SlideShare a Scribd company logo
1 of 72
สิทธิมนุษยชนในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
และแผนระดับชาติด้านสิทธิมนุษยชน
ธีรยุทธ แก้วสิงห์
ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านพิทักษ์สิทธิและเสรีภาพ
กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ กระทรวงยุติธรรม
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.1948/พ.ศ.2491
ขจัดการเลือกปฏิบัติ
ทางเชื้อชาติ
ค.ศ.1965/พ.ศ.2508
เด็ก
ค.ศ.1989/พ.ศ.2532
ต่อต้านการ
ทรมาน
ค.ศ.1984/พ.ศ.2507
ต่อต้านอุ้มหาย
ค.ศ. 2006/
พ.ศ.2549
แรงงานอพยพฯ
ค.ศ.1990/พ.ศ.2533
สตรี
ค.ศ.1979/พ.ศ.2522
คนพิการ
ค.ศ.2006/พ.ศ.2549
ปัญหาการละเมิดสิทธิฯ ในรูปแบบต่างๆ เช่น ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ฯ
การจัดตั้งองค์กรสหประชาชาติ ค.ศ.1945 /พ.ศ.2488
กติกาฯว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
ค.ศ.1966 / พ.ศ.2509
กติกาฯว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
ค.ศ.1966 / พ.ศ.2509
เจตนารมย์ร่วมกัน
ไม่มีสภาพบังคับ
เป็นก.ม.ระหว่าง
ประเทศ
สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน ที่ประเทศไทยเป็ นภาคี
สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน วันที่เข้าเป็นภาคี วันที่มีผลบังคับใช้
1. อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) 9 ส.ค. 2528 8 ก.ย. 2528
2. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) 27 มี.ค. 2535 26 เม.ย. 2535
3. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองแลสิทธิทางการเมือง (ICCPR) 29 ต.ค. 2539 30 ม.ค. 2540
4. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) 5 ก.ย. 2542 5 ธ.ค. 2542
5. อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (CERD) 28 ม.ค. 2546 27 ก.พ. 2546
6. อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้
มนุษยธรรม หรือย่ายีศักดิ์ศรี (CAT)
2 ต.ค. 2550 1 พ.ย. 2550
7. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการ (CRPD) 29 ก.ค. 2551 28 ส.ค. 2551
มาตรฐานสิทธิมนุษยชน เป็นมาตรฐานขั้นต่าที่แต่ละประเทศ ควรดาเนินการ
ให้ได้ หรือแต่ละประเทศจะกาหนดมาตรฐานที่สูงกว่าก็ได้ และมาตรฐานดังกล่าวย่อมมี
ผลผูกพันกับตัวแทนของประเทศ รวมทั้ง เจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายของประเทศ
เหล่านั้นด้วย
หลักสากล : มาตรฐานระหว่างประเทศ
กรอบข้อตกลงระหว่างประเทศ อนุสัญญาระหว่างประเทศ และกฎหมายภายในที่เกี่ยวข้อง
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (UDHR)
กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง (ICCPR)
อนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ (CAT)
อนุสัญญาขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ (CERD)
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC)
ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญาฯ
ประมวลก.ม.อาญา
พรบ.คุ้มครองพยาน พ.ศ.2546
พรบ.ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าตอบแทนและค่าจ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา พศ.2544ฯ
รัฐธรรมนูญ ฯ ( 2540, 2550, 2560)
กฎหมายอื่นๆ
ไทยเป็นภาคี
มีพันธกรณีต่อ
ข้อตกลงฯ และ
อนุสัญญาสิทธิ
มนุษยชน
สาระสาคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
1. ทุกคนมีศักดิ์ศรี สิทธิ และเสรีภาพเท่าเทียมกัน และต้องปฏิบัติต่อกันฉันพี่น้อง
2. ทุกคนมีสิทธิ และเสรีภาพ อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติ
3. ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิตอยู่ และมีความมั่นคง
4. ห้ามบังคับคนให้เป็นทาส และห้ามค้าทาสทุกรูปแบบ
5. ห้ามการทรมาน หรือการลงโทษทารุณโหดร้ายผิดมนุษย์
6. สิทธิในการได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลตามกฎหมาย
7. สิทธิในการได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมกัน
8. สิทธิในการได้รับการเยียวยาจากศาล
9. ห้ามการจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ
10. สิทธิในการได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมและเปิ ดเผย
11. สิทธิในการได้รับการสันนิษฐานว่าบริสุทธิ์ก่อนศาลตัดสิน และต้องมี
กฎหมาย กาหนดว่า การกระทานั้นเป็นความผิด
12. ห้ามรบกวนความเป็นอยู่ส่วนตัว ครอบครัว เคหสถาน การติดต่อสื่อสาร
รวมทั้งห้ามทาลายชื่อเสียง และเกียรติยศ
13. เสรีภาพในการเดินทางและเลือกถิ่นที่อยู่ในประเทศ รวมทั้งการออกนอก
ประเทศ หรือกลับเข้าประเทศโดยเสรี
14. สิทธิในการลี้ภัยไปประเทศอื่นเพื่อให้พ้นจากการถูกประหัตประหาร
15. สิทธิในการได้รับสัญชาติ และการเปลี่ยนสัญชาติ
16. สิทธิในการเลือกคู่ครอง และสร้างครอบครัว
17. สิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สิน
18. เสรีภาพในความคิด มโนธรรม ความเชื่อ หรือการถือศาสนา
19. เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและแสดงออก รวมทั้งการได้รับข้อมูลข่าวสาร
20. สิทธิในการชุมนุมโดยสงบและรวมกลุ่ม และห้ามบังคับเป็นสมาชิกสมาคม
21. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในรัฐบาลทั้งทางตรง และโดยผ่านผู้แทน อย่างอิสระ และมีสิทธิเข้าถึง
บริการสาธารณะโดยเท่าเทียมกัน
22. สิทธิในการได้รับความมั่นคงทางสังคม และได้รับสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
โดยการกาหนดระเบียบและทรัพยากรของประเทศตนเอง
23. สิทธิในการมีงานทาตามที่ต้องการ และได้รับการประกันการว่างงาน รวมทั้งได้รับ
ค่าตอบแทนเท่ากัน สาหรับงาน อย่างเดียวกัน และรายได้ ต้องพอแก่การดารงชีพสาหรับ
ตนเองและครอบครัว ตลอดจนมีสิทธิก่อตั้ง และเข้าร่วมสหภาพแรงงาน
24. สิทธิในการพักผ่อนและมีเวลาพักจากการทางาน
25. สิทธิในการได้รับมาตรฐานการครองชีพอย่างเพียงพอ ได้รับปัจจัยสี่ สวัสดิการสังคม
ประกันการว่างงาน เจ็บป่วย เป็นหม้าย ผู้สูงอายุ ตลอดจน ต้องคุ้มครองแม่และเด็ก
เป็นพิเศษ
26. สิทธิในการได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน
27. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน และได้รับการคุ้มครอง ทรัพย์สิน
ทางปัญญา
28. สังคมต้องมีระเบียบทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ เพื่อให้บุคคลได้รับสิทธิ
และเสรีภาพ ตามปฏิญญานี้
29.บุคคลย่อมมีหน้าที่ต่อชุมชน การใช้สิทธิเสรีภาพ ต้องเคารพในสิทธิและเสรีภาพ
ของผู้อื่น
30.ห้ามมิให้รัฐ กลุ่มคน หรือบุคคล กระทาการทาลายสิทธิ เสรีภาพของบุคคลตาม
ปฏิญญานี้
ปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.1945 (พ.ศ.2488)
ข้อ 5. ห้ามการทรมาน หรือการลงโทษทารุณโหดร้ายผิดมนุษย์
• จะทาการซ้อม ทรมาน ลงโทษที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ายีศักดิ์ศรีของความมนุษย์ไม่ได้ เช่น เฆี่ยน
ตัดมือ ตัดแขน ขา ตัดศรีษะ ไฟฟ้าซ๊อต ถุงคลุมศีรษะ เอาหินปาให้ตาย แห่ประจานไม่ได้
ข้อ 9. ห้ามการจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ
• จะจับกุม นาตัวไปขังโดยพลการ หรือ จะเนรเทศ โดยใช้อานาจฝ่ายผู้มีอานาจ ทหาร ตารวจฯ โดยไม่มี
หมาย/คาสั่งศาลไม่ได้ (ต้องมีการตรวจสอบ ถ่วงดุลย์การใช้อานาจเพื่อคุ้มครองสิทธิฯ)
ข้อ10. ทุกคนมีสิทธิเสมอภาค มีสิทธิในการได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรม และเปิ ดเผย
• มีสิทธิต่อสู้คดี มีทนาย มีล่าม การพิจารณาคดีต้องเปิ ดเผยให้ประชาชนทราบ โดยศาลที่เป็นอิสระ
ข้อ11. สิทธิในการได้รับการสันนิษฐานว่าบริสุทธิ์ก่อนศาลตัดสิน และต้องมี
กฎหมายกาหนดว่าการกระทานั้นเป็นความผิด
(หลักไม่มีความผิด ไม่มีโทษ ถ้าไม่มีกฎหมายกาหนดไว้)
• ผู้ต้องหา จาเลย ต้องมีหลักประกันในการต่อสู้คดี มีทนาย ได้รับการพิจารณาปล่อย
ชั่วคราว ปฏิเสธที่จะถูกนาตัวไปแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน
• ต้องใช้กฎหมาย ที่กาหนดความผิด และโทษ ในขณะที่ผู้นั้นกระทาความผิด
ปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.1945 (พ.ศ.2488)
กฎหมายภายในของประเทศไทย ที่สอดรับกับข้อตกลงและอนุสัญญาด้าน
สิทธิมนุษยชน
(๑) รัฐธรรมนูญ
(๒) ประมวล กฎหมายอาญา / วิธีพิจารณาความอาญา ฯลฯ
(๓) กฎหมายเฉพาะ
ความสัมพัน
ธ ์
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน รธน. 2560 กฎหมายอื่น
1. ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มาตรา 4, 26 -
2. ความเสมอภาคโดยปราศจากการเลือก
ปฏิบัติ
มาตรา 4, 27 หลายฉบับ
3. สิทธิในการดารงชีวิตและความมั่นคง
แห่งร่างกาย
มาตรา 28 ป.อ.
4. เสรีภาพจากการถูกบังคับให้เป็นทาส
เสรีภาพจากการถูกบังคับให้กักขังใต้
ภาวะจายอม
มาตรา 30
-
-
ป.อ.
5. เสรีภาพจากการถูกทรมานหรือการ
ลงโทษที่โหดร้าย
มาตรา 28 ป.อ.
ความสัมพัน
ธ ์
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน รธน.2560 กฎหมายอื่น
6. สิทธิในการได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลตาม
กฎหมาย
มาตรา 39 ป.พ.พ.
7. สิทธิในการได้รับความคุ้มครองโดยกฎหมาย มาตรา 25 ทุกกฎหมาย
8. สิทธิที่จะได้รับการเยียวยาจากศาลเมื่อถูกละเมิด
สิทธิ
มาตรา 25, 41 ป.วิ.อาญา
ป.วิ.แพ่ง
วิ.ปกครอง
9. เสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือเนรเทศ
โดยพลการ
มาตรา 28 ป.วิ.อาญา
10. สิทธิในการได้รับการพิจารณาคดีในศาลอย่าง
เป็นธรรม
มาตรา 51, 68 ป.วิ.แพ่ง
ป.วิ.อาญา
วิ.ศาลปกครอง
ความสัมพัน
ธ ์
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน รธน.2560 กฎหมายอื่น
11. สิทธิในการได้รับการสันนิษฐานว่าเป็นผู้
บริสุทธิ์จนกว่าจะมีการพิสูจน์ความผิด
เสรีภาพจากการไม่ถูกบังคับใช้กฎหมาย
อาญาย้อนหลัง
มาตรา 29
มาตรา 29
ป.วิ.อาญา
ป.อ.
12. สิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว ใน
ครอบครัว
สิทธิในเคหสถาน
เสรีภาพในการสื่อสาร
มาตรา 32
มาตรา 33
มาตรา 36
ป.พ.พ.
-
13. เสรีภาพในการเดินทางและการเลือก
ถิ่นที่อยู่อาศัย
มาตรา 38 กฎหมายคนเข้าเมือง
14. สิทธิในการลี้ภัย รัฐธรรมนูญไทยไม่เคยปรากฏ
มาตรา 66 ทางอ้อม
-
15. สิทธิเสรีภาพในการถือและเปลี่ยนสัญชาติ มาตรา 39 กฎหมายสัญชาติ
ความสัมพัน
ธ ์
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน รธน.2560 กฎหมายอื่น
