรับโทษอาญา เว้นแต่ได้กระทาการอันกฎหมาย ที่ใช้อยู่ในเวลา ที่กระทานั้นบัญญัติเป็นความผิดและกาหนดโทษไว้ และ โทษที่จะลงแก่บุคคลนั้นจะหนักกว่าโทษที่บัญญัติไว้ในกฎหมายที่ใช้อยู่ ในเวลาที่กระทาความผิดมิได้ ในคดีอาญา ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่า ผู้ต้องหาหรือจาเลยไม่มีความผิด และก่อนมีคาพิพากษา อันถึงที่สุด แสดงว่าบุคคลใดได้กระทาความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็น ผู้กระทาความผิดมิได้ การควบคุมหรือคุมขังผู้ต้องหาหรือจาเลยให้ กระทาได้เพียงเท่าที่จาเป็น เพื่อป้องกันมิให้มีการหลบหนี ในคดีอาญา จะบังคับให้บุคคลให้การเป็นปฏิปักษต่อตนเองมิได้ คาขอประกัน ผู้ต้องหาหรือจาเลยในคดีอาญาต้องได้รับการพิจารณาและจะเรียก หลักประกัน จนเกินควรแก่กรณีมิได้ การไม่ให้ประกันต้องเป็นไปตามที่ กฎหมายบัญญัติ หลักไม่มีความผิด ไม่มีโทษ ถ้าไม่มี ก.ม.กาหนดไว้ หลักสันนิษฐานว่า บริสุทธิ์ไว้ก่อน หลักการควบคุม คุมขังบุคคล หลักไม่ให้การเป็น ปฏิปักษต่อตนเอง หลักการให้ ประกันตัว
  • 19. มาตรา ๓๒ บุคคลย่อมมีสิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว เกียรติยศ ชื่อเสียง และครอบครัว การกระทาอันเป็นการละเมิดหรือกระทบต่อสิทธิของบุคคลตามวรรคหนึ่ง หรือการนา ข้อมูล ส่วนบุคคลไปใช้ประโยชนไม่ว่าในทางใดๆ จะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมาย ที่ตราขึ้นเพียงเท่าที่จาเป็นเพื่อประโยชนสาธารณะ มาตรา ๓๓ บุคคลย่อมมีเสรีภาาพในเคหสถาน การเข้าไปในเคหสถานโดยปราศจากความ ยินยอมของผู้ครอบครอง หรือการค้นเคหสถาน หรือที่รโหฐานจะกระทามิได้ เว้นแต่มี คาสั่ง หรือหมายของศาล หรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ มาตรา ๓๔ บุคคลย่อมมีเสรีภาาพในการแสดงความคิดเห็น การพูด การเขียน การพิมพ การ โฆษณา และการสื่อความหมายโดยวิธีอื่น การจากัดเสรีภาาพดังกล่าวจะกระทามิได้ เว้นแต่ โดยอาศัยอานาจ ตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ตราขึ้นเฉพาะเพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ เพื่อคุ้มครองสิทธิหรือเสรีภาาพของ บุคคลอื่น เพื่อรักษาความสงบเรียบร้อยหรือศีลธรรม อันดีของประชาชน หรือเพื่อป้องกันสุขภาาพของ ประชาชน เสรีภาาพทางวิชาการย่อมได้รับ ความคุ้มครอง แต่การใช้เสรีภาาพนั้นต้องไม่ขัดต่อหน้าที่ของ ปวงชนชาวไทยหรือศีลธรรม อันดีของประชาชน และต้องเคารพและไม่ปิดกั้นความเห็นต่างของบุคคลอื่น เสรีภาาพการ แสดงความเห็น เสรีภาาพทาง วิชาการ สิทธิความเป็นอยู่ ส่วนตัว เสรีภาาพใน เคหสถาน
  • 20. มาตรา ๓๖ บุคคลย่อมมีเสรีภาาพในการติดต่อสื่อสารถึงกันไม่ว่าในทางใดๆ การ ตรวจ การกัก หรือการเปิดเผยข้อมูลที่บุคคลสื่อสารถึงกัน รวมทั้งการกระทาด้วย ประการใดๆ เพื่อให้ล่วงรู้หรือได้มาซึ่งข้อมูลที่บุคคลสื่อสารถึงกันจะกระทามิได้ เว้นแต่มีคาสั่งหรือหมายของศาล หรือมีเหตุอย่างอื่นตามที่กฎหมายบัญญัติ เสรีภาาพการ ติดต่อสื่อสาร มาตรา ๔๔ บุคคลย่อมมีเสรีภาาพในการชุมนุมโดยสงบและปราศจากอาวุธ การจากัดเสรีภาาพตามวรรคหนึ่งจะกระทามิได้ เว้นแต่โดยอาศัยอานาจตาม บทบัญญัติแห่งกฎหมายที่ตราขึ้น เพื่อรักษาความมั่นคงของรัฐ ความ ปลอดภาัยสาธารณะ ความสงบเรียบร้อย หรือ ศีลธรรมอันดีของประชาชน หรือ เพื่อคุ้มครองสิทธิหรือเสรีภาาพของบุคคลอื่น เสรีภาาพในการชุมนุม โดยสงบ และปราศจากอาวุธ
  • 21. ๑. การจับ ๒. การค้น ๓. การคงบคุมคุมขัง ๔. การสอบสวน ๕. การฟ้องคดี ๖. การพิจารณาพิพากษาคดี ๗. การบังคับโทษ (๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
  • 22. • ๑. การจับ - ผู้มีอานาจจับ (จพง,ราษฎร) เหตุการขอหมายจับ ต้องมีหลักฐานฯ - ต้องมีหมายจับหรือคาสั่งศาล ม.๙๘ (ตั้งแต่ ๑๑ ตค.๔๐) ยกเว้นจับโดยไม่มีหมาย(ม.๗๘) เช่น ทาความผิด ซึ่งหน้า มีพฤติการณควรสงสัยว่าจะก่อเหตุร้าย โดยมีอาวุธฯ อาจใช้ทาความผิด จาเป็นเร่งด่วนไม่อาจขอหมาย ทัน จับผู้หนีประกันฯ - แสดงหมาย(ถ้ามี) ต้องแจ้งว่าถูกจับ แจ้งข้อหาและเหตุฯ แจ้งสิทธิ ทาบันทึกจับกุม แจ้งญาติฯ ที่ถูกคุม (ม. ๘๓) - ห้ามจับในสถานที่ต้องห้าม(ม.๘๑/๑) ห้ามจับในที่รโหฐานเว้นแต่ทาตามก.ม. (ม.๘๑) - จับแล้วต้องส่งที่ทาการพงส.ทันทีและทาตามขั้นตอนของก.ม.(ม.๘๔) (๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
