SlideShare a Scribd company logo
1 of 63
บทคัดย่อ
โครงงานนี้เป็นการทดลองการทาแอลกอฮอล์จากพืชที่มีมากในท้องถิ่นซึ่งกลุ่มของข้าพเจ้าได้เลือกทา ข้าวเหนียว
เพื่อช่วยลดค่าใช้จ่ายในครอบครัวและเป็นการนาเอาวัสดุที่มีในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
อีกทั้งยังเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น เมื่อทาสาเร็จแล้วจะได้
1. แอลกอฮอล์สาหรับใช้ล้างแผล
2. แอลกอฮอล์ 95 % .ใช้สาหรับผสมนามันเบนซิน ซึ่งสามารถนาไปใช้กับเครื่องยนต์เบนซินได้
3. แอลกอฮอล์สาหรับดื่ม
การทาแอลกอฮอล์นี้ได้จากการนาข้าวเหนียวไปหมักกับหัวเชื้อจนได้ที่แล้วนาไปกลั่น
ครั้งแรกจะได้แอลกอฮอล์ที่ใช้สาหรับดื่ม กลั่นครั้งที่ 2
จะได้แอลกอฮอล์สาหรับฆ่าเชื้อและแอลกอฮอล์สาหรับผสมน้ามันเบนซิน
ผลงานที่ได้รับจากโครงการนี้ คือ ได้แอลกอฮอล์ ไว้ใช้ในครอบครัว เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว
หากทาจานวนมากอาจนาไปจาหน่ายเพื่อเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวได้อีกทางหนึ่งด้วย
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานการผลิตแอลกอฮอล์จากข้าวเหนียว
ได้จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาการเกิดแอลกอฮอล์จากการหมักข้าวเหนียวอันเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน
ซึ่งได้ทาการศึกษาตั้งแต่ประวัติของแอลกอฮอล์ สิ่งที่ต้องใช้ในการผลิต คุณสมบัติต่างๆ
ของส่วนประกอบที่เกี่ยวข้องกับการทาแอลกอฮอล์จากข้าวเหนียวกรรมวิธีการหมัก การเก็บรักษา การกลั่น
ประโยชน์และโทษของแอลกอฮอล์ ซึ่งการที่โครงงานนี้ประสบความสาเร็จลุล่วงมาจนถึงขั้นนี้
กลุ่มของข้าพเจ้าต้องขอขอบพระคุณท่านผู้อานวยการจิตราภรณ์ ใยศิลป์ คณะอาจารย์หมวดวิทยาศาสตร์ทุกท่าน
เพื่อนๆนักเรียนชั้นม.6/1 โรงเรียนวิทยานุกูลนารีทุกคนและขอขอบพระคุณอาจารย์เฉลี่ย หาญเชิงชัย
ที่ให้ความช่วยเหลือให้คาปรึกษาคาแนะนาให้การสนับสนุน
และเป็นกาลังใจให้กลุ่มของข้าพเจ้าในการทางานครั้งนี้ให้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี
บทที่ 1 บทนา
ที่มาและความสาคัญ
เหตุที่กลุ่มของข้าพเจ้าเลือกที่จะนาเสนอการผลิตแอลกอฮอล์จากข้าวเหนียวเนื่องมาจาก
พวกข้าพเจ้าเห็นว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นและการผลิตแอลกอฮอล์สามารถต่อยอดไปถึงการผลิตน้ามันได้
อีกทั้งยังเป็นพื้นฐานในการศึกษากระบวนการทางเคมีในหลายๆด้าน
เราจึงต้องทาการศึกษาอย่างละเอียดเพื่อใช้ศึกษาในชั้นสูงต่อไป
อีกทั้งในปัจจุบันหลายคนได้มองข้ามภูมิปัญญาท้องถิ่นอันทรงคุณค่าไป
ข้าพเจ้าจึงเห็นว่าการจัดทาโครงงานนี้ขึ้นจะสามารถรื้อฟื้นความรู้เหล่านี้ขึ้นมาได้
จากที่กล่าวมาในข้างต้นจึงเป็นการเหมาะสมด้วยประการทั้งปวง
ที่พวกข้าพเจ้าจะนาเสนอเรื่องการผลิตแอลกอฮอล์จากข้าวเหนียว
วัตถุประสงค์
1. เพื่อทดลองผลิตแอลกอฮอล์จากข้าวเหนียวว่าจะมีประสิทธิภาพดีหรือไม่
2. เพื่อศึกษากรรมวิธีการเกิดแอลกอฮอล์อย่างละเอียด
3. เพื่อใช้ความรู้ที่ได้ในการศึกษาต่อในระดับสูง
4. เพื่อนามาบูรการในวิชาต่างๆ
สมมุติฐาน
ข้าวเหนียวสามารถนามาแปรรูปเป็นอาหารต่างๆได้มากมายหลายชนิดเมื่อปล่อยอาหารที่ทาจากข้าวเหนียวทิ้งไว้นานๆ
จะมีกลิ่นคล้ายกับแอลกอฮอล์ ข้าวเหนียวจึงน่าจะนามาผลิตเป็นแอลกอฮอล์ได้
ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
การผลิตแอลกอฮอล์จากข้าวเหนียวให้ได้ 95 % ภายในเวลา 3 เดือน โดยอาศัยวัสดุภายในท้องถิ่น
ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ
1. ได้แอลกอฮอล์ที่เกิดจากข้าวเหนียวไว้ใช้ประโยชน์
2. ได้รับความรู้ความเข้าใจในกระบวนการผลิตแอลกอฮอล์
3. รู้จักแยกแยะประโยชน์และโทษของแอลกอฮอล์
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
น้า
นิยาม
น้า เป็นทรัพยากรที่สาคัญที่สุดต่อการดารงชีวิตของมนุษย์และเพื่อประกอบกิจกรรมต่างๆ
ในปัจจุบันความต้องการใช้น้าเพิ่มมากขึ้นตลอดเวลา ทั้งการใช้น้าเพื่อการเกษตรอุตสาหกรรม
การอุปโภคและการบริโภคในขณะที่ปริมาณน้านั้นมีอยู่อย่างจากัดประกอบกับปริมาณน้าที่เก็บกักไว้ตามแหล่งน้าต่างๆ
นั้นยังไม่เพียงพอแก่ความต้องการปริมาณน้าบางส่วนยังสูญเสียไปเพราะมีการปนเปื้อนจากน้าเน่าเสียและกากของเสีย
ทาให้ไม่สามารถใช้น้าที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่จึงก่อให้เกิดภาวะการขาดแคลนน้าในฤดูแล้ง
โดยเฉพาะการเกษตรกรรมซึ่งต้องอาศัยน้าเพื่อการเพาะปลูก
ความหมายของน้า
น้า (Water) เป็นสารประกอบที่ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน(Hydrogen) และออกซิเจน(Oxygen)
ในอัตราส่วน1 ต่อ8 โดยน้าหนักพบ3 สถานะคือของเหลว ของแข็ง (น้าแข็งขั้วโลก)และก๊าซ(น้าในบรรยากาศ)
สูตรทางเคมีคือH2O น้าที่บริสุทธิ์จะเป็นของเหลวใสไหลเทได้ ไม่มีสีและไม่มีกลิ่น
วัฏจักรของน้า
เริ่มต้นจากการระเหย(Evaporation) ของน้าที่อยู่ตามแหล่งน้าต่างๆตั้งแต่มหาสมุทรทะเลลาน้าคลองต่างๆ
รวมทั้งจากพื้นดินด้วยและยังจากการคายน้าของพืช(Transpiration) กลายเป็นไอน้า(WaterVaper)
ซึ่งอุณหภูมิของไอน้าจะสูงกว่าจุดเดือดและเมื่ออากาศมีอุณหภูมิต่าไอน้าจะเข้ามารวมตัวกัน(Condensation)
จากน้าที่ตกสู่ผิวโลกส่วนใหญ่มาจากมหาสมุทรที่มีพื้นที่ประมาณ 70% ของพื้นที่ทั้งโลก
และเมื่อมีการตกสู่พื้นโลกประมาณ 10% ในรูปของฝนและหิมะ จากนั้นบางส่วนก็จะซึมลงดินและลงสู่แหล่งน้าต่างๆ
และเกิดการระเหยอีกครั้งหนึ่งน้าที่ตกมาจากฟ้ าจะกระจายไปยังแหล่งน้าต่างๆและบางส่วนจะซึมลงสู่ดินโดยมีสัดส่วน
ดังนี้
ประเภทของแหล่งน้า
น้าจากแหล่งน้าธรรมชาติที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆของมนุษย์นั้นอาจจะเป็นทั้งน้าจืดจากแหล่งต่างๆ
และน้าทะเลสามารถจาแนกรายละเอียดได้ดังต่อนี้
1. แหล่งน้าผิวดินได้แก่ น้าจากแม่น้าต่างๆลาน้าธรรมชาติต่างๆห้วยหนองน้าคลอง บึง ตลอดจนอ่างเก็บน้า
บริเวณดังกล่าวนับว่าเป็นแหล่งน้าจืดที่สาคัญที่สุดน้าจืดที่แช่ขังอยู่ตามแอ่งน้าบนผิวโลกมาจากน้าฝนหิมะ
การไหลซึมออกมาจากน้าใต้ดินแล้วไหลไปรวมกันตามแม่น้าลาคลอง
ปริมาณน้าที่มีอยู่ในแม่น้าลาคลองของแต่ละแห่งบนพื้นโลกมีมากน้อยแตกต่างกันออกไป
ลาน้าอาจจะมีมากในช่วงฤดูหนึ่งแต่ในช่วงฤดูอื่นๆปริมาณน้าจะลดน้อยลงไปทั้งนี้เนื่องจากปัจจัยสาคัญดังนี้
(1) สภาพความผันแปรของปริมาณน้าฝน
(2) ลักษณะภูมิประเทศ
(3) โครงสร้างของดิน
เท่าที่ผ่านมาแหล่งน้าผิวดินเป็นทรัพยากรสาธารณะที่ไม่ต้องมีการซื้อขายจึงทาให้มีการใช้น้าอย่างฟุ่มเฟือย
ประกอบกับจานวนประชากรซึ่งใช้น้าสาหรับการอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว
กิจการอุตสาหกรรมและการเกษตรกรรมซึ่งใช้น้าในกระบวนการผลิตเป็นจานวนมาก
และส่วนใหญ่ไม่มีการนาน้าที่ใช้แล้วกลับไปใช้อีกแต่จะระบายน้าทิ้งลงสู่แหล่งน้าโดยตรง
ซึ่งทาให้เกิดภาวะขาดแคลนน้าเช่นเดียวกับคุณภาพของน้าผิวดินก็เสื่อมโทรมลงอย่างเห็นได้ชัด
ภาครัฐบาลและเอกชนได้ตระหนักถึงความสาคัญในเรื่องนี้จึงมีแนวความคิดที่จะพัฒนาแหล่งน้าผิวดิน
2. แหล่งน้าใต้ดิน(Undergroundwater) น้าใต้ดินเกิดจากน้าผิวดินซึมผ่านดินชั้นต่างๆ
ลงไปถึงชั้นดินหรือหินที่น้าซึมผ่านไม่ได้ (Imperviousrocks) น้าใต้ดินนี้จะไปสะสมตัวอยู่ระหว่างช่องว่างของเนื้อดิน
โดยเฉพาะชั้นดินเป็นกรวดทรายหินปริมาณของน้าที่ขังอยู่ในชั้นของดินหรือชั้นของหินดังกล่าวจะค่อยๆ
เพิ่มปริมาณมากขึ้นในฤดูฝนและลดปริมาณลงในฤดูแล้งปกติน้าใต้ดินจะมีการไหล(run-off)
ถ่ายเทระดับได้เช่นเดียวกับน้าผิวดินในเขตชนบทได้อาศัยน้าใต้ดินเป็นน้าดื่ม
เนื่องจากแหล่งน้าใต้ดินเป็นแหล่งน้าที่สะอาดโดยน้าที่ขังอยู่ใต้ดินมาจากน้าฝนที่ซึมผ่านการกรองของชั้นดินหินกรวด
ทรายมาหลายชั้นแล้วแหล่งน้าใต้ดินมี2 ประเภท
(1) น้าใต้ดินชั้นบนหรือน้าในดินพบในชั้นดินตื้น ๆ
น้าจะขังตัวอยู่ระหว่างชั้นดินที่เนื้อแน่นเกือบไม่ซึมน้าอยู่ไม่ลึกจากผิวดินมากนัก
น้าใต้ดินประเภทนี้จะมีปริมาณมากในฤดูฝนและลดลงในฤดูแล้งน้าในชั้นนี้มีออกซิเจนละลายอยู่พอประมาณ
จะมีสารแขวนลอยอยู่มากความขุ่นมาก
(2) น้าบาดาลเป็นน้าใต้ดินที่อยู่ลึกลงไปโดยซึมผ่านชั้นดินและชั้นหินต่างๆ
ไปขังตัวอยู่ช่องว่างระหว่างชั้นดินหรือชั้นหินซึ่งไม่ยอมให้น้าผ่านไปได้อีกน้าใต้ดินประเภทนี้เป็นน้าใต้ดินที่แท้จริงเรียกว่า
Undergroundwaterหรือที่เรียกว่าน้าบาดาลน้าบาดาลจะเป็นน้าที่มีคุณภาพดีเพราะไหลผ่านชั้นดินและชั้นหิน
ซึ่งทาหน้าที่คล้ายการกรองน้าธรรมชาติมีลักษณะเป็นระบบท่อประปาที่สมบูรณ์
3. แหล่งน้าจากทะเลทะเลและมหาสมุทรเป็นแหล่งกาเนิดใหญ่ของวงจรน้าในโลก
ซึ่งหากขาดวงจรดังกล่าวแล้วพื้นดินก็จะขาดความอุดมชุ่มชื้น
ขณะเดียวกันกระแสน้าในมหาสมุทรก็เป็นปัจจัยสาคัญที่กาหนดสภาพภูมิอากาศรอบโลกด้วยเช่น
กระแสน้าอุ่นกัลฟ์ สตรีมทาให้ยุโรปตะวันตกตอนเหนือมีสภาพภูมิอากาศอบอุ่นแทนที่จะเย็นมากๆเหมือนกับพื้นที่อื่นๆ
ที่อยู่ใกล้เขตขั้วโลกเหนือหรือกระแสน้าเย็นเบงกิวลาทาให้บริเวณชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปแอฟริกา
กลายเป็นที่อุดมสมบูรณ์ด้วยแพลงก์ตอนซึ่งเป็นอาหารสาหรับปลานานาชนิด
เช่นเดียวกับบริเวณขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ที่มีกระแสน้าเย็นและน้าอุ่นมาบรรจบกัน
ทาให้บริเวณดังกล่าวมีสารอาหารสมบูรณ์ มีแพลงก์ตอนพืชและแพลงค์ตอนสัตว์
ซึ่งเป็นอาหารของสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่จานวนมาก
มนุษย์ได้ใช้ประโยชน์มากมายจากทะเลไม่ว่าจะเป็นอาหารจาพวกโปรตีน
การใช้เป็นเส้นทางคมนาคมที่สะดวกและประหยัดหรือทรัพยากรใต้ทะเลจาพวกน้ามันก๊าซธรรมชาติและแร่ธาตุอื่นๆ
ที่ขุดเจาะมาใช้ประโยชน์เช่นแมงกานีสดีบุก อย่างไรก็ตามแม้ว่าทะเลจะเป็นแหล่งน้าขนาดใหญ่
สามารถใช้ประโยชน์ได้หลายอย่างแต่เนื่องจากมีแร่ธาตุสะสมอยู่เป็นจานวนมากจึงทาให้น้าทะเลมีรสเค็ม
ดังนั้นบริเวณที่ขาดแคลนน้าจืดที่อยู่ใกล้กับทะเล
จึงพยายามนาน้าทะเลมาแปรสภาพให้กลายเป็นน้าจืดเพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภคในครัวเรือนกิจการอุตสาหกรรม
การชลประทานแต่ค่าใช้จ่ายในการทาน้าทะเลให้เป็นน้าจืดนั้นราคาแพงกว่าการทาน้าจืดให้บริสุทธิ์
4. แหล่งน้าจากฟ้ าน้าจากฟ้ าหรือน้าฝนเป็นน้าโดยตรงที่ได้รับจากการกลั่นของไอน้าในบรรยากาศ
น้าฝนเป็นแหล่งน้าจืดที่สาคัญที่มนุษย์ใช้ในการอุปโภคบริโภคอีกชนิดหนึ่งในประเทศไทยพบว่า
ปริมาณน้าฝนที่ตกในแต่ละปีประมาณ 800,000 ล้านลูกบาศก์เมตรและเป็นน้าท่าประมาณ 200,000
ล้านลูกบาศก์เมตรที่เหลือไหลลงสู่ใต้ดินและระเหยคืนสู่บรรยากาศปริมาณน้าที่สามารถเก็บกักไว้ได้ในรูปของอ่างเก็บน้า
ทั้งที่เป็นของกรมชลประทานและการไฟฟ้ าฝ่ายผลิตรวมกันประมาณ 60,000 ล้านลูกบาศก์เมตร
(สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม,2536) ปริมาณน้าจืดที่ได้จากน้าฝนในแต่ละบริเวณจะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับ
(1) สภาพลมฟ้ าอากาศ
(2) ลักษณะภูมิประเทศ
(3) ทิศทางของลม
(4) ความสม่าเสมอของฝนที่ตก
(5) การกระจายของปริมาณน้าฝน
(6) อิทธิพลอื่นๆ เช่นฤดูกาลพื้นที่ป่าไม้
ประโยชน์ของน้า
1. เพื่อการอุปโภคและบริโภค
น้ามีความจาเป็นสาหรับสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ร่างกายของคนเราประกอบด้วยน้าประมาณ 60- 70 %
โดยต้องใช้ในการดื่มประมาณ 2ลิตรต่อวันและใช้ในการบริโภคประมาณ 3ลิตรต่อวันร่างกายของเรายังใช้น้าเพื่อพา
สารอาหารต่างๆไปยังเซลล์เพื่อรักษาโครงสร้างของร่างกายและเพื่อการขับถ่ายของเสีย
รวมทั้งเพื่อระบายความร้อนออกจากความร้อนออกจากร่างกายด้วยนอกจากนี้เรายังใช้น้าในการอุปโภค
ทั้งการทาความสะอาดซักล้างและกิจกรรมอื่นๆองค์การสหประชาชาติประมาณการว่ามีประชากรโลกอีกประมาณ
2,000,000 ล้านคนทั่วโลกที่ขาดแคลนน้าใช้อย่างเพียงพอ
2. เพื่อการเกษตรกรรม
การใช้น้าในการเกษตรกรรมนั้นประมาณว่ามนุษย์ใช้น้าเพื่อการเพาะปลูก70% ของปริมาณน้าที่มนุษย์ใช้ทั้งหมด
เพื่อการผลิตธัญพืชสาหรับการบริโภคส่วนน้าที่ใช้สาหรับการเลี้ยงสัตว์แต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกันไปเช่นโคนมม้า
หมู ไก่ ต้องการน้า20 , 12, 4 , 0.04 แกลลอนต่อตัวต่อวันน้าจึงมีความสาคัญมากในการผลิตอาหารของมนุษย์
3. เพื่อการอุตสาหกรรม
น้าเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆทั้งในส่วนของกระบวนการผลิตโดยตรง
คือ เป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ล้างวัตถุดิบและกิจกรรมต่างๆที่สนับสนุนการผลิตเช่นใช้ในการล้างเครื่องจักร
ล้างพื้นโรงงานและการหล่อเย็นเป็นต้น
อุตสาหกรรมแต่ละประเภทมีความต้องการน้าในปริมาณและคุณภาพที่แตกต่างกันไป
ดังกรณีของโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตเบียร์, เซรามิก,กระดาษมีความจาเป็นที่ต้องใช้ที่มีคุณภาพสูงคือ
ปราศจากสิ่งปนเปื้อนต่างๆจึงจะสามารถผลิตผลงานที่มีคุณภาพได้ดี
4. แหล่งทรัพยากร
แหล่งน้าเป็นแหล่งอาหารที่สาคัญของมนุษย์โดยเฉพาะในทะเลซึ่งเป็นแหล่งทรัพยากรที่ใหญ่ที่สุด
อาหารจากทะเลเป็นอาหารที่สาคัญที่มนุษย์สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้โดยไม่ต้องลงทุน
และทะเลยังเป็นแหล่งเชื้อเพลิงและพลังงานเช่นน้ามันและก๊าซธรรมชาติเป็นต้น
5. เพื่อการคมนาคมขนส่ง
ในอดีตการขนส่งทางน้าเป็นการขนส่งที่สาคัญของมนุษย์และในปัจจุบันก็ยังมีความสาคัญอยู่
โดยเฉพาะการขนส่งระหว่างประเทศคือการขนส่งทางทะเลเพราะสามารถขนส่งได้คราวละมากๆ
และค่าใช้จ่ายยังถูกกว่าการขนส่งทางอากาศมากอีกด้วยสาหรับการขนส่งภายในประเทศนั้น
การขนส่งทางน้าก็ยังคงบทบาทสาคัญโดยเฉพาะระยะทางไกลๆจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าทางบก
6. เพื่อการสร้างพลังงาน
ในการผลิตพลังงานไฟฟ้ านั้น
ค่าใช้จ่ายที่มาจากการผลิตโดยใช้กระแสน้านั้นจะต่ากว่าการผลิตไฟฟ้ าจากแหล่งพลังงานอื่นๆเช่นถ่านหินน้ามัน
นิวเคลียร์ รวมทั้งมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าด้วย
7. เพื่อการนันทนาการ
แหล่งกักเก็บน้าหลายแห่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและพักผ่อนหย่อนใจของมนุษย์เช่นชายฝั่งทะเลทะเลสาบ
แม่น้า ลาคลองน้าตกและลาธารเป็นต้นกิจกรรมของมนุษย์ที่เกี่ยวเนื่องจากสถานที่เหล่านี้มีมากมายเช่นการว่ายน้า
ตกปลาพายเรือเป็นต้นน้าจึงเป็นส่วนหนึ่งในการดารงชีวิต
ปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้า
1. ปัญหาทางด้านปริมาณ
1) การขาดแคลนน้าหรือภัยแล้งสาเหตุที่สาคัญได้แก่
- ป่าไม้ถูกทาลายมากโดยเฉพาะป่าต้นน้าลาธาร
- ลักษณะพื้นที่ไม่เหมาะสมเช่นไม่มีแหล่งน้าดินไม่ดูดซับน้า
- ขาดการวางแผนการใช้และอนุรักษ์น้าที่เหมาะสม
- ฝนตกน้อยและฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน
2) การเกิดน้าท่วมอาจเกิดจากสาเหตุหนึ่งหรือหลายสาเหตุร่วมกันดังต่อไปนี้
- ฝนตกหนักติดต่อกันนานๆ
- ป่าไม้ถูกทาลายมากทาให้ไม่มีสิ่งใดจะช่วยดูดซับน้าไว้
- ภูมิประเทศเป็นที่ลุ่มและการระบายน้าไม่ดี
- น้าทะเลหนุนสูงกว่าปกติทาให้น้าจากแผ่นดินระบายลงสู่ทะเลไม่ได้
- แหล่งเก็บกักน้าตื้นเขินหรือได้รับความเสียหายจึงเก็บน้าได้น้อยลง
2. ปัญหาด้านคุณภาพของน้าไม่เหมาะสมสาเหตุที่พบบ่อยได้แก่