16. สิทธิในการสมรสและสร้างครอบครัว มาตรา 71 (แนวนโยบายกว้างๆ) ป.พ.พ.
17. สิทธิในการถือครองทรัพย์สิน
เสรีภาพจากการถูกยึดคืน/เวนคืนทรัพย์สินโดย
พลการ
มาตรา 37
มาตรา 37
ป.พ.พ.
พรบ.เวนคืน
18. เสรีภาพในความคิด ความเชื่อและในการนับ
ถือศาสนา
มาตรา 31 -
19. เสรีภาพในความคิดเห็นและการแสดงออก มาตรา 34, 35 กฎหมายสื่อสารมวลชน
20. เสรีภาพในการชุมนุม
เสรีภาพรวมกันเป็นสมาคม
เสรีภาพในการรวมตัวตั้งพรรคการเมือง
มาตรา 44
มาตรา 42,
มาตรา 45
พรบ.การชุมนุม
ปพพ.
พรบ.พรรคฯ
ความสัมพัน
ธ ์
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน รธน.2560 กฎหมายอื่น
21. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมการปกครองโดยผ่านการเลือกตั้ง
สิทธิในการเข้าถึงบริการสาธารณะ
หน้าที่ตามมาตรา 50
มาตรา 83 ส.ส.มาจากการเลือกตั้ง
มาตรา 56
กฎหมายเลือกตั้ง
-
22. สิทธิในความมั่นคงและการได้รับผลทางเศรษฐกิจ
สังคม และวัฒนธรรม
มาตรา 43 (สิทธิชุมชน)
มาตรา 71,73,74,75 (แนวนโยบายรวมๆ)
-
23. สิทธิที่จะเลือกทางานและได้รับค่าตอบแทนที่เป็น
ธรรม
สิทธิที่จะเข้าร่วมสหภาพแรงงาน
มาตรา 40,74
มาตรา 42,74
กฎหมายแรงงาน
กฎหมายแรงงานสัมพันธ์
24. สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่างจากการทางาน มาตรา 74 (แนวนโยบายแห่งรัฐ) กฎหมายแรงงาน
ความสัมพัน
ธ ์
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน รธน.2560 กฎหมายอื่น
25. สิทธิในมาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอ
สิทธิในการรักษาพยาบาลที่จาเป็น
สิทธิในความมั่นคงจากการว่างงานหรือขาด
ไร้อาชีพ
สิทธิของบุตรนอกสมรส
มาตรา 48 (หญิงตั้งครรภ์ คนชรา)
มาตรา 71 (แนวนโยบายแห่งรัฐ)
มาตรา 47, 55
มาตรา 71,74
(แนวนโยบายแห่งรัฐกว้างๆ)
มาตรา 71 (เด็ก)
พรบ.คนไร้ที่พึ่งฯ
กม.สาธารณสุข
กม.ประกันสังคม
-
26. สิทธิในการศึกษา
เสรีภาพทางวิชาการ
มาตรา 50 (หน้าที่-ภาคบังคับ)
มาตรา 54 หน้าที่รัฐจัด 12 ปี
-
กฎหมายการศึกษา
27. สิทธิทางวัฒนธรรม
สิทธิในความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์
มาตรา 43 (สิทธิชุมชน)
มาตรา 69 (แนวนโยบายแห่งรัฐ)
กฎหมายวัฒนธรรม
ลิขสิทธิ์- สิทธิบัตร
อยู่ในครรภ์
มารดา
คลอดออกมา
เป็นทารก
วัยเด็ก เยาวชน ทางาน เสียชีวิต
วัยชรา
มีคู่ครอง มีบุตรธิดา
วัยเรียน สาเร็จการศึกษา เจ็บป่วย
พิการ
ฝากครรภ์
( แม่/ลูกได้รับ
การดูแลฯ)
ไม่ใช่แต่เฉพาะ
คนมีเงินที่ได้
แม่/เด็กได้รับเงิน
อุดหนุนจากรัฐ
เรียนชั้นบังคับฟรี ได้รับ
นม อาหารกลางวันฟรี
๓๐ บาทรักษาทุกโรค
เบี้ยผู้สูงอายุ
และสวัสดิการ
แจ้งเกิดเด็ก
สัญชาติใดก็ได้
ปรึกษาทนายฯ, ได้ประกันตัว
หลักสิทธิมนุษยชนสากล
(ปฏิญญาสากล และสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน)
รัฐธรรมนูญไทย กฎหมายภายใน และนโยบายรัฐ ฯลฯ
ผู้เสียหาย จาเลยคดีอาญาผู้บริสุทธิ์ได้รับการเยียวยาจากรัฐ
สิทธิลาเลี้ยงลูก
ทั้งแม่/พ่อ
สิทธิของเด็กยากไร้ ได้รับ
การดูแลจากรัฐ
สิทธิผู้พิการด้าน
ต่างๆ(เบี้ย,การ
ทางาน.สวัสดิการฯ
การเลือกคู่ครอง การนับถือ/ไม่นับถือศาสนาใด
สิทธิในการ
ทางาน ได้รายได้
ได้รับสวัสดิการ
ได้รับน้า อากาศบริสุทธิ์
สิทธิชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติ
สิทธิในการเดิน
ทาง อยู่อาศัย
รูปแบบต่างๆของสิทธิมนุษยชน
ได้รับการรับรองว่าอยู่ในรัฐ
เสมอภาค ไม่ถูกเลือกปฎิบัติ
สิทธิในการชุมนุม เสรีภาพในการแสดงความเห็น
ไม่ถูกจนท.ซ้อม อุ้มหาย
ลิขสิทธิ์
มีสัญชาติ
กฎหมายภายในของประเทศไทย ที่สอดรับกับข้อตกลงและอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน
(๒) ประมวล กฎหมายอาญา / วิธีพิจารณาความอาญา ฯลฯ
(๓) กฎหมายเฉพาะ
(๑) รัฐธรรมนูญ
ผู้กระทา
ความผิด
ผู้เสียหาย
พยานบุคคล
ตารวจ ปกครอง
DSI
ฟ้อง
คดี
พิพากษา
คดี
สืบสวน จับกุม สอบสวน
บังคับ
โทษ
ทา
ความผิด
อัยการ ศาล ราชทัณฑ์
ทนายความ
คุ้มครอง
พยาน
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา : กระบวนการนาผู้กระทาความผิดมาลงโทษตามกฎหมาย
สิทธิผู้ต้องหา สิทธิของ ผู้ต้องขัง จาเลย นักโทษ สิทธิของผู้เสียหาย
การคุ้มครอง สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
สิทธิพยาน
สิทธิของบุคคลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
สืบสวน/
หาข่าว
ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ้องคดี บังคับโทษ
พิจารณา
พิพากษา
ผู้ถูกจับ ผู้ต้องหา จาเลย จาเลย นักโทษ
ผู้ต้องสงสัย
สืบสวน หาข่าว ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ้องคดี บังคับโทษ
พิจารณา
พิพากษา
สิทธิของผู้ต้องสงสัย ผู้ต้องหา จาเลย ผู้เสียหาย พยาน ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
-ได้รับแจ้งข้อหา และสิทธิ ต่างๆ
-ได้รับการสอบสวนโดยเร็ว ต่อเนื่อง เป็นธรรม
-จับ/ตรวจค้น มีหมายศาล
สืบสวน หาข่าว ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ้องคดี บังคับโทษ
พิจารณา
พิพากษา
สิทธิของผู้ต้องสงสัย ผู้ต้องหา จาเลย ผู้เสียหาย พยาน ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
-มีทนายความ /ผู้ที่ไว้วางใจเข้าฟังการสอบสวน
-มีเสรีภาพ ในการเดินทาง /ในเคหสถาน
(ไม่ถูกสะกดรอยติดตามถูกดักฟัง)
-ยื่นประกันตัว ขอปล่อยชั่วคราว
สืบสวน หาข่าว ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ้องคดี บังคับโทษ
พิจารณา
พิพากษา
สิทธิของผู้ต้องสงสัย ผู้ต้องหา จาเลย ผู้เสียหาย พยาน ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
-มีทนายความในคดีโทษประหาร,
อายุไม่เกิน 18 ปี ,โทษสูง
-ไม่ถูกชักจูง ขู่เข็ญ ทรมาน
-ไม่นั่งร่วมแถลงข่าว
สืบสวน หาข่าว ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ้องคดี บังคับโทษ
พิจารณา
พิพากษา
สิทธิของผู้ต้องสงสัย ผู้ต้องหา จาเลย ผู้เสียหาย พยาน ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
-สิทธิของผู้ต้องขัง และนักโทษ
ตามมาตรฐานขั้นต่าของUN
-สั่งให้ พงส. สอบเพิ่มเติมในสานวนที่อ่อน
-ใช้อานาจตามกฎหมายไต่สวนหาความจริงได้
สืบสวน หาข่าว ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ้องคดี บังคับโทษ
พิจารณา
พิพากษา
สิทธิของผู้ต้องสงสัย ผู้ต้องหา จาเลย ผู้เสียหาย พยาน ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
-ตัดสินคดีอย่างเที่ยงธรรม และสุจริต
-ไม่ไปทาแผนประทุษกรรม
-แจ้งว่ามีสิทธิอะไร เช่น แจ้งญาติพี่น้อง
สิทธิของ ผู้ต้องหา จาเลย ผู้เสียหาย พยาน ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
สืบสวน หาข่าว ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ้องคดี บังคับโทษ
พิจารณา
พิพากษา
มีเสรีภาพในการ
เดินทาง
ในเคหสถาน
(ไม่ถูกสกดรอย
ติดตาม
ถูกดักฟัง)
-จนท.ผู้จับ/ตรวจค้น
มีหมายศาลหรือไม่
-ผู้ถูกตรวจค้น จับกุม
ได้รับแจ้งว่าถูกจับกุม
ในความผิดอะไร
-ผู้ถูกจับมีสิทธิอะไร
เช่น แจ้งญาติพี่น้อง,
ถูกส่งตัวให้พงส.ใน
เวลาที่กาหนด
-ได้รับแจ้งข้อหา และสิทธิฯ
-มีทนายความในคดีโทษ
ประหาร,โทษสูง, อายุไม่
ครบ ๑๘ ปี
-มีทนายฯ ผู้ที่ไว้วางใจเข้า
ฟังการสอบสวน
-ได้รับการสอบสวนโดยเร็ว
ต่อเนื่อง เป็นธรรม
-ยื่นขอปล่อยชั่วคราว
ฟ้องภายใน
กาหนดเวลาฯ
-สิทธิของ
ผู้ต้องขัง และ
นักโทษตาม
มาตรฐานขั้น
ต่าของUN
และก.ม.ไทย
ตาม
รัฐธรรมนูญฯ
พรบ.ราช
ทัณฑ์ฯ
ใช้ดุลยพินิจสั่งไม่
ฟ้อง /ไม่ฟ้อง
ตามหลัก
กฎหมาย
สั่งให้พงส.
สอบเพิ่มเติมใน
สานวนที่อ่อน
ไต่สวนเพิ่มเติม
ตามอานาจก.ม.
ให้ศาลไต่สวนหา
ความจริงได้
-ไม่ถูกชักจูง ขู่เข็ญ ทรมาน
-ไม่ถูกนาไปSH
-ไม่นั่งร่วมแถลงข่าว
-ไม่ไปทาแผนประทุษกรรม
พยานมีสิทธิได้รับการคุ้มครอง
ผู้เสียหายมีสิทธิได้รับการปกป้อง
และเยียวยา
ตัดสินคดีอย่าง
เที่ยงธรรม
และสุจริต
ผู้กระทา
ความผิด
ผู้เสียหาย
พยานบุคคล
ตารวจ ปกครอง
DSI
ฟ้อง
คดี
พิพากษา
คดี
สืบสวน จับกุม สอบสวน
บังคับ
โทษ
ทา
ความผิด
อัยการ ศาล ราชทัณฑ์
ทนายความ
คุ้มครอง
พยาน
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา : กระบวนการนาผู้กระทาความผิดมาลงโทษตาม
กฎหมาย
สิทธิผู้ต้องหา สิทธิของ ผู้ต้องขัง จาเลย นักโทษ สิทธิของผู้เสียหาย
การคุ้มครอง สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
สิทธิพยาน
ความเสี่ยงในการละเมิดสิทธิฯ ในกระบวนการยุติธรรมทาง
อาญา
สืบสวน/
หาข่าว
ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ
้ องคดี บังคับโทษ
พิจารณา
พิพากษา
ผู้ถูกจับ ผู้ต้องหา จาเลย จาเลย นักโทษ
ผู้ต้องสงสัย
ความเสี่ยงในการละเมิดสิทธิฯ ในกระบวนการยุติธรรมทาง
อาญา
สืบสวน/
หาข่าว
ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ
้ องคดี บังคับโทษ
พิจารณา
พิพากษา
สะกดรอยติดตาม
ดักฟัง ไม่ถูก กฎหมาย
ตรวจค้น จับกุม
ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
สอบสวนโดยมิชอบด้วย
กฎหมาย
นาไป SH สอบขยายผล
ซ้อมฯ, อุ้มหาย,ไม่แจ้งสิทธิ
ผู้ต้องหา ส่งตัวให้พงส.เกิน
เวลา
ซ้อมทรมาน ขู่เข็ญจูงใจ
ไม่มีทนายฯร่วมรับฟังฯ
ไม่นาหลักฐานสาคัญอยู่ใน
สานวนทั้งพิสูจน์ความผิด/
ความบริสุทธิ์ฯ
นาตัวไปแถลงข่าวฯ ถูกญาติ
ทาร้าย
ฟ้องล่าช้าเกิน
เวลาฯ
พยานเท็จ,
หรือไม่มาศาล
ซ้อม,เสียชีวิต
โดยผิดก.ม.
ไม่มีหมายศาล ไม่เข้าเหตุ
ยกเว้นตามก.ม.
ใช้ดุลยพินิจสั่ง ไม่
ฟ้อง ไม่ถูกก.ม.
ไม่สั่งให้พงส.
สอบเพิ่มเติมใน
สานวนที่อ่อน
ไม่ไต่สวนทั้งที่
ก.ม.ให้ศาลไต่สวน
หาความจริงได้
ผู้ต้องสงสัย ผู้ต้องหา จาเลย เข้าไม่ถึงสิทธิฯ เช่น ไม่มีทนายฯ / ญาติร่วมรับฟัง ไม่ได้รับการปล่อยชั่วคราว
ผู้ถูกจับ ผู้ต้องหา จาเลย จาเลย นักโทษ
ผู้ต้องสงสัย
การคุ้มครองสิทธิ และการช่วยเหลือทางกฎหมายประชาชน โดย รัฐ
เริ่มเกิดปัญหาละเมิดสิทธิฯ
(กลางน้า)
มีปัญหา ผลกระทบเกิดขึ้นแล้ว
(ปลายน้า)
ก่อนเกิดปัญหาละเมิดสิทธิฯ
(ต้นน้า)
1. การส่งเสริม ป้องกัน
(กลุ่มปกติ)
2. คุ้มครอง
(กลุ่มเสี่ยง นักปกป้อง พยานฯ)
3.เยียวยา ฟื้นฟู
(เหยื่อ ผู้เสียหาย จาเลย)
3. ทาให้เกิดผลในทางปฏิบัติ (Fulfill) ด้านกฎหมาย นโยบายและปฏิบัติ
1. เคารพสิทธิฯ(Respect)ไม่แทรกแซง
2. คุ้มครองสิทธิฯ (Protect)ไม่ให้ ปชช. ถูกละเมิด
หน้าที่ของรัฐ
มีกลไกตาม
กฎบัตรUN
มีกลไกตามกติกา
/อนุสัญญาฯ
ที่ประเทศเป็นสมาชิก
4. การสร้างหลักประกันให้แก่ประชาชนมั่นใจว่าจะได้รับการคุ้มครองสิทธิฯ
หลักการช่วยเหลือทางกฎหมาย
สาหรับ ผู้ต้องหา และ จาเลยในคดีอาญา
1.หลักการสันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ถูกกล่าวหาเป็นผู้บริสุทธิ์