  • 23. • ๒. การค้น ม.๑๓๒ (ตัวบุคคล สถานที่) - ผู้มีอานาจค้น เหตุออกหมายค้น(ม.๖๙) ต้องมีคาสั่งหรือหมายศาล หรือมีเหตุตามก.ม (ม.๙๒ เช่น มี เสียงร้อง ความผิดซึ่งหน้าฯ) วิธีการและเวลาในการค้นตัวบุคคล สถานที่ เช่น ค้นผู้หญิง ค้นสิ่งของ ค้นเวลา กลางคืนฯ และราษฎรไม่มีอานาจค้น (และการเข้าไปในเคหสถาน ต้องได้รับความยินยอมของเจ้าของ/ผู้ ครอบครอง) การทารายงาน (การค้นในที่สาธารณสถาน ไม่เข้มงวดเท่ากับค้นในที่รโหฐาน... เข้าไปจับในบ้าน ต้องมีหมายจับ และหมายค้นด้วย) - จพง..ผู้จับ/รับตัวผู้ถูกจับ มีอานาจค้นตัว ยึดสิ่งของ แต่ต้องค้นอย่างสุภาาพ ค้นผู้หญิงใช้ผู้หญิงค้น (ม.๘๕) • การค้น การจับ เป็นคนละขั้นตอนของการสอบสวน การตรวจค้นจับกุม ไม่ชอบฯไม่ทาให้การสอบสวนไม่ ชอบ (๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
  • 24. • ๓. การควบคุม คุมขัง - ควบคุมผู้ถูกจับ โดยวิธีการที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการหลบหนี (ม.๘๖) - ไม่ควบคุมเกินเวลาแห่งความจาเป็นตามพฤติการณคดี พิจารณาจากความผิดและอัตราโทษ (ม.๘๗) - ไม่นาไปควบคุมในสถานที่ ที่ก.ม.ไม่ได้บัญญัติไว้ เช่น safe house - การขังผู้ต้องหา จาเลย ระหว่างสอบสวน หรือพิจารณาฯ เป็นไปตามหมายขังที่ศาลกาหนดสถานที่ ระยะเวลา ส่วนการจาคุกตามคาพิพากษาฯ ให้เป็นไปตามคาสั่ง หรือหมายจาคุก - การขังผู้เปราะบาง เช่น หญิงท้อง หรือ เพิ่งคลอด เด็ก ผู้ป่วย ต้องเป็นไปอย่างเหมาะสม ตามระเบียบฯ - การปล่อย ต้องเป็นไปตามที่ก.ม.บัญญัติ มีคาสั่งปล่อย หรือหมายปล่อยจากศาล ไม่ปล่อยเลยกาหนดฯ (๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
  • 25. • ๔. การสอบสวน - ทาโดยจนท.ผู้มีอานาจ เป็นพนักงานสอบสวน(พงส.) - ก่อนสอบปากคา ให้พงส.ถามข้อมูลส่วนบุคคล แจ้งข้อเท็จจริง และข้อหา แจ้งสิทธิต่างๆ(ม.๑๓๔) และถ้าเป็นคดีที่มีโทษประหาร หริออายุไม่เกิน ๑๘ ปี แล้วไม่มีทนายฯ ให้จัดหาทนายให้ หรือเป็นคดี ที่มีโทษจาคุก แล้วไม่มีทนาย หากต้องการทนาย ก็จัดหาให้ (ม.๑๓๔/๑) - ผู้ต้องหามีสิทธิพบ หารือทนาย ผู้จะเป็นทนายเป็นการเฉพาะ - การสอบฯให้ผู้ต้องหามีทนาย หรือผู้ที่เขาไว้วางใจ ร่วมฟังการสอบด้วย - พงส.มีอานาจ ตรวจตัวผู้เสียหาย(ถ้ายินยอม) ถ้าเป็นผู้หญิงให้ผู้หญิงตรวจ หรือได้รับความ ยินยอมและบันทึกเหตุจาเป็นไว้หรือให้มีบุคคลอื้นอยู่ด้วย ตรวจตัวผู้ต้องหา สิ่งของ ออกหมายเรียก บุคคลที่ครอบครอง (ม.๑๓๒)หมายเรียกผู้เสียหายหรือบุคคลใด (ม.๑๓๓) (๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
  • 26. - การสอบปากคาผู้เสียหาย พยาน ซึ่งเป็นเด็ก ให้จัดสถานที่ที่เหมาะสม มีสหวิชาชีพมาร่วม และ มีวิธีการถามที่เหมาะสม- การชี้ตัวผู้กระทาความผิด ของผู้เสียหาย พยาน ซึ่งเป็นเด็กให้จัดสถานที่ เพื่อความปลอดภาัยแก่ผู้เสียหาย - ผู้ต้องหามีสิทธิที่จะได้รับการสอบสวนที่รวดเร็วไม่ชักช้า (ม.๑๓๐) ต่อเนื่อง เป็นธรรม - ผู้ต้องหามีสิทธิที่จะไม่ให้การ หรือไม่ให้การเป็นปฏิปักษต่อตนเอง - ผู้ต้องหา ต้องไม่ถูกซ้อม ทรมาน ขู่เข็ญฯ เพื่อให้การ ต่อพงส. - ผู้ต้องหามีสิทธิที่จะไม่ไปชี้สถานที่เกิดเหตุ รวมทั้งไม่ร่วมนั่งแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน - วิธีการส่งสานวนพร้อมความเห็นว่าควรสั่งฟ้องหรือไม่ ไปยังพนักงานอัยการ ในกรณีที่รู้ตัว ผู้กระทาความผิด แต่ยังเรียกตัวหรือจับตัวมาไม่ได้ เมื่ออัยการเห็นว่าควรสั่งฟ้อง ให้พงส.จัดกรนาตัว ผู้ต้องหามา (ม.๑๔๑) (๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
  • 27. •สิทธิในกระบวนการยุติธรรม : - เข้าถึงง่าย สะดวก รวดเร็ว ทั่วถึง - สิทธิพื้นฐานในกระบวนการพิจารณา พิจารณาเปิดเผย ทราบข้อเท็จจริง ตรวจเอกสาร การเสนอข้อ เท็จ จริง ข้อโต้แย้ง พยานหลักฐาน การค้านผู้พิพากษา การนั่งพิจารณาโดยองคคณะ การทราบเหตุผลของ คาพิพากษา - สิทธิให้คดีของตน ได้รับการพิจารณาถูกต้องเป็นธรรม สิทธิได้รับการปฏิบัติที่เหมาะสม สิทธิที่ได้รับการ คุ้มครอง ช่วยเหลือ เยียวยา สิทธิที่ผู้เปราะบาง (เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ ผู้พิการฯ) ได้รับการพิจารณา อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะในคดีฯเพศ - สิทธิของผู้ต้องหา จาเลย ได้รับการสอบสวน พิจารณาคดี ที่ถูกต้อง รวดเร็ว เป็นธรรม มีโอกาสต่อสู้คดี ได้ประกัน มีทนาย (๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