1) การทิ้งสิ่งของและการระบายน้าทิ้งลงสู่แหล่งน้าทาให้แหล่งน้าสกปรกและเน่าเหม็นจนไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้
มักเกิดตามชุมชนใหญ่ๆที่อยู่ใกล้แหล่งน้าหรือท้องถิ่นที่มีโรงงานอุตสาหกรรม
2) สิ่งที่ปกคลุมผิวดินถูกชะล้างและไหลลงสู่แหล่งน้ามากกว่าปกติ มีทั้งสารอินทรีย์สารอนินทรีย์และสารเคมีต่างๆ
ที่ใช้ในกิจการต่างๆซึ่งทาให้น้าขุ่นได้ง่ายโดยเฉพาะในฤดูฝน
3) มีแร่ธาตุเจือปนอยู่มากจนไม่เหมาะแก่การใช้ประโยชน์น้าที่มีแร่ธาตุปนอยู่เกินกว่า 50
พีพีเอ็มนั้นเมื่อนามาดื่มจะทาให้เกิดโรคนิ่วและโรคอื่นได้
4) การใช้สารเคมีที่มีพิษตกค้างเช่นสารที่ใช้ป้ องกันหรือกาจัดศัตรูพืชหรือสัตว์
ซึ่งเมื่อถูกฝนชะล้างลงสู่แหล่งน้าจะก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต
3. ปัญหาการใช้ทรัพยากรน้าอย่างไม่เหมาะสมเช่นใช้มากเกินความจาเป็นโดยเฉพาะเมื่อเกิดภาวะขาดแคลนน้า
หรือการสูบน้าใต้ดินขึ้นมาใช้มากจนดินทรุดเป็นต้น
ปี พ.ศ. 2541 ธนาคารโลกพยากรณ์ว่าน้าในโลกลดลง1ใน 3 ของปริมาณน้าที่เคยมีเมื่อ25 ปีก่อน และในปี
ค.ศ. 2525 หรืออีก 25 ปีข้างหน้า การใช้น้าจะเพิ่มอีกประมาณร้อยละ65 เนื่องจากจานวนประชากรโลกเพิ่มขึ้น
การใช้น้าอย่างไม่ถูกต้องและขาดการดูแลรักษาทรัยากรน้าซึ่งจะเป็นผลให้ประชากรโลกกว่า 3,000 ล้านคนใน 52
ประเทศประสบปัญหาการขาดแคลนน้า
4. ปัญหาความเปลี่ยนแปลงของฟ้ าอากาศ
เนื่องจากปรากฏการณ์เอลนิโน(El Nino) และลานินา(La Nina)
โดยปรากฎการณ์เอลนิโนเป็นปรากฏการณ์ที่ผิดธรรมชาติจะเกิดขึ้นประมาณ 5ปีต่อครั้ง นานครั้งละ8 - 10 เดือน
โดยกระแสน้าอุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกบริเวณเส้นศูนย์สูตรไหลย้อนกลับไปแทนที่กระแสน้าเย็นในมหาสมุทร
แปซิฟิกตะวันออกลงไปถึงชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ (ประเทศเปรู เอกวาดอร์ และชิลีตอนเหนือ)
ทาให้ผิวน้าที่เคยเย็นกลับอุ่นขึ้นและที่เคยอุ่นกลับเย็นลง
เมื่ออุณหภูมิของผิวน้าเปลี่ยนแปลงไปก็จะส่งผลทาให้อุณหภูมิเหนือน้าเปลี่ยนไปด้วยเช่นกัน
เป็นผลให้เกิดความร้อนและความแห้งแล้งในบริเวณที่เคยมีฝนชุก
และเกิดฝนตกหนักในบริเวณที่เคยแห้งแล้งลมและพายุเปลี่ยนทิศทาง
เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดเป็นบริเวณกว้างจึงส่งผลกระทบต่อโลกอย่างกว้างขวาง
สามารถทาลายระบบนิเวศในซีกโลกใต้ รวมทั้งพื้นที่บางส่วนเหนือเส้นศูนย์สูตรได้
สาหร่ายทะเลบางแห่งตายเพราะอุณหภูมิสูง
ปลาที่เคยอาศัยในน้าอุ่นต้องว่ายหนีไปหาน้าเย็นทาให้มีปลาแปลกชนิดเพิ่มขึ้นและหลังการเกิดปรากฎการณ์เอลนิโน
แล้วก็จะเกิดปรากฏการณ์ลานินาซึ่งมีลักษณะตรงกันข้ามตามมา
โดยจะเกิดเมื่อกระแสน้าอุ่นและคลื่นความร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้เคลื่อนย้อนไปทางตะวันตก
ทาให้บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกที่อุณหภูมิเริ่มเย็นจะมีการรวมตัวของไอน้าปริมาณมากทาให้อากาศเย็นลง
เกิดพายุและฝนตกหนักโดยเฉพาะในกลุ่มประเทศอาเซียน
เอล นิโนเคยก่อตัวครั้งใหญ่ในปี พ.ศ. 2525 - 2526 ซึ่งส่งผลทาให้อุณหภูมิผิวน้าสูงกว่าปกติถึง9
องศาฟาเรนไฮต์ทาลายชีวิตมนุษย์ทั่วโลกถึง2,000 คนค่าเสียหายประมาณ481,000 ล้านบาท
ปะการังในทะเลแคริบเบียนเสียความสมดุลไปร้อยละ 50- 97 แต่ในปี พ.ศ. 2540 กลับก่อตัวกว้างกว่าเดิม
ซึ่งคิดเป็นพื้นที่ได้กว้างใหญ่กว่าประเทศสหรัฐอเมริกาโดยเขตน้าอุ่นนอกชายฝั่งประเทศเปรูขยายออกไปไกลกว่า 6,000
ไมล์ หรือประมาณ1 ใน4 ของเส้นรอบโลกอุณหภูมิผิวน้าวัดได้เท่ากันและมีความหนาของน้าถึง 6นิ้ว
ส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เลวร้ายที่สุดในรอบ150 ปี โดยเริ่มแสดงผลตั้งแต่เดือนเมษายน2541
นอกจากนี้ปรากฏการณ์เรือนกระจกและการลดลงของพื้นที่ป่ายังส่งเสริมความรุนแรงของปัญหาอีกด้วย
ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1) ประเทศไทยประสบความร้อนและแห้งแล้งรุนแรงทั่วประเทศฝนตกน้อยหรือตกล่าช้ากว่าปกติ
(ยกเว้นภาคใต้ที่กลางเดือนสิงหาคมเกิดฝนตกหนักจนน้าท่วม)ปริมาณน้าในแม่น้าอ่างเก็บน้าและเขื่อนลดน้อยลงมาก
รวมทั้งบางจังหวัดมีอุณหภูมิในฤดูร้อนสูงมากและเกิดติดต่อกันหลายวันเช่นจังหวัดตากมีอุณหภูมิในเดือนเมษายนพ.ศ.
2541 สูงถึง43.7 องศาเซลเซียสซึ่งนับว่าสูงที่สุดในรอบ67 ปี
นอกจากนี้ยังทาให้ผลผลิตทางการเกษตรโดยเฉพาะไม้ผลลดลง
2) ประเทศอินโดนีเซียประสบความแห้งแล้งทั้งที่อยู่ในเขตมรสุมและมีป่าฝน
เมื่อฝนไม่ตกจึงทาให้ไฟไหม้ป่าที่เกิดขึ้นในเกาะสุมาตราและบอร์เนีบวเผาผลาญป่าไปประมาณ 14ล้านไร่
พร้อมทั้งก่อปัญหามลพิษทางอากาศเป็นบริเวณกว้างมีผู้คนป่วยไข้นับหมื่น
ทัศนวิสัยไม่ดีจนทาให้เครื่องบินสายการบินการูดาตกและมีผู้เสียชีวิต 234คน อีกทั้ง ยังทาให้ผลิตผลการเกษตรตกต่า
โดยเฉพาะเมล็ดกาแฟโรบัสตาที่ส่งออกมากเป็นอันดับหนึ่งได้รับความเสียหายมากเป็นประวัติการณ์
3) ประเทศปาปัวนิวกินีได้รับผลกระทบรุนแรงที่สุดในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมีคนตายจากภัยแล้ง 80
คนและประสบปัญหาแล้งอีกประมาณ 1,000,000 คน
4) ประเทศออสเตรเลียอากาศแห้งแล้งรุนแรงจนต้องฆ่าสัตว์เลี้ยงเพราะขาดแคลนน้าและอาหารซึ่งคาดว่า
ผลผลิตการเกษตรจะเสียหายประมาณ432ล้านเหรียญ
5) ประเทศเกาหลีเหนือปัญหาความแห้งแล้งรุนแรงและอดอยากรุนแรงมากพืชไร่เสียหายมาก
6) ประเทศสหรัฐอเมริกาเกิดพายุเฮอร์ริเคนทางด้านฝั่งตะวันตกมากขึ้น
โดยเฉพาะภาคใต้ของรัฐแคลิฟอร์เนียได้รับภัยพิบัติมากที่สุดส่วนทางฝั่งตะวันออกซึ่งมีเฮอร์ริเคนค่อนข้างมาก
คลื่นลมกลับสงบกว่าปกติ
7) ประเทศเปรูและชิลีเกิดฝนตกหนักและจับปลาได้น้อยลง
(เคยเกิดฝนตกหนักและน้าท่วมในทะเลทรายอะตาคามาประเทศชิลีอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อนทั้งๆ
ที่บริเวณนี้แห้งแล้งมากจนประเทศสหรัฐอเมริกาขอใช้เป็นสถานที่ฝึกนักอวกาศโดยสมมติว่าเป็นพื้นผิวดาวอังคาร)
8) ทวีปแอฟริกาแห้งแล้งรุนแรงพืชไร่อาจเสียหายประมาณครึ่งหนึ่ง
ปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้าในประเทศไทย
1. การขาดแคลนน้าหรือภัยแล้ง
ในหน้าแล้ง ประชากรไทยจะขาดแคลนน้าดื่มน้าใช้จานวน13,000 - 24,000 หมู่บ้านประชากรประมาณ6 -
10 ล้านคนซึ่งโดยส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างการขาดแคลนน้าในระดับวิกฤตจะเกิดเป็นระยะๆ
และรุนแรงขึ้นน้าในเขื่อนสาคัญต่างๆ
โดยเฉพาะเขื่อนภูมิพลมีปริมาณเหลือน้อยจนเกือบจะมีผลกระทบต่อการผลิตกระแสไฟฟ้ า
และการผลิตน้าประปาสาหรับใช้ในหลายจังหวัดการลดปริมาณของฝนและน้าที่ไหลลงสู่อ่างเก็บน้า
และการเกิดฝนมีแนวโน้มลดลงทุกภาคประมาณะร้อยละ 0.42 ต่อปี
เป็นสิ่งบอกเหตุสาคัญที่แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มความรุนแรงของภัยแล้ง
สาหรับปริมาณน้าที่ไหลลงสู่อ่างเก็บน้าของเขื่อนและแม่น้าสาคัญเช่นเขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์และแม่น้าเจ้าพระยา
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เป็นต้นมา ก็มีปริมาณลดลงเช่นกันเนื่องจากต้นน้าลาธารถูกทาลายทาให้ฝนและน้าท่าน้อยละ
ขณะเดียวกันความต้องการใช้น้ากลับมีมากและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเช่น
การผลักดันน้าเค็มบริเวณปากแม่น้าเจ้าพระยาและแม่น้าท่าจีนจะต้องใช้น้าจืดประมาณ 2,500 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
การทานาปีใช้ประมาณ4,000 ล้านลูกบาศก์เมตรและการทานาปรังจะใช้ประมาณ 6,000
ล้านลูกบาศก์เมตรโดยมีแนวโน้มของการใช้เพิ่มมากขึ้นทุกปี
2. ปัญหาน้าท่วมหรืออุทกภัย
เกิดจากฝนตกหนักหรือตกติดต่อกันเป็นเวลานานๆเนื่องจากการตัดไม้ทาลายป่า
แหล่งน้าตื้นเขินทาให้รองรับน้าได้น้อยลงการก่อสร้างที่ทาให้น้าไหลได้น้อยลงเช่นการก่อสร้างสะพาน
นอกจากนี้น้าท่วมอาจเกิดจากน้าทะเลหนุนสูงขึ้นพื้นดินทรุดตัวเนื่องจากการสูบน้าใต้ดินไปใช้มากเกินไป
พื้นที่เป็นที่ต่าและการระบายน้าไม่ดีและการสูญเสียพื้นที่น้าท่วมขังตัวอย่างได้แก่ การถมคลองเพื่อก่อสร้างที่อยู่อาศัย
รวมทั้งการบุกรุกพื้นที่ชุ่มน้าเช่นกว๊านพะเยาบึงบอระเพ็ดทะเลสาบสงขลาและหนองหาร
จังหวัดสกลนครเพื่อใช้ประโยชน์อย่างอื่น
3. เกิดมลพิษทางน้าและระบบนิเวศถูกทาลาย
โดยส่วนใหญ่แล้วน้าจะเกิดการเน่าเสียเพราะการเจือปนของอินทรียสารสารพิษตะกอน
สิ่งปฏิกูลและน้ามันเชื้อเพลิงลงสู่แหล่งน้าซึ่งมีผลให้พืชและสัตว์น้าเป็นอันตรายเช่นการที่ปะการังตัวอ่อนของสัตว์น้า
และปลาที่เลี้ยงตามชายฝั่งบริเวณเกาะภูเก็ตตายหรือเจริญเติบโตผิดปกติเพราะถูกตะกอนจากการทาเหมืองแร่ทับถม
เนื่องจากตะกอนจะไปอุดตันช่องเหงือกทาให้ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
4. แหล่งน้าตื้นเขิน
ดินและตะกอนดินที่ถูกชะล้างลงสู่แหล่งน้านั้นทาให้แหล่งน้าตื้นเขินและเกิดน้าท่วมได้ง่าย
ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการเดินเรือและยังเป็นผลเสียต่อการดารงชีวิตของสัตว์น้าโดยเฉพาะบริเวณอ่าวไทยตอนบน
โดยในแต่ละปีตะกอนดินถูกพัดพาไปทับถมกันมากถึงประมาณ 1.5ล้านตัน
5. การสูบน้าใต้ดินไปใช้มากจนแผ่นดินทรุดตัว
ชาวกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้ง6จังหวัดใช้น้าบาดาลจานวนมากเมื่อปี 2538 พบว่า
ใช้ประมาณวันละ1.5 ล้านลูกบาศก์เมตรภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจใช้ประมาณวันละ 1.2ล้านลูกบาศก์เมตร
ทาให้ดินทรุดตัวลงทีละน้อยและทาให้เกิดน้าท่วมขังได้ง่ายขึ้น
หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรน้า
การอนุรักษ์น้าหมายถึงการป้ องกันปัญหาที่พึงจะเกิดขึ้นกับน้า
และการนาน้ามาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการดารงชีพของมนุษย์
การแก้ปัญหาการสูญเสียทรัพยากรน้า
1.การปลูกป่า
โดยเฉพาะการปลูกป่าบริเวณพื้นที่ต้นน้าหรือบริเวณพื้นที่ภูเขาเพื่อให้ต้นไม้เป็นตัวกักเก็บน้าตามธรรมชาติ
ทั้งบนดินและใต้ดินแล้วปลดปล่อยออกมาอย่างต่อเนื่องตลอดปี รวมทั้งยังสามารถป้ องกันปัญหาอื่นๆได้ เช่น
ปัญหาการพังทลายของดินปัญหาการขาดแคลนน้าและการเกิดน้าท่วม
2.การพัฒนาแหล่งน้า
เนื่องจากปัจจุบันแหล่งน้าธรรมชาติต่างๆเกิดสภาพตื้นเขินเป็นส่วนใหญ่
ทาให้ปริมาณน้าที่จะกักขังไว้มีปริมาณลดลง
การพัฒนาแหล่งน้าเพื่อให้มีน้าเพียงพอจึงจาเป็นต้องทาการขุดลอกแหล่งน้าให้กว้างและลึกใกล้เคียงกับสภาพเดิมหรือมา
กกว่าตลอดจนการจัดหาแหล่งน้าเพิ่มเติมอาจจะกระทาโดยการขุดเจาะน้าบาดาลมาใช้
ซึ่งต้องระวังปัญหาการเกิดแผ่นดินทรุดหรือการขุดเจาะแหล่งน้าผิวดินเพิ่มเติม
3.การสงวนน้าไว้ใช้
เป็นการวางแผนการใช้น้าเพื่อให้มีปริมาณน้าที่มีคุณภาพมาใช้ประโยชน์ตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง
ด้วยวิธีการต่างๆเช่นการทาบ่อหรือสระเก็บน้าการหาภาชนะขนาดใหญ่เพื่อกักเก็บน้าฝน(เช่นโอ่งหรือแท็งก์น้า)
รวมทั้งการสร้างอ่างเก็บน้าและระบบชลประทาน
4.การใช้น้าอย่างประหยัด
เป็นการนาน้ามาใช้ประโยชน์หลายอย่างอย่างต่อเนื่องและเกิดประโยชน์สูงสูด
ทั้งด้านการอนุรักษ์น้าและตัวผู้ใช้น้าเองกล่าวคือสามารถลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้าลงได้
ปริมาณน้าเสียที่จะทิ้งลงแหล่งน้ามีปริมาณน้อยลงและป้ องกันปัญหาการขาดแคลนน้า
5.การป้ องกันการเกิดมลพิษของน้า
ปัญหาส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในเมืองใหญ่ ๆซึ่งมีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นหรือย่านอุตสาหกรรม
การป้ องกันปัญหามลพิษของน้าจะต้องอาศัยกฎหมายเป็นเครื่องมือ
และเจ้าหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรน้าอย่างเคร่งครัด
น้าเสียที่ระบายจากโรงงานอุตสาหกรรมโรงพยาบาล
ต้องควบคุมอย่างจริงจังและบังคับให้มีการบาบัดน้าเสียก่อนทิ้งหรือปล่อยลงสู่แหล่งน้าสาหรับประชาชนทั่วไป
สามารถช่วยป้ องกันการเกิดน้าเน่าเสียได้ ด้วยการไม่ทิ้งขยะหรือสิ่งปฏิกูลหรือสารพิษลงสู่แหล่งน้า
6.การนาน้าที่ใช้แล้วกลับไปใช้ใหม่
น้าที่ถูกนาไปใช้แล้วในบางครั้งยังมีสภาพที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ด้านอื่นได้ เช่น
น้าจากการล้างภาชนะอาหารสามารถนาไปใช้รดน้าต้นไม้ หรือน้าจากการซักผ้าสามารถนาไปถูบ้าน
สุดท้ายนาไปใช้รดน้าต้นไม้ เป็นต้นสาหรับกิจการของโรงงานอุตสาหกรรมน้าที่เกิดจากกระบวนการผลิตซึ่งมีอุณหภูมิสูง
เมื่อปล่อยทิ้งไว้ให้เย็น
สามารถนาไปใช้ใหม่ได้้แม้แต่น้าเสียเมื่อผ่านระบบบาบัดสามารถนาไปใช้ในกิจกรรมบางอย่างของโรงงานได้ เช่น
การทาความสะอาดโรงงาน อุปกรณ์เครื่องมือบางอย่าง
ข้าวเหนียว
1. แหล่งปลูก
1.1 สภาพพื้นที่
• พื้นที่นาอาศัยน้าฝนทุกภาคของประเทศ
• เป็นพื้นที่ที่มีปริมาณน้าฝนเพียงพอตลอดฤดูปลูก
• ห่างไกลจากแหล่งมลพิษ
• การคมนาคมสะดวก
1.2 ลักษณะดิน
• ดินทรายร่วนถึงดินเหนียว
• ดินควรมีความอุดมสมบูรณ์พอควรและเก็บกักน้าได้ดี
• ไม่เป็นดินที่เป็นปัญหาต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตเช่นดินเค็มดินเปรี้ยวและดินพรุ
1.3 สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศในประเทศไทยโดยทั่วไปเหมาะต่อการปลูกข้าว
อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตประมาณ20-35องศาเซลเซียส
และมีช่วงแสงที่เหมาะสมต่อการชักนาให้เกิดการออกดอกสาหรับข้าวไวต่อช่วงแสง
กล่าวคือช่วงวันสั้นเป็นปัจจัยชักนาให้ข้าวกาเนิดช่อดอก
2. พันธุ์
2.1 การเลือกพันธุ์
• มีลักษณะเมล็ดและคุณภาพหุงต้มที่ดีตามความต้องการของผู้บริโภค
• เจริญเติบโตได้ดีในสภาพแวดล้อมของนาอาศัยน้าฝน
• ควรเลือกพันธุ์ที่ออกดอกก่อนการสิ้นสุดของฝน
• ควรมีความต้านทานต่อโรคและแมลงที่สาคัญในแต่ละพื้นที่
• ควรมีความทนแล้งและสามารถฟื้นตัวได้เร็ว
2.2 พันธุ์ข้าวที่เหมาะต่อสภาพนาอาศัยน้าฝน
พันธุ์ข้าวนาสวนนาน้าฝนส่วนใหญ่เป็นข้าวต้นสูงมีทั้งข้าวเหนียวและข้าวเจ้าที่ไวต่อช่วงแสง
จึงเหมาะที่จะปลูกในฤดูนาปี อย่างไรก็ตาม
ข้าวที่ไม่ไวต่อช่วงแสงบางพันธุ์สามารถนามาปลูกในสภาพนาน้าฝนแต่ต้องกาหนดวันปลูกให้เหมาะสมและสอดคล้องกับ
สภาพน้าในแปลงนาและการสิ้นสุดของฤดูฝนดังกล่าวข้างต้น
2.2.1 พันธุ์ข้าวเหนียว
3. การปลูก
3.1 ฤดูปลูก
• เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพดีจาเป็นต้องวางแผนการปลูกที่เหมาะสมดังนี้
ภาคเหนือ ควรปลูกตั้งแต่เดือนกรกฎาคมและเก็บเกี่ยวถึงเดือนพฤศจิกายน
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ควรปลูกตั้งแต่เดือนกรกฎาคมและเก็บเกี่ยวถึงเดือนพฤศจิกายน
ภาคกลาง ควรปลูกตั้งแต่เดือนมิถุนายนและเก็บเกี่ยวถึงเดือนธันวาคม
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก ควรปลูกตั้งแต่เดือนกันยายนและเก็บเกี่ยวถึงเดือนกุมภาพันธ์
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ควรปลูกตั้งแต่เดือนกรกฎาคมและเก็บเกี่ยวถึงเดือนพฤศจิกายน
3.2 การเตรียมเมล็ดพันธุ์
• ใช้เมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่เชื่อถือได้ เช่นศูนย์บริการวิชาการและปัจจัยการผลิต(สถานีทดลองข้าวเดิม)ศูนย์วิจัยข้าว
ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวกรมการข้าวและศูนย์ขยายพันธุ์พืชกรมส่งเสริมการเกษตร
• หากใช้เมล็ดพันธุ์ของเกษตรกรต้องเป็นเมล็ดพันธุ์ที่บริสุทธิ์ตรงตามพันธุ์สะอาดมีความงอกไม่น้อยกว่า 80เปอร์เซ็นต์
ปราศจากเมล็ดวัชพืชและไม่มีโรคแมลงทาลาย