(Presumption of innocence)
2.หลักความเสมอภาค (Equality before the Law)
3.หลักอาวุธที่เท่าเทียมกัน (Equality of Arms)
หลักการช่วยเหลือทางกฎหมาย
สาหรับ ผู้ต้องหา และ จาเลยในคดีอาญา
การดาเนินคดีอาญา ตามหลักสากล : “ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าบุคคลทุกคน เป็นผู้บริสุทธิ์”
• บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับการพิจารณาโดยเปิ ดเผยและเป็นธรรมภายในเวลา อันสมควร โดยคณะผู้
พิพากษาซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามกฎหมายที่มีความเป็นอิสระและมีความเป็นกลาง
• หากจาเลยถูกฟ้องว่าเป็นผู้กระทาความผิดอาญาจะต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ จนกว่าจะ
พิสูจน์ได้ว่ากระทาความผิดตามกฎหมาย
ดังนั้น ศาลจะพิพากษาลงโทษจาเลยได้นั้นต้อง พิสูจน์ให้ได้ว่า “ปราศจากความสงสัยตามสมควร
ว่า จาเลยเป็นผู้กระทาความผิด หากยังมีข้อสงสัย ต้องยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้แก่จาเลย”
1.หลักการสันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ถูกกล่าวหาเป็นผู้บริสุทธิ์ (Presumption of innocence)
 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐ มาตรา ๒๙ วรรคสอง บัญญัติว่า
“ในคดีอาญา ให้ สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจาเลยไม่มีความผิด และก่อนมีคาพิพากษา
อันถึงที่สุดแสดงว่า บุคคลใดได้กระทาความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็นผู้กระทา
ความผิดมิได้”
 ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๒๗ ในการพิจารณาคดีอาญา ศาลต้อง
ยึดถือหลักนิติธรรมอันเป็นบรรทัดฐานคือ “หลักสันนิษฐานว่าบุคคลเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าจะ
ได้รับการพิสูจน์โดยปราศจากข้อสงสัยว่ามีความผิด” (Presumption of innocence until
proven guilty beyond a reasonable doubt)
2.หลักความเสมอภาค (Equality before the Law)
หลักความเสมอภาค กาหนดให้
“บุคคลทุกคนย่อมได้รับการปฏิบัติจากรัฐอย่างเท่าเทียมกัน โดยองค์กร
ต่าง ๆ ของรัฐต้องปฏิบัติต่อบุคคลที่เหมือนกันในสาระสาคัญอย่าง
เดียวกัน และปฏิบัติต่อบุคคลที่แตกต่างกันในสาระสาคัญที่ แตกต่างกัน
ออกไปตามลักษณะเฉพาะแต่ละบุคคล”
จึงจะทาให้เกิดความยุติธรรมภายใต้หลักความ เสมอภาคขึ้นได้
 รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๗ วรรคแรกว่า “บุคคลย่อม
เสมอกันใน กฎหมายมีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียม
กัน”
 หลักความเสมอภาคในกระบวนการยุติธรรม มุ่งคุ้มครองบุคคลทุกคนที่เข้าสู่
กระบวนการยุติธรรมทางอาญาให้ได้รับการพิจารณาคดีตามกระบวนการพิจารณา
อย่างเดียวกันและ มีความเสมอภาคกันในกระบวนการยุติธรรม
3.หลักอาวุธที่เท่าเทียมกัน (Equality of Arms)
การพิสูจน์ความจริงในคดีอาญา ได้อย่างเป็นธรรม คู่ความทั้ง
สองฝ่ายต้องมีความสามารถในการต่อสู้คดีอย่างเท่าเทียมกัน
เรียกว่า “หลักอาวุธเท่าเทียมกัน”
ทนายความ จึงเป็นองค์ประกอบสาคัญในการให้ความช่วยเหลือ ทางคดี และ
เป็นหลักประกันเพิ่มเติมว่า ผู้ต้องหาหรือจาเลยมีสิทธิที่จะต่อสู้คดีได้อย่าง
เต็มที่โดยถือ หลักอาวุธเท่าเทียมกัน
สิทธิผู้ต้องหาหรือจาเลยในการมีทนายความ (Right to Counsel)
ดังนั้น สิทธิของผู้ต้องหาและจาเลยในคดีอาญาที่จะได้รับความช่วยเหลือ
ทางคดีจากทนายความ เป็นสิ่งที่จะขาดเสียมิได้ ถือเป็นรากฐานของ
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา หากปราศจากสิทธิดังกล่าวเสียแล้ว
ความยุติธรรมจักเกิดขึ้นมิได้
มาตรฐานสากลของหลักประกันสิทธิของผู้ต้องหาและจาเลย ที่จะได้รับ
การปฏิบัติที่เป็นธรรมระหว่างการดาเนินคดี ได้รับรองไว้ในกติการะหว่างประเทศว่า
ด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ข้อ ๑๔
 สิทธิของผู้ต้องหาหรือจาเลยในการมีทนายความ ตามรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทย
• รธน. 2517 กาหนด มีทนายความ ครั้งแรก และรัฐจัดหาทนายความแก่ผู้ยากไร้
• รธน. 2540 และกาหนดเป็นหน้าที่ของรัฐ ในการจัดหาทนายความ
• รธน. 2550 กาหนดกฎเกณฑ์ การคุ้มครองสิทธิการมีทนายความ
 สิทธิของผู้ต้องหาหรือจาเลยในการมีทนายความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความอาญา
• ทนายความในชั้นสอบสวน
• ทนายความในชั้นพิจารณาคดี
ทนายความอาสา
ทนายความขอแรง
ผู้กระทา
ความผิด
ผู้เสียหาย
พยานบุคคล
ตารวจ ปกครอง
DSI
ฟ้อง
คดี
พิพากษา
คดี
สืบสวน จับกุม สอบสวน
บังคับ
โทษ
ทา
ความผิด
อัยการ ศาล ราชทัณฑ์
ทนายความ
คุ้มครอง
พยาน
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา : กระบวนการนาผู้กระทาความผิดมาลงโทษตามกฎหมาย
สิทธิผู้ต้องหา สิทธิของ ผู้ต้องขัง จาเลย นักโทษ สิทธิของผู้เสียหาย
การคุ้มครอง สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
สิทธิพยาน
บริบทและปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทย
• ระบบกฎหมาย : ระบบประมวลกฎหมาย (Civil Law) เป็นหลัก และมีอิทธิพลของระบบกฎหมายจารีต
ประเพณี (Common Law) ปรากฏอยู่มาก ทั้งแนวคิด และการปฏิบัติ
• ระบบ/กระบวนการยุติธรรมทางอาญา : ระบบกล่าวหาเป็นหลัก (มีข้อเสนอให้นาระบบไต่สวนเข้ามาใช้มากขึ้น)
โดยตารวจเป็นหน่วยงานหลักในการจับกุม และสอบสวนฯ มีแนวคิดที่ส่งผลต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ
พนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการในการค้นหาความจริงที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ต้องหา ศาลวางตัวเป็น
กลาง
• ข้อตกลงระหว่างประเทศและอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน : ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ,กติกา
ระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ฯลฯ)
บริบท/ปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทย
• แนวคิด/กระบวนทัศน์ที่มีอิทธิพลฯ : Crime control กับ Due process
• นโยบายทางอาญา :
นิติบัญญัติ (มีก.ม.ที่มีโทษทางอาญามากฯ,กรอบให้ศาลใช้ดุลยพินิจในการลงโทษ)
บริหารกระบวนการยุติธรรมทางอาญา
บังคับโทษ
• ปัญหาวิกฤต เรื่องคอรัปชั่นในกระบวนการยุติธรรม
การบังคับใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่รัฐ
มาตรฐานสากลด้านสิทธิมนุษยชน
สาหรับเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมาย
มาตรฐานสิทธิมนุษยชน เป็นมาตรฐานขั้นต่าที่แต่ละประเทศ ควร
ดาเนินการให้ได้ หรือแต่ละประเทศจะกาหนดมาตรฐานที่สูงกว่าก็ได้
และมาตรฐานดังกล่าวย่อมมีผลผูกพันกับตัวแทนของประเทศ รวมทั้ง
เจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายของประเทศเหล่านั้นด้วย
ดังนั้น เจ้าหน้าที่ ผู้บังคับใช้กฎหมายจะต้องรู้ และใช้มาตรฐาน
สิทธิมนุษยชนอย่างถูกต้อง และชอบธรรม
(Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights, 2004)
หลักการ
สิทธิมนุษยชนเป็นศักดิ์ศรีที่ติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่เกิด ซึ่งเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้
กฎหมาย จะต้องเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายอยู่ตลอดเวลา เพื่อปกป้อง
คุ้มครองศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์
แนวทางในการปฏิบัติ
• การเชื่อฟังและปฏิบัติตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชา จะนามา
สร้างความชอบธรรมในการละเมิดต่อสิทธิมนุษยชนไม่ได้
• เจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง
อานาจตามกฎหมาย และข้อจาากัดของอานาจดังกล่าวนั้นด้วย
การไม่เลือกปฏิบัติในการบังคับใช้กฎหมาย
หลักการ
มนุษย์ทุกคนเกิดมาโดยมีเสรีภาพ และความเท่าเทียมกัน ทั้งในเรื่องสิทธิ
และศักดิ์ศรีบุคคลทั้งปวง มีความเท่าเทียมกันตามกฎหมาย และมีสิทธิ
ได้รับการปกป้องคุ้มครองตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมกัน
เว้นแต่ บางกรณีที่มีการใช้มาตรการพิเศษบางอย่าง เพื่อใช้กับบุคคล
ที่ต้องได้รับการปฏิบัติเป็นพิเศษ แตกต่างจากบุ คลปกติเช่น สตรี เด็ก
และเยาวชน คนป่วย คนชรา และบุคคลอื่นที่ต้องได้รับการปฏิบัติเป็น
พิเศษ ตามมาตรฐานสิทธิมนุษยชน
แนวทางในการปฏิบัติ
การไม่เลือกปฏิบัติในการบังคับใช้กฎหมาย
• สร้างความคุ้นเคยกับชุมชน เช่น การเข้าร่วมกิจกรรม ของชุมชน
รับฟังความต้องการ ข้อร้องเรียน และคาแนะนาของชุมชน
• ต้องมีจิตสานึกให้รับรู้ถึงความสาคัญของการมีความสัมพันธ์อันดีกับ
ประชาชน การที่ต้องมีความยุติธรรม และการบังคับ ใช้กฎหมายโดย
ไม่เลือกปฏิบัติ
ข้อจากัด : การใช้สิทธิ เสรีภาพ ของประชาชน
หลักทั่วไป : การใช้สิทธิฯ ต้องไม่กระทบกระเทือน หรือ เป็นอันตราย ต่อ
 ความมั่นคงของรัฐ
 ความสงบเรียบร้อย หรือ ศีลธรรมอันดีของประชาชน
 ไม่ละเมิดสิทธิ หรือ เสรีภาพของบุคคลอื่น
กฎหมาย ที่ออกมาจากัด การใช้สิทธิ เสรีภาพของประชาชน ต้องสอดคล้อง กับรัฐธรรมนูญ
ในสถานการณ์ปกติ ประชาชนใช้
สิทธิ เสรีภาพ ตามที่กฎหมาย
รองรับไว้ โดยรัฐคุ้มครอง
ในสถานการณ์พิเศษที่มีภัยต่อความมั่นคง ความปลอดภัยในชีวิตของประชาชน
ประชาชนอาจมีข้อจากัดในการใช้สิทธิ และเสรีภาพ
โดยรัฐออกกฎหมายพิเศษออกมา .... แต่ต้องยึดหลักความชอบด้วย กฎหมาย
เกิดภัยคุกคาม : กฎหมายพิเศษ ที่ใช้ในการรักษาความมั่นคงของชาติ
“พ.ร.บ.กฎอัยการศึก
2457 ”
• ทหารมีอานาจเหนือพล
เรือน ทั้งการปฎิบัติ และ
ศาล
• ไม่ต้องใช้หมายฯ ควบคุม
ได้ไม่เกิน 7 วัน
• คุ้มครองทหาร ฟ้องไม่ได้
“พรก.ฉุกเฉิน 2548”
-นายกฯประกาศ,ให้ครม.เห็นชอบ
ใช้ทั้งประเทศ./บางเขตพื้นที่
-มีพนง.จนท.,จับ ควบคุมผู้ต้อง
สงสัยต้องขอหมายศาล
-ควบคุมได้ 7 วัน ขอต่อ< 30 วัน
-คุ้มครอง พนง.จนท.ปฏิบัติถูก
กฎหมาย ไม่ต้องรับผิด แต่ฟ้อง
ละเมิดได้
“พ.ร.บ.รักษาความมั่นคง
ภายในราชอาณาจักร
2551”
-ป้องกัน ควบคุม ฟื้นฟูสถานการณ์
-ตั้ง กอ.รมน.ระดับต่างๆขึ้น
นายกฯ : ผอ.รมน. /
ผบ.ทบ. : เลขาฯ
-ค้น จับ คุม สอบสวนฯ ใช้ ป.วิ.อาญา
-ขอศาลสั่งผู้หลงผิดเข้าอบรม สิทธิในการ
ฟ้องระงับ
ภัยคุกคามรุนแรง ภัยต่อความมั่นคง ภัยคุกคาม
การใช้กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคงฯของเจ้าหน้าที่รัฐ
 เป็นไปตามหลักความชอบด้วยกฎหมาย (ตามที่กฎหมายให้อานาจไว้เท่านั้น)
 ต้องมีการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้เป็น “พนักงาน