  • 28. • ๑. สิทธิของผู้ถูกจับ (มาตรา ๘๓ และ ๘๔) - ได้รับแจ้งว่าถูกจับ ข้อกล่าวหาและเหตุ ให้ญาติรู้(ถ้าไม่ขัดขวางฯ) ถูกส่งตัวไปที่ทาการพงส.ทันที - พงส.ต้องแจ้งสิทธิให้ผู้ต้องหาอีกครั้ง แจ้งญาติฯ พบ/ปรึกษาทนาย ให้ทนาย/ผู้ไว้ใจร่วมฟัง เข้าเยี่ยม รักษาฯโดยเร็ว เมื่อป่วย • ๒. สิทธิของผู้ต้องหาในชั้นสอบสวน (มาตรา ๑๓๔) - ได้รับแจ้งข้อเท็จจริงเกียวกับการทาผิด ข้อกล่าวหา มีโอกาสแก้ข้อกล่าวหา แสดงข้อเท็จจริงที่เป็นประโยชนต่อตน มีได้รับการสอบสวนรวดเร็ว ต่อเนื่อง เป็นธรรม มีสิทธิที่จะมีทนายในชั้นสอบสวน ให้ทนายฯร่วมฟัง มีสิทธิไม่ให้การ - กรณีเด็กอายุไม่เกิน ๑๘ ปี การสอบฯ ต้องมีสถานที่เป็นสัดส่วน มีสหวิชาชีพร่วมอยู่ด้วย • ๓. สิทธิของจาเลยในชั้นศาล (มาตรา ๘) - ได้รับการพิจารณาคดีด้วยความรวดเร็ว ต่อเนื่อง เป็นธรรม - แต่งทนายแก้ต่างในชั้นไต่สวนมูลฟ้อง ชั้นพิจารณาในศาลชั้นต้น ศาลอุทธรณ และศาลฎีกา ปรึกษาทนาย/ผู้จะเป็น ทนาย - ตรวจดูสานวนไต่สวนมูลฟ้อง หรือพิจารณาของศาล ค้ด/ขอรับสาเนาคาให้การของตนในชั้นสอบสวนฯ - ทนายจาเลยมีสิทธิเช่นเดียวกับจาเลย (๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
  • 29. •๔. สิทธิของผู้เสียหาย - เดิมสิทธิผู้เสียหายถูกละเลย หลังรัฐธรรมนูญปีพ.ศ. ๒๕๔๐ ผู้เสียหายได้รับความสนใจมากขึ้น โดยรัฐ เข้ามาดูแล เพราะถือเป็นความบกพร่องของรัฐในการคุ้มครองประชาชน - ผู้เสียหาย หมายถึง บุคคลผู้ที่ได้รับความเสียหายเนื่องจากการกระทาผิดฐานใดฐานหนึ่ง รวมทั้งบุคคล ที่มีอานาจจัดการแทนได้ ดังบัญญัติไว้ใน ม.๔, ๕ และ ๖ - หลักเกณฑ มีการกระทาความผิดทางอาญา บุคคลนั้นได้รับความเสียหาย ต้องไม่มีส่วนร่วมในการทา ความผิด - ผู้เสียหาย แบ่งเป็นผู้เสียหายแท้จริง และผู้มีอานาจจัดการแทน • สิทธิของผู้เสียหายอาจแบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ส่วนแรก เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับคดี และส่วนที่สอง เป็นสิทธิที่จะได้รับการเยียวยา (๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
  • 30. ๔.๑ สิทธิเกี่ยวกับการดาเนินคดี ของผู้เสียหาย • สิทธิในการร้องทุกขต่อพงส. ในความผิดต่อส่วนตัว เป็นเงื่อนไข ทาให้ พงส.สอบสวนได้ และ พนง.อัยการ ฟ้องคดีได้ ส่วนความผิดต่อรัฐ พงส.สอบสวนได้อยู่แล้ว แม้ผู้เสียหายไม่ร้องทุกข • สิทธิในการให้ปากคาต่อจนท./พงส. และตรวจร่างกายผู้เสียหายที่เป็นผู้หญิง ให้พงส.หญิงดาเนินการ ยกเว้น เหตุจาเป็น และยินยอม มีการทาบันทึกไว้ • สิทธิในการชี้ตัวผู้กระทาความผิด ผู้เสียหายต้องอยู่ในสถานที่ปลอดภาัย • สิทธิในการฟ้องคดีอาญาด้วยตนเอง มีอานาจฟ้อง ตามหลักการฟ้องคดีของราษฎรผู้เสียหาย (private prosecution) ศาลต้องไต่สวนมูลฟ้องก่อน ฟ้องคดีด้วยตนเอง หรือ-มีสิทธิขอเป็นโจทกร่วมกับอัยการฟ้อง คดีอาญา • สิทธิฟ้องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องคดีอาญา ขอให้ศาลสั่งเพื่อการเยียวยา หรือใช้สิทธิฟ้องแพ่ง คดีละเมิด • มีสิทธิยื่นคาขอรับการเยียวยา ต่อศาล เมื่ออัยการฟ้องคดีอาญา ผู้เสียหายไม่ได้เป็นโจทกร่วมแต่ให้ศาลสั่งให้ จาเลยชดใช้ค่าเสียหาย (๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
  • 31. ๔.๒ สิทธิของผู้เสียหายในการรับการเยียวยา ๔.๒.๑ การเยียวยา จากผู้ทาละเมิด หรือ ผู้กระทาความผิดต่อผู้เสียหาย - การทาผิดทางอาญา เป็นการละเมิดตาม ม.๔๒๐ ปพพ.ผู้ละเมิดจาต้องชดใช้ค่าสินไหม โดยผู้ถูกละเมิด อาจ ฟ้องคดีแพ่งเอง หรือฟ้องคดีแพ่งเกี่ยวเนื่องคดีอาญา ๔.๒.๒ การเยียวยาจากรัฐ โดยกระทรวงยุติธรรม - ปีพ.ศ. ๒๕๔๔ มีการประกาศใช้พรบ.ค่าตอบแทนผู้เสียหายและค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จาเลย คดีอาญา พ.ศ. ๒๕๔๔. โดยรัฐเยียวยาผู้เสียหายในคดีอาญา เพราะรัฐบกพร่องในหน้าที่การดูแลความปลอดภาัย แก่ประชาชน เป็นการเยียวยาขั้นต่าจากรัฐ เพราะผู้เสียหายอาจได้รับการเยียวยาจากผู้ละเมิดฯ รวมทั้งบุคคลที่ ๓ เช่น บริษัทประกันชีวิต หรือ ประกันภาัย - การช่วยเหลือเยียวยา จากกองทุนยุติธรรม ตามพรบ.กองทุนยุติธรรม พ.ศ. ๒๕๕๘ นอกจากนั้นยังมีการเยียวยาจากส่วนราชการอื่น ตามก.ม.ระเบียบมี่กาหนดไว้ เช่น กระทรวงมหาดไทย พัฒนนาสังคมฯ ๔.๒.๓ การเยียวยาจากองคกรอื่น เช่น หน่วยงานประกันชีวิต ประกันภาัย และกองทุนสวัสดิการอื่นๆ (๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