• ปลูกโดยวิธีปักดาใช้เมล็ดพันธุ์5-7 กิโลกรัมตกกล้าเพื่อปักดาในพื้นที่1ไร่
• ปลูกโดยวิธีหว่านข้าวแห้งใช้อัตราเมล็ดพันธุ์15-20กิโลกรัมต่อไร่
• ปลูกวิธีหว่านน้าตมใช้เมล็ดพันธุ์15-20 กิโลกรัมต่อไร่
• สาหรับการปลูกโดยวิธีปักดาหรือหว่านน้าตมนาเมล็ดพันธุ์ใส่ถุงผ้าดิบหรือกระสอบป่านแช่น้า 24 ชั่วโมงแล้วนาไปหุ้ม
36-48 ชั่วโมงโดยวางกลางแดดคลุมด้วยกระสอบป่านหมั่นรถน้าให้กระสอบเปียก
3.3 การเตรียมดินและวิธีปลูก
• ปรับระดับผิวดินให้เรียบสม่าเสมอเสริมคันนาให้แข็งแรงสามารถเก็บกักน้าฝนได้ดี
ถ้าต้องการเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินให้ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้
• ไม่เผาฟางข้าวควรไถกลบตอซังและฟางข้าวหลังเก็บเกี่ยว
• หว่านปุ๋ ยหมักหรือปุ๋ ยคอกที่ย่อยสลายดีแล้วอัตรา 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ก่อนเตรียมดิน
• ควรปลูกพืชปุ๋ ยสดเช่นโสนอัฟริกันอัตราเมล็ดพันธุ์5กิโลกรัมต่อไร่ ก่อนปลูกข้าวประมาณ 2เดือน
ไถกลบเมื่อพืชปุ๋ ยสดมีอายุประมาณ50 วัน
3.3.1 การปลูกโดยวิธีปักดามี2 ขั้นตอน
การตกกล้า
• เตรียมแปลงตกกล้าโดยไถดะทิ้งไว้ 7-15 วันไถแปร เอาน้าเข้าแช่ขี้ไถคราดปรับระดับผิวดินแล้วทาเทือก
• แบ่งแปลงย่อยกว้างประมาณ1-2เมตร ยาวตามความยาวของแปลงทาร่องน้าระหว่างแปลงกว้างประมาณ30
เซนติเมตรแล้วระบายน้าออก
• หว่านเมล็ดข้าวที่เตรียมไว้ (ตามข้อ3.2) บนแปลงให้สม่าเสมอใช้อัตราเมล็ดพันธุ์50-70 กรัมต่อตารางเมตร
• อย่าให้น้าท่วมแปลงกล้าแต่ให้มีความชื้นเพียงพอสาหรับการงอกเพิ่มระดับน้าตามการเจริญเติบโตของต้นข้าว
อย่าให้น้าท่วมต้นข้าวและไม่เกิน5เซนติเมตร จากระดับผิวดิน
การปักดา
• เตรียมแปลงปักดาโดยไถดะทิ้งไว้ 7-15 วันไถแปร เอาน้าเข้าแช่ขี้ไถคราดปรับระดับผิวดินแล้วทาเทือก
รักษาระดับน้าในแปลงปักดาประมาณ5เซนติเมตรจากผิวดิน
• ปักดาโดยใช้ต้นกล้าอายุประมาณ25 วัน
• ไม่ควรตัดใบกล้ายกเว้นในกรณีจาเป็นเช่นปักดากล้าอายุมาก
• ระยะปักดา20 x 20 เซนติเมตรจานวน 3-5 ต้นต่อกอ ถ้าใช้กล้าอายุมากกว่า30วันควรใช้กล้า5-6 ต้นต่อกอ
• อย่าปล่อยให้ต้นข้าวขาดน้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงกาเนิดช่อดอกถึงออกรวง
• ก่อนเก็บเกี่ยว10 วันถ้ามีน้าขังให้ระบายน้าออก
3.3.2 การปลูกโดยวิธีหว่านข้าวแห้ง
• เตรียมแปลงหว่านข้าวแห้งโดยการไถดะทิ้งไว้ 7-15 วันไถแปร 1-2 ครั้งให้ขี้ไถสม่าเสมอปราศจากวัชพืช
• หว่านเมล็ดข้าวแห้งให้สม่าเสมอทั่วแปลงใช้อัตราเมล็ดพันธุ์20-25 กิโลกรัมต่อไร่แล้วคราดกลบ
3.3.3 การปลูกโดยวิธีหยอด
หยอดเป็นหลุม
• เตรียมแปลงนาหยอดโดยการไถดะทิ้งไว้ 7-15 วันไถแปร1-2 ครั้ง ให้ขี้ไถ สม่าเสมอปราศจากวัชพืช
เช่นเดียวกับวิธีหว่านข้าวแห้ง
• ใช้ไม้กระทุ่งดินให้ลึก4-5 ซม. ระยะห่างระหว่างหลุม20-25 ซม. หลุมหนึ่งหยอด4-5 เมล็ด แล้วกลบอัตราเมล็ดพันธุ์
8-10 กิโลกรัมต่อไร่ การหยอดเป็นหลุมอาจใช้เครื่องหยอดที่ใช้คนลากหรือติดกับรถไถเดินตามหยอดเป็นแถว
• เตรียมดินเช่นเดียวกับวิธีหยอดหลุมหรือวิธีหว่านข้าวแห้งทาร่องลึกประมาณ 4-5ซม.ให้ห่างกันประมาณ4-5 ซม.
ใช้คนโรยตามร่องอัตราเมล็ดพันธุ์10-15 กิโลกรัมต่อไร่
การหยอดเป็นแถวอาจใช้เครื่องหยอดติดรถไถเดินตามแล้วกลบเมล็ด
4. การดูแลรักษา
4.1 การให้ปุ๋ ยเคมี
4.1.1 นาดา
ข้าวพันธุ์ไวต่อช่วงแสง
ครั้งที่ 1
สาหรับดินเหนียวใส่ปุ๋ ยสูตร16-20-0หรือ 18-22-0 หรือ 20-20-0 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ หว่านก่อนปักดา1
วันแล้วคราดกลบหรือหว่านหลังปักดา 15-20วันสาหรับดินร่วนและดินทรายใส่ปุ๋ ยสูตร 16-16-8 อัตรา 20
กิโลกรัมต่อไร่ หว่านก่อนปักดาแล้วคราดกลบหรือหว่านหลังปักดา15-20 วัน
ครั้งที่ 2
สาหรับดินทุกประเภทใส่ปุ๋ ยสูตร46-0-0 อัตรา5 กิโลกรัมต่อไร่ หรือสูตร21-0-0 อัตรา10 กิโลกรัมต่อไร่
ที่ระยะกาเนิดช่อดอกหรือ30 วันก่อนข้าวออกดอก
ข้าวพันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง
ครั้งที่ 1
ใส่ปุ๋ ยสูตร16-20-0 หรือ18-22-0 หรือ20-20-0 อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ สาหรับดินเหนียว
สาหรับดินร่วนและดินทรายใส่ปุ๋ ยสูตร16-16-8ในอัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ หว่านก่อนปักดาแล้วคราดกลบ
หรือหว่านหลังปักดา15-20 วัน
ครั้งที่ 2
สาหรับดินทุกประเภทใส่ปุ๋ ยสูตร46-0-0 อัตรา10 กิโลกรัมต่อไร่ หรือสูตร21-0-0 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่
ที่ระยะกาเนิดช่อดอกหรือ30 วันก่อนข้าวออกดอก
4.1.2 นาหว่านข้าวแห้งและนาหยอด
ข้าวพันธุ์ไวต่อช่วงแสง
ครั้งที่ 1
สาหรับดินเหนียวใส่ปุ๋ ยสูตร16-20-0หรือ 18-22-0 หรือ 20-20-0 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่
หลังจากข้าวงอกแล้ว20-30วันหรือรอจนกว่ามีน้าพอละลายปุ๋ ยได้
สาหรับดินร่วนและดินทรายใส่ปุ๋ ยสูตร 16-16-8อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ หลังข้าวงอกแล้ว20-30วัน
หรือรอจนกว่ามีน้าละลายปุ๋ ยได้
ครั้งที่ 2
สาหรับดินทุกประเภทใส่ปุ๋ ยสูตร46-0-0 อัตรา5 กิโลกรัมต่อไร่ หรือสูตร21-0-0 อัตรา10 กิโลกรัมต่อไร่
ที่ระยะกาเนิดช่อดอกหรือ30 วันก่อนข้าวออกดอก
ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง
ครั้งที่ 1
สาหรับดินเหนียวใส่ปุ๋ ยสูตร16-20-0หรือ 18-22-0 หรือ 20-20-0 อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ หลังข้าวงอก30
วันสาหรับดินร่วนและดินทรายใส่ปุ๋ ยสูตร 16-16-8หรือ 18-12-6 อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ หลังจากข้าวงอกแล้ว 30วัน
ครั้งที่ 2
สาหรับดินทุกประเภทให้ปุ๋ ยสูตร46-0-0 อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ หรือสูตร21-0-0 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่
ที่ระยะกาเนิดช่อดอกหรือ30 วันก่อนข้าวออกดอก
4.2 การให้ปุ๋ ยอินทรีย์
ในดินทั่ว ๆ ไปการให้ปุ๋ ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ ยเคมีจะได้ผลดีที่สุดใช้ปุ๋ ยคอกหรือปุ๋ ยหมักอัตรา 500 กิโลกรัมต่อไร่
ขึ้นไป โดยให้ปุ๋ ยก่อนปลูกข้าว15-20 วันสาหรับปุ๋ ยพืชสด
• โสนอัฟริกันหรือโสนอินเดียปลูกก่อนปลูกข้าวในอัตรา5กิโลกรัมต่อไร่ ตัดหรือไถกลบเมื่อโสนอายุ 60-70
วัน (ยกเว้นนาหยอดและนาหว่านข้าวแห้ง) โดยไถกลบก่อนปักดา 15-20วัน
• กระถินยักษ์และแคฝรั่งใช้ใบและยอดอ่อนในอัตรา 600-1,200 กิโลกรัมต่อไร่ ก่อนปักดา15-20 วัน
• พืชตระกูลถั่วอัตรา10 กก./ไร่ ตัดหรือไถกลบหลังจากปลูก50วัน
4.3 การอนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติ
ศัตรูธรรมชาติในนาข้าวแบ่งออกเป็น3 กลุ่ม
1. ตัวเบียนเป็นพวกที่อาศัยและเกาะกินแมลงศัตรูข้าวเพื่อการดารงชีพ
แบ่งเป็นตัวเบียนภายนอกและตัวเบียนภายในตัวเบียนทาลายแมลงศัตรูข้าวมีทุกระยะการเติบโตไม่ว่าระยะไข่ตัวอ่อน
และตัวเต็มวัยตัวอย่างของศัตรูธรรมชาติในกลุ่มนี้ได้แก่ แตนเบียนไข่ของหนอนกอข้าวและแมลงบั่ว
แตนเบียนหนอนห่อใบข้าว และแมลงวันก้นขนทาลายหนอนกอข้าวเป็นต้น
2. ตัวห้าเป็นพวกที่จับกินหรือดูดกินแมลงศัตรูข้าวเพื่อการดารงชีพ
ตัวห้าทาลายแมลงศัตรูข้าวมีทุกระยะการเจริญเติบโตไม่ว่าระยะไข่ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย
ตัวอย่างของแมลงศัตรูข้าวในกลุ่มนี้ได้แก่ แมงมุมสุนัขป่ามวนเขียวดูดไข่และแมลงปอเป็นต้น
3. โรคของแมลงเป็นพวกเชื้อโรคได้แก่ เชื้อราบักเตรี ไวรัสไส้เดือนฝอยและโปรโตซัว
ซึ่งพบว่าทาให้แมลงศัตรูข้าวตาย
4.4 แนวทางในการปฏิบัติเพื่อใช้ประโยชน์จากศัตรูธรรมชาติในนาข้าวมีดังนี้
1.ใช้วิธีการป้ องกันกาจัดแมลงศัตรูข้าวแบบผสมผสานคือการใช้วิธีการป้ องกันกาจัดหลายวิธีร่วมกัน
เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารฆ่าแมลงในการป้ องกันกาจัดแมลงศัตรูข้าวแต่เพียงวิธีเดียวควรใช้ วิธีการอย่างอื่นร่วมด้วยเช่น
ใช้ข้าวพันธุ์ต้านทานต่อแมลงศัตรูนั้นๆทาให้ลดการใช้สารฆ่าแมลงลงได้
หรืออาจไม่ต้องใช้เลยซึ่งมีผลทาให้ศัตรูธรรมชาติในนาเพิ่มมากขึ้นทั้งชนิดและปริมาณเกิดสมดุลทางธรรมชาติ
และไม่เกิดการระบาดของแมลงศัตรูในนาข้าว
2. ถ้าจาเป็นต้องใช้สารฆ่าแมลงเป็นทางเลือกสุดท้ายและใช้สารฆ่าแมลงที่มีพิษน้อยต่อศัตรูธรรมชาติ
ใช้เฉพาะพื้นที่ที่ถูกแมลงศัตรูข้าวทาลายไม่ควรใช้สารฆ่าแมลงเพื่อป้ องกันไว้ก่อนทั้งๆที่ยังไม่มีแมลงทาลาย
หรือทาลายน้อยไม่ถึงระดับที่จะสูญเสียผลผลิตข้าว
เพื่อหลีกเลี่ยงการทาลายศัตรูธรรมชาติและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในนาข้าว
5. สุขลักษณะและความสะอาด
• กาจัดวัชพืชในนาและบนคันนา
• อุปกรณ์ต่างๆ เช่นมีด จอบ เคียวเครื่องพ่นสารป้ องกันกาจัดศัตรูพืชหลังใช้งานแล้วต้องทาความสะอาด
หากเกิดชารุดต้องซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน
• เก็บสารเคมีป้ องกันกาจัดศัตรูพืชและปุ๋ ยเคมีในที่ปลอดภัยและใส่กุญแจ
• ภาชนะบรรจุสารเคมีและวัสดุการเกษตรที่ใช้แล้วควรทาลายหรือฝังดิน
6. ศัตรูของข้าวและการป้ องกันกาจัด
6.1 ศัตรูข้าวที่สาคัญและการป้ องกันกาจัด
6.1.1 โรคไหม้
สาเหตุ เชื้อรา
ลักษณะอาการ
ระยะกล้า ใบมีแผลจุดสีน้าตาลคล้ายรูปตาตรงกลางแผลมีสีเทากว้าง 2-5ม.ม. ยาว10-15 ม.ม.
ในกรณีที่โรครุนแรงต้นกล้าข้าวจะแห้งและฟุบตาย
ระยะแตกกอ อาการโรคพบได้บนใบกาบใบข้อต่อของใบและข้อต่อของลาต้น
ขนาดของแผลใหญ่กว่าระยะกล้าแผลลุกลามติดต่อกันได้
แผลบริเวณข้อต่อใบมีลักษณะแผลช้าสีน้าตาลดาและใบมักหลุดจากข้อต่อใบ
ระยะคอรวง ถ้าเป็นโรคในระยะต้นข้าวเริ่มให้รวงเมล็ดจะลีบแต่ถ้าเป็นโรคที่ระยะต้นข้าวให้รวงแล้ว
คอรวงจะปรากฏแผลช้าสีน้าตาลทาให้รวงข้าวหักง่ายและหลุดร่วงก่อให้เกิดความเสียหายมาก
การแพร่ระบาด
เกิดจากสปอร์ของเชื้อราปลิวไปตามลมหรือติดไปกับเมล็ดและเศษฟางข้าว
ช่วงเวลาระบาด
• อากาศเย็นมีน้าค้างบนใบข้าวจนถึงเวลาสายหรือมีหมอกจัดติดต่อกันหลายวัน
การป้ องกันกาจัด
• ใช้พันธุ์ต้านทานได้แก่ เหนียวสันป่าตองเหนียวอุบล 2 หางยี71 สันป่าตอง 1 สุรินทร์ 1
• กาจัดพืชอาศัยรอบคันนาเช่นหญ้าชันกาดหญ้าขนหญ้าไซเป็นต้น
• ให้ปุ๋ ยไนโตรเจนตามคาแนะนา
• ตรวจแปลงนาอยู่เสมอถ้าพบอาการของโรคประมาณ 10% ของพื้นที่ใบ3 ใบบนโดยเฉพาะ
เมื่ออากาศเย็นมีหมอกและน้าค้างต่อเนื่องจนถึงเวลาสายควรพ่นสารป้ องกันกาจัดโรคพืช ตามคาแนะนาในตารางที่1
6.1.2 โรคขอบใบแห้ง
สาเหตุเชื้อแบคทีเรีย
ลักษณะอาการ
ระยะกล้ามีจุดเล็กลักษณะฉ่าน้าที่ขอบใบล่างต่อมา 7-10 วันจุดขยายเป็นทางสีเหลืองยาวตามใบ
ใบแห้งเร็วส่วนที่ยังมีสีเขียวเปลี่ยนเป็นสีเทาถ้าอาการรุนแรงต้นข้าวอาจเหี่ยวตายทั้งต้น
หากนาต้นกล้าที่ได้รับเชื้อไปปักดาต้นกล้าจะเหี่ยวตายในเวลาอันรวดเร็ว
ระยะปักดาโดยทั่วไปต้นข้าวจะแสดงอาการหลังปักดาแล้ว 4-6สัปดาห์ขอบใบมีรอยขีดช้า
ต่อมาเปลี่ยนเป็นสีเหลืองบางครั้งพบหยดแบคทีเรียบริเวณแผลแผลมักขยายอย่างรวดเร็วไปตามความยาวของใบ
ถ้าแผลขยายไปตามกว้างขอบแผลด้านในจะไม่เรียบต่อมาแผลจะเปลี่ยนเป็นสีเทาและแห้ง
ช่วงเวลาระบาด
เมื่อฝนตกพราติดต่อกันหลายวันระดับน้าในนาสูงหรือเมื่อเกิดน้าท่วม
การป้ องกันกาจัด
• ในแปลงที่เป็นโรคไถกลบตอซังข้าวทันทีหลังการเก็บเกี่ยว
• กาจัดพืชอาศัยรอบคันนาเช่นข้าวป่าและหญ้าไซเป็นต้น
• ใช้พันธุ์ข้าวค่อนข้างต้านทานเช่นเหลืองประทิว 123 พัทลุง 60 พิษณุโลก60 -1
• ควรงดให้ปุ๋ ยไนโตรเจน
• ไม่ระบายน้าจากแปลงนาที่เป็นโรคสู่แปลงข้างเคียง
6.1.3 โรคเมล็ดด่าง
สาเหตุเชื้อราหลายชนิด
ลักษณะอาการ
อาการที่เด่นชัดคือรวงข้าวด่างดาเมล็ดมีรอยแผลเป็นจุดสีน้าตาลดาลายสีน้าตาลหรือเมล็ดมีสีเทาปนชมพู
บางเมล็ดลีบและมีสีน้าตาลดาทาให้ผลผลิตและคุณภาพของข้าวเสียหายมาก
ช่วงเวลาระบาดช่วงที่ดอกข้าวเริ่มโผล่จากกาบใบธงโดยเฉพาะเมื่อฝนตกชุก
ความชื้นในอากาศสูงมีหมอกจัดติดต่อกันหลายวัน
การป้ องกันกาจัด
• ในแหล่งที่มีโรคนี้ระบาดเป็นประจาควรหลีกเลี่ยงการปลูกข้าวพันธุ์อ่อนแอ
• ใช้เมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่ไม่เป็นโรคหากไม่มีทางเลือก
ควรคลุกเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูกด้วยสารป้ องกันกาจัดโรคพืชตามคาแนะนาในตารางที่ 1
• ในระยะข้าวเริ่มออกรวงหากพบจุดบนใบประกอบกับมีฝนตกและความชื้นสูง
ควรพ่นสารป้ องกันกาจัดโรคพืชตามคาแนะนาในตารางที่1
6.1.4 โรคกาบใบแห้ง
สาเหตุเชื้อรา
ลักษณะอาการ
พบตั้งแต่ระยะแตกกอถึงเก็บเกี่ยวแผลเกิดที่กาบใบใกล้ระดับน้ามีสีเขียวปนเทาขอบแผลมีสีน้าตาลขนาด 1-4x
2-10 ม.ม. แผลอาจขยายใหญ่มากขึ้นและลุกลามขึ้นไปตามกาบใบใบข้าวและกาบใบธง
ใบและกาบใบเหี่ยวและแห้งตายถ้าข้าวแตกกอมากต้นเบียดกันแน่นโรคจะระบาดรุนแรงมากขึ้น
ช่วงเวลาระบาด
เมื่อความชื้นและอุณหภูมิสูง
การป้ องกันกาจัด
• กาจัดวัชพืชตามคันนาและแหล่งน้าเพื่อลดแหล่งสะสมของเชื้อโรค
• ใช้ระยะปักดาและอัตราเมล็ดพันธุ์ตามคาแนะนา
• ให้ปุ๋ ยไนโตรเจนตามคาแนะนาในข้อ4.1
• เมื่อเริ่มพบแผลบนกาบใบที่5 นับจากยอดใช้สารป้ องกันกาจัดเชื้อราตามคาแนะนา
6.1.5 โรคถอดฝักดาบ
สาเหตุ เชื้อรา
ลักษณะอาการ
ในระยะกล้าต้นกล้าจะแห้งตายหลังจากปลูกได้ไม่เกิน7วันแต่มักพบกับข้าวอายุเกิน15 วัน
ข้าวเป็นโรคจะผอมสูงเด่นกว่ากล้าข้าวโดยทั่วๆไปต้นข้าวผอมมีสีเขียวอ่อนซีดมักย่างปล้อง
มีรากเกิดขึ้นที่ข้อต่อของลาต้นส่วนที่ย่างปล้อง
บางกรณีข้าวจะไม่ย่างปล้องแต่รากจะเน่าช้าเวลาถอนกล้ามักจะขาดตรงบริเวณโคนต้นถ้าเป็นรุนแรงกล้าข้าวจะแห้งตาย
หากไม่รุนแรงอาการจะแสดงหลังจากย้ายไปปักดาได้ 15-45วันโดยที่ต้นเป็นโรคจะสูงกว่าต้นข้าวปกติใบมีสีเขียวซีด
เกิดรากแขนงที่ข้อลาต้นตรงระดับน้าบางครั้งพบกลุ่มเส้นใยสีชมพูบริเวณข้อที่ย่างปล้องขึ้นมา
ต้นข้าวที่เป็นโรคมักตายและมีน้อยมากที่อยู่รอดจนถึงออกรวงเชื้อราสาเหตุโรคนี้จะติดไปกับเมล็ดข้าว
สามารถมีชีวิตในซากต้นข้าวและในดินได้เป็นเวลาหลายเดือนนอกจากนี้ยังพบว่าหญ้าชันกาดเป็นพืชอาศัยของโรคนี้
การป้ องกันกาจัด
• หลีกเลี่ยงการนาเมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่เคยเป็นโรคระบาดมาปลูก
• คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้ องกันกาจัดเชื้อราตามคาแนะนาในตารางที่ 1
• ควรกาจัดต้นที่เป็นโรคด้วยการถอนและเผาไฟ
• เมื่อเกี่ยวข้าวแล้วควรไขน้าเข้านาและไถพรวนปล่อยน้าเข้านาประมาณ 1-2สัปดาห์
เพื่อลดปริมาณเชื้อราสาเหตุโรคที่ตกค้างในดิน
6.1.6 โรคใบวงสีน้าตาล
สาเหตุเชื้อรา
ลักษณะอาการ
ระยะกล้า ข้าวจะแสดงอาการไหม้ที่ปลายใบและมีวงสีน้าตาลเข้ม
ระยะข้าวแตกกออาการส่วนใหญ่จะเกิดบนใบแต่มักจะเกิดแผลที่ปลายใบมากกว่าบริเวณอื่นๆของใบ
แผลบนใบในระยะแรกมีลักษณะเป็นรอยช้ารูปไข่ยาวๆแผลสีน้าตาลปนเทาขอบแผลสีน้าตาลอ่อน
จากนั้นแผลจะขยายใหญ่ขึ้นเป็นรูปวงรีติดต่อกันทาให้เกิดอาการใบไหม้บริเวณกว้างและจะเปลี่ยนเป็นสีฟางข้าว
ในที่สุดแผลจะมีลักษณะเป็นวงซ้อนๆกันลุกลามเข้ามาที่โคนใบมีผลทาให้ใบข้าวแห้งก่อนกาหนด
การป้ องกันกาจัด
• ใช้พันธุ์ข้าวต้านทานเช่นกาผาย15 หางยี71
• กาจัดวัชพืชที่เป็นพืชอาศัยของเชื้อราสาเหตุของโรคเช่นหญ้าชันกาดหญ้าขน
• ในเหล่งที่เคยมีโรคระบาดหรือพบแผลลักษณะอาการดังกล่าวข้างต้นบนใบข้าว
จานวนหนาตาในระยะข้าวแตกกอควรฉีดพ่นสารป้ องกันกาจัดโรคพืชตามคาแนะนาในตารางที่ 1
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
บทคัดย่อ