เจ้าหน้าที่” โดยเฉพาะ
 การบังคับใช้กฎหมายพิเศษ ต้องใช้อย่างระมัดระวัง กระทบสิทธิ เสรีภาพ
ของประชาชนให้น้อยที่สุด เพื่อบรรลุเป้าหมายด้านความมั่นคงฯ
บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐ
• รักษาความมั่นคงของรัฐ จากภัยคุกคามภายนอกและภายใน (ทหาร
เป็นหลัก)
• การบังคับใช้กฎหมาย การรักษาความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน
(ตารวจ เป็นหลัก)
มีการแต่งตั้ง ทหาร ตารวจ เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ และเจ้าพนักงานฯ
ปฏิบัติหน้าที่ ด้านบังคับใช้กฎหมายและความมั่นคงฯ และแต่งตั้งผู้ช่วยเจ้าพนักงาน
• บริการสาธารณะ (ขรก.พลเรือน/ท้องถิ่น ฯลฯ เป็นหลัก)
ภารกิจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐ
ด้านความมั่นคง ด้านบังคับใช้กฎหมาย
-ทหารเป็นหลัก
-ตร. ฝ่ายปกครองฯ เป็นหน่วยงาน
รอง สนับสนุน
-ตารวจ ปกครอง DSI ปปส. ปปง.
ปปท.ฯลฯ เป็นหลัก
-ทหาร ฯลฯ เป็นหน่วยงานรอง
หน่วยงาน
หลัก/รอง
ก.ม.ที่
เกี่ยวข้อง
-รัฐธรรมนูญ, ระเบียบการจัดตั้ง
หน่วยงานกระทรวงกลาโหม,
-ก.ม.พิเศษ :พรบ.กฎอัยการศึกฯ,
-พรก.ฉุกเฉิน ๒๕๔๘
,พรบ.ความมั่นคงภายใน ๒๕๕๑
,กฎการใช้กาลังของทหาร
รัฐธรรมนูญ ประมวล ก.ม.อาญา,
กม.ที่มีโทษอาญา
ป.วิ.อาญาฯ ก.ม.พิเศษด้านความ
มั่นคงฯ
พรบ.การชุมนุมสาธารณะฯ
พรบ.สอบสวนคดีพิเศษ
รัฐธรรมนูญ, ก.ม.การจัดตั้ง
หน่วยงานฯ,
พรบ.วิธีปฏิบัติราชการ,ความรับผิด
ทางละเมิด
พรบ.ให้บริการฯของหน่วยงาน
-จนท.พลเรือน เป็นหลัก (สธ.รง
,พม.ศธ.ฯลฯ)
-ทหาร ตารวจเป็นหน่วยงานรอง
ด้านบริการสาธารณะ
ฐานคิด - การใช้กาลังรักษาความมั่นคง
ภายนอก ภายใน มีปฏิบัติการใช้
กาลัง ต้องเด็ดขาด มีประสิทธิผล
ปฏิบัติตามที่กฎหมายให้อานาจไว้,
ใช้หลักกฎหมาย สิทธิมนุษยชน
ให้บริการสาธารณะ อย่างเสมอ
ภาค ไม่เลือกปฏิบัติ รวดเร็ว เป็น
ธรรม มีจิตบริการ
ภารกิจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐ
ลักษณะ
การละเมิด
ละเมิดสิทธิพลเมือง(ชีวิต ร่างกาย)
และการแสดงออกของประชาชน
เพราะคุ้นเคยกับหลักการทหาร
การใช้กาลัง
ละเมิดสิทธิในกระบวนการยุติธรรม
(ที่เกี่ยวกับการตรวจค้น จับกุม
สอบสวน กักขัง,ควบคุมตัว,) การ
เลือกปฏิบัติ ขัดหลักนิติธรรม เรียก
รับเงินฯ
ละเมิดสิทธิในเรื่องการเลือกปฏิบัติ,
ทุจริต ในการให้บริการแก่ประชาชน
ขัดหลักนิติธรรม ไม่เป็นธรรม
บทเรียน
คดีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เช่น
ที่ อ.ตากใบ จ.นราธิวาส
คดีการสลายการชุมนุมต่างๆ,
คดีชัยภูมิ ปะแส,คดีวัดปทุมวนารามฯ
คดี เชอรี่ แอนดันแคน, คดีนายบอส
ทายาทกระทิงแดง,คดีจับผู้ต้องหา
ผิดตัว,คดีขับไล่ชาวกระเหรี่ยงออก
จากพื้นที่ แก่งกระจาน คดีจับกุมผู้
ชุมนุมประท้วง,คดี สส.ปรีณา
เปรียบเทียบกับ ชาวบ้านบุกรุกที่ดิน
คดีทุจริตของหน่วยราชการ,องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น,คดีการรถไฟ
ถูกฟ้องติดป้ายโฆษณา,คดีข้อ
พิพาทระหว่างชาวเล กับเจ้าของ
โฉนดที่ดิน คดีชาวบ้านห้วยคลิตี้
ได้รับผลกระทบจากมลพิษโรงงาน
ด้านความมั่นคง ด้านบังคับใช้กฎหมาย ด้านบริการสาธารณะ
ความสัมพันธ์ ของสิทธิมนุษยชน นิติธรรม ความยุติธรรม
สิทธิมนุษยชน นิติธรรม ความยุติธรรม
ความถูกต้องตามศีลธรรม บน
พื้นฐานของจริยธรรม ความ
สมเหตุสมผล กฎหมายทั่วไป และ
กฎหมายธรรมชาติ ศาสนา ความ
เที่ยงธรรม (equity) และความเป็น
ธรรม (fairness) ตลอดจนการบังคับ
ใช้ก.ม.
การปกครองที่ดีนั้นควรต้องให้ก.ม.อยู่ สูงสุด
(supremacy of law) ไม่ใช่ตัวผู้ปกครองอยู่สูงสุด
และทุกคนต้องมีสถานะที่เสมอภาค และ
เท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย
-ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์เป็นสิทธิธรรมชาติ ติดตัว
มาแต่เกิด เป็นสากลข้ามพรหมแดน
“ความเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ”
การเข้าถึง/มีสิทธิ ไม่อาจพรากไปได้ แบ่งแยกไม่ได้
สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน มีส่วนร่วม เป็นส่วนหนึ่งของสิทธิ
ตรวจสอบได้ตามหลักนิติธรรม
- (สิทธิพื้นฐานขั้นต่าของมนุษย์ทุกคน)
การปกครอง/บริหารซึ่งยึดก.ม.เป็นหลัก
การตราก.ม. เนื้อหา ก.ม. และการใช้
ก.ม.ต้องถูกต้อง และเป็นธรรม เพื่อ
ประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ และมีการ
ควบคุมการใช้ ก.ม.อย่างเหมาะสม*
- ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
- สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของบุคคลที่
ได้รับการรับรอง หรือคุ้มครอง
- ตามรัฐธรรมนูญฯไทย
- ตามกฎหมายไทย
- ตามสนธิสัญญาที่ไทยมีพันธกรณีที่ต้องปฏิบัติ
(พรบ.คณะกก.สิทธิมนุษยชน พศ.๒๕๔๒ ม.๓)
หลักนิติธรรม บรรจุในรัฐธรรมนูญฯพ.ศ.
๒๕๕๐ เป็นครั้งแรก ( ใน ม.๓ ว.๒ ,ม.๗๘)
ไทย
สากล
เสมอภาค
ไม่เลือก
ปฏิบัติ
ยุติธรรม
สิทธิ
มนุษยชน
นิติธรรม
กรณีตากใบ จ.นราธิวาส ปี 2547 การปฏิบัติงานของจนท. มีความเสี่ยงในการละเมิดสิทธิฯ
-ศักดิศรีความเป็นมนุษย์
-เลือกปฎิบัติ ละเมิดก.ม.และหาผู้รับ
ผิดไม่ได้
-ใช้ความรุนแรง ประมาท เลินเล่อฯ
ทาให้ผู้ชุมชนเสียชีวิตมาก
๑.หลักสิทธิมนุษยชน
๒.หลักนิติธรรม
-การกระทาของจนท.ผิดก.ม. ไม่ยึด
หลักปกครองโดยก.ม.
-กระบวนการยุติธรรมฯเอาผู้กระทา
ผิดมาลงโทษไม่ได้
๓.ความยุติธรรม
-ไม่เป็นกลาง จนท.ทาผิดไม่มี
ความผิดไม่ถูกลงโทษ
สงครามยาเสพติด ของไทย ปี 2546 และของฟิ ลิปปิ นส์ปี 2559 คนเสียชีวิตหลายพันคน
๑.หลักสิทธิมนุษยชน
-ศักดิศรีความเป็นมนุษย์
-จนท.ละเมิดก.ม. และหาผู้รับผิดไม่ได้
-เลือกปฏิบัติ ใช้ความรุนแรง
๒.หลักนิติธรรม
-ไม่ยึดหลักปกครองโดยก.ม.เป็นหลัก
-ใช้หลักควบคุมอาชญากรรม มากกว่าหลักนิติ
ธรรม (Rule of Law) หลัก ทาขั้นตอนตาม
ก.ม.(Due process of Law) ของสหรัฐอเมริกา
- การกระทาของจนท.ใม่เป็นไปตามขั้นตอน
ของก.ม. (ตั้งศาลเตี้ย)
๓.ความยุติธรรม
-จนท.รัฐไม่เป็นธรรม (ถ้าเป็นลูกหลานโดนตัด
ตอนบ้าง จะรู้สึกอย่างไร)
คดีฆาตกรรมน.ส.เชอรีแอน ดันแคน พ.ศ. 2529
สะท้อนให้เห็นปัญหาในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย นาไปสู่การปรับปรุงครั้งสาคัญ
๑.หลักสิทธิมนุษยชน
๒.หลักนิติธรรม
๓.ความยุติธรรม
-ขัดหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
-เลือกปฎิบัติ (คนจนกับคนรวย)
-ละเมิดสิทธิฯชีวิตร่างกาย
-กระบวนการยุติธรรมฯบิดเบี้ยว ตารวจ
สร้างพยานหลักฐานเท็จ ไปจับแพะ
สอบสวน อัยการฟ้อง ศาลตัดสินลงโทษฯ
จนผู้บริสุทธิ์เสียชีวิตในเรือนจา
-
-เป็นรอยด่างพร้อยของความยุติธรรม
ไทย
คดีทายาทกระทิงแดง ชนตารวจตายแล้วหนี เกือบ ๘ ปีไม่คืบหน้า มีจนท.รัฐหลายฝ่ายช่วยเหลือ
๑.หลักสิทธิมนุษยชน
๒.หลักนิติธรรม
๓.ความยุติธรรม
-ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
-เลือกปฎิบัติ
-จนท. ในกระบวนการยุติธรรม
คอรัปชั่น ทาผิด ก.ม.
-การกระทาของจนท.ผิดก.ม. ไม่ยึด
หลักปกครองโดยก.ม.
-เจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรม
ฯ ทางานเป็นเครือข่ายช่วย
ผู้กระทาผิด
-ไม่เป็นกลาง ไม่เป็นธรรม คนรวย
ทาผิดไม่ถูกนามาลงโทษ
กรณี ส.ส. กับ ชาวบ้านบุกรุกที่ดินต้องห้าม (ที่ดินสปก.และป่าสงวนแห่งชาติ)
๑.หลักสิทธิมนุษยชน
- ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
- เลือกปฎิบัติ (สส. กับ ชาวบ้าน)
- ละเมิดก.ม.
๒.หลักนิติธรรม
-ไม่ยึดหลักปกครองโดยก.ม.เป็นหลัก
- การกระทาของจนท.ใม่เป็นไปตาม
ขั้นตอนของก.ม. ล่าช้า
๓.ความยุติธรรม
ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นกลาง
-ข้อเท็จจริงใกล้เคียงกัน เหมือนกัน แต่
การปฎิบัติต่างกัน คุกมีไว้ขังคนจน
กรณีจนท.ฯ เผาบ้าน ที่ทากินของชาวกระเหรี่ยงแก่งกระจาน ผลักดันให้ออกจากพื้นที่ /คดี
บิลลี่ฯ
๑.หลักสิทธิมนุษยชน
-ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
-เลือกปฎิบัติ (ไม่เผาไล่ที่กลุ่มอื่น)
-จนท.ใช้ความรุนแรง ทาผิด ก.ม.
๒.หลักนิติธรรม
-ไม่ยึดหลักปกครองโดยก.ม.เป็นหลัก
-การกระทาของจนท.ใม่เป็นไปตาม
ขั้นตอนของก.ม. (due process of law)
เป็นการใช้อานาจเกินจาเป็น
๓.ความยุติธรรม
-ไม่เป็นกลาง ไม่เป็นธรรม
-ชาวกระเหรี่ยงอ้างว่าอยู่มาก่อน
ประกาศเป็นพื้นที่ต้องห้ามฯ
ศาลปกครองสูงสุดมีคาพิพากษาให้กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช ชดใช้ค่าเสียหายให้ นายคออี้ และชาวบ้าน
บางกลอยบนและใจแผ่นดิน เป็นเงินคนละประมาณ 50,000 บาท กรณีเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน รื้อถอนและเผา
ทาลายบ้านของชาวบ้านเมื่อปี 2554 ซึ่งถือเป็นการใช้อานาจเกินความจาเป็นไม่สมควรแก่เหตุ ขณะที่ชาวบ้านไม่มีสิทธิ์กลับไป
อาศัยในที่เดิมได้ โดยชาวบ้านยืนยันจะต่อสู้เพื่อขอพิสูจน์สิทธิ์ต่อไป
เผาบ้าน เผาที่ทากินกระเหรี่ยงแก่งกระจาน
ตร.เมืองมินิอาโปลิสฯ ละเมิดสิทธิฯผู้ต้องหาชายผิวดาจนเสียชีวิต จนเกิดประท้วงใหญ่
๑.หลักสิทธิมนุษยชน
๒.หลักนิติธรรม
๓.ความยุติธรรม
- ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
- เลือกปฎิบัติ ละเมิดก.ม.
- ใช้ความรุนแรง ประมาทเลินเล่อฯ
-ไม่ยึดหลักปกครองโดยก.ม.เป็นหลัก
-การกระทาของจนท.ใม่เป็นไปตาม
ขั้นตอนของก.ม.(due process of law)
ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นกลาง มีอคติ
กับคนผิวสี
(รัฐ มินิโซต้า จ่ายเยียวยา 830 ล้านบาท)
มาบตา
พุด
แนวคิด และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน
ขององค์กรต่างๆในประเทศไทย
สิทธิตามปฏิญญาสากลฯ
และอนุสัญญาด้านสิทธิ
มนุษยชนของUN
NGO,องค์กรศาสนา
องค์กรระหว่าง
ประเทศ
รัฐบาล
หน่วยราชการ
นักวิชาการ นักปกป้องสิทธิมนุษยชน
แนวคิดในเรื่องสิทธิมนุษยชน
ความมั่นคงของมนุษย์
สิทธิเสรีภาพปัจเจกชน
ความมั่นคงของรัฐ
ประโยชน์สาธารณะ
แนวคิดและแนวปฏิบัติขององค์กรต่างๆ
ที่กระทบกับสิทธิมนุษยชน
ความมั่นคงของประเทศ
ความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน
ประโยชน์สาธารณะ
หลักสิทธิมนุษยชนสากล,SDG….
(หลักใจเขาใส่ใจเรา)
สิทธิเสรีภาพของประชาชน
ตามกฎหมายของรัฐ
ความสมดุล อยู่ที่
ไหน
• การให้การศึกษา บริการสาธารณสุขแก่
ประชาชนตามแนวชายแดน คนต่างด้าว
• การเยียวยาคนต่างด้าวที่เป็นเหยื่อในคดีอาญา
• การทางานขององค์กรระหว่างประเทศ ภาค
ประชาสังคม หน่วยงานรัฐ
• การปราบปรามยาเสพติด
• การปราบปรามผู้ก่อการร้าย
• (การปฏิบัติงานของจนท.รัฐฝ่าย
ความมั่นคง)
ความมั่นคงของมนุษย์
การพัฒนามนุษย์