  • 32. • ๕) การฟ้องคดี • - เป็นไปตามรัฐธรรมนูญฯ ป.วิ.อาญา ภาาค ๓ เป็นไปตามหลักการฟ้องคดีโดยรัฐ แต่ราษฎรมีสิทธิฟ้องคดีไ • - การฟ้องคดีต้องมีการสอบสวนมาก่อน เป็นเงื่อนไขสาคัญของการฟ้องคดี • - ในความผิดส่วนตัว ราษฎรต้องไปร้องทุกขต่อพงส.ก่อนและจะต้องมีการไต่สวนมูลฟ้องโดยศาล เพื่อ ป้องกันการกลั่นแกล้งกัน ส่วนคดีความผิดต่อแผ่นดินซึ่งราษฎรได้รับความเสียหาย พงส.มีอานาจหน้าที่ใน การสอบสวน เพราะรัฐเป็นผู้เสียหาย • ๖) การพิจารณา พิพากษาคดี • - เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ,ป.วิ.อาญา ภาาค ๓ และภาาค ๔ ,พรบ.พระธรรมนูญศาลยุติธรรมฯ แก้ไขเพิ่มเติม ครั้งที่ ๖ พ.ศ.๒๕๖๒ ๗) การบังคับโทษ - การบังคับโทษทางอาญา เป็นไปตามก.ม. เช่น พรบ.ราชทัณฑ พ.ศ.๒๔๗๙ แก้ไขเพิ่มเติมฯ - สิทธิของผู้ต้องขัง นักโทษเด็ดขาด เป็นไปตามมาตรฐานขั้นต่าของข้อตกลงฯ สนธิสัญญาระหว่างประเทศ ที่ไทยเป็นภาาคี และมีก.ม.ภาายในรองรับ (๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
  • 33. • ๑) การจับ - ผู้มีอานาจจับ (จพง,ราษฎร) เหตุการขอหมายจับ ต้องมีหลักฐานฯ - ต้องมีหมายจับหรือคาสั่งศาล(ตั้งแต่๑๑ ตค.๔๐) ยกเว้น ทาความผิดซึ่งหน้า มีพฤติการณควรสงสัยว่าจะก่อ เหตุร้าย โดยมีอาวุธฯ อาจใช้ทาความผิด จาเป็นเร่งด่วนไม่อาจขอหมายทัน จับผู้หนีประกันฯ - แสดงหมาย(ถ้ามี) ต้องแจ้งว่าถูกจับ แจ้งข้อหาและเหตุฯ แจ้งสิทธิ ทาบันทึกจับกุม แจ้งญาติฯ ที่ถูกคุม - ห้ามจับในที่ต้องห้าม จับในที่รโหฐานเว้นแต่ทาตามก.ม. - จับแล้วต้องส่งที่ทาการพงส.ทันทีและทาตามขั้นตอนของก.ม. • ๒) การค้น - ผู้มีอานาจค้น เหตุออกหมายค้น ต้องมีคาสั่งหรือหมายศาล หรือมีเหตุตามก.ม (เช่น มีเสียงร้อง ความผิดซึ่ง หน้าฯ) วิธีการและเวลาในการค้นตัวบุคคล สถานที่ เช่น ค้นผู้หญิง ค้นสิ่งของ ค้นเวลากลางคืนฯ และราษฎรไม่มี อานาจค้น (และการเข้าไปในเคหสถาน ต้องได้รับความยินยอมของเจ้าของ) การทารายงาน • การค้น การจับ เป็นคนละขั้นตอนของการสอบสวน การตรวจค้นจับกุม ไม่ชอบฯไม่ทาให้การสอบสวนไม่ชอบ (๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
  • 34. ก.ม.ภายในของประเทศไทย ที่สอดรับกับข้อตกลง และอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนฯ - แก้ไขเรื่อง ๑. การประกันตัวผุ้มีอัตราโทษจาคุกเกิน ๑๐ ปีขึ้นไป ผู้ถูกปล่อยชั่วคราว ต้องมีประกัน และจะมีหลักประกันด้วยหรือไม่ก็ได้ ๒. การจับผู้ต้องหา จาเลย ที่ศาลสั่งปล่อยชั่วคราว โดยจพง.ปกครอง ตร. ที่จพง.ศาลแจ้ง ให้จับ หรือการจับ โดยจพง.ศาลเมื่อมีเหตุจาเป็น เมื่อจับได้ ให้นาตัวไปศาลโดยเร็ว ๓. การฟ้องคดีอาญาโดยราษฎรเป็นโจทก ถ้าไม่สุจริต บิดเบือนข้อเท็จจริง กลั่นแกล้ง เอา เปรียบจาเลย มุ่งหลังผลอย่างอื่นยิ่งกว่าประโยชนที่พึงได้โดยชอบ ให้ศาลยกฟ้อง และ ห้ามโจทกยื่นฟ้องในเรื่องเดียงกันอีก (๒) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา พ.ศ. ๒๔๗๗ แก้ไขเพิ่มเติม ถึง พ.ศ.๒๕๖๒
  • 35. ๓). การใช้สิทธิเสรีภาพ สิทธิมนุษยชนอย่างสอดคล้องกับความมั่นคงฯ ประชาชน เจ้าหน้าที่รัฐฯต้อง “รู้” สิทธิ (หน้าที่) เสรีภาาพ ที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ (อะไรทาได้ อะไรทาไม่ได้ ในเงื่อนไข สถานการณใด) ในสถานการณฯ ที่รัฐจาเป็นต้อง “จากัด” การใช้สิทธิ เสรีภาาพของประชาชน ต้องเป็นไปตามที่กฎหมายให้อานาจไว้ (ในการออกก.ม. บังคับใช้ก.ม.ฯ) รัฐจาเป็นต้อง “แจ้ง“ ให้ประชาชนได้ทราบถีง การจากัดการใช้สิทธิฯ และมีการ “เตรียมการ”ที่ดี ในการออกและใช้ก.ม. โดยให้เกิด “ผลกระทบเชิงลบ” น้อยที่สุด หากประชาชน ได้รับผลกระทบจากการใช้อานาจของ(จนท.)รัฐ ที่ไม่ถูกต้องกับหลัก ความชอบด้วยก.ม. ประชาชนจะได้รับการ”เยียวยา”จากผู้ละเมิดฯ และรัฐตามก.ม.