More Related Content

What's hot

ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordpeter dontoom
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์โทโต๊ะ บินไกล
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2Bios Logos
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับบุญรักษา ของฉัน
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดพัน พัน
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะThanaporn Prommas
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 

What's hot (20)

ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
เค้าโครงโครงงานวิทยาศาสตร์
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
G biology bio2
G biology bio2G biology bio2
G biology bio2
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพดโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง น้ำยาเช็ดกระจกจากแป้งข้าวโพด
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะการพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
การพูดโน้มน้าวใจ เรื่อง ช็อกโกแลตก็มีดีเหมือนกันนะ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 

Viewers also liked

ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมChok Ke
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1Chok Ke
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์Jiraporn
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์Nattanan Thammakhankhang
 
Top 8 math specialist resume samples
Top 8 math specialist resume samplesTop 8 math specialist resume samples
Top 8 math specialist resume samplestonychoper6605
 
Distribution clerk performance appraisal
Distribution clerk performance appraisalDistribution clerk performance appraisal
Distribution clerk performance appraisalkyleannie435
 
Populasi dan Sampel
Populasi dan SampelPopulasi dan Sampel
Populasi dan Sampel085746355268
 
نتيجه السادس الإبتدائي دمياط 2016
نتيجه السادس الإبتدائي دمياط 2016نتيجه السادس الإبتدائي دمياط 2016
نتيجه السادس الإبتدائي دمياط 2016Nour Elbader
 
ở đâu làm video quảng cáo sản phẩm
ở đâu làm video quảng cáo sản phẩmở đâu làm video quảng cáo sản phẩm
ở đâu làm video quảng cáo sản phẩmdarrin870
 
ở đâu làm clip quảng cáo sản phẩm
ở đâu làm clip quảng cáo sản phẩmở đâu làm clip quảng cáo sản phẩm
ở đâu làm clip quảng cáo sản phẩmshane580
 
Planning and Prevention
Planning and PreventionPlanning and Prevention
Planning and PreventionEloine Ashmore
 
Residential Solar Presentation
Residential Solar PresentationResidential Solar Presentation
Residential Solar PresentationKevin Ricer
 
Jeugdzorg is er voor de jeugd!
Jeugdzorg is er voor de jeugd!Jeugdzorg is er voor de jeugd!
Jeugdzorg is er voor de jeugd!Sandra Grep
 

Viewers also liked (20)

ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสมโครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
โครงงานวิทยาศาสตร์ เชื้อเพลิงลูกผสม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
โครงงานวิทยาศาสตร์ ถ่านอัดแท่งสมุนไพร1
 
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
รวมบทคัดย่อโครงงานวิทย์
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
โครงงานกังหันลมพลังงานแสงอาทิตย์
 
Top 8 math specialist resume samples
Top 8 math specialist resume samplesTop 8 math specialist resume samples
Top 8 math specialist resume samples
 
Distribution clerk performance appraisal
Distribution clerk performance appraisalDistribution clerk performance appraisal
Distribution clerk performance appraisal
 
FAIZAN CV-1
FAIZAN CV-1FAIZAN CV-1
FAIZAN CV-1
 
Populasi dan Sampel
Populasi dan SampelPopulasi dan Sampel
Populasi dan Sampel
 
نتيجه السادس الإبتدائي دمياط 2016
نتيجه السادس الإبتدائي دمياط 2016نتيجه السادس الإبتدائي دمياط 2016
نتيجه السادس الإبتدائي دمياط 2016
 
ở đâu làm video quảng cáo sản phẩm
ở đâu làm video quảng cáo sản phẩmở đâu làm video quảng cáo sản phẩm
ở đâu làm video quảng cáo sản phẩm
 
Softener
SoftenerSoftener
Softener
 
Himpunan
HimpunanHimpunan
Himpunan
 
ở đâu làm clip quảng cáo sản phẩm
ở đâu làm clip quảng cáo sản phẩmở đâu làm clip quảng cáo sản phẩm
ở đâu làm clip quảng cáo sản phẩm
 
Planning and Prevention
Planning and PreventionPlanning and Prevention
Planning and Prevention
 
Residential Solar Presentation
Residential Solar PresentationResidential Solar Presentation
Residential Solar Presentation
 
Film name ideas
Film name ideasFilm name ideas
Film name ideas
 
Jeugdzorg is er voor de jeugd!
Jeugdzorg is er voor de jeugd!Jeugdzorg is er voor de jeugd!
Jeugdzorg is er voor de jeugd!
 