More Related Content

What's hot

แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วยแผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
KiiKz Krittiya
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
Golfzie Loliconer
 

What's hot (20)

แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วยแผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2  ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
แผ่นพับแนะนำตนเอง สำหรับประเมิน คศ.2 ประเมิน คศ.3 แผ่นพับสัมภาษณ์ครูผู้ช่วย
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
แผนอบรมยาเสพติด
แผนอบรมยาเสพติดแผนอบรมยาเสพติด
แผนอบรมยาเสพติด
 
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอทีสมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
สมุดประเมินผลกิจกรรมชุมนุม กูรูไอที
 
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
แนวข้อสอบ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมืองการศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าวคำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
คำกล่าวเปิดอบรมเขียนข่าว
 
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่หลักธรรมาภิบาล ใหม่
หลักธรรมาภิบาล ใหม่
 
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรมบริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 4.pdf
ด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 4.pdfด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 4.pdf
ด้านการปฏิบัติตน ตัวชี้วัดที่ 4.pdf
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน
แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียนแนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน
แนวทางการดำเนินงานกิจกรรมสภานักเรียน
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเอง
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2กฎหมายในชีวิตประจำวัน  ครั้งที่ 2
กฎหมายในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 2
 
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
HR indicators (ตัวชี้วัดการบริหารทรัพยากรมนุษย์ในองค์กร)
 
การบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาลการบริหารการพยาบาล
การบริหารการพยาบาล
 

Similar to กระบวนการยุติธรรมทางอาญา

ปฏิญญาสากลฯ
ปฏิญญาสากลฯปฏิญญาสากลฯ
ปฏิญญาสากลฯ
krupiyorod
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
thnaporn999
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
thnaporn999
 

Similar to กระบวนการยุติธรรมทางอาญา (13)

ปฏิญญาสากลฯ
ปฏิญญาสากลฯปฏิญญาสากลฯ
ปฏิญญาสากลฯ
 
Book
BookBook
Book
 
สตรี
สตรีสตรี
สตรี
 
ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2
 
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
 
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากลพัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
Human rights in the the judicial process
Human rights in the the judicial processHuman rights in the the judicial process
Human rights in the the judicial process
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
Human2.1 1
Human2.1 1Human2.1 1
Human2.1 1
 

More from ssuserd18196

More from ssuserd18196 (11)

สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา  สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง  เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
 
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2565)
 แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4  (พ.ศ. 2562-2565) แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4  (พ.ศ. 2562-2565)
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2565)
 
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพLandmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
 
หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน
 
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
 การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็ก
 
เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน
 
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
 

กระบวนการยุติธรรมทางอาญา

  • 2. ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.1948/พ.ศ.2491 ขจัดการเลือกปฏิบัติ ทางเชื้อชาติ ค.ศ.1965/พ.ศ.2508 เด็ก ค.ศ.1989/พ.ศ.2532 ต่อต้านการ ทรมาน ค.ศ.1984/พ.ศ.2507 ต่อต้านอุ้มหาย ค.ศ. 2006/ พ.ศ.2549 แรงงานอพยพฯ ค.ศ.1990/พ.ศ.2533 สตรี ค.ศ.1979/พ.ศ.2522 คนพิการ ค.ศ.2006/พ.ศ.2549 ปัญหาการละเมิดสิทธิฯ ในรูปแบบต่างๆ เช่น ฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ฯ การจัดตั้งองค์กรสหประชาชาติ ค.ศ.1945 /พ.ศ.2488 กติกาฯว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ.1966 / พ.ศ.2509 กติกาฯว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ค.ศ.1966 / พ.ศ.2509 เจตนารมย์ร่วมกัน ไม่มีสภาพบังคับ เป็นก.ม.ระหว่าง ประเทศ
  • 3. สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน ที่ประเทศไทยเป็ นภาคี สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน วันที่เข้าเป็นภาคี วันที่มีผลบังคับใช้ 1. อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติต่อสตรีในทุกรูปแบบ (CEDAW) 9 ส.ค. 2528 8 ก.ย. 2528 2. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) 27 มี.ค. 2535 26 เม.ย. 2535 3. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองแลสิทธิทางการเมือง (ICCPR) 29 ต.ค. 2539 30 ม.ค. 2540 4. กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) 5 ก.ย. 2542 5 ธ.ค. 2542 5. อนุสัญญาว่าด้วยการขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติในทุกรูปแบบ (CERD) 28 ม.ค. 2546 27 ก.พ. 2546 6. อนุสัญญาต่อต้านการทรมานและการประติบัติหรือการลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้ มนุษยธรรม หรือย่ายีศักดิ์ศรี (CAT) 2 ต.ค. 2550 1 พ.ย. 2550 7. อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิของคนพิการ (CRPD) 29 ก.ค. 2551 28 ส.ค. 2551
  • 4. มาตรฐานสิทธิมนุษยชน เป็นมาตรฐานขั้นต่าที่แต่ละประเทศ ควรดาเนินการ ให้ได้ หรือแต่ละประเทศจะกาหนดมาตรฐานที่สูงกว่าก็ได้ และมาตรฐานดังกล่าวย่อมมี ผลผูกพันกับตัวแทนของประเทศ รวมทั้ง เจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายของประเทศ เหล่านั้นด้วย หลักสากล : มาตรฐานระหว่างประเทศ
  • 5. กรอบข้อตกลงระหว่างประเทศ อนุสัญญาระหว่างประเทศ และกฎหมายภายในที่เกี่ยวข้อง ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (UDHR) กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมือง และสิทธิทางการเมือง (ICCPR) อนุสัญญาต่อต้านการทรมานฯ (CAT) อนุสัญญาขจัดการเลือกปฏิบัติทางเชื้อชาติ (CERD) อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก (CRC) ประมวลก.ม.วิธีพิจารณาความอาญาฯ ประมวลก.ม.อาญา พรบ.คุ้มครองพยาน พ.ศ.2546 พรบ.ค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าตอบแทนและค่าจ่ายแก่จาเลยในคดีอาญา พศ.2544ฯ รัฐธรรมนูญ ฯ ( 2540, 2550, 2560) กฎหมายอื่นๆ ไทยเป็นภาคี มีพันธกรณีต่อ ข้อตกลงฯ และ อนุสัญญาสิทธิ มนุษยชน
  • 6.
  • 7. สาระสาคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน 1. ทุกคนมีศักดิ์ศรี สิทธิ และเสรีภาพเท่าเทียมกัน และต้องปฏิบัติต่อกันฉันพี่น้อง 2. ทุกคนมีสิทธิ และเสรีภาพ อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติ 3. ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิตอยู่ และมีความมั่นคง 4. ห้ามบังคับคนให้เป็นทาส และห้ามค้าทาสทุกรูปแบบ 5. ห้ามการทรมาน หรือการลงโทษทารุณโหดร้ายผิดมนุษย์ 6. สิทธิในการได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลตามกฎหมาย 7. สิทธิในการได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมกัน 8. สิทธิในการได้รับการเยียวยาจากศาล 9. ห้ามการจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ 10. สิทธิในการได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมและเปิ ดเผย
  • 8. 11. สิทธิในการได้รับการสันนิษฐานว่าบริสุทธิ์ก่อนศาลตัดสิน และต้องมี กฎหมาย กาหนดว่า การกระทานั้นเป็นความผิด 12. ห้ามรบกวนความเป็นอยู่ส่วนตัว ครอบครัว เคหสถาน การติดต่อสื่อสาร รวมทั้งห้ามทาลายชื่อเสียง และเกียรติยศ 13. เสรีภาพในการเดินทางและเลือกถิ่นที่อยู่ในประเทศ รวมทั้งการออกนอก ประเทศ หรือกลับเข้าประเทศโดยเสรี 14. สิทธิในการลี้ภัยไปประเทศอื่นเพื่อให้พ้นจากการถูกประหัตประหาร 15. สิทธิในการได้รับสัญชาติ และการเปลี่ยนสัญชาติ 16. สิทธิในการเลือกคู่ครอง และสร้างครอบครัว 17. สิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพย์สิน 18. เสรีภาพในความคิด มโนธรรม ความเชื่อ หรือการถือศาสนา 19. เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและแสดงออก รวมทั้งการได้รับข้อมูลข่าวสาร 20. สิทธิในการชุมนุมโดยสงบและรวมกลุ่ม และห้ามบังคับเป็นสมาชิกสมาคม
  • 9. 21. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในรัฐบาลทั้งทางตรง และโดยผ่านผู้แทน อย่างอิสระ และมีสิทธิเข้าถึง บริการสาธารณะโดยเท่าเทียมกัน 22. สิทธิในการได้รับความมั่นคงทางสังคม และได้รับสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม โดยการกาหนดระเบียบและทรัพยากรของประเทศตนเอง 23. สิทธิในการมีงานทาตามที่ต้องการ และได้รับการประกันการว่างงาน รวมทั้งได้รับ ค่าตอบแทนเท่ากัน สาหรับงาน อย่างเดียวกัน และรายได้ ต้องพอแก่การดารงชีพสาหรับ ตนเองและครอบครัว ตลอดจนมีสิทธิก่อตั้ง และเข้าร่วมสหภาพแรงงาน 24. สิทธิในการพักผ่อนและมีเวลาพักจากการทางาน 25. สิทธิในการได้รับมาตรฐานการครองชีพอย่างเพียงพอ ได้รับปัจจัยสี่ สวัสดิการสังคม ประกันการว่างงาน เจ็บป่วย เป็นหม้าย ผู้สูงอายุ ตลอดจน ต้องคุ้มครองแม่และเด็ก เป็นพิเศษ 26. สิทธิในการได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน 27. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในวัฒนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน และได้รับการคุ้มครอง ทรัพย์สิน ทางปัญญา
  • 10. 28. สังคมต้องมีระเบียบทั้งในประเทศและระหว่างประเทศ เพื่อให้บุคคลได้รับสิทธิ และเสรีภาพ ตามปฏิญญานี้ 29.บุคคลย่อมมีหน้าที่ต่อชุมชน การใช้สิทธิเสรีภาพ ต้องเคารพในสิทธิและเสรีภาพ ของผู้อื่น 30.ห้ามมิให้รัฐ กลุ่มคน หรือบุคคล กระทาการทาลายสิทธิ เสรีภาพของบุคคลตาม ปฏิญญานี้
  • 11. ปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.1945 (พ.ศ.2488) ข้อ 5. ห้ามการทรมาน หรือการลงโทษทารุณโหดร้ายผิดมนุษย์ • จะทาการซ้อม ทรมาน ลงโทษที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือย่ายีศักดิ์ศรีของความมนุษย์ไม่ได้ เช่น เฆี่ยน ตัดมือ ตัดแขน ขา ตัดศรีษะ ไฟฟ้าซ๊อต ถุงคลุมศีรษะ เอาหินปาให้ตาย แห่ประจานไม่ได้ ข้อ 9. ห้ามการจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ • จะจับกุม นาตัวไปขังโดยพลการ หรือ จะเนรเทศ โดยใช้อานาจฝ่ายผู้มีอานาจ ทหาร ตารวจฯ โดยไม่มี หมาย/คาสั่งศาลไม่ได้ (ต้องมีการตรวจสอบ ถ่วงดุลย์การใช้อานาจเพื่อคุ้มครองสิทธิฯ) ข้อ10. ทุกคนมีสิทธิเสมอภาค มีสิทธิในการได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรม และเปิ ดเผย • มีสิทธิต่อสู้คดี มีทนาย มีล่าม การพิจารณาคดีต้องเปิ ดเผยให้ประชาชนทราบ โดยศาลที่เป็นอิสระ
  • 12. ข้อ11. สิทธิในการได้รับการสันนิษฐานว่าบริสุทธิ์ก่อนศาลตัดสิน และต้องมี กฎหมายกาหนดว่าการกระทานั้นเป็นความผิด (หลักไม่มีความผิด ไม่มีโทษ ถ้าไม่มีกฎหมายกาหนดไว้) • ผู้ต้องหา จาเลย ต้องมีหลักประกันในการต่อสู้คดี มีทนาย ได้รับการพิจารณาปล่อย ชั่วคราว ปฏิเสธที่จะถูกนาตัวไปแถลงข่าวต่อสื่อมวลชน • ต้องใช้กฎหมาย ที่กาหนดความผิด และโทษ ในขณะที่ผู้นั้นกระทาความผิด ปฎิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.1945 (พ.ศ.2488)
  • 14. ความสัมพัน ธ ์ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน รธน. 2560 กฎหมายอื่น 1. ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มาตรา 4, 26 - 2. ความเสมอภาคโดยปราศจากการเลือก ปฏิบัติ มาตรา 4, 27 หลายฉบับ 3. สิทธิในการดารงชีวิตและความมั่นคง แห่งร่างกาย มาตรา 28 ป.อ. 4. เสรีภาพจากการถูกบังคับให้เป็นทาส เสรีภาพจากการถูกบังคับให้กักขังใต้ ภาวะจายอม มาตรา 30 - - ป.อ. 5. เสรีภาพจากการถูกทรมานหรือการ ลงโทษที่โหดร้าย มาตรา 28 ป.อ.
  • 15. ความสัมพัน ธ ์ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน รธน.2560 กฎหมายอื่น 6. สิทธิในการได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลตาม กฎหมาย มาตรา 39 ป.พ.พ. 7. สิทธิในการได้รับความคุ้มครองโดยกฎหมาย มาตรา 25 ทุกกฎหมาย 8. สิทธิที่จะได้รับการเยียวยาจากศาลเมื่อถูกละเมิด สิทธิ มาตรา 25, 41 ป.วิ.อาญา ป.วิ.แพ่ง วิ.ปกครอง 9. เสรีภาพจากการถูกจับกุม กักขัง หรือเนรเทศ โดยพลการ มาตรา 28 ป.วิ.อาญา 10. สิทธิในการได้รับการพิจารณาคดีในศาลอย่าง เป็นธรรม มาตรา 51, 68 ป.วิ.แพ่ง ป.วิ.อาญา วิ.ศาลปกครอง
  • 16. ความสัมพัน ธ ์ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน รธน.2560 กฎหมายอื่น 11. สิทธิในการได้รับการสันนิษฐานว่าเป็นผู้ บริสุทธิ์จนกว่าจะมีการพิสูจน์ความผิด เสรีภาพจากการไม่ถูกบังคับใช้กฎหมาย อาญาย้อนหลัง มาตรา 29 มาตรา 29 ป.วิ.อาญา ป.อ. 12. สิทธิในความเป็นอยู่ส่วนตัว ใน ครอบครัว สิทธิในเคหสถาน เสรีภาพในการสื่อสาร มาตรา 32 มาตรา 33 มาตรา 36 ป.พ.พ. - 13. เสรีภาพในการเดินทางและการเลือก ถิ่นที่อยู่อาศัย มาตรา 38 กฎหมายคนเข้าเมือง 14. สิทธิในการลี้ภัย รัฐธรรมนูญไทยไม่เคยปรากฏ มาตรา 66 ทางอ้อม - 15. สิทธิเสรีภาพในการถือและเปลี่ยนสัญชาติ มาตรา 39 กฎหมายสัญชาติ
  • 17. ความสัมพัน ธ ์ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน รธน.2560 กฎหมายอื่น 16. สิทธิในการสมรสและสร้างครอบครัว มาตรา 71 (แนวนโยบายกว้างๆ) ป.พ.พ. 17. สิทธิในการถือครองทรัพย์สิน เสรีภาพจากการถูกยึดคืน/เวนคืนทรัพย์สินโดย พลการ มาตรา 37 มาตรา 37 ป.พ.พ. พรบ.เวนคืน 18. เสรีภาพในความคิด ความเชื่อและในการนับ ถือศาสนา มาตรา 31 - 19. เสรีภาพในความคิดเห็นและการแสดงออก มาตรา 34, 35 กฎหมายสื่อสารมวลชน 20. เสรีภาพในการชุมนุม เสรีภาพรวมกันเป็นสมาคม เสรีภาพในการรวมตัวตั้งพรรคการเมือง มาตรา 44 มาตรา 42, มาตรา 45 พรบ.การชุมนุม ปพพ. พรบ.พรรคฯ
  • 18. ความสัมพัน ธ ์ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน รธน.2560 กฎหมายอื่น 21. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมการปกครองโดยผ่านการเลือกตั้ง สิทธิในการเข้าถึงบริการสาธารณะ หน้าที่ตามมาตรา 50 มาตรา 83 ส.ส.มาจากการเลือกตั้ง มาตรา 56 กฎหมายเลือกตั้ง - 22. สิทธิในความมั่นคงและการได้รับผลทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม มาตรา 43 (สิทธิชุมชน) มาตรา 71,73,74,75 (แนวนโยบายรวมๆ) - 23. สิทธิที่จะเลือกทางานและได้รับค่าตอบแทนที่เป็น ธรรม สิทธิที่จะเข้าร่วมสหภาพแรงงาน มาตรา 40,74 มาตรา 42,74 กฎหมายแรงงาน กฎหมายแรงงานสัมพันธ์ 24. สิทธิที่จะพักผ่อนและมีเวลาว่างจากการทางาน มาตรา 74 (แนวนโยบายแห่งรัฐ) กฎหมายแรงงาน
  • 19. ความสัมพัน ธ ์ ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน รธน.2560 กฎหมายอื่น 25. สิทธิในมาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอ สิทธิในการรักษาพยาบาลที่จาเป็น สิทธิในความมั่นคงจากการว่างงานหรือขาด ไร้อาชีพ สิทธิของบุตรนอกสมรส มาตรา 48 (หญิงตั้งครรภ์ คนชรา) มาตรา 71 (แนวนโยบายแห่งรัฐ) มาตรา 47, 55 มาตรา 71,74 (แนวนโยบายแห่งรัฐกว้างๆ) มาตรา 71 (เด็ก) พรบ.คนไร้ที่พึ่งฯ กม.สาธารณสุข กม.ประกันสังคม - 26. สิทธิในการศึกษา เสรีภาพทางวิชาการ มาตรา 50 (หน้าที่-ภาคบังคับ) มาตรา 54 หน้าที่รัฐจัด 12 ปี - กฎหมายการศึกษา 27. สิทธิทางวัฒนธรรม สิทธิในความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ มาตรา 43 (สิทธิชุมชน) มาตรา 69 (แนวนโยบายแห่งรัฐ) กฎหมายวัฒนธรรม ลิขสิทธิ์- สิทธิบัตร