  • 37. การใช้สิทธิฯอย่างสอดคล้องกับความมั่นคงของชาติ ปลอดภาัยจากภาัยคุกคาม การยอมรับนับถือจากนานาประเทศ บูรณภาาพแห่ง ดินแดน ประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริยเป็น ประมุข ประชาชนปลอดภาัย มีชิวิตผาสุก ปกป้องผลประโยชน แห่งชาติ ความเข้มแข็งของชาติ พร้อมเผชิญสถานการณ 28/1 สิทธิมนุษยชน จากความมั่นคง มนุษยไปสู่ความมั่นคงของชาติ
  • 38. สิทธิมนุษยชนกับความมั่นคงของชาติ ศึกษาบทเรียนจากประเทศที่ปกครองในประชาธิปไตย ปลอดภาัยจากภาัยคุกคาม การยอมรับนับถือจากนานาประเทศ บูรณภาาพแห่ง ดินแดน* ประชาธิปไตย มีพระมหากษัตริยเป็น ประมุข ปกป้องผลประโยชน แห่งชาติ* ความเข้มแข็งของชาติ* พร้อมเผชิญสถานการณ 29 ประเทศที่มีการละเมิดสิทธิ มนุษยชนรุนแรงมาก นาไปสู่ ความไม่สงบฯ มีการ แทรกแซงจากภาายนอก ปชช.ไม่ค่อยปลอดภาัย มีชิวิตไม่ค่อยผาสุก ความมั่นคงมนุษยลด
  • 39. รูปแบบความสัมพันธ์ของ สิทธิมนุษยชน กับความมั่นคงของชาติ ในการปกครองฯ ความ มั่นคงของ ชาติ สิทธิ มนุษยชน สากล เผด็จการ ปชค. จนท. -ศักดิ์ศรีความ เป็นมนุษย -สิทธิเสรีภาาพ -เสมอภาาคไม่ เลือกปฏิบัติ สถานการณก่อความไม่สงบ -ปลอดจากภาัยคุกคามต่อ -อธิปไตยของชาติ -อาณาเขต -ความมั่นคงสถาบันหลัก (ศาสนา พระมหากษัตริย) -เศรษฐกิจประเทศ -ความปลอดภาัยการ ดาเนินชีวิตโดยปกติสุข ของปชช. -ความพร้อมที่เผชิญภาัย คุกคามทุกรูปแบบ ความมั่นคงมนุษย /รัฐ ความมั่นคงผู้ปกครอง/รัฐ หลักนิติธรรม ความชอบด้วยก.ม. หลักประสิทธิผล รักษาความความสงบ ประโยชนของมนุษย ผลประโยชนของชาติ ปชต.แบบไทย ชาติ ศาสน กษัตริย ปชช. เสรีประชาธิปไตย 30
  • 40. ๔). ก.ม.ที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงฯ และการใช้ก.ม.ของเจ้าหน้าที่รัฐ ก) ก.ม.พิเศษที่ใช้ในการรักษาความมั่นคงฯ ๑. พรบ.กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ ๒.พ.ร.ก.ว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ ๓. พรบ.การรักษาความมั่นคงภาายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑ ข) การใช้ก.ม.พิเศษของเจ้าหน้าที่รัฐ ๔. พรบ.การบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาาคใต้ พ.ศ.๒๕๕๓ 31
  • 41. สรุปก.ม.พิเศษที่ใช้ในการรักษาความมั่นคงฯ “พรบ.กฎอัยการศึกฯ” ทหารมีอานาจเหนือพลเรือน ทั้งการปฎิบัติ และศาล ไม่ต้องใช้หมายฯไม่เกิน ๗ วัน คุ้มครองทหาร ฟ้องไม่ได้ “พรก.ฉุกเฉิน” -นายกฯประกาศ,ให้ครม.เห็นชอบ ใช้ทั้งประเทศ.บางเขตพื้นที่ -มีพนง.จนท.,จับ ควบคุมผู้ต้องสงสัย ต้องขอหมายศาล -ควบคุมได้ ๗ วัน ขอต่อ< ๓๐ วัน -คุ้มครองพนง.จนท.ปฏิบัติถูกก.ม. ไม่ต้องรับผิด.แต่ฟ้องละเมิดได้ ภาัยต่อความมั่นคงฯ ภาัยคุกคามรุนแรง “พรบ..รักษาความมั่นคงภาายในฯ” -ป้องกัน ควบคุม ฟื้นฟูสถานการณ -ตั้งกอ.รมน.ระดับต่างๆขึ้น นายกฯ: ผอ.,กอ.รมน.ผบ.ทบ.:เลขาฯ -ค้น จับ คุม สอบสวนฯ ใช้ป.วิ.อาญา ขอศาลสั่งผู้หลงผิดเข้าอบรม สิทธิใน การฟ้องระงับ ภาัยคุกคาม 32
  • 42. ๑. สรุป พ.ร.บ. กฎอัยการศึก พ.ศ.๒๔๕๗ • ก.ม.ที่ใช้ในยามศึก สงคราม หรือมีความจาเป็นต้องรักษาความสงบเรียบร้อยให้ปราศจากภาัยฯ - เป็นมาตรการทางก.ม.อย่างหนึ่งของทหาร โดยเป็นก.ม.รักษาความมั่นคงที่มีระดับความเข้มข้นสูงสุด - ให้อานาจกับเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหาร รักษาความสงบฯและความปลอดภาัยทั้งภาายนอก หรือภาายในประเทศ • ผลของการประกาศ : อานาจเหนือฝ่ายพลเรือนในด้านต่างๆ (รวมทั้งให้จนท.ทหารเป็นเจ้าพนักงานฯ) ๑) อานาจของฝ่ายทหารมีอานาจเหนือฝ่ายพลเรือน ในการยุทธ การระงับปราบปราม การรักษาความสงบฯ ๒) อานาจของฝ่ายทหารในด้านอรรถคดี ศาลพลเรือนยังคงมีอานาจพิจารณาพิพากษาคดีตามปกติ เว้นแต่คดี ที่อยู่ในอานาจของศาลอาญาศึก และผู้มีอานาจประกาศ มีอานาจให้ศาลทหาร พิจารณาฯคดีอาญาซึ่งเกิดใน เขตพื้นที่ และในระหว่างที่ใช้กฎฯ รวมทั้งคดีอาญาที่มีเหตุพิเศษเกี่ยวกับความมั่นคงฯ ความสงบเรียบร้อย ๓) จนท.ทหารมีอานาจในการ ตรวจค้น เกณฑ ห้าม จับกุม ควบคุมตัวผู้ต้องหา/ผู้ต้องสงสัย (โดยไม่ต้องมี หมายฯไม่เกิน ๗ วัน) โดยมีการกาหนดแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสม โดยหน่วยงานทหาร เช่น กรมพระธรรมนูญ • มีมาตรการคุ้มครองการปฏิบัติหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ทหาร บุคคลหรือบริษัทใดๆ จะร้องขอค่าเสียหาย หรือ ค่าปรับเจ้าหน้าที่ฝ่ายทหารไม่ได้ และอยู่นอกเขตความรับผิดชอบของศาลปกครอง 33