บทคัดย่อ

  • 1. บทคัดย่อ โครงงานนี้เป็นการทดลองการทาแอลกอฮอล์จากพืชที่มีมากในท้องถิ่นซึ่งกลุ่มของข้าพเจ้าได้เลือกทา ข้าวเหนียว เพื่อช่วยลดค่าใช้จ่ายในครอบครัวและเป็นการนาเอาวัสดุที่มีในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด อีกทั้งยังเป็นการอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น เมื่อทาสาเร็จแล้วจะได้ 1. แอลกอฮอล์สาหรับใช้ล้างแผล 2. แอลกอฮอล์ 95 % .ใช้สาหรับผสมนามันเบนซิน ซึ่งสามารถนาไปใช้กับเครื่องยนต์เบนซินได้ 3. แอลกอฮอล์สาหรับดื่ม การทาแอลกอฮอล์นี้ได้จากการนาข้าวเหนียวไปหมักกับหัวเชื้อจนได้ที่แล้วนาไปกลั่น ครั้งแรกจะได้แอลกอฮอล์ที่ใช้สาหรับดื่ม กลั่นครั้งที่ 2 จะได้แอลกอฮอล์สาหรับฆ่าเชื้อและแอลกอฮอล์สาหรับผสมน้ามันเบนซิน ผลงานที่ได้รับจากโครงการนี้ คือ ได้แอลกอฮอล์ ไว้ใช้ในครอบครัว เพื่อเป็นการลดค่าใช้จ่ายในครอบครัว หากทาจานวนมากอาจนาไปจาหน่ายเพื่อเป็นการเพิ่มรายได้ให้กับครอบครัวได้อีกทางหนึ่งด้วย
  • 2. กิตติกรรมประกาศ โครงงานการผลิตแอลกอฮอล์จากข้าวเหนียว ได้จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาการเกิดแอลกอฮอล์จากการหมักข้าวเหนียวอันเป็นภูมิปัญญาชาวบ้าน ซึ่งได้ทาการศึกษาตั้งแต่ประวัติของแอลกอฮอล์ สิ่งที่ต้องใช้ในการผลิต คุณสมบัติต่างๆ ของส่วนประกอบที่เกี่ยวข้องกับการทาแอลกอฮอล์จากข้าวเหนียวกรรมวิธีการหมัก การเก็บรักษา การกลั่น ประโยชน์และโทษของแอลกอฮอล์ ซึ่งการที่โครงงานนี้ประสบความสาเร็จลุล่วงมาจนถึงขั้นนี้ กลุ่มของข้าพเจ้าต้องขอขอบพระคุณท่านผู้อานวยการจิตราภรณ์ ใยศิลป์ คณะอาจารย์หมวดวิทยาศาสตร์ทุกท่าน เพื่อนๆนักเรียนชั้นม.6/1 โรงเรียนวิทยานุกูลนารีทุกคนและขอขอบพระคุณอาจารย์เฉลี่ย หาญเชิงชัย ที่ให้ความช่วยเหลือให้คาปรึกษาคาแนะนาให้การสนับสนุน และเป็นกาลังใจให้กลุ่มของข้าพเจ้าในการทางานครั้งนี้ให้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี
  • 3. บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ เหตุที่กลุ่มของข้าพเจ้าเลือกที่จะนาเสนอการผลิตแอลกอฮอล์จากข้าวเหนียวเนื่องมาจาก พวกข้าพเจ้าเห็นว่าเป็นภูมิปัญญาท้องถิ่นและการผลิตแอลกอฮอล์สามารถต่อยอดไปถึงการผลิตน้ามันได้ อีกทั้งยังเป็นพื้นฐานในการศึกษากระบวนการทางเคมีในหลายๆด้าน เราจึงต้องทาการศึกษาอย่างละเอียดเพื่อใช้ศึกษาในชั้นสูงต่อไป อีกทั้งในปัจจุบันหลายคนได้มองข้ามภูมิปัญญาท้องถิ่นอันทรงคุณค่าไป ข้าพเจ้าจึงเห็นว่าการจัดทาโครงงานนี้ขึ้นจะสามารถรื้อฟื้นความรู้เหล่านี้ขึ้นมาได้ จากที่กล่าวมาในข้างต้นจึงเป็นการเหมาะสมด้วยประการทั้งปวง ที่พวกข้าพเจ้าจะนาเสนอเรื่องการผลิตแอลกอฮอล์จากข้าวเหนียว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อทดลองผลิตแอลกอฮอล์จากข้าวเหนียวว่าจะมีประสิทธิภาพดีหรือไม่ 2. เพื่อศึกษากรรมวิธีการเกิดแอลกอฮอล์อย่างละเอียด 3. เพื่อใช้ความรู้ที่ได้ในการศึกษาต่อในระดับสูง 4. เพื่อนามาบูรการในวิชาต่างๆ สมมุติฐาน ข้าวเหนียวสามารถนามาแปรรูปเป็นอาหารต่างๆได้มากมายหลายชนิดเมื่อปล่อยอาหารที่ทาจากข้าวเหนียวทิ้งไว้นานๆ จะมีกลิ่นคล้ายกับแอลกอฮอล์ ข้าวเหนียวจึงน่าจะนามาผลิตเป็นแอลกอฮอล์ได้ ขอบเขตของการศึกษาค้นคว้า
  • 4. การผลิตแอลกอฮอล์จากข้าวเหนียวให้ได้ 95 % ภายในเวลา 3 เดือน โดยอาศัยวัสดุภายในท้องถิ่น ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ 1. ได้แอลกอฮอล์ที่เกิดจากข้าวเหนียวไว้ใช้ประโยชน์ 2. ได้รับความรู้ความเข้าใจในกระบวนการผลิตแอลกอฮอล์ 3. รู้จักแยกแยะประโยชน์และโทษของแอลกอฮอล์
  • 5. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง น้า นิยาม น้า เป็นทรัพยากรที่สาคัญที่สุดต่อการดารงชีวิตของมนุษย์และเพื่อประกอบกิจกรรมต่างๆ ในปัจจุบันความต้องการใช้น้าเพิ่มมากขึ้นตลอดเวลา ทั้งการใช้น้าเพื่อการเกษตรอุตสาหกรรม การอุปโภคและการบริโภคในขณะที่ปริมาณน้านั้นมีอยู่อย่างจากัดประกอบกับปริมาณน้าที่เก็บกักไว้ตามแหล่งน้าต่างๆ นั้นยังไม่เพียงพอแก่ความต้องการปริมาณน้าบางส่วนยังสูญเสียไปเพราะมีการปนเปื้อนจากน้าเน่าเสียและกากของเสีย ทาให้ไม่สามารถใช้น้าที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่จึงก่อให้เกิดภาวะการขาดแคลนน้าในฤดูแล้ง โดยเฉพาะการเกษตรกรรมซึ่งต้องอาศัยน้าเพื่อการเพาะปลูก ความหมายของน้า น้า (Water) เป็นสารประกอบที่ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน(Hydrogen) และออกซิเจน(Oxygen) ในอัตราส่วน1 ต่อ8 โดยน้าหนักพบ3 สถานะคือของเหลว ของแข็ง (น้าแข็งขั้วโลก)และก๊าซ(น้าในบรรยากาศ) สูตรทางเคมีคือH2O น้าที่บริสุทธิ์จะเป็นของเหลวใสไหลเทได้ ไม่มีสีและไม่มีกลิ่น วัฏจักรของน้า เริ่มต้นจากการระเหย(Evaporation) ของน้าที่อยู่ตามแหล่งน้าต่างๆตั้งแต่มหาสมุทรทะเลลาน้าคลองต่างๆ รวมทั้งจากพื้นดินด้วยและยังจากการคายน้าของพืช(Transpiration) กลายเป็นไอน้า(WaterVaper) ซึ่งอุณหภูมิของไอน้าจะสูงกว่าจุดเดือดและเมื่ออากาศมีอุณหภูมิต่าไอน้าจะเข้ามารวมตัวกัน(Condensation) จากน้าที่ตกสู่ผิวโลกส่วนใหญ่มาจากมหาสมุทรที่มีพื้นที่ประมาณ 70% ของพื้นที่ทั้งโลก และเมื่อมีการตกสู่พื้นโลกประมาณ 10% ในรูปของฝนและหิมะ จากนั้นบางส่วนก็จะซึมลงดินและลงสู่แหล่งน้าต่างๆ และเกิดการระเหยอีกครั้งหนึ่งน้าที่ตกมาจากฟ้ าจะกระจายไปยังแหล่งน้าต่างๆและบางส่วนจะซึมลงสู่ดินโดยมีสัดส่วน ดังนี้
  • 6. ประเภทของแหล่งน้า น้าจากแหล่งน้าธรรมชาติที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในด้านต่างๆของมนุษย์นั้นอาจจะเป็นทั้งน้าจืดจากแหล่งต่างๆ และน้าทะเลสามารถจาแนกรายละเอียดได้ดังต่อนี้ 1. แหล่งน้าผิวดินได้แก่ น้าจากแม่น้าต่างๆลาน้าธรรมชาติต่างๆห้วยหนองน้าคลอง บึง ตลอดจนอ่างเก็บน้า บริเวณดังกล่าวนับว่าเป็นแหล่งน้าจืดที่สาคัญที่สุดน้าจืดที่แช่ขังอยู่ตามแอ่งน้าบนผิวโลกมาจากน้าฝนหิมะ การไหลซึมออกมาจากน้าใต้ดินแล้วไหลไปรวมกันตามแม่น้าลาคลอง ปริมาณน้าที่มีอยู่ในแม่น้าลาคลองของแต่ละแห่งบนพื้นโลกมีมากน้อยแตกต่างกันออกไป ลาน้าอาจจะมีมากในช่วงฤดูหนึ่งแต่ในช่วงฤดูอื่นๆปริมาณน้าจะลดน้อยลงไปทั้งนี้เนื่องจากปัจจัยสาคัญดังนี้ (1) สภาพความผันแปรของปริมาณน้าฝน (2) ลักษณะภูมิประเทศ (3) โครงสร้างของดิน เท่าที่ผ่านมาแหล่งน้าผิวดินเป็นทรัพยากรสาธารณะที่ไม่ต้องมีการซื้อขายจึงทาให้มีการใช้น้าอย่างฟุ่มเฟือย ประกอบกับจานวนประชากรซึ่งใช้น้าสาหรับการอุปโภคบริโภคเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ว กิจการอุตสาหกรรมและการเกษตรกรรมซึ่งใช้น้าในกระบวนการผลิตเป็นจานวนมาก และส่วนใหญ่ไม่มีการนาน้าที่ใช้แล้วกลับไปใช้อีกแต่จะระบายน้าทิ้งลงสู่แหล่งน้าโดยตรง ซึ่งทาให้เกิดภาวะขาดแคลนน้าเช่นเดียวกับคุณภาพของน้าผิวดินก็เสื่อมโทรมลงอย่างเห็นได้ชัด ภาครัฐบาลและเอกชนได้ตระหนักถึงความสาคัญในเรื่องนี้จึงมีแนวความคิดที่จะพัฒนาแหล่งน้าผิวดิน 2. แหล่งน้าใต้ดิน(Undergroundwater) น้าใต้ดินเกิดจากน้าผิวดินซึมผ่านดินชั้นต่างๆ ลงไปถึงชั้นดินหรือหินที่น้าซึมผ่านไม่ได้ (Imperviousrocks) น้าใต้ดินนี้จะไปสะสมตัวอยู่ระหว่างช่องว่างของเนื้อดิน โดยเฉพาะชั้นดินเป็นกรวดทรายหินปริมาณของน้าที่ขังอยู่ในชั้นของดินหรือชั้นของหินดังกล่าวจะค่อยๆ เพิ่มปริมาณมากขึ้นในฤดูฝนและลดปริมาณลงในฤดูแล้งปกติน้าใต้ดินจะมีการไหล(run-off)
  • 7. ถ่ายเทระดับได้เช่นเดียวกับน้าผิวดินในเขตชนบทได้อาศัยน้าใต้ดินเป็นน้าดื่ม เนื่องจากแหล่งน้าใต้ดินเป็นแหล่งน้าที่สะอาดโดยน้าที่ขังอยู่ใต้ดินมาจากน้าฝนที่ซึมผ่านการกรองของชั้นดินหินกรวด ทรายมาหลายชั้นแล้วแหล่งน้าใต้ดินมี2 ประเภท (1) น้าใต้ดินชั้นบนหรือน้าในดินพบในชั้นดินตื้น ๆ น้าจะขังตัวอยู่ระหว่างชั้นดินที่เนื้อแน่นเกือบไม่ซึมน้าอยู่ไม่ลึกจากผิวดินมากนัก น้าใต้ดินประเภทนี้จะมีปริมาณมากในฤดูฝนและลดลงในฤดูแล้งน้าในชั้นนี้มีออกซิเจนละลายอยู่พอประมาณ จะมีสารแขวนลอยอยู่มากความขุ่นมาก (2) น้าบาดาลเป็นน้าใต้ดินที่อยู่ลึกลงไปโดยซึมผ่านชั้นดินและชั้นหินต่างๆ ไปขังตัวอยู่ช่องว่างระหว่างชั้นดินหรือชั้นหินซึ่งไม่ยอมให้น้าผ่านไปได้อีกน้าใต้ดินประเภทนี้เป็นน้าใต้ดินที่แท้จริงเรียกว่า Undergroundwaterหรือที่เรียกว่าน้าบาดาลน้าบาดาลจะเป็นน้าที่มีคุณภาพดีเพราะไหลผ่านชั้นดินและชั้นหิน ซึ่งทาหน้าที่คล้ายการกรองน้าธรรมชาติมีลักษณะเป็นระบบท่อประปาที่สมบูรณ์ 3. แหล่งน้าจากทะเลทะเลและมหาสมุทรเป็นแหล่งกาเนิดใหญ่ของวงจรน้าในโลก ซึ่งหากขาดวงจรดังกล่าวแล้วพื้นดินก็จะขาดความอุดมชุ่มชื้น ขณะเดียวกันกระแสน้าในมหาสมุทรก็เป็นปัจจัยสาคัญที่กาหนดสภาพภูมิอากาศรอบโลกด้วยเช่น กระแสน้าอุ่นกัลฟ์ สตรีมทาให้ยุโรปตะวันตกตอนเหนือมีสภาพภูมิอากาศอบอุ่นแทนที่จะเย็นมากๆเหมือนกับพื้นที่อื่นๆ ที่อยู่ใกล้เขตขั้วโลกเหนือหรือกระแสน้าเย็นเบงกิวลาทาให้บริเวณชายฝั่งตะวันตกเฉียงใต้ของทวีปแอฟริกา กลายเป็นที่อุดมสมบูรณ์ด้วยแพลงก์ตอนซึ่งเป็นอาหารสาหรับปลานานาชนิด เช่นเดียวกับบริเวณขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ที่มีกระแสน้าเย็นและน้าอุ่นมาบรรจบกัน ทาให้บริเวณดังกล่าวมีสารอาหารสมบูรณ์ มีแพลงก์ตอนพืชและแพลงค์ตอนสัตว์ ซึ่งเป็นอาหารของสิ่งมีชีวิตขนาดใหญ่จานวนมาก มนุษย์ได้ใช้ประโยชน์มากมายจากทะเลไม่ว่าจะเป็นอาหารจาพวกโปรตีน การใช้เป็นเส้นทางคมนาคมที่สะดวกและประหยัดหรือทรัพยากรใต้ทะเลจาพวกน้ามันก๊าซธรรมชาติและแร่ธาตุอื่นๆ ที่ขุดเจาะมาใช้ประโยชน์เช่นแมงกานีสดีบุก อย่างไรก็ตามแม้ว่าทะเลจะเป็นแหล่งน้าขนาดใหญ่ สามารถใช้ประโยชน์ได้หลายอย่างแต่เนื่องจากมีแร่ธาตุสะสมอยู่เป็นจานวนมากจึงทาให้น้าทะเลมีรสเค็ม ดังนั้นบริเวณที่ขาดแคลนน้าจืดที่อยู่ใกล้กับทะเล จึงพยายามนาน้าทะเลมาแปรสภาพให้กลายเป็นน้าจืดเพื่อใช้ในการอุปโภคบริโภคในครัวเรือนกิจการอุตสาหกรรม การชลประทานแต่ค่าใช้จ่ายในการทาน้าทะเลให้เป็นน้าจืดนั้นราคาแพงกว่าการทาน้าจืดให้บริสุทธิ์ 4. แหล่งน้าจากฟ้ าน้าจากฟ้ าหรือน้าฝนเป็นน้าโดยตรงที่ได้รับจากการกลั่นของไอน้าในบรรยากาศ น้าฝนเป็นแหล่งน้าจืดที่สาคัญที่มนุษย์ใช้ในการอุปโภคบริโภคอีกชนิดหนึ่งในประเทศไทยพบว่า