  • 20. อยู่ในครรภ์ มารดา คลอดออกมา เป็นทารก วัยเด็ก เยาวชน ทางาน เสียชีวิต วัยชรา มีคู่ครอง มีบุตรธิดา วัยเรียน สาเร็จการศึกษา เจ็บป่วย พิการ ฝากครรภ์ ( แม่/ลูกได้รับ การดูแลฯ) ไม่ใช่แต่เฉพาะ คนมีเงินที่ได้ แม่/เด็กได้รับเงิน อุดหนุนจากรัฐ เรียนชั้นบังคับฟรี ได้รับ นม อาหารกลางวันฟรี ๓๐ บาทรักษาทุกโรค เบี้ยผู้สูงอายุ และสวัสดิการ แจ้งเกิดเด็ก สัญชาติใดก็ได้ ปรึกษาทนายฯ, ได้ประกันตัว หลักสิทธิมนุษยชนสากล (ปฏิญญาสากล และสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน) รัฐธรรมนูญไทย กฎหมายภายใน และนโยบายรัฐ ฯลฯ ผู้เสียหาย จาเลยคดีอาญาผู้บริสุทธิ์ได้รับการเยียวยาจากรัฐ สิทธิลาเลี้ยงลูก ทั้งแม่/พ่อ สิทธิของเด็กยากไร้ ได้รับ การดูแลจากรัฐ สิทธิผู้พิการด้าน ต่างๆ(เบี้ย,การ ทางาน.สวัสดิการฯ การเลือกคู่ครอง การนับถือ/ไม่นับถือศาสนาใด สิทธิในการ ทางาน ได้รายได้ ได้รับสวัสดิการ ได้รับน้า อากาศบริสุทธิ์ สิทธิชุมชน ทรัพยากรธรรมชาติ สิทธิในการเดิน ทาง อยู่อาศัย รูปแบบต่างๆของสิทธิมนุษยชน ได้รับการรับรองว่าอยู่ในรัฐ เสมอภาค ไม่ถูกเลือกปฎิบัติ สิทธิในการชุมนุม เสรีภาพในการแสดงความเห็น ไม่ถูกจนท.ซ้อม อุ้มหาย ลิขสิทธิ์ มีสัญชาติ
  • 21. กฎหมายภายในของประเทศไทย ที่สอดรับกับข้อตกลงและอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน (๒) ประมวล กฎหมายอาญา / วิธีพิจารณาความอาญา ฯลฯ (๓) กฎหมายเฉพาะ (๑) รัฐธรรมนูญ
  • 22. ผู้กระทา ความผิด ผู้เสียหาย พยานบุคคล ตารวจ ปกครอง DSI ฟ้อง คดี พิพากษา คดี สืบสวน จับกุม สอบสวน บังคับ โทษ ทา ความผิด อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ ทนายความ คุ้มครอง พยาน กระบวนการยุติธรรมทางอาญา : กระบวนการนาผู้กระทาความผิดมาลงโทษตามกฎหมาย สิทธิผู้ต้องหา สิทธิของ ผู้ต้องขัง จาเลย นักโทษ สิทธิของผู้เสียหาย การคุ้มครอง สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน สิทธิพยาน
  • 23. สิทธิของบุคคลในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา สืบสวน/ หาข่าว ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ้องคดี บังคับโทษ พิจารณา พิพากษา ผู้ถูกจับ ผู้ต้องหา จาเลย จาเลย นักโทษ ผู้ต้องสงสัย
  • 24. สืบสวน หาข่าว ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ้องคดี บังคับโทษ พิจารณา พิพากษา สิทธิของผู้ต้องสงสัย ผู้ต้องหา จาเลย ผู้เสียหาย พยาน ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา -ได้รับแจ้งข้อหา และสิทธิ ต่างๆ -ได้รับการสอบสวนโดยเร็ว ต่อเนื่อง เป็นธรรม -จับ/ตรวจค้น มีหมายศาล
  • 25. สืบสวน หาข่าว ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ้องคดี บังคับโทษ พิจารณา พิพากษา สิทธิของผู้ต้องสงสัย ผู้ต้องหา จาเลย ผู้เสียหาย พยาน ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา -มีทนายความ /ผู้ที่ไว้วางใจเข้าฟังการสอบสวน -มีเสรีภาพ ในการเดินทาง /ในเคหสถาน (ไม่ถูกสะกดรอยติดตามถูกดักฟัง) -ยื่นประกันตัว ขอปล่อยชั่วคราว
  • 26. สืบสวน หาข่าว ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ้องคดี บังคับโทษ พิจารณา พิพากษา สิทธิของผู้ต้องสงสัย ผู้ต้องหา จาเลย ผู้เสียหาย พยาน ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา -มีทนายความในคดีโทษประหาร, อายุไม่เกิน 18 ปี ,โทษสูง -ไม่ถูกชักจูง ขู่เข็ญ ทรมาน -ไม่นั่งร่วมแถลงข่าว
  • 27. สืบสวน หาข่าว ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ้องคดี บังคับโทษ พิจารณา พิพากษา สิทธิของผู้ต้องสงสัย ผู้ต้องหา จาเลย ผู้เสียหาย พยาน ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา -สิทธิของผู้ต้องขัง และนักโทษ ตามมาตรฐานขั้นต่าของUN -สั่งให้ พงส. สอบเพิ่มเติมในสานวนที่อ่อน -ใช้อานาจตามกฎหมายไต่สวนหาความจริงได้
  • 28. สืบสวน หาข่าว ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ้องคดี บังคับโทษ พิจารณา พิพากษา สิทธิของผู้ต้องสงสัย ผู้ต้องหา จาเลย ผู้เสียหาย พยาน ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา -ตัดสินคดีอย่างเที่ยงธรรม และสุจริต -ไม่ไปทาแผนประทุษกรรม -แจ้งว่ามีสิทธิอะไร เช่น แจ้งญาติพี่น้อง
  • 29. สิทธิของ ผู้ต้องหา จาเลย ผู้เสียหาย พยาน ในกระบวนการยุติธรรมทางอาญา สืบสวน หาข่าว ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ้องคดี บังคับโทษ พิจารณา พิพากษา มีเสรีภาพในการ เดินทาง ในเคหสถาน (ไม่ถูกสกดรอย ติดตาม ถูกดักฟัง) -จนท.ผู้จับ/ตรวจค้น มีหมายศาลหรือไม่ -ผู้ถูกตรวจค้น จับกุม ได้รับแจ้งว่าถูกจับกุม ในความผิดอะไร -ผู้ถูกจับมีสิทธิอะไร เช่น แจ้งญาติพี่น้อง, ถูกส่งตัวให้พงส.ใน เวลาที่กาหนด -ได้รับแจ้งข้อหา และสิทธิฯ -มีทนายความในคดีโทษ ประหาร,โทษสูง, อายุไม่ ครบ ๑๘ ปี -มีทนายฯ ผู้ที่ไว้วางใจเข้า ฟังการสอบสวน -ได้รับการสอบสวนโดยเร็ว ต่อเนื่อง เป็นธรรม -ยื่นขอปล่อยชั่วคราว ฟ้องภายใน กาหนดเวลาฯ -สิทธิของ ผู้ต้องขัง และ นักโทษตาม มาตรฐานขั้น ต่าของUN และก.ม.ไทย ตาม รัฐธรรมนูญฯ พรบ.ราช ทัณฑ์ฯ ใช้ดุลยพินิจสั่งไม่ ฟ้อง /ไม่ฟ้อง ตามหลัก กฎหมาย สั่งให้พงส. สอบเพิ่มเติมใน สานวนที่อ่อน ไต่สวนเพิ่มเติม ตามอานาจก.ม. ให้ศาลไต่สวนหา ความจริงได้ -ไม่ถูกชักจูง ขู่เข็ญ ทรมาน -ไม่ถูกนาไปSH -ไม่นั่งร่วมแถลงข่าว -ไม่ไปทาแผนประทุษกรรม พยานมีสิทธิได้รับการคุ้มครอง ผู้เสียหายมีสิทธิได้รับการปกป้อง และเยียวยา ตัดสินคดีอย่าง เที่ยงธรรม และสุจริต
  • 30. ผู้กระทา ความผิด ผู้เสียหาย พยานบุคคล ตารวจ ปกครอง DSI ฟ้อง คดี พิพากษา คดี สืบสวน จับกุม สอบสวน บังคับ โทษ ทา ความผิด อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ ทนายความ คุ้มครอง พยาน กระบวนการยุติธรรมทางอาญา : กระบวนการนาผู้กระทาความผิดมาลงโทษตาม กฎหมาย สิทธิผู้ต้องหา สิทธิของ ผู้ต้องขัง จาเลย นักโทษ สิทธิของผู้เสียหาย การคุ้มครอง สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน สิทธิพยาน
  • 31. ความเสี่ยงในการละเมิดสิทธิฯ ในกระบวนการยุติธรรมทาง อาญา สืบสวน/ หาข่าว ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ ้ องคดี บังคับโทษ พิจารณา พิพากษา ผู้ถูกจับ ผู้ต้องหา จาเลย จาเลย นักโทษ ผู้ต้องสงสัย
  • 32. ความเสี่ยงในการละเมิดสิทธิฯ ในกระบวนการยุติธรรมทาง อาญา สืบสวน/ หาข่าว ตรวจค้น/จับกุม สอบสวน ฟ ้ องคดี บังคับโทษ พิจารณา พิพากษา สะกดรอยติดตาม ดักฟัง ไม่ถูก กฎหมาย ตรวจค้น จับกุม ไม่ชอบด้วยกฎหมาย สอบสวนโดยมิชอบด้วย กฎหมาย นาไป SH สอบขยายผล ซ้อมฯ, อุ้มหาย,ไม่แจ้งสิทธิ ผู้ต้องหา ส่งตัวให้พงส.เกิน เวลา ซ้อมทรมาน ขู่เข็ญจูงใจ ไม่มีทนายฯร่วมรับฟังฯ ไม่นาหลักฐานสาคัญอยู่ใน สานวนทั้งพิสูจน์ความผิด/ ความบริสุทธิ์ฯ นาตัวไปแถลงข่าวฯ ถูกญาติ ทาร้าย ฟ้องล่าช้าเกิน เวลาฯ พยานเท็จ, หรือไม่มาศาล ซ้อม,เสียชีวิต โดยผิดก.ม. ไม่มีหมายศาล ไม่เข้าเหตุ ยกเว้นตามก.ม. ใช้ดุลยพินิจสั่ง ไม่ ฟ้อง ไม่ถูกก.ม. ไม่สั่งให้พงส. สอบเพิ่มเติมใน สานวนที่อ่อน ไม่ไต่สวนทั้งที่ ก.ม.ให้ศาลไต่สวน หาความจริงได้ ผู้ต้องสงสัย ผู้ต้องหา จาเลย เข้าไม่ถึงสิทธิฯ เช่น ไม่มีทนายฯ / ญาติร่วมรับฟัง ไม่ได้รับการปล่อยชั่วคราว ผู้ถูกจับ ผู้ต้องหา จาเลย จาเลย นักโทษ ผู้ต้องสงสัย
  • 33. การคุ้มครองสิทธิ และการช่วยเหลือทางกฎหมายประชาชน โดย รัฐ เริ่มเกิดปัญหาละเมิดสิทธิฯ (กลางน้า) มีปัญหา ผลกระทบเกิดขึ้นแล้ว (ปลายน้า) ก่อนเกิดปัญหาละเมิดสิทธิฯ (ต้นน้า) 1. การส่งเสริม ป้องกัน (กลุ่มปกติ) 2. คุ้มครอง (กลุ่มเสี่ยง นักปกป้อง พยานฯ) 3.เยียวยา ฟื้นฟู (เหยื่อ ผู้เสียหาย จาเลย) 3. ทาให้เกิดผลในทางปฏิบัติ (Fulfill) ด้านกฎหมาย นโยบายและปฏิบัติ 1. เคารพสิทธิฯ(Respect)ไม่แทรกแซง 2. คุ้มครองสิทธิฯ (Protect)ไม่ให้ ปชช. ถูกละเมิด หน้าที่ของรัฐ มีกลไกตาม กฎบัตรUN มีกลไกตามกติกา /อนุสัญญาฯ ที่ประเทศเป็นสมาชิก 4. การสร้างหลักประกันให้แก่ประชาชนมั่นใจว่าจะได้รับการคุ้มครองสิทธิฯ
  • 34. หลักการช่วยเหลือทางกฎหมาย สาหรับ ผู้ต้องหา และ จาเลยในคดีอาญา 1.หลักการสันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ถูกกล่าวหาเป็นผู้บริสุทธิ์ (Presumption of innocence) 2.หลักความเสมอภาค (Equality before the Law) 3.หลักอาวุธที่เท่าเทียมกัน (Equality of Arms)
  • 35. หลักการช่วยเหลือทางกฎหมาย สาหรับ ผู้ต้องหา และ จาเลยในคดีอาญา การดาเนินคดีอาญา ตามหลักสากล : “ให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าบุคคลทุกคน เป็นผู้บริสุทธิ์” • บุคคลทุกคนมีสิทธิได้รับการพิจารณาโดยเปิ ดเผยและเป็นธรรมภายในเวลา อันสมควร โดยคณะผู้ พิพากษาซึ่งได้รับการแต่งตั้งตามกฎหมายที่มีความเป็นอิสระและมีความเป็นกลาง • หากจาเลยถูกฟ้องว่าเป็นผู้กระทาความผิดอาญาจะต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ จนกว่าจะ พิสูจน์ได้ว่ากระทาความผิดตามกฎหมาย ดังนั้น ศาลจะพิพากษาลงโทษจาเลยได้นั้นต้อง พิสูจน์ให้ได้ว่า “ปราศจากความสงสัยตามสมควร ว่า จาเลยเป็นผู้กระทาความผิด หากยังมีข้อสงสัย ต้องยกประโยชน์แห่งความสงสัยให้แก่จาเลย” 1.หลักการสันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ถูกกล่าวหาเป็นผู้บริสุทธิ์ (Presumption of innocence)
  • 36.  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ.๒๕๖๐ มาตรา ๒๙ วรรคสอง บัญญัติว่า “ในคดีอาญา ให้ สันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจาเลยไม่มีความผิด และก่อนมีคาพิพากษา อันถึงที่สุดแสดงว่า บุคคลใดได้กระทาความผิด จะปฏิบัติต่อบุคคลนั้นเสมือนเป็นผู้กระทา ความผิดมิได้”  ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา ๒๒๗ ในการพิจารณาคดีอาญา ศาลต้อง ยึดถือหลักนิติธรรมอันเป็นบรรทัดฐานคือ “หลักสันนิษฐานว่าบุคคลเป็นผู้บริสุทธิ์จนกว่าจะ ได้รับการพิสูจน์โดยปราศจากข้อสงสัยว่ามีความผิด” (Presumption of innocence until proven guilty beyond a reasonable doubt)
  • 37. 2.หลักความเสมอภาค (Equality before the Law) หลักความเสมอภาค กาหนดให้ “บุคคลทุกคนย่อมได้รับการปฏิบัติจากรัฐอย่างเท่าเทียมกัน โดยองค์กร ต่าง ๆ ของรัฐต้องปฏิบัติต่อบุคคลที่เหมือนกันในสาระสาคัญอย่าง เดียวกัน และปฏิบัติต่อบุคคลที่แตกต่างกันในสาระสาคัญที่ แตกต่างกัน ออกไปตามลักษณะเฉพาะแต่ละบุคคล” จึงจะทาให้เกิดความยุติธรรมภายใต้หลักความ เสมอภาคขึ้นได้
  • 38.  รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. ๒๕๖๐ มาตรา ๒๗ วรรคแรกว่า “บุคคลย่อม เสมอกันใน กฎหมายมีสิทธิและเสรีภาพและได้รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียม กัน”  หลักความเสมอภาคในกระบวนการยุติธรรม มุ่งคุ้มครองบุคคลทุกคนที่เข้าสู่ กระบวนการยุติธรรมทางอาญาให้ได้รับการพิจารณาคดีตามกระบวนการพิจารณา อย่างเดียวกันและ มีความเสมอภาคกันในกระบวนการยุติธรรม
  • 39. 3.หลักอาวุธที่เท่าเทียมกัน (Equality of Arms) การพิสูจน์ความจริงในคดีอาญา ได้อย่างเป็นธรรม คู่ความทั้ง สองฝ่ายต้องมีความสามารถในการต่อสู้คดีอย่างเท่าเทียมกัน เรียกว่า “หลักอาวุธเท่าเทียมกัน” ทนายความ จึงเป็นองค์ประกอบสาคัญในการให้ความช่วยเหลือ ทางคดี และ เป็นหลักประกันเพิ่มเติมว่า ผู้ต้องหาหรือจาเลยมีสิทธิที่จะต่อสู้คดีได้อย่าง เต็มที่โดยถือ หลักอาวุธเท่าเทียมกัน
  • 40. สิทธิผู้ต้องหาหรือจาเลยในการมีทนายความ (Right to Counsel) ดังนั้น สิทธิของผู้ต้องหาและจาเลยในคดีอาญาที่จะได้รับความช่วยเหลือ ทางคดีจากทนายความ เป็นสิ่งที่จะขาดเสียมิได้ ถือเป็นรากฐานของ กระบวนการยุติธรรมทางอาญา หากปราศจากสิทธิดังกล่าวเสียแล้ว ความยุติธรรมจักเกิดขึ้นมิได้ มาตรฐานสากลของหลักประกันสิทธิของผู้ต้องหาและจาเลย ที่จะได้รับ การปฏิบัติที่เป็นธรรมระหว่างการดาเนินคดี ได้รับรองไว้ในกติการะหว่างประเทศว่า ด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ข้อ ๑๔
  • 41.  สิทธิของผู้ต้องหาหรือจาเลยในการมีทนายความ ตามรัฐธรรมนูญราชอาณาจักรไทย • รธน. 2517 กาหนด มีทนายความ ครั้งแรก และรัฐจัดหาทนายความแก่ผู้ยากไร้ • รธน. 2540 และกาหนดเป็นหน้าที่ของรัฐ ในการจัดหาทนายความ • รธน. 2550 กาหนดกฎเกณฑ์ การคุ้มครองสิทธิการมีทนายความ  สิทธิของผู้ต้องหาหรือจาเลยในการมีทนายความ ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา ความอาญา • ทนายความในชั้นสอบสวน • ทนายความในชั้นพิจารณาคดี ทนายความอาสา ทนายความขอแรง
  • 42. ผู้กระทา ความผิด ผู้เสียหาย พยานบุคคล ตารวจ ปกครอง DSI ฟ้อง คดี พิพากษา คดี สืบสวน จับกุม สอบสวน บังคับ โทษ ทา ความผิด อัยการ ศาล ราชทัณฑ์ ทนายความ คุ้มครอง พยาน กระบวนการยุติธรรมทางอาญา : กระบวนการนาผู้กระทาความผิดมาลงโทษตามกฎหมาย สิทธิผู้ต้องหา สิทธิของ ผู้ต้องขัง จาเลย นักโทษ สิทธิของผู้เสียหาย การคุ้มครอง สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน สิทธิพยาน
  • 43. บริบทและปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทย • ระบบกฎหมาย : ระบบประมวลกฎหมาย (Civil Law) เป็นหลัก และมีอิทธิพลของระบบกฎหมายจารีต ประเพณี (Common Law) ปรากฏอยู่มาก ทั้งแนวคิด และการปฏิบัติ • ระบบ/กระบวนการยุติธรรมทางอาญา : ระบบกล่าวหาเป็นหลัก (มีข้อเสนอให้นาระบบไต่สวนเข้ามาใช้มากขึ้น) โดยตารวจเป็นหน่วยงานหลักในการจับกุม และสอบสวนฯ มีแนวคิดที่ส่งผลต่อการปฏิบัติหน้าที่ของ พนักงานสอบสวนและพนักงานอัยการในการค้นหาความจริงที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ต้องหา ศาลวางตัวเป็น กลาง • ข้อตกลงระหว่างประเทศและอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชน : ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ,กติกา ระหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ฯลฯ)