  • 43. ๒. สรุปพ.ร.ก.ว่าด้วยการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๔๘ • ก.ม.ฉบับนี้กาหนดมาตรการบริหารราชการสาหรับสถานการณฉุกเฉินไว้เป็นพิเศษ เพื่อให้รัฐสามารถรักษาความ มั่นคงความปลอดภาัย และการรักษาสิทธิฯของประชาชนให้กลับสู่สภาาพปกติโดยเร็ว หรือมีการการก่อการร้าย การรบ • สถานการณฉุกเฉิน หมายความถึง สถานการณอัน(อาจ)กระทบความสงบเรียบร้อย หรือเป็นภาัยต่อความมั่นคงฯ หรือ อาจทาให้ประเทศตกอยู่ในภาาวะคับขัน หรือมีการก่อการร้าย การรบหรือการสงคราม ต้องมีมาตรการเร่งด่วน • ให้นายกรัฐมนตรีโดยครม.เห็นชอบ มีอานาจประกาศสถานการณฉุกเฉิน ใช้ทั่วประเทศ หรือบางเขตพื้นที่ เมื่อจาเป็น และเป็นผู้รักษาการพรก.ฯนี้มีอานาจแต่งตั้ง “พนักงานเจ้าหน้าที่” ให้ปฏิบัติหน้าที่รวมทั้งการแต่งตั้งให้ขรก.ระดับ อธิบดี ผบช.ตร.แม่ทัพฯขึ้นไป กาหนดเป็นผู้รับผิดชอบในการแก้ไขปัญหาฉุกเฉินในพื้นที • การจับกุมและควบคุมตัว “ผู้ต้องสงสัย” • พนง.จนท.มีอานาจจับกุมตัวผู้ต้องสงสัย โดยร้องขอต่อศาลฯ มีอานาจจับกุม และควบคุมตัวไว้ในสถานที่ที่กาหนด โดยจะปฏิบัติต่อผู้ต้องสงสัยในลักษณะที่บุคคลเหล่านั้นเป็นผู้กระทาผิดไม่ได้ ในกรณีจาเป็น อาจร้องขอต่อศาล ขยาย เวลาได้คราวละ ๗ วัน แต่รวมเวลาแล้ว ต้องไม่เกิน ๓๐ วัน เมื่อครบกาหนด จะควบคุมตัวต่อไปให้ใช้ ตาม. ป.วิ.อาญา • มาตรการคุ้มครองพนง.จนท.ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพรก.ฯ ให้จนท.(ทหารฯ)ที่ได้แต่งตั้งเป็น “พนง.จนท.”ตามพรก.นี้ เป็นจพง.ตามป.อาญาและมีอานาจหน้าที่เป็น พนง.ฝ่ายปกครองหรือต.ร.ตามป.วิอาญา(ค้น จับ สอบสวน) ไม่ต้องรับ ผิดทั้งทาง แพ่ง อาญา หรือ วินัย เนื่องจากการปฏิบัติหน้าที่ หากเป็นการกระทาที่ สุจริต ไม่เลือกปฏิบัติ และไม่เกิน สมควรแก่เหตุหรือ ไม่เกินกว่ากรณีจาเป็น แต่ไม่ตัดสิทธิผู้เสียหาย ไปฟ้องตามก.ม.ความรับผิดทางละเมิดของจนท.ฯ 34
  • 44. ๓. สรุปพรบ.การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร พ.ศ.๒๕๕๑ • การรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร หมายความว่า การดาเนินการเพื่อป้องกัน ควบคุม แก้ไขและฟื้นฟูสถานการณ์ ใดที่ (อาจ)เป็นภัย อันเกิดจากบุคคล กลุ่มบุคคลที่ก่อให้เกิดความไม่สงบสุข ทาลาย หรือทาความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย ทรัพย์สินของประชาชนหรือของรัฐ ให้กลับสู่ภาวะปกติฯ • การประกาศใช้ : กรณีมีเหตุอันกระทบต่อความมั่นคงฯ แต่ยังไม่จาเป็นต้องประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินฯ และ จาเป็นต้องประกาศ “พื้นที่” ที่ปรากฏเหตุการณ์อันกระทบต่อความมั่นคงภายในราชอาณาจักรด้วย ที่ผ่านมา มีการใช้ พรบ.นี้ในบางพื้นที่ เช่น ใช้ใน ๔ อาเภอ ในจ.สงขลา • มีการตั้งกอ.รมน.ขึ้นในสานักนายกรัฐมนตรี ทาหน้าที่ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่กระทบต่อความมั่นคงภายใน ราชอาณาจักรและความสงบเรียบร้อยของสังคม • มีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้รักษาการตามพรบ.นี้ และเป็นผอ.กอ.รมน.มี ผบ.ทบ. เป็นรองผอ., เสนาธิการทบ.เป็นเลขาธิการฯ และตั้งกอ.รมน.ระดับต่างๆ(ภาค จังหวัด)ขึ้น • ในการตรวจค้นและการจับกุมผู้ต้องหา เป็นไปตามประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญา คือ ต้องขอหมายศาลฯ รวมทั้งการควบคุมตัว การสอบสวนฯ ให้ใช้ก.ม.ปกติ คือ ป.วิ.อ. • มีมาตรการพิเศษ คือ ศาลอาจพิจารณาสั่งให้ผู้หลงผิด รู้เท่าไม่ถึงการณ์ เข้าอบรม ทาให้สิทธิการฟ้องคดีอาญาระงับไป 35