  • 8. ปริมาณน้าฝนที่ตกในแต่ละปีประมาณ 800,000 ล้านลูกบาศก์เมตรและเป็นน้าท่าประมาณ 200,000 ล้านลูกบาศก์เมตรที่เหลือไหลลงสู่ใต้ดินและระเหยคืนสู่บรรยากาศปริมาณน้าที่สามารถเก็บกักไว้ได้ในรูปของอ่างเก็บน้า ทั้งที่เป็นของกรมชลประทานและการไฟฟ้ าฝ่ายผลิตรวมกันประมาณ 60,000 ล้านลูกบาศก์เมตร (สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อม,2536) ปริมาณน้าจืดที่ได้จากน้าฝนในแต่ละบริเวณจะมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับ (1) สภาพลมฟ้ าอากาศ (2) ลักษณะภูมิประเทศ (3) ทิศทางของลม (4) ความสม่าเสมอของฝนที่ตก (5) การกระจายของปริมาณน้าฝน (6) อิทธิพลอื่นๆ เช่นฤดูกาลพื้นที่ป่าไม้ ประโยชน์ของน้า 1. เพื่อการอุปโภคและบริโภค น้ามีความจาเป็นสาหรับสิ่งมีชีวิตทุกชนิด ร่างกายของคนเราประกอบด้วยน้าประมาณ 60- 70 % โดยต้องใช้ในการดื่มประมาณ 2ลิตรต่อวันและใช้ในการบริโภคประมาณ 3ลิตรต่อวันร่างกายของเรายังใช้น้าเพื่อพา สารอาหารต่างๆไปยังเซลล์เพื่อรักษาโครงสร้างของร่างกายและเพื่อการขับถ่ายของเสีย รวมทั้งเพื่อระบายความร้อนออกจากความร้อนออกจากร่างกายด้วยนอกจากนี้เรายังใช้น้าในการอุปโภค ทั้งการทาความสะอาดซักล้างและกิจกรรมอื่นๆองค์การสหประชาชาติประมาณการว่ามีประชากรโลกอีกประมาณ 2,000,000 ล้านคนทั่วโลกที่ขาดแคลนน้าใช้อย่างเพียงพอ 2. เพื่อการเกษตรกรรม การใช้น้าในการเกษตรกรรมนั้นประมาณว่ามนุษย์ใช้น้าเพื่อการเพาะปลูก70% ของปริมาณน้าที่มนุษย์ใช้ทั้งหมด เพื่อการผลิตธัญพืชสาหรับการบริโภคส่วนน้าที่ใช้สาหรับการเลี้ยงสัตว์แต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกันไปเช่นโคนมม้า หมู ไก่ ต้องการน้า20 , 12, 4 , 0.04 แกลลอนต่อตัวต่อวันน้าจึงมีความสาคัญมากในการผลิตอาหารของมนุษย์ 3. เพื่อการอุตสาหกรรม น้าเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับกระบวนการผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมต่างๆทั้งในส่วนของกระบวนการผลิตโดยตรง คือ เป็นส่วนประกอบของผลิตภัณฑ์ล้างวัตถุดิบและกิจกรรมต่างๆที่สนับสนุนการผลิตเช่นใช้ในการล้างเครื่องจักร
  • 9. ล้างพื้นโรงงานและการหล่อเย็นเป็นต้น อุตสาหกรรมแต่ละประเภทมีความต้องการน้าในปริมาณและคุณภาพที่แตกต่างกันไป ดังกรณีของโรงงานอุตสาหกรรมการผลิตเบียร์, เซรามิก,กระดาษมีความจาเป็นที่ต้องใช้ที่มีคุณภาพสูงคือ ปราศจากสิ่งปนเปื้อนต่างๆจึงจะสามารถผลิตผลงานที่มีคุณภาพได้ดี 4. แหล่งทรัพยากร แหล่งน้าเป็นแหล่งอาหารที่สาคัญของมนุษย์โดยเฉพาะในทะเลซึ่งเป็นแหล่งทรัพยากรที่ใหญ่ที่สุด อาหารจากทะเลเป็นอาหารที่สาคัญที่มนุษย์สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้โดยไม่ต้องลงทุน และทะเลยังเป็นแหล่งเชื้อเพลิงและพลังงานเช่นน้ามันและก๊าซธรรมชาติเป็นต้น 5. เพื่อการคมนาคมขนส่ง ในอดีตการขนส่งทางน้าเป็นการขนส่งที่สาคัญของมนุษย์และในปัจจุบันก็ยังมีความสาคัญอยู่ โดยเฉพาะการขนส่งระหว่างประเทศคือการขนส่งทางทะเลเพราะสามารถขนส่งได้คราวละมากๆ และค่าใช้จ่ายยังถูกกว่าการขนส่งทางอากาศมากอีกด้วยสาหรับการขนส่งภายในประเทศนั้น การขนส่งทางน้าก็ยังคงบทบาทสาคัญโดยเฉพาะระยะทางไกลๆจะเสียค่าใช้จ่ายน้อยกว่าทางบก 6. เพื่อการสร้างพลังงาน ในการผลิตพลังงานไฟฟ้ านั้น ค่าใช้จ่ายที่มาจากการผลิตโดยใช้กระแสน้านั้นจะต่ากว่าการผลิตไฟฟ้ าจากแหล่งพลังงานอื่นๆเช่นถ่านหินน้ามัน นิวเคลียร์ รวมทั้งมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าด้วย 7. เพื่อการนันทนาการ แหล่งกักเก็บน้าหลายแห่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวและพักผ่อนหย่อนใจของมนุษย์เช่นชายฝั่งทะเลทะเลสาบ แม่น้า ลาคลองน้าตกและลาธารเป็นต้นกิจกรรมของมนุษย์ที่เกี่ยวเนื่องจากสถานที่เหล่านี้มีมากมายเช่นการว่ายน้า ตกปลาพายเรือเป็นต้นน้าจึงเป็นส่วนหนึ่งในการดารงชีวิต ปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้า 1. ปัญหาทางด้านปริมาณ 1) การขาดแคลนน้าหรือภัยแล้งสาเหตุที่สาคัญได้แก่ - ป่าไม้ถูกทาลายมากโดยเฉพาะป่าต้นน้าลาธาร
  • 10. - ลักษณะพื้นที่ไม่เหมาะสมเช่นไม่มีแหล่งน้าดินไม่ดูดซับน้า - ขาดการวางแผนการใช้และอนุรักษ์น้าที่เหมาะสม - ฝนตกน้อยและฝนทิ้งช่วงเป็นเวลานาน 2) การเกิดน้าท่วมอาจเกิดจากสาเหตุหนึ่งหรือหลายสาเหตุร่วมกันดังต่อไปนี้ - ฝนตกหนักติดต่อกันนานๆ - ป่าไม้ถูกทาลายมากทาให้ไม่มีสิ่งใดจะช่วยดูดซับน้าไว้ - ภูมิประเทศเป็นที่ลุ่มและการระบายน้าไม่ดี - น้าทะเลหนุนสูงกว่าปกติทาให้น้าจากแผ่นดินระบายลงสู่ทะเลไม่ได้ - แหล่งเก็บกักน้าตื้นเขินหรือได้รับความเสียหายจึงเก็บน้าได้น้อยลง 2. ปัญหาด้านคุณภาพของน้าไม่เหมาะสมสาเหตุที่พบบ่อยได้แก่ 1) การทิ้งสิ่งของและการระบายน้าทิ้งลงสู่แหล่งน้าทาให้แหล่งน้าสกปรกและเน่าเหม็นจนไม่สามารถใช้ประโยชน์ได้ มักเกิดตามชุมชนใหญ่ๆที่อยู่ใกล้แหล่งน้าหรือท้องถิ่นที่มีโรงงานอุตสาหกรรม 2) สิ่งที่ปกคลุมผิวดินถูกชะล้างและไหลลงสู่แหล่งน้ามากกว่าปกติ มีทั้งสารอินทรีย์สารอนินทรีย์และสารเคมีต่างๆ ที่ใช้ในกิจการต่างๆซึ่งทาให้น้าขุ่นได้ง่ายโดยเฉพาะในฤดูฝน 3) มีแร่ธาตุเจือปนอยู่มากจนไม่เหมาะแก่การใช้ประโยชน์น้าที่มีแร่ธาตุปนอยู่เกินกว่า 50 พีพีเอ็มนั้นเมื่อนามาดื่มจะทาให้เกิดโรคนิ่วและโรคอื่นได้ 4) การใช้สารเคมีที่มีพิษตกค้างเช่นสารที่ใช้ป้ องกันหรือกาจัดศัตรูพืชหรือสัตว์ ซึ่งเมื่อถูกฝนชะล้างลงสู่แหล่งน้าจะก่อให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิต
  • 11. 3. ปัญหาการใช้ทรัพยากรน้าอย่างไม่เหมาะสมเช่นใช้มากเกินความจาเป็นโดยเฉพาะเมื่อเกิดภาวะขาดแคลนน้า หรือการสูบน้าใต้ดินขึ้นมาใช้มากจนดินทรุดเป็นต้น ปี พ.ศ. 2541 ธนาคารโลกพยากรณ์ว่าน้าในโลกลดลง1ใน 3 ของปริมาณน้าที่เคยมีเมื่อ25 ปีก่อน และในปี ค.ศ. 2525 หรืออีก 25 ปีข้างหน้า การใช้น้าจะเพิ่มอีกประมาณร้อยละ65 เนื่องจากจานวนประชากรโลกเพิ่มขึ้น การใช้น้าอย่างไม่ถูกต้องและขาดการดูแลรักษาทรัยากรน้าซึ่งจะเป็นผลให้ประชากรโลกกว่า 3,000 ล้านคนใน 52 ประเทศประสบปัญหาการขาดแคลนน้า 4. ปัญหาความเปลี่ยนแปลงของฟ้ าอากาศ เนื่องจากปรากฏการณ์เอลนิโน(El Nino) และลานินา(La Nina) โดยปรากฎการณ์เอลนิโนเป็นปรากฏการณ์ที่ผิดธรรมชาติจะเกิดขึ้นประมาณ 5ปีต่อครั้ง นานครั้งละ8 - 10 เดือน โดยกระแสน้าอุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกบริเวณเส้นศูนย์สูตรไหลย้อนกลับไปแทนที่กระแสน้าเย็นในมหาสมุทร แปซิฟิกตะวันออกลงไปถึงชายฝั่งตะวันตกเฉียงเหนือของทวีปอเมริกาใต้ (ประเทศเปรู เอกวาดอร์ และชิลีตอนเหนือ) ทาให้ผิวน้าที่เคยเย็นกลับอุ่นขึ้นและที่เคยอุ่นกลับเย็นลง เมื่ออุณหภูมิของผิวน้าเปลี่ยนแปลงไปก็จะส่งผลทาให้อุณหภูมิเหนือน้าเปลี่ยนไปด้วยเช่นกัน เป็นผลให้เกิดความร้อนและความแห้งแล้งในบริเวณที่เคยมีฝนชุก และเกิดฝนตกหนักในบริเวณที่เคยแห้งแล้งลมและพายุเปลี่ยนทิศทาง เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวเกิดเป็นบริเวณกว้างจึงส่งผลกระทบต่อโลกอย่างกว้างขวาง สามารถทาลายระบบนิเวศในซีกโลกใต้ รวมทั้งพื้นที่บางส่วนเหนือเส้นศูนย์สูตรได้ สาหร่ายทะเลบางแห่งตายเพราะอุณหภูมิสูง ปลาที่เคยอาศัยในน้าอุ่นต้องว่ายหนีไปหาน้าเย็นทาให้มีปลาแปลกชนิดเพิ่มขึ้นและหลังการเกิดปรากฎการณ์เอลนิโน แล้วก็จะเกิดปรากฏการณ์ลานินาซึ่งมีลักษณะตรงกันข้ามตามมา โดยจะเกิดเมื่อกระแสน้าอุ่นและคลื่นความร้อนในมหาสมุทรแปซิฟิกตอนใต้เคลื่อนย้อนไปทางตะวันตก ทาให้บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิกตะวันออกที่อุณหภูมิเริ่มเย็นจะมีการรวมตัวของไอน้าปริมาณมากทาให้อากาศเย็นลง เกิดพายุและฝนตกหนักโดยเฉพาะในกลุ่มประเทศอาเซียน
  • 12. เอล นิโนเคยก่อตัวครั้งใหญ่ในปี พ.ศ. 2525 - 2526 ซึ่งส่งผลทาให้อุณหภูมิผิวน้าสูงกว่าปกติถึง9 องศาฟาเรนไฮต์ทาลายชีวิตมนุษย์ทั่วโลกถึง2,000 คนค่าเสียหายประมาณ481,000 ล้านบาท ปะการังในทะเลแคริบเบียนเสียความสมดุลไปร้อยละ 50- 97 แต่ในปี พ.ศ. 2540 กลับก่อตัวกว้างกว่าเดิม ซึ่งคิดเป็นพื้นที่ได้กว้างใหญ่กว่าประเทศสหรัฐอเมริกาโดยเขตน้าอุ่นนอกชายฝั่งประเทศเปรูขยายออกไปไกลกว่า 6,000 ไมล์ หรือประมาณ1 ใน4 ของเส้นรอบโลกอุณหภูมิผิวน้าวัดได้เท่ากันและมีความหนาของน้าถึง 6นิ้ว ส่งผลให้เกิดปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เลวร้ายที่สุดในรอบ150 ปี โดยเริ่มแสดงผลตั้งแต่เดือนเมษายน2541 นอกจากนี้ปรากฏการณ์เรือนกระจกและการลดลงของพื้นที่ป่ายังส่งเสริมความรุนแรงของปัญหาอีกด้วย ดังตัวอย่างต่อไปนี้ 1) ประเทศไทยประสบความร้อนและแห้งแล้งรุนแรงทั่วประเทศฝนตกน้อยหรือตกล่าช้ากว่าปกติ (ยกเว้นภาคใต้ที่กลางเดือนสิงหาคมเกิดฝนตกหนักจนน้าท่วม)ปริมาณน้าในแม่น้าอ่างเก็บน้าและเขื่อนลดน้อยลงมาก รวมทั้งบางจังหวัดมีอุณหภูมิในฤดูร้อนสูงมากและเกิดติดต่อกันหลายวันเช่นจังหวัดตากมีอุณหภูมิในเดือนเมษายนพ.ศ. 2541 สูงถึง43.7 องศาเซลเซียสซึ่งนับว่าสูงที่สุดในรอบ67 ปี นอกจากนี้ยังทาให้ผลผลิตทางการเกษตรโดยเฉพาะไม้ผลลดลง 2) ประเทศอินโดนีเซียประสบความแห้งแล้งทั้งที่อยู่ในเขตมรสุมและมีป่าฝน เมื่อฝนไม่ตกจึงทาให้ไฟไหม้ป่าที่เกิดขึ้นในเกาะสุมาตราและบอร์เนีบวเผาผลาญป่าไปประมาณ 14ล้านไร่ พร้อมทั้งก่อปัญหามลพิษทางอากาศเป็นบริเวณกว้างมีผู้คนป่วยไข้นับหมื่น ทัศนวิสัยไม่ดีจนทาให้เครื่องบินสายการบินการูดาตกและมีผู้เสียชีวิต 234คน อีกทั้ง ยังทาให้ผลิตผลการเกษตรตกต่า โดยเฉพาะเมล็ดกาแฟโรบัสตาที่ส่งออกมากเป็นอันดับหนึ่งได้รับความเสียหายมากเป็นประวัติการณ์ 3) ประเทศปาปัวนิวกินีได้รับผลกระทบรุนแรงที่สุดในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกมีคนตายจากภัยแล้ง 80 คนและประสบปัญหาแล้งอีกประมาณ 1,000,000 คน 4) ประเทศออสเตรเลียอากาศแห้งแล้งรุนแรงจนต้องฆ่าสัตว์เลี้ยงเพราะขาดแคลนน้าและอาหารซึ่งคาดว่า ผลผลิตการเกษตรจะเสียหายประมาณ432ล้านเหรียญ
  • 13. 5) ประเทศเกาหลีเหนือปัญหาความแห้งแล้งรุนแรงและอดอยากรุนแรงมากพืชไร่เสียหายมาก 6) ประเทศสหรัฐอเมริกาเกิดพายุเฮอร์ริเคนทางด้านฝั่งตะวันตกมากขึ้น โดยเฉพาะภาคใต้ของรัฐแคลิฟอร์เนียได้รับภัยพิบัติมากที่สุดส่วนทางฝั่งตะวันออกซึ่งมีเฮอร์ริเคนค่อนข้างมาก คลื่นลมกลับสงบกว่าปกติ 7) ประเทศเปรูและชิลีเกิดฝนตกหนักและจับปลาได้น้อยลง (เคยเกิดฝนตกหนักและน้าท่วมในทะเลทรายอะตาคามาประเทศชิลีอย่างไม่เคยปรากฏมาก่อนทั้งๆ ที่บริเวณนี้แห้งแล้งมากจนประเทศสหรัฐอเมริกาขอใช้เป็นสถานที่ฝึกนักอวกาศโดยสมมติว่าเป็นพื้นผิวดาวอังคาร) 8) ทวีปแอฟริกาแห้งแล้งรุนแรงพืชไร่อาจเสียหายประมาณครึ่งหนึ่ง ปัญหาเกี่ยวกับทรัพยากรน้าในประเทศไทย 1. การขาดแคลนน้าหรือภัยแล้ง ในหน้าแล้ง ประชากรไทยจะขาดแคลนน้าดื่มน้าใช้จานวน13,000 - 24,000 หมู่บ้านประชากรประมาณ6 - 10 ล้านคนซึ่งโดยส่วนใหญ่อยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างการขาดแคลนน้าในระดับวิกฤตจะเกิดเป็นระยะๆ และรุนแรงขึ้นน้าในเขื่อนสาคัญต่างๆ โดยเฉพาะเขื่อนภูมิพลมีปริมาณเหลือน้อยจนเกือบจะมีผลกระทบต่อการผลิตกระแสไฟฟ้ า และการผลิตน้าประปาสาหรับใช้ในหลายจังหวัดการลดปริมาณของฝนและน้าที่ไหลลงสู่อ่างเก็บน้า และการเกิดฝนมีแนวโน้มลดลงทุกภาคประมาณะร้อยละ 0.42 ต่อปี เป็นสิ่งบอกเหตุสาคัญที่แสดงให้เห็นถึงแนวโน้มความรุนแรงของภัยแล้ง สาหรับปริมาณน้าที่ไหลลงสู่อ่างเก็บน้าของเขื่อนและแม่น้าสาคัญเช่นเขื่อนภูมิพล เขื่อนสิริกิติ์และแม่น้าเจ้าพระยา ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2515 เป็นต้นมา ก็มีปริมาณลดลงเช่นกันเนื่องจากต้นน้าลาธารถูกทาลายทาให้ฝนและน้าท่าน้อยละ ขณะเดียวกันความต้องการใช้น้ากลับมีมากและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเช่น การผลักดันน้าเค็มบริเวณปากแม่น้าเจ้าพระยาและแม่น้าท่าจีนจะต้องใช้น้าจืดประมาณ 2,500 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี
  • 14. การทานาปีใช้ประมาณ4,000 ล้านลูกบาศก์เมตรและการทานาปรังจะใช้ประมาณ 6,000 ล้านลูกบาศก์เมตรโดยมีแนวโน้มของการใช้เพิ่มมากขึ้นทุกปี 2. ปัญหาน้าท่วมหรืออุทกภัย เกิดจากฝนตกหนักหรือตกติดต่อกันเป็นเวลานานๆเนื่องจากการตัดไม้ทาลายป่า แหล่งน้าตื้นเขินทาให้รองรับน้าได้น้อยลงการก่อสร้างที่ทาให้น้าไหลได้น้อยลงเช่นการก่อสร้างสะพาน นอกจากนี้น้าท่วมอาจเกิดจากน้าทะเลหนุนสูงขึ้นพื้นดินทรุดตัวเนื่องจากการสูบน้าใต้ดินไปใช้มากเกินไป พื้นที่เป็นที่ต่าและการระบายน้าไม่ดีและการสูญเสียพื้นที่น้าท่วมขังตัวอย่างได้แก่ การถมคลองเพื่อก่อสร้างที่อยู่อาศัย รวมทั้งการบุกรุกพื้นที่ชุ่มน้าเช่นกว๊านพะเยาบึงบอระเพ็ดทะเลสาบสงขลาและหนองหาร จังหวัดสกลนครเพื่อใช้ประโยชน์อย่างอื่น 3. เกิดมลพิษทางน้าและระบบนิเวศถูกทาลาย โดยส่วนใหญ่แล้วน้าจะเกิดการเน่าเสียเพราะการเจือปนของอินทรียสารสารพิษตะกอน สิ่งปฏิกูลและน้ามันเชื้อเพลิงลงสู่แหล่งน้าซึ่งมีผลให้พืชและสัตว์น้าเป็นอันตรายเช่นการที่ปะการังตัวอ่อนของสัตว์น้า และปลาที่เลี้ยงตามชายฝั่งบริเวณเกาะภูเก็ตตายหรือเจริญเติบโตผิดปกติเพราะถูกตะกอนจากการทาเหมืองแร่ทับถม เนื่องจากตะกอนจะไปอุดตันช่องเหงือกทาให้ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ 4. แหล่งน้าตื้นเขิน ดินและตะกอนดินที่ถูกชะล้างลงสู่แหล่งน้านั้นทาให้แหล่งน้าตื้นเขินและเกิดน้าท่วมได้ง่าย ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการเดินเรือและยังเป็นผลเสียต่อการดารงชีวิตของสัตว์น้าโดยเฉพาะบริเวณอ่าวไทยตอนบน โดยในแต่ละปีตะกอนดินถูกพัดพาไปทับถมกันมากถึงประมาณ 1.5ล้านตัน 5. การสูบน้าใต้ดินไปใช้มากจนแผ่นดินทรุดตัว
  • 15. ชาวกรุงเทพมหานครและปริมณฑลทั้ง6จังหวัดใช้น้าบาดาลจานวนมากเมื่อปี 2538 พบว่า ใช้ประมาณวันละ1.5 ล้านลูกบาศก์เมตรภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจใช้ประมาณวันละ 1.2ล้านลูกบาศก์เมตร ทาให้ดินทรุดตัวลงทีละน้อยและทาให้เกิดน้าท่วมขังได้ง่ายขึ้น หลักการอนุรักษ์ทรัพยากรน้า การอนุรักษ์น้าหมายถึงการป้ องกันปัญหาที่พึงจะเกิดขึ้นกับน้า และการนาน้ามาใช้เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการดารงชีพของมนุษย์ การแก้ปัญหาการสูญเสียทรัพยากรน้า 1.การปลูกป่า โดยเฉพาะการปลูกป่าบริเวณพื้นที่ต้นน้าหรือบริเวณพื้นที่ภูเขาเพื่อให้ต้นไม้เป็นตัวกักเก็บน้าตามธรรมชาติ ทั้งบนดินและใต้ดินแล้วปลดปล่อยออกมาอย่างต่อเนื่องตลอดปี รวมทั้งยังสามารถป้ องกันปัญหาอื่นๆได้ เช่น ปัญหาการพังทลายของดินปัญหาการขาดแคลนน้าและการเกิดน้าท่วม 2.การพัฒนาแหล่งน้า เนื่องจากปัจจุบันแหล่งน้าธรรมชาติต่างๆเกิดสภาพตื้นเขินเป็นส่วนใหญ่ ทาให้ปริมาณน้าที่จะกักขังไว้มีปริมาณลดลง การพัฒนาแหล่งน้าเพื่อให้มีน้าเพียงพอจึงจาเป็นต้องทาการขุดลอกแหล่งน้าให้กว้างและลึกใกล้เคียงกับสภาพเดิมหรือมา กกว่าตลอดจนการจัดหาแหล่งน้าเพิ่มเติมอาจจะกระทาโดยการขุดเจาะน้าบาดาลมาใช้ ซึ่งต้องระวังปัญหาการเกิดแผ่นดินทรุดหรือการขุดเจาะแหล่งน้าผิวดินเพิ่มเติม 3.การสงวนน้าไว้ใช้ เป็นการวางแผนการใช้น้าเพื่อให้มีปริมาณน้าที่มีคุณภาพมาใช้ประโยชน์ตลอดทั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้ง ด้วยวิธีการต่างๆเช่นการทาบ่อหรือสระเก็บน้าการหาภาชนะขนาดใหญ่เพื่อกักเก็บน้าฝน(เช่นโอ่งหรือแท็งก์น้า) รวมทั้งการสร้างอ่างเก็บน้าและระบบชลประทาน 4.การใช้น้าอย่างประหยัด เป็นการนาน้ามาใช้ประโยชน์หลายอย่างอย่างต่อเนื่องและเกิดประโยชน์สูงสูด ทั้งด้านการอนุรักษ์น้าและตัวผู้ใช้น้าเองกล่าวคือสามารถลดค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับค่าน้าลงได้ ปริมาณน้าเสียที่จะทิ้งลงแหล่งน้ามีปริมาณน้อยลงและป้ องกันปัญหาการขาดแคลนน้า 5.การป้ องกันการเกิดมลพิษของน้า
  • 16. ปัญหาส่วนใหญ่จะเกิดขึ้นในเมืองใหญ่ ๆซึ่งมีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่นหรือย่านอุตสาหกรรม การป้ องกันปัญหามลพิษของน้าจะต้องอาศัยกฎหมายเป็นเครื่องมือ และเจ้าหน้าที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมายหรือพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรน้าอย่างเคร่งครัด น้าเสียที่ระบายจากโรงงานอุตสาหกรรมโรงพยาบาล ต้องควบคุมอย่างจริงจังและบังคับให้มีการบาบัดน้าเสียก่อนทิ้งหรือปล่อยลงสู่แหล่งน้าสาหรับประชาชนทั่วไป สามารถช่วยป้ องกันการเกิดน้าเน่าเสียได้ ด้วยการไม่ทิ้งขยะหรือสิ่งปฏิกูลหรือสารพิษลงสู่แหล่งน้า 6.การนาน้าที่ใช้แล้วกลับไปใช้ใหม่ น้าที่ถูกนาไปใช้แล้วในบางครั้งยังมีสภาพที่สามารถนาไปใช้ประโยชน์ด้านอื่นได้ เช่น น้าจากการล้างภาชนะอาหารสามารถนาไปใช้รดน้าต้นไม้ หรือน้าจากการซักผ้าสามารถนาไปถูบ้าน สุดท้ายนาไปใช้รดน้าต้นไม้ เป็นต้นสาหรับกิจการของโรงงานอุตสาหกรรมน้าที่เกิดจากกระบวนการผลิตซึ่งมีอุณหภูมิสูง เมื่อปล่อยทิ้งไว้ให้เย็น สามารถนาไปใช้ใหม่ได้้แม้แต่น้าเสียเมื่อผ่านระบบบาบัดสามารถนาไปใช้ในกิจกรรมบางอย่างของโรงงานได้ เช่น การทาความสะอาดโรงงาน อุปกรณ์เครื่องมือบางอย่าง ข้าวเหนียว 1. แหล่งปลูก 1.1 สภาพพื้นที่ • พื้นที่นาอาศัยน้าฝนทุกภาคของประเทศ • เป็นพื้นที่ที่มีปริมาณน้าฝนเพียงพอตลอดฤดูปลูก • ห่างไกลจากแหล่งมลพิษ • การคมนาคมสะดวก 1.2 ลักษณะดิน • ดินทรายร่วนถึงดินเหนียว • ดินควรมีความอุดมสมบูรณ์พอควรและเก็บกักน้าได้ดี
  • 17. • ไม่เป็นดินที่เป็นปัญหาต่อการเจริญเติบโตและให้ผลผลิตเช่นดินเค็มดินเปรี้ยวและดินพรุ 1.3 สภาพภูมิอากาศ สภาพภูมิอากาศในประเทศไทยโดยทั่วไปเหมาะต่อการปลูกข้าว อุณหภูมิที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตประมาณ20-35องศาเซลเซียส และมีช่วงแสงที่เหมาะสมต่อการชักนาให้เกิดการออกดอกสาหรับข้าวไวต่อช่วงแสง กล่าวคือช่วงวันสั้นเป็นปัจจัยชักนาให้ข้าวกาเนิดช่อดอก 2. พันธุ์ 2.1 การเลือกพันธุ์ • มีลักษณะเมล็ดและคุณภาพหุงต้มที่ดีตามความต้องการของผู้บริโภค • เจริญเติบโตได้ดีในสภาพแวดล้อมของนาอาศัยน้าฝน • ควรเลือกพันธุ์ที่ออกดอกก่อนการสิ้นสุดของฝน • ควรมีความต้านทานต่อโรคและแมลงที่สาคัญในแต่ละพื้นที่ • ควรมีความทนแล้งและสามารถฟื้นตัวได้เร็ว 2.2 พันธุ์ข้าวที่เหมาะต่อสภาพนาอาศัยน้าฝน พันธุ์ข้าวนาสวนนาน้าฝนส่วนใหญ่เป็นข้าวต้นสูงมีทั้งข้าวเหนียวและข้าวเจ้าที่ไวต่อช่วงแสง จึงเหมาะที่จะปลูกในฤดูนาปี อย่างไรก็ตาม ข้าวที่ไม่ไวต่อช่วงแสงบางพันธุ์สามารถนามาปลูกในสภาพนาน้าฝนแต่ต้องกาหนดวันปลูกให้เหมาะสมและสอดคล้องกับ สภาพน้าในแปลงนาและการสิ้นสุดของฤดูฝนดังกล่าวข้างต้น 2.2.1 พันธุ์ข้าวเหนียว
  • 18. 3. การปลูก 3.1 ฤดูปลูก • เพื่อให้ได้ผลผลิตสูงและมีคุณภาพดีจาเป็นต้องวางแผนการปลูกที่เหมาะสมดังนี้ ภาคเหนือ ควรปลูกตั้งแต่เดือนกรกฎาคมและเก็บเกี่ยวถึงเดือนพฤศจิกายน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ควรปลูกตั้งแต่เดือนกรกฎาคมและเก็บเกี่ยวถึงเดือนพฤศจิกายน ภาคกลาง ควรปลูกตั้งแต่เดือนมิถุนายนและเก็บเกี่ยวถึงเดือนธันวาคม ภาคใต้ฝั่งตะวันออก ควรปลูกตั้งแต่เดือนกันยายนและเก็บเกี่ยวถึงเดือนกุมภาพันธ์ ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ควรปลูกตั้งแต่เดือนกรกฎาคมและเก็บเกี่ยวถึงเดือนพฤศจิกายน 3.2 การเตรียมเมล็ดพันธุ์ • ใช้เมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่เชื่อถือได้ เช่นศูนย์บริการวิชาการและปัจจัยการผลิต(สถานีทดลองข้าวเดิม)ศูนย์วิจัยข้าว ศูนย์เมล็ดพันธุ์ข้าวกรมการข้าวและศูนย์ขยายพันธุ์พืชกรมส่งเสริมการเกษตร • หากใช้เมล็ดพันธุ์ของเกษตรกรต้องเป็นเมล็ดพันธุ์ที่บริสุทธิ์ตรงตามพันธุ์สะอาดมีความงอกไม่น้อยกว่า 80เปอร์เซ็นต์ ปราศจากเมล็ดวัชพืชและไม่มีโรคแมลงทาลาย • ปลูกโดยวิธีปักดาใช้เมล็ดพันธุ์5-7 กิโลกรัมตกกล้าเพื่อปักดาในพื้นที่1ไร่ • ปลูกโดยวิธีหว่านข้าวแห้งใช้อัตราเมล็ดพันธุ์15-20กิโลกรัมต่อไร่ • ปลูกวิธีหว่านน้าตมใช้เมล็ดพันธุ์15-20 กิโลกรัมต่อไร่ • สาหรับการปลูกโดยวิธีปักดาหรือหว่านน้าตมนาเมล็ดพันธุ์ใส่ถุงผ้าดิบหรือกระสอบป่านแช่น้า 24 ชั่วโมงแล้วนาไปหุ้ม 36-48 ชั่วโมงโดยวางกลางแดดคลุมด้วยกระสอบป่านหมั่นรถน้าให้กระสอบเปียก 3.3 การเตรียมดินและวิธีปลูก • ปรับระดับผิวดินให้เรียบสม่าเสมอเสริมคันนาให้แข็งแรงสามารถเก็บกักน้าฝนได้ดี ถ้าต้องการเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินให้ปฏิบัติอย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ • ไม่เผาฟางข้าวควรไถกลบตอซังและฟางข้าวหลังเก็บเกี่ยว
  • 19. • หว่านปุ๋ ยหมักหรือปุ๋ ยคอกที่ย่อยสลายดีแล้วอัตรา 500-1,000 กิโลกรัมต่อไร่ ก่อนเตรียมดิน • ควรปลูกพืชปุ๋ ยสดเช่นโสนอัฟริกันอัตราเมล็ดพันธุ์5กิโลกรัมต่อไร่ ก่อนปลูกข้าวประมาณ 2เดือน ไถกลบเมื่อพืชปุ๋ ยสดมีอายุประมาณ50 วัน 3.3.1 การปลูกโดยวิธีปักดามี2 ขั้นตอน การตกกล้า • เตรียมแปลงตกกล้าโดยไถดะทิ้งไว้ 7-15 วันไถแปร เอาน้าเข้าแช่ขี้ไถคราดปรับระดับผิวดินแล้วทาเทือก • แบ่งแปลงย่อยกว้างประมาณ1-2เมตร ยาวตามความยาวของแปลงทาร่องน้าระหว่างแปลงกว้างประมาณ30 เซนติเมตรแล้วระบายน้าออก • หว่านเมล็ดข้าวที่เตรียมไว้ (ตามข้อ3.2) บนแปลงให้สม่าเสมอใช้อัตราเมล็ดพันธุ์50-70 กรัมต่อตารางเมตร • อย่าให้น้าท่วมแปลงกล้าแต่ให้มีความชื้นเพียงพอสาหรับการงอกเพิ่มระดับน้าตามการเจริญเติบโตของต้นข้าว อย่าให้น้าท่วมต้นข้าวและไม่เกิน5เซนติเมตร จากระดับผิวดิน การปักดา • เตรียมแปลงปักดาโดยไถดะทิ้งไว้ 7-15 วันไถแปร เอาน้าเข้าแช่ขี้ไถคราดปรับระดับผิวดินแล้วทาเทือก รักษาระดับน้าในแปลงปักดาประมาณ5เซนติเมตรจากผิวดิน • ปักดาโดยใช้ต้นกล้าอายุประมาณ25 วัน • ไม่ควรตัดใบกล้ายกเว้นในกรณีจาเป็นเช่นปักดากล้าอายุมาก • ระยะปักดา20 x 20 เซนติเมตรจานวน 3-5 ต้นต่อกอ ถ้าใช้กล้าอายุมากกว่า30วันควรใช้กล้า5-6 ต้นต่อกอ • อย่าปล่อยให้ต้นข้าวขาดน้าโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงกาเนิดช่อดอกถึงออกรวง • ก่อนเก็บเกี่ยว10 วันถ้ามีน้าขังให้ระบายน้าออก 3.3.2 การปลูกโดยวิธีหว่านข้าวแห้ง
  • 20. • เตรียมแปลงหว่านข้าวแห้งโดยการไถดะทิ้งไว้ 7-15 วันไถแปร 1-2 ครั้งให้ขี้ไถสม่าเสมอปราศจากวัชพืช • หว่านเมล็ดข้าวแห้งให้สม่าเสมอทั่วแปลงใช้อัตราเมล็ดพันธุ์20-25 กิโลกรัมต่อไร่แล้วคราดกลบ 3.3.3 การปลูกโดยวิธีหยอด หยอดเป็นหลุม • เตรียมแปลงนาหยอดโดยการไถดะทิ้งไว้ 7-15 วันไถแปร1-2 ครั้ง ให้ขี้ไถ สม่าเสมอปราศจากวัชพืช เช่นเดียวกับวิธีหว่านข้าวแห้ง • ใช้ไม้กระทุ่งดินให้ลึก4-5 ซม. ระยะห่างระหว่างหลุม20-25 ซม. หลุมหนึ่งหยอด4-5 เมล็ด แล้วกลบอัตราเมล็ดพันธุ์ 8-10 กิโลกรัมต่อไร่ การหยอดเป็นหลุมอาจใช้เครื่องหยอดที่ใช้คนลากหรือติดกับรถไถเดินตามหยอดเป็นแถว • เตรียมดินเช่นเดียวกับวิธีหยอดหลุมหรือวิธีหว่านข้าวแห้งทาร่องลึกประมาณ 4-5ซม.ให้ห่างกันประมาณ4-5 ซม. ใช้คนโรยตามร่องอัตราเมล็ดพันธุ์10-15 กิโลกรัมต่อไร่ การหยอดเป็นแถวอาจใช้เครื่องหยอดติดรถไถเดินตามแล้วกลบเมล็ด 4. การดูแลรักษา 4.1 การให้ปุ๋ ยเคมี 4.1.1 นาดา ข้าวพันธุ์ไวต่อช่วงแสง ครั้งที่ 1 สาหรับดินเหนียวใส่ปุ๋ ยสูตร16-20-0หรือ 18-22-0 หรือ 20-20-0 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ หว่านก่อนปักดา1 วันแล้วคราดกลบหรือหว่านหลังปักดา 15-20วันสาหรับดินร่วนและดินทรายใส่ปุ๋ ยสูตร 16-16-8 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ หว่านก่อนปักดาแล้วคราดกลบหรือหว่านหลังปักดา15-20 วัน ครั้งที่ 2 สาหรับดินทุกประเภทใส่ปุ๋ ยสูตร46-0-0 อัตรา5 กิโลกรัมต่อไร่ หรือสูตร21-0-0 อัตรา10 กิโลกรัมต่อไร่ ที่ระยะกาเนิดช่อดอกหรือ30 วันก่อนข้าวออกดอก ข้าวพันธุ์ไม่ไวต่อช่วงแสง