  • 45. • - ให้สมช.จัดทานโยบายการบริหารและพัฒนนาจชต.(ทุก ๓ ปีหรือน้อยกว่า) และมีกรรมการพัฒนนา ยุทธศาสตรด้านการพัฒนนาจชต.(กพต.) รวมทั้งตั้งศูนยบริหารจังหวัดชายแดนภาาคใต้(ศอ.บต.)ขึ้น • - อานาจหน้าที่ของศอ.บต. ตามมาตรา ๙ (๑) - (๕) เกี่ยวข้องกับการจัดทายุทธศาสตร ทาแผนปฏิบัติการ เสนอแนะ บูรณาการแผนฯ ดาเนินงานตามแผน/โครงการต่อเนื่องฯ เร่งรัดติดตาม • - ส่วนใน (๖) คุ้มครองสิทธิเสรีภาาพและอานวยความเป็นธรรมแก่ประชาชน โดยการรับเรื่องราวร้องทุกข ให้ความช่วยเหลือและประสานการปฏิบัติกับหน่วยงานของรัฐที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งตรวจสอบและแก้ไข ปัญหาพฤติ้กรรมที่ไม่เหมาะสมของจนท.รัฐ (๗) ให้ความช่วยเหลือเยียวยาผู้ได้รับความเสียหายและผู้ที่ ได้รับผลกระทบจากการกระทาของจนท.รัฐ อันสืบเนื่องมาจากเหตุการณความไม่สงบในจชต.ตาม ระเบียบที่ กพต.กาหนด ทั้งนี้ ไม่ตัดสิทธิประโยชนที่ผู้นั้นได้รับตามกฎหมายอื่น (๘) เสนอแนะมาตรการ สร้างขวัญและกาลังใจสาหรับจนท.รัฐในจังหวัดชายแดนภาาคใต้ ต่อครม. .๔. พรบ.การบริหารราชการจังหวัดชายแดนภาาคใต้ พ.ศ.๒๕๕๓ (มี ๕ จังหวัด) 36
  • 46. ข) การใช้กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคงฯของเจ้าหน้าที่รัฐ เป็นไปตามหลักความชอบด้วยกฎหมาย (ตามที่ก.ม.ให้อานาจไว้เท่านั้น) เจ้าหน้าที่ฯที่ปฎิบัติหน้าที่ตามก.ม.พิเศษ ต้องมีการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่จาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้เป็น “พนักงานเจ้าหน้าที่” โดยเฉพาะ การบังคับใช้ก.ม.พิเศษ ของเจ้าหน้าที่ฯ ต้องใช้อย่างระมัดระวัง ให้กระทบสิทธิ เสรีภาาพของประชาชนให้น้อยที่สุด เพื่อบรรลุเป้าหมายด้านความมั่นคงฯ 37
  • 47. ๒) บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐ ทหาร ตารวจ ปกครอง ท้องถิ่น และอื่นๆ • รักษาความมั่นคงของรัฐจากภาัยคุกคามภาายนอกและภาายใน (ทหารเป็นหลัก) • การบังคับใช้ก.ม. การรักษาความปลอดภาัยในชีวิต ทรัพยสินฯ(ตารวจเป็นหลัก) • มีการตั้งทหาร ตารวจ เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ และ เจ้าพนักงานฯ ปฏิบัติหน้าที่ด้านบังคับใช้ก.ม. และความมั่นคงฯ และแต่งตั้งผู้ช่วยเจ้าพนักงาน • บริการสาธารณะ (เกษตร/ป่าไม้ สาธารณสุข ศึกษา พัฒนนาฯ แรงงาน ท้องถิ่นฯ ) 38
  • 52.
  • 56. ข้าราชการฯที่ชาวบ้านชื่นชมในการช่วยเหลือผู้ประสบเหตุ ผู้ว่าฯลาปางจอดมอเตอรไซค แจ้งหน่วยงานมาช่วยผู้บาดเจ็บ หมอทหารหญิง ออกเวรจากรพ. ค่ายเทพสตรีฯพบ ผู้บาดเจ็บ ลงรถ มาช่วยเหลือ อย่างเต็มที่ ตร.ทางหลวงทุบ กระจกรถช่วยคน เจ็บออกมาขณะ เดินทางไปนา ขบวนเสด็จ สมเด็จพระเทพฯ พล ต อ.เฉลิมเกียรติ ศรีวรขาน รองผบ.ตร. พบอุบัติเหตุฯ ลงมาอานวยการช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ
  • 57. การปฏิบัติภารกิจของจนท.รัฐของประเทศไทย ให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน ประเด็น ความมั่นคงแห่งชาติ การบังคับใช้ก.ม. การบริการสาธารณะ ๑.หน่วย งาน ๒.ก.ม., กรอบ นโยบาย ที่สาคัญ -ทหาร เป็นหน่วยงานหลัก มี,ตชด.เป็นหน่วยงานรอง ตร.ฝ่ายปกครองฯเสริม -รัฐธรรมนูญ ปี๖๐ -พรบ.จัดระเบียบกห.ฯ -กม.พิเศษ :พรบ.กฎอัยการศึกฯ,พรก.ฉุกเฉิน ปี๔๘, พรบ.ความมั่นคงภาายใน ๒๕๕๑ ซึ่งกระทบสิทธิ เสรีภาาพปชช. -คาสั่งคสช.ที่๓/๕๘ (๔ฐานความผิด) กฎการใช้กาลังฯ (มีอนุสัญญาฯตปท.ที่เกี่ยวข้อง), คาสั่งฯที่๑๓/๕๘ (๒๗ ฐานฯความผิด)ให้เป็นจพง.ฯ บังคับใช้กม., -ปอ.กม.ที่มีโทษทางอาญา,พรบ.การชุมนุมสาธารณะฯ -ตร.เป็นหน่วยงานหลัก -มีหน่วยงานที่มีภาารกิจบังคับใช้ กม.ที่กม.ให้อานาจไว้ เช่น ปค. ปปส.ปปง. ปปท.,DSI,ป่าไม้ -รัฐธรรมนูญ ปี ๖๐ ปอ.,กม.ที่มีโทษอาญา,(เช่น พรบ.ยาเสพติด ,พรบ.ปปช.ปปง.,ปปท., สอบสวนคดีพิเศษ,ป่าไม้, -ป.วิ.อาญา. -กม.พิเศษด้านความมั่นคงฯ -ตร.มีระเบียบฯเกี่ยวกับคดี หน่วยงานอื่นมีกม.ลาดับรอง, ระเบียบต่างๆวางแนวทางไว้ -หน่วยงานรัฐส่วนใหญ่มี ภาารกิจบริการสาธารณะ ทั้ง หน่วยงานส่วนกลาง ภาูมิภาาค ท้องถิ่น, -รัฐธรรมนูญ ปี ๖๐ พรบ.วิธีปฏิบัติราชการ ,พรบ.ความรับผิดทาง ละเมิดของจทน.พรบ. ให้บริการฯของหน่วยงาน กม.การกระจายอานาจฯให้ ท้องถิ่นฯ