  • 21. ครั้งที่ 1 ใส่ปุ๋ ยสูตร16-20-0 หรือ18-22-0 หรือ20-20-0 อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ สาหรับดินเหนียว สาหรับดินร่วนและดินทรายใส่ปุ๋ ยสูตร16-16-8ในอัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ หว่านก่อนปักดาแล้วคราดกลบ หรือหว่านหลังปักดา15-20 วัน ครั้งที่ 2 สาหรับดินทุกประเภทใส่ปุ๋ ยสูตร46-0-0 อัตรา10 กิโลกรัมต่อไร่ หรือสูตร21-0-0 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ ที่ระยะกาเนิดช่อดอกหรือ30 วันก่อนข้าวออกดอก 4.1.2 นาหว่านข้าวแห้งและนาหยอด ข้าวพันธุ์ไวต่อช่วงแสง ครั้งที่ 1 สาหรับดินเหนียวใส่ปุ๋ ยสูตร16-20-0หรือ 18-22-0 หรือ 20-20-0 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ หลังจากข้าวงอกแล้ว20-30วันหรือรอจนกว่ามีน้าพอละลายปุ๋ ยได้ สาหรับดินร่วนและดินทรายใส่ปุ๋ ยสูตร 16-16-8อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ หลังข้าวงอกแล้ว20-30วัน หรือรอจนกว่ามีน้าละลายปุ๋ ยได้ ครั้งที่ 2 สาหรับดินทุกประเภทใส่ปุ๋ ยสูตร46-0-0 อัตรา5 กิโลกรัมต่อไร่ หรือสูตร21-0-0 อัตรา10 กิโลกรัมต่อไร่ ที่ระยะกาเนิดช่อดอกหรือ30 วันก่อนข้าวออกดอก ข้าวไม่ไวต่อช่วงแสง ครั้งที่ 1 สาหรับดินเหนียวใส่ปุ๋ ยสูตร16-20-0หรือ 18-22-0 หรือ 20-20-0 อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ หลังข้าวงอก30 วันสาหรับดินร่วนและดินทรายใส่ปุ๋ ยสูตร 16-16-8หรือ 18-12-6 อัตรา 30 กิโลกรัมต่อไร่ หลังจากข้าวงอกแล้ว 30วัน ครั้งที่ 2
  • 22. สาหรับดินทุกประเภทให้ปุ๋ ยสูตร46-0-0 อัตรา 10 กิโลกรัมต่อไร่ หรือสูตร21-0-0 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่ ที่ระยะกาเนิดช่อดอกหรือ30 วันก่อนข้าวออกดอก 4.2 การให้ปุ๋ ยอินทรีย์ ในดินทั่ว ๆ ไปการให้ปุ๋ ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ ยเคมีจะได้ผลดีที่สุดใช้ปุ๋ ยคอกหรือปุ๋ ยหมักอัตรา 500 กิโลกรัมต่อไร่ ขึ้นไป โดยให้ปุ๋ ยก่อนปลูกข้าว15-20 วันสาหรับปุ๋ ยพืชสด • โสนอัฟริกันหรือโสนอินเดียปลูกก่อนปลูกข้าวในอัตรา5กิโลกรัมต่อไร่ ตัดหรือไถกลบเมื่อโสนอายุ 60-70 วัน (ยกเว้นนาหยอดและนาหว่านข้าวแห้ง) โดยไถกลบก่อนปักดา 15-20วัน • กระถินยักษ์และแคฝรั่งใช้ใบและยอดอ่อนในอัตรา 600-1,200 กิโลกรัมต่อไร่ ก่อนปักดา15-20 วัน • พืชตระกูลถั่วอัตรา10 กก./ไร่ ตัดหรือไถกลบหลังจากปลูก50วัน 4.3 การอนุรักษ์ศัตรูธรรมชาติ ศัตรูธรรมชาติในนาข้าวแบ่งออกเป็น3 กลุ่ม 1. ตัวเบียนเป็นพวกที่อาศัยและเกาะกินแมลงศัตรูข้าวเพื่อการดารงชีพ แบ่งเป็นตัวเบียนภายนอกและตัวเบียนภายในตัวเบียนทาลายแมลงศัตรูข้าวมีทุกระยะการเติบโตไม่ว่าระยะไข่ตัวอ่อน และตัวเต็มวัยตัวอย่างของศัตรูธรรมชาติในกลุ่มนี้ได้แก่ แตนเบียนไข่ของหนอนกอข้าวและแมลงบั่ว แตนเบียนหนอนห่อใบข้าว และแมลงวันก้นขนทาลายหนอนกอข้าวเป็นต้น 2. ตัวห้าเป็นพวกที่จับกินหรือดูดกินแมลงศัตรูข้าวเพื่อการดารงชีพ ตัวห้าทาลายแมลงศัตรูข้าวมีทุกระยะการเจริญเติบโตไม่ว่าระยะไข่ตัวอ่อนและตัวเต็มวัย ตัวอย่างของแมลงศัตรูข้าวในกลุ่มนี้ได้แก่ แมงมุมสุนัขป่ามวนเขียวดูดไข่และแมลงปอเป็นต้น 3. โรคของแมลงเป็นพวกเชื้อโรคได้แก่ เชื้อราบักเตรี ไวรัสไส้เดือนฝอยและโปรโตซัว ซึ่งพบว่าทาให้แมลงศัตรูข้าวตาย 4.4 แนวทางในการปฏิบัติเพื่อใช้ประโยชน์จากศัตรูธรรมชาติในนาข้าวมีดังนี้
  • 23. 1.ใช้วิธีการป้ องกันกาจัดแมลงศัตรูข้าวแบบผสมผสานคือการใช้วิธีการป้ องกันกาจัดหลายวิธีร่วมกัน เกษตรกรส่วนใหญ่ใช้สารฆ่าแมลงในการป้ องกันกาจัดแมลงศัตรูข้าวแต่เพียงวิธีเดียวควรใช้ วิธีการอย่างอื่นร่วมด้วยเช่น ใช้ข้าวพันธุ์ต้านทานต่อแมลงศัตรูนั้นๆทาให้ลดการใช้สารฆ่าแมลงลงได้ หรืออาจไม่ต้องใช้เลยซึ่งมีผลทาให้ศัตรูธรรมชาติในนาเพิ่มมากขึ้นทั้งชนิดและปริมาณเกิดสมดุลทางธรรมชาติ และไม่เกิดการระบาดของแมลงศัตรูในนาข้าว 2. ถ้าจาเป็นต้องใช้สารฆ่าแมลงเป็นทางเลือกสุดท้ายและใช้สารฆ่าแมลงที่มีพิษน้อยต่อศัตรูธรรมชาติ ใช้เฉพาะพื้นที่ที่ถูกแมลงศัตรูข้าวทาลายไม่ควรใช้สารฆ่าแมลงเพื่อป้ องกันไว้ก่อนทั้งๆที่ยังไม่มีแมลงทาลาย หรือทาลายน้อยไม่ถึงระดับที่จะสูญเสียผลผลิตข้าว เพื่อหลีกเลี่ยงการทาลายศัตรูธรรมชาติและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในนาข้าว 5. สุขลักษณะและความสะอาด • กาจัดวัชพืชในนาและบนคันนา • อุปกรณ์ต่างๆ เช่นมีด จอบ เคียวเครื่องพ่นสารป้ องกันกาจัดศัตรูพืชหลังใช้งานแล้วต้องทาความสะอาด หากเกิดชารุดต้องซ่อมแซมให้อยู่ในสภาพพร้อมใช้งาน • เก็บสารเคมีป้ องกันกาจัดศัตรูพืชและปุ๋ ยเคมีในที่ปลอดภัยและใส่กุญแจ • ภาชนะบรรจุสารเคมีและวัสดุการเกษตรที่ใช้แล้วควรทาลายหรือฝังดิน 6. ศัตรูของข้าวและการป้ องกันกาจัด 6.1 ศัตรูข้าวที่สาคัญและการป้ องกันกาจัด 6.1.1 โรคไหม้ สาเหตุ เชื้อรา ลักษณะอาการ ระยะกล้า ใบมีแผลจุดสีน้าตาลคล้ายรูปตาตรงกลางแผลมีสีเทากว้าง 2-5ม.ม. ยาว10-15 ม.ม. ในกรณีที่โรครุนแรงต้นกล้าข้าวจะแห้งและฟุบตาย ระยะแตกกอ อาการโรคพบได้บนใบกาบใบข้อต่อของใบและข้อต่อของลาต้น ขนาดของแผลใหญ่กว่าระยะกล้าแผลลุกลามติดต่อกันได้ แผลบริเวณข้อต่อใบมีลักษณะแผลช้าสีน้าตาลดาและใบมักหลุดจากข้อต่อใบ
  • 24. ระยะคอรวง ถ้าเป็นโรคในระยะต้นข้าวเริ่มให้รวงเมล็ดจะลีบแต่ถ้าเป็นโรคที่ระยะต้นข้าวให้รวงแล้ว คอรวงจะปรากฏแผลช้าสีน้าตาลทาให้รวงข้าวหักง่ายและหลุดร่วงก่อให้เกิดความเสียหายมาก การแพร่ระบาด เกิดจากสปอร์ของเชื้อราปลิวไปตามลมหรือติดไปกับเมล็ดและเศษฟางข้าว ช่วงเวลาระบาด • อากาศเย็นมีน้าค้างบนใบข้าวจนถึงเวลาสายหรือมีหมอกจัดติดต่อกันหลายวัน การป้ องกันกาจัด • ใช้พันธุ์ต้านทานได้แก่ เหนียวสันป่าตองเหนียวอุบล 2 หางยี71 สันป่าตอง 1 สุรินทร์ 1 • กาจัดพืชอาศัยรอบคันนาเช่นหญ้าชันกาดหญ้าขนหญ้าไซเป็นต้น • ให้ปุ๋ ยไนโตรเจนตามคาแนะนา • ตรวจแปลงนาอยู่เสมอถ้าพบอาการของโรคประมาณ 10% ของพื้นที่ใบ3 ใบบนโดยเฉพาะ เมื่ออากาศเย็นมีหมอกและน้าค้างต่อเนื่องจนถึงเวลาสายควรพ่นสารป้ องกันกาจัดโรคพืช ตามคาแนะนาในตารางที่1 6.1.2 โรคขอบใบแห้ง สาเหตุเชื้อแบคทีเรีย ลักษณะอาการ ระยะกล้ามีจุดเล็กลักษณะฉ่าน้าที่ขอบใบล่างต่อมา 7-10 วันจุดขยายเป็นทางสีเหลืองยาวตามใบ ใบแห้งเร็วส่วนที่ยังมีสีเขียวเปลี่ยนเป็นสีเทาถ้าอาการรุนแรงต้นข้าวอาจเหี่ยวตายทั้งต้น หากนาต้นกล้าที่ได้รับเชื้อไปปักดาต้นกล้าจะเหี่ยวตายในเวลาอันรวดเร็ว ระยะปักดาโดยทั่วไปต้นข้าวจะแสดงอาการหลังปักดาแล้ว 4-6สัปดาห์ขอบใบมีรอยขีดช้า ต่อมาเปลี่ยนเป็นสีเหลืองบางครั้งพบหยดแบคทีเรียบริเวณแผลแผลมักขยายอย่างรวดเร็วไปตามความยาวของใบ ถ้าแผลขยายไปตามกว้างขอบแผลด้านในจะไม่เรียบต่อมาแผลจะเปลี่ยนเป็นสีเทาและแห้ง
  • 25. ช่วงเวลาระบาด เมื่อฝนตกพราติดต่อกันหลายวันระดับน้าในนาสูงหรือเมื่อเกิดน้าท่วม การป้ องกันกาจัด • ในแปลงที่เป็นโรคไถกลบตอซังข้าวทันทีหลังการเก็บเกี่ยว • กาจัดพืชอาศัยรอบคันนาเช่นข้าวป่าและหญ้าไซเป็นต้น • ใช้พันธุ์ข้าวค่อนข้างต้านทานเช่นเหลืองประทิว 123 พัทลุง 60 พิษณุโลก60 -1 • ควรงดให้ปุ๋ ยไนโตรเจน • ไม่ระบายน้าจากแปลงนาที่เป็นโรคสู่แปลงข้างเคียง 6.1.3 โรคเมล็ดด่าง สาเหตุเชื้อราหลายชนิด ลักษณะอาการ อาการที่เด่นชัดคือรวงข้าวด่างดาเมล็ดมีรอยแผลเป็นจุดสีน้าตาลดาลายสีน้าตาลหรือเมล็ดมีสีเทาปนชมพู บางเมล็ดลีบและมีสีน้าตาลดาทาให้ผลผลิตและคุณภาพของข้าวเสียหายมาก ช่วงเวลาระบาดช่วงที่ดอกข้าวเริ่มโผล่จากกาบใบธงโดยเฉพาะเมื่อฝนตกชุก ความชื้นในอากาศสูงมีหมอกจัดติดต่อกันหลายวัน การป้ องกันกาจัด • ในแหล่งที่มีโรคนี้ระบาดเป็นประจาควรหลีกเลี่ยงการปลูกข้าวพันธุ์อ่อนแอ • ใช้เมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่ไม่เป็นโรคหากไม่มีทางเลือก ควรคลุกเมล็ดพันธุ์ก่อนปลูกด้วยสารป้ องกันกาจัดโรคพืชตามคาแนะนาในตารางที่ 1 • ในระยะข้าวเริ่มออกรวงหากพบจุดบนใบประกอบกับมีฝนตกและความชื้นสูง ควรพ่นสารป้ องกันกาจัดโรคพืชตามคาแนะนาในตารางที่1
  • 26. 6.1.4 โรคกาบใบแห้ง สาเหตุเชื้อรา ลักษณะอาการ พบตั้งแต่ระยะแตกกอถึงเก็บเกี่ยวแผลเกิดที่กาบใบใกล้ระดับน้ามีสีเขียวปนเทาขอบแผลมีสีน้าตาลขนาด 1-4x 2-10 ม.ม. แผลอาจขยายใหญ่มากขึ้นและลุกลามขึ้นไปตามกาบใบใบข้าวและกาบใบธง ใบและกาบใบเหี่ยวและแห้งตายถ้าข้าวแตกกอมากต้นเบียดกันแน่นโรคจะระบาดรุนแรงมากขึ้น ช่วงเวลาระบาด เมื่อความชื้นและอุณหภูมิสูง การป้ องกันกาจัด • กาจัดวัชพืชตามคันนาและแหล่งน้าเพื่อลดแหล่งสะสมของเชื้อโรค • ใช้ระยะปักดาและอัตราเมล็ดพันธุ์ตามคาแนะนา • ให้ปุ๋ ยไนโตรเจนตามคาแนะนาในข้อ4.1 • เมื่อเริ่มพบแผลบนกาบใบที่5 นับจากยอดใช้สารป้ องกันกาจัดเชื้อราตามคาแนะนา 6.1.5 โรคถอดฝักดาบ สาเหตุ เชื้อรา ลักษณะอาการ ในระยะกล้าต้นกล้าจะแห้งตายหลังจากปลูกได้ไม่เกิน7วันแต่มักพบกับข้าวอายุเกิน15 วัน ข้าวเป็นโรคจะผอมสูงเด่นกว่ากล้าข้าวโดยทั่วๆไปต้นข้าวผอมมีสีเขียวอ่อนซีดมักย่างปล้อง มีรากเกิดขึ้นที่ข้อต่อของลาต้นส่วนที่ย่างปล้อง บางกรณีข้าวจะไม่ย่างปล้องแต่รากจะเน่าช้าเวลาถอนกล้ามักจะขาดตรงบริเวณโคนต้นถ้าเป็นรุนแรงกล้าข้าวจะแห้งตาย หากไม่รุนแรงอาการจะแสดงหลังจากย้ายไปปักดาได้ 15-45วันโดยที่ต้นเป็นโรคจะสูงกว่าต้นข้าวปกติใบมีสีเขียวซีด เกิดรากแขนงที่ข้อลาต้นตรงระดับน้าบางครั้งพบกลุ่มเส้นใยสีชมพูบริเวณข้อที่ย่างปล้องขึ้นมา
  • 27. ต้นข้าวที่เป็นโรคมักตายและมีน้อยมากที่อยู่รอดจนถึงออกรวงเชื้อราสาเหตุโรคนี้จะติดไปกับเมล็ดข้าว สามารถมีชีวิตในซากต้นข้าวและในดินได้เป็นเวลาหลายเดือนนอกจากนี้ยังพบว่าหญ้าชันกาดเป็นพืชอาศัยของโรคนี้ การป้ องกันกาจัด • หลีกเลี่ยงการนาเมล็ดพันธุ์จากแหล่งที่เคยเป็นโรคระบาดมาปลูก • คลุกเมล็ดพันธุ์ด้วยสารป้ องกันกาจัดเชื้อราตามคาแนะนาในตารางที่ 1 • ควรกาจัดต้นที่เป็นโรคด้วยการถอนและเผาไฟ • เมื่อเกี่ยวข้าวแล้วควรไขน้าเข้านาและไถพรวนปล่อยน้าเข้านาประมาณ 1-2สัปดาห์ เพื่อลดปริมาณเชื้อราสาเหตุโรคที่ตกค้างในดิน 6.1.6 โรคใบวงสีน้าตาล สาเหตุเชื้อรา ลักษณะอาการ ระยะกล้า ข้าวจะแสดงอาการไหม้ที่ปลายใบและมีวงสีน้าตาลเข้ม ระยะข้าวแตกกออาการส่วนใหญ่จะเกิดบนใบแต่มักจะเกิดแผลที่ปลายใบมากกว่าบริเวณอื่นๆของใบ แผลบนใบในระยะแรกมีลักษณะเป็นรอยช้ารูปไข่ยาวๆแผลสีน้าตาลปนเทาขอบแผลสีน้าตาลอ่อน จากนั้นแผลจะขยายใหญ่ขึ้นเป็นรูปวงรีติดต่อกันทาให้เกิดอาการใบไหม้บริเวณกว้างและจะเปลี่ยนเป็นสีฟางข้าว ในที่สุดแผลจะมีลักษณะเป็นวงซ้อนๆกันลุกลามเข้ามาที่โคนใบมีผลทาให้ใบข้าวแห้งก่อนกาหนด การป้ องกันกาจัด • ใช้พันธุ์ข้าวต้านทานเช่นกาผาย15 หางยี71 • กาจัดวัชพืชที่เป็นพืชอาศัยของเชื้อราสาเหตุของโรคเช่นหญ้าชันกาดหญ้าขน • ในเหล่งที่เคยมีโรคระบาดหรือพบแผลลักษณะอาการดังกล่าวข้างต้นบนใบข้าว จานวนหนาตาในระยะข้าวแตกกอควรฉีดพ่นสารป้ องกันกาจัดโรคพืชตามคาแนะนาในตารางที่ 1