  • 58. การปฏิบัติภารกิจของจนท.รัฐให้สอดคล้องกับหลักสิทธิมนุษยชน ประเด็น ความมั่นคง บังคับใช้ก.ม. บริการสาธารณะ/พัฒนนา ๓.ปัญหา/ความ เสี่ยงในการละเมิด ๔.ข้อยุติจากคา พิพากษาศาลฯ ,มติครม.ฯ ๕.การป้องกันและ แก้ไขปัญหาฯ -ในชีวิต ร่างกาย...) เช่น ระยะ เวลาควบคุมตัว ฯ -การใช้กม.พิเศษ ไม่มีการ ตรวจสอบ จึงมีความเสี่ยงในการ ละเมิดฯ สิทธิการเมือง((การชุมนุมฯ) -ไม่สอดคล้องหลักศาสนา -มีคาพิพากษาศาลฎีกาที่๒๔๑/๙๕ เรื่องการใช้อานาจทหารตามกฎ อัยการศึก,ศาลปกครองฯเรื่องการ ใช้ก.ม.พิเศษในพท.จชต -เผยแพร่,อบรม,ทา/ใช้คู่มือ,เฝ้า ระวัง,ติดตาม,ไกล่เกลี่ย,เยียวยา -สิทธิในชีวิต ร่างกาย,ฯ ตามขั้นตอน การบังคับใช้ก.ม.เช่น ตรวจค้น จับกุม ควบคุมตัว สอบสวนฯ บังคับโทษ, -การทุจริตฯ -สาเหตุมาจากความไม่รู้กม.,ถูกผบ. เร่งรัดมา,ความรู้สึกส่วนตัว,วิธีการที ไม่ถูกต้องที่ถูกถ่ายทอดมา -มีคาพิพากษาศาลยธ.ฯและศาล ปกครองมาก รวมทั้งการตีความของ กฤษฎีกา และมติครม.ให้แนวทาง ปฏิบัติไว้ -เผยแพร่,อมรม,ทา/ใช้คู่มือ,เฝ้าระวัง, แทรกแซงแก้ไข,ไกล่เกลี่ย,เยียวยา -การเลือกปฎิบัติ -การทุจริต -การไม่ปฎิบัติตามขั้นตอนของ ก.ม.ฯลฯ มีกรณีศึกษามากที่เกี่ยวข้องกับ ปัญหาการละเมิดฯและความ เสี่ยงฯเนื่องจากความไม่รู้กม. -มีคาพิพากษาศาลยธ.,ศาล ปกครองฯมาก รวมทั้งมติครม. - เผยแพร่,อมรม,ทา/ใช้คู่มือ,เฝ้า ระวัง,แทรกแซงแก้ไข,ไกล่เกลี่ย ,เยียวยา
  • 59. ปัจจัยที่ส่งผลต่อทัศนคติ พฤติกรรมของบุคคล เกี่ยวกับ สิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ระดับประเทศ (ภาูมิหลังฯ การเมือง ปกครอง สังคม วัฒนนธรรม ฯ) ตย.จีน สหรัฐ อังกฤษ เวียตนาม ไทยฯ ลักษณะ/ภาารกิจ ระบบงาน และวัฒนนธรรมองคกรขององคกร ที่บุคคลนั้นทางานอยู่ (ทหาร ตร.ปค.สธ.ฯ) สถาบันการศึกษาที่อบรมสั่งสอนบุคคลนั้น (รร.เหล่าฯ,มหาวิทยาลัยปิด/เปิด,รร.อาชีวะฯ,กศน.ฯ) ภาูมิหลังการเลี้ยงดู อบรมจากครอบครัว ญาติ ชุมชนฯ บุคคล/ จนท.รัฐ การเรียนรู้ แรงจูงใจเชิงบวกและเชิงลบ และการเสริมแรง มีผลต่อพฤติกรรมและการปฏิบัติหน้าที่ของบุคคล
  • 60. ๕). ลักษณะ รูปแบบ และความเสี่ยงของประชาชนที่ถูกละเมิดสิทธิฯ ที่เป็นจุดสนใจ คือ ประชาชน มักเป็นผู้ถูกละเมิดสิทธิฯ โดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาส แต่ประชาชนบางกลุ่ม บางคนเอง ก็อาจเป็นผู้ละเมิดสิทธิฯผู้อื่น ก็ได้ ในประเทศ มีบุคคล องคกร ที่หลากหลาย ซึ่งอาจละเมิดสิทธิฯซึ่งกันและกันได้ เช่น ประชาชน เจ้าหน้าที่รัฐ นักการเมือง องคกรธุรกิจ ผู้มีอิทธิพล ผู้ก่อความไม่สงบฯ ผู้ละเมิดสิทธิฯผู้อื่น มักเป็นผู้ที่มีอานาจ มีทรัพยากรฯเหนือกว่าผู้ถูกละเมิดฯ มี สภาาพแวดล้อม/โอกาส และกลไกเครื่องมือในการเฝ้าระวัง คุ้มครองสิทธิฯอ่อนแอ
  • 61. บุคคล องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ปชช. ( - ) ประชาชน* ผู้มีอิทธิพล ผู้ก่อความไม่สงบ รัฐ/ประโยชนสาธารณะ เจ้าหน้าที่รัฐ* องคกรธุรกิจ นักการเมือง 45 ๑ ๒ ๓ ๔
  • 62. บุคคล องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ปชช. ( - ) ประชาชน* ผู้มีอิทธิพล ผู้ก่อความไม่สงบ รัฐ/ประโยชนสาธารณะ เจ้าหน้าที่รัฐ* องคกรธุรกิจ นักการเมือง (-) ออกก.ม.ละเมิด สิทธิเสรีภาาพปชช.ที่ ไม่เหมาะสมฯ, (-) มีนโยบายไม่ เหมาะสม (-)ซ้อม,อุ้มหาย, จับผิดตัว,เรียกเงิน เลือกปฏิบัติ/สอง มาตรฐาน 45
  • 63. บุคคล องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ปชช. ( - ) ประชาชน* ผู้มีอิทธิพล ผู้ก่อความไม่สงบ รัฐ/ประโยชนสาธารณะ เจ้าหน้าที่รัฐ* องคกรธุรกิจ (-) ชีวิต ร่างกาย ทรัพยสินฯ ปชช. (-) ชีวิต ร่างกาย ทรัพยสินจนท. ความสงบ ความมั่นคงของรัฐฯ นักการเมือง (-) ออกก.ม.ละเมิด สิทธิเสรีภาาพปชช.ที่ ไม่เหมาะสมฯ, (-) มีนโยบายไม่ เหมาะสม (-)ซ้อม,อุ้มหาย, จับผิดตัว,เรียกเงิน เลือกปฏิบัติ/สอง มาตรฐาน เรียกค่าคุ้มครอง ปิดกิจการ เลิก จ้างงาน 45
  • 66. 52 การละเมิดสิทธิฯ เกิดจากผู้คนหลายฝ่าย จะอ้างเพื่ออุดมการณ ก็ไม่ควรให้ผู้บริสุทธิ์ต้องเดือดร้อน