  • 44. บริบท/ปัจจัยที่ส่งผลต่อกระบวนการยุติธรรมของประเทศไทย • แนวคิด/กระบวนทัศน์ที่มีอิทธิพลฯ : Crime control กับ Due process • นโยบายทางอาญา : นิติบัญญัติ (มีก.ม.ที่มีโทษทางอาญามากฯ,กรอบให้ศาลใช้ดุลยพินิจในการลงโทษ) บริหารกระบวนการยุติธรรมทางอาญา บังคับโทษ • ปัญหาวิกฤต เรื่องคอรัปชั่นในกระบวนการยุติธรรม
  • 46. มาตรฐานสากลด้านสิทธิมนุษยชน สาหรับเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมาย มาตรฐานสิทธิมนุษยชน เป็นมาตรฐานขั้นต่าที่แต่ละประเทศ ควร ดาเนินการให้ได้ หรือแต่ละประเทศจะกาหนดมาตรฐานที่สูงกว่าก็ได้ และมาตรฐานดังกล่าวย่อมมีผลผูกพันกับตัวแทนของประเทศ รวมทั้ง เจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายของประเทศเหล่านั้นด้วย ดังนั้น เจ้าหน้าที่ ผู้บังคับใช้กฎหมายจะต้องรู้ และใช้มาตรฐาน สิทธิมนุษยชนอย่างถูกต้อง และชอบธรรม (Office of the United Nations High Commissioner for Human Rights, 2004)
  • 47. หลักการ สิทธิมนุษยชนเป็นศักดิ์ศรีที่ติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่เกิด ซึ่งเจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้ กฎหมาย จะต้องเคารพและปฏิบัติตามกฎหมายอยู่ตลอดเวลา เพื่อปกป้อง คุ้มครองศักดิ์ศรีแห่งความเป็นมนุษย์ แนวทางในการปฏิบัติ • การเชื่อฟังและปฏิบัติตามคาสั่งของผู้บังคับบัญชา จะนามา สร้างความชอบธรรมในการละเมิดต่อสิทธิมนุษยชนไม่ได้ • เจ้าหน้าที่ผู้บังคับใช้กฎหมายจะต้องมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง อานาจตามกฎหมาย และข้อจาากัดของอานาจดังกล่าวนั้นด้วย
  • 48. การไม่เลือกปฏิบัติในการบังคับใช้กฎหมาย หลักการ มนุษย์ทุกคนเกิดมาโดยมีเสรีภาพ และความเท่าเทียมกัน ทั้งในเรื่องสิทธิ และศักดิ์ศรีบุคคลทั้งปวง มีความเท่าเทียมกันตามกฎหมาย และมีสิทธิ ได้รับการปกป้องคุ้มครองตามกฎหมายอย่างเท่าเทียมกัน เว้นแต่ บางกรณีที่มีการใช้มาตรการพิเศษบางอย่าง เพื่อใช้กับบุคคล ที่ต้องได้รับการปฏิบัติเป็นพิเศษ แตกต่างจากบุ คลปกติเช่น สตรี เด็ก และเยาวชน คนป่วย คนชรา และบุคคลอื่นที่ต้องได้รับการปฏิบัติเป็น พิเศษ ตามมาตรฐานสิทธิมนุษยชน
  • 49. แนวทางในการปฏิบัติ การไม่เลือกปฏิบัติในการบังคับใช้กฎหมาย • สร้างความคุ้นเคยกับชุมชน เช่น การเข้าร่วมกิจกรรม ของชุมชน รับฟังความต้องการ ข้อร้องเรียน และคาแนะนาของชุมชน • ต้องมีจิตสานึกให้รับรู้ถึงความสาคัญของการมีความสัมพันธ์อันดีกับ ประชาชน การที่ต้องมีความยุติธรรม และการบังคับ ใช้กฎหมายโดย ไม่เลือกปฏิบัติ
  • 50. ข้อจากัด : การใช้สิทธิ เสรีภาพ ของประชาชน หลักทั่วไป : การใช้สิทธิฯ ต้องไม่กระทบกระเทือน หรือ เป็นอันตราย ต่อ  ความมั่นคงของรัฐ  ความสงบเรียบร้อย หรือ ศีลธรรมอันดีของประชาชน  ไม่ละเมิดสิทธิ หรือ เสรีภาพของบุคคลอื่น กฎหมาย ที่ออกมาจากัด การใช้สิทธิ เสรีภาพของประชาชน ต้องสอดคล้อง กับรัฐธรรมนูญ
  • 51. ในสถานการณ์ปกติ ประชาชนใช้ สิทธิ เสรีภาพ ตามที่กฎหมาย รองรับไว้ โดยรัฐคุ้มครอง ในสถานการณ์พิเศษที่มีภัยต่อความมั่นคง ความปลอดภัยในชีวิตของประชาชน ประชาชนอาจมีข้อจากัดในการใช้สิทธิ และเสรีภาพ โดยรัฐออกกฎหมายพิเศษออกมา .... แต่ต้องยึดหลักความชอบด้วย กฎหมาย
  • 52. เกิดภัยคุกคาม : กฎหมายพิเศษ ที่ใช้ในการรักษาความมั่นคงของชาติ “พ.ร.บ.กฎอัยการศึก 2457 ” • ทหารมีอานาจเหนือพล เรือน ทั้งการปฎิบัติ และ ศาล • ไม่ต้องใช้หมายฯ ควบคุม ได้ไม่เกิน 7 วัน • คุ้มครองทหาร ฟ้องไม่ได้ “พรก.ฉุกเฉิน 2548” -นายกฯประกาศ,ให้ครม.เห็นชอบ ใช้ทั้งประเทศ./บางเขตพื้นที่ -มีพนง.จนท.,จับ ควบคุมผู้ต้อง สงสัยต้องขอหมายศาล -ควบคุมได้ 7 วัน ขอต่อ< 30 วัน -คุ้มครอง พนง.จนท.ปฏิบัติถูก กฎหมาย ไม่ต้องรับผิด แต่ฟ้อง ละเมิดได้ “พ.ร.บ.รักษาความมั่นคง ภายในราชอาณาจักร 2551” -ป้องกัน ควบคุม ฟื้นฟูสถานการณ์ -ตั้ง กอ.รมน.ระดับต่างๆขึ้น นายกฯ : ผอ.รมน. / ผบ.ทบ. : เลขาฯ -ค้น จับ คุม สอบสวนฯ ใช้ ป.วิ.อาญา -ขอศาลสั่งผู้หลงผิดเข้าอบรม สิทธิในการ ฟ้องระงับ ภัยคุกคามรุนแรง ภัยต่อความมั่นคง ภัยคุกคาม
  • 53. การใช้กฎหมายพิเศษด้านความมั่นคงฯของเจ้าหน้าที่รัฐ  เป็นไปตามหลักความชอบด้วยกฎหมาย (ตามที่กฎหมายให้อานาจไว้เท่านั้น)  ต้องมีการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้เป็น “พนักงาน เจ้าหน้าที่” โดยเฉพาะ  การบังคับใช้กฎหมายพิเศษ ต้องใช้อย่างระมัดระวัง กระทบสิทธิ เสรีภาพ ของประชาชนให้น้อยที่สุด เพื่อบรรลุเป้าหมายด้านความมั่นคงฯ
  • 54. บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐ • รักษาความมั่นคงของรัฐ จากภัยคุกคามภายนอกและภายใน (ทหาร เป็นหลัก) • การบังคับใช้กฎหมาย การรักษาความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน (ตารวจ เป็นหลัก) มีการแต่งตั้ง ทหาร ตารวจ เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ และเจ้าพนักงานฯ ปฏิบัติหน้าที่ ด้านบังคับใช้กฎหมายและความมั่นคงฯ และแต่งตั้งผู้ช่วยเจ้าพนักงาน • บริการสาธารณะ (ขรก.พลเรือน/ท้องถิ่น ฯลฯ เป็นหลัก)
  • 55. ภารกิจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐ ด้านความมั่นคง ด้านบังคับใช้กฎหมาย -ทหารเป็นหลัก -ตร. ฝ่ายปกครองฯ เป็นหน่วยงาน รอง สนับสนุน -ตารวจ ปกครอง DSI ปปส. ปปง. ปปท.ฯลฯ เป็นหลัก -ทหาร ฯลฯ เป็นหน่วยงานรอง หน่วยงาน หลัก/รอง ก.ม.ที่ เกี่ยวข้อง -รัฐธรรมนูญ, ระเบียบการจัดตั้ง หน่วยงานกระทรวงกลาโหม, -ก.ม.พิเศษ :พรบ.กฎอัยการศึกฯ, -พรก.ฉุกเฉิน ๒๕๔๘ ,พรบ.ความมั่นคงภายใน ๒๕๕๑ ,กฎการใช้กาลังของทหาร รัฐธรรมนูญ ประมวล ก.ม.อาญา, กม.ที่มีโทษอาญา ป.วิ.อาญาฯ ก.ม.พิเศษด้านความ มั่นคงฯ พรบ.การชุมนุมสาธารณะฯ พรบ.สอบสวนคดีพิเศษ รัฐธรรมนูญ, ก.ม.การจัดตั้ง หน่วยงานฯ, พรบ.วิธีปฏิบัติราชการ,ความรับผิด ทางละเมิด พรบ.ให้บริการฯของหน่วยงาน -จนท.พลเรือน เป็นหลัก (สธ.รง ,พม.ศธ.ฯลฯ) -ทหาร ตารวจเป็นหน่วยงานรอง ด้านบริการสาธารณะ ฐานคิด - การใช้กาลังรักษาความมั่นคง ภายนอก ภายใน มีปฏิบัติการใช้ กาลัง ต้องเด็ดขาด มีประสิทธิผล ปฏิบัติตามที่กฎหมายให้อานาจไว้, ใช้หลักกฎหมาย สิทธิมนุษยชน ให้บริการสาธารณะ อย่างเสมอ ภาค ไม่เลือกปฏิบัติ รวดเร็ว เป็น ธรรม มีจิตบริการ
  • 56. ภารกิจหน้าที่ของเจ้าหน้าที่รัฐ ลักษณะ การละเมิด ละเมิดสิทธิพลเมือง(ชีวิต ร่างกาย) และการแสดงออกของประชาชน เพราะคุ้นเคยกับหลักการทหาร การใช้กาลัง ละเมิดสิทธิในกระบวนการยุติธรรม (ที่เกี่ยวกับการตรวจค้น จับกุม สอบสวน กักขัง,ควบคุมตัว,) การ เลือกปฏิบัติ ขัดหลักนิติธรรม เรียก รับเงินฯ ละเมิดสิทธิในเรื่องการเลือกปฏิบัติ, ทุจริต ในการให้บริการแก่ประชาชน ขัดหลักนิติธรรม ไม่เป็นธรรม บทเรียน คดีในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ เช่น ที่ อ.ตากใบ จ.นราธิวาส คดีการสลายการชุมนุมต่างๆ, คดีชัยภูมิ ปะแส,คดีวัดปทุมวนารามฯ คดี เชอรี่ แอนดันแคน, คดีนายบอส ทายาทกระทิงแดง,คดีจับผู้ต้องหา ผิดตัว,คดีขับไล่ชาวกระเหรี่ยงออก จากพื้นที่ แก่งกระจาน คดีจับกุมผู้ ชุมนุมประท้วง,คดี สส.ปรีณา เปรียบเทียบกับ ชาวบ้านบุกรุกที่ดิน คดีทุจริตของหน่วยราชการ,องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น,คดีการรถไฟ ถูกฟ้องติดป้ายโฆษณา,คดีข้อ พิพาทระหว่างชาวเล กับเจ้าของ โฉนดที่ดิน คดีชาวบ้านห้วยคลิตี้ ได้รับผลกระทบจากมลพิษโรงงาน ด้านความมั่นคง ด้านบังคับใช้กฎหมาย ด้านบริการสาธารณะ
  • 57. ความสัมพันธ์ ของสิทธิมนุษยชน นิติธรรม ความยุติธรรม สิทธิมนุษยชน นิติธรรม ความยุติธรรม ความถูกต้องตามศีลธรรม บน พื้นฐานของจริยธรรม ความ สมเหตุสมผล กฎหมายทั่วไป และ กฎหมายธรรมชาติ ศาสนา ความ เที่ยงธรรม (equity) และความเป็น ธรรม (fairness) ตลอดจนการบังคับ ใช้ก.ม. การปกครองที่ดีนั้นควรต้องให้ก.ม.อยู่ สูงสุด (supremacy of law) ไม่ใช่ตัวผู้ปกครองอยู่สูงสุด และทุกคนต้องมีสถานะที่เสมอภาค และ เท่าเทียมกันภายใต้กฎหมาย -ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์เป็นสิทธิธรรมชาติ ติดตัว มาแต่เกิด เป็นสากลข้ามพรหมแดน “ความเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ” การเข้าถึง/มีสิทธิ ไม่อาจพรากไปได้ แบ่งแยกไม่ได้ สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน มีส่วนร่วม เป็นส่วนหนึ่งของสิทธิ ตรวจสอบได้ตามหลักนิติธรรม - (สิทธิพื้นฐานขั้นต่าของมนุษย์ทุกคน) การปกครอง/บริหารซึ่งยึดก.ม.เป็นหลัก การตราก.ม. เนื้อหา ก.ม. และการใช้ ก.ม.ต้องถูกต้อง และเป็นธรรม เพื่อ ประโยชน์ของคนส่วนใหญ่ และมีการ ควบคุมการใช้ ก.ม.อย่างเหมาะสม* - ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ - สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของบุคคลที่ ได้รับการรับรอง หรือคุ้มครอง - ตามรัฐธรรมนูญฯไทย - ตามกฎหมายไทย - ตามสนธิสัญญาที่ไทยมีพันธกรณีที่ต้องปฏิบัติ (พรบ.คณะกก.สิทธิมนุษยชน พศ.๒๕๔๒ ม.๓) หลักนิติธรรม บรรจุในรัฐธรรมนูญฯพ.ศ. ๒๕๕๐ เป็นครั้งแรก ( ใน ม.๓ ว.๒ ,ม.๗๘) ไทย สากล เสมอภาค ไม่เลือก ปฏิบัติ ยุติธรรม สิทธิ มนุษยชน นิติธรรม
  • 58. กรณีตากใบ จ.นราธิวาส ปี 2547 การปฏิบัติงานของจนท. มีความเสี่ยงในการละเมิดสิทธิฯ -ศักดิศรีความเป็นมนุษย์ -เลือกปฎิบัติ ละเมิดก.ม.และหาผู้รับ ผิดไม่ได้ -ใช้ความรุนแรง ประมาท เลินเล่อฯ ทาให้ผู้ชุมชนเสียชีวิตมาก ๑.หลักสิทธิมนุษยชน ๒.หลักนิติธรรม -การกระทาของจนท.ผิดก.ม. ไม่ยึด หลักปกครองโดยก.ม. -กระบวนการยุติธรรมฯเอาผู้กระทา ผิดมาลงโทษไม่ได้ ๓.ความยุติธรรม -ไม่เป็นกลาง จนท.ทาผิดไม่มี ความผิดไม่ถูกลงโทษ
  • 59. สงครามยาเสพติด ของไทย ปี 2546 และของฟิ ลิปปิ นส์ปี 2559 คนเสียชีวิตหลายพันคน ๑.หลักสิทธิมนุษยชน -ศักดิศรีความเป็นมนุษย์ -จนท.ละเมิดก.ม. และหาผู้รับผิดไม่ได้ -เลือกปฏิบัติ ใช้ความรุนแรง ๒.หลักนิติธรรม -ไม่ยึดหลักปกครองโดยก.ม.เป็นหลัก -ใช้หลักควบคุมอาชญากรรม มากกว่าหลักนิติ ธรรม (Rule of Law) หลัก ทาขั้นตอนตาม ก.ม.(Due process of Law) ของสหรัฐอเมริกา - การกระทาของจนท.ใม่เป็นไปตามขั้นตอน ของก.ม. (ตั้งศาลเตี้ย) ๓.ความยุติธรรม -จนท.รัฐไม่เป็นธรรม (ถ้าเป็นลูกหลานโดนตัด ตอนบ้าง จะรู้สึกอย่างไร)
  • 60. คดีฆาตกรรมน.ส.เชอรีแอน ดันแคน พ.ศ. 2529 สะท้อนให้เห็นปัญหาในกระบวนการยุติธรรมทางอาญาของไทย นาไปสู่การปรับปรุงครั้งสาคัญ ๑.หลักสิทธิมนุษยชน ๒.หลักนิติธรรม ๓.ความยุติธรรม -ขัดหลักศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ -เลือกปฎิบัติ (คนจนกับคนรวย) -ละเมิดสิทธิฯชีวิตร่างกาย -กระบวนการยุติธรรมฯบิดเบี้ยว ตารวจ สร้างพยานหลักฐานเท็จ ไปจับแพะ สอบสวน อัยการฟ้อง ศาลตัดสินลงโทษฯ จนผู้บริสุทธิ์เสียชีวิตในเรือนจา - -เป็นรอยด่างพร้อยของความยุติธรรม ไทย
  • 61. คดีทายาทกระทิงแดง ชนตารวจตายแล้วหนี เกือบ ๘ ปีไม่คืบหน้า มีจนท.รัฐหลายฝ่ายช่วยเหลือ ๑.หลักสิทธิมนุษยชน ๒.หลักนิติธรรม ๓.ความยุติธรรม -ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ -เลือกปฎิบัติ -จนท. ในกระบวนการยุติธรรม คอรัปชั่น ทาผิด ก.ม. -การกระทาของจนท.ผิดก.ม. ไม่ยึด หลักปกครองโดยก.ม. -เจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรม ฯ ทางานเป็นเครือข่ายช่วย ผู้กระทาผิด -ไม่เป็นกลาง ไม่เป็นธรรม คนรวย ทาผิดไม่ถูกนามาลงโทษ
  • 62. กรณี ส.ส. กับ ชาวบ้านบุกรุกที่ดินต้องห้าม (ที่ดินสปก.และป่าสงวนแห่งชาติ) ๑.หลักสิทธิมนุษยชน - ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ - เลือกปฎิบัติ (สส. กับ ชาวบ้าน) - ละเมิดก.ม. ๒.หลักนิติธรรม -ไม่ยึดหลักปกครองโดยก.ม.เป็นหลัก - การกระทาของจนท.ใม่เป็นไปตาม ขั้นตอนของก.ม. ล่าช้า ๓.ความยุติธรรม ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นกลาง -ข้อเท็จจริงใกล้เคียงกัน เหมือนกัน แต่ การปฎิบัติต่างกัน คุกมีไว้ขังคนจน
  • 63. กรณีจนท.ฯ เผาบ้าน ที่ทากินของชาวกระเหรี่ยงแก่งกระจาน ผลักดันให้ออกจากพื้นที่ /คดี บิลลี่ฯ ๑.หลักสิทธิมนุษยชน -ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ -เลือกปฎิบัติ (ไม่เผาไล่ที่กลุ่มอื่น) -จนท.ใช้ความรุนแรง ทาผิด ก.ม. ๒.หลักนิติธรรม -ไม่ยึดหลักปกครองโดยก.ม.เป็นหลัก -การกระทาของจนท.ใม่เป็นไปตาม ขั้นตอนของก.ม. (due process of law) เป็นการใช้อานาจเกินจาเป็น ๓.ความยุติธรรม -ไม่เป็นกลาง ไม่เป็นธรรม -ชาวกระเหรี่ยงอ้างว่าอยู่มาก่อน ประกาศเป็นพื้นที่ต้องห้ามฯ
  • 64. ศาลปกครองสูงสุดมีคาพิพากษาให้กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช ชดใช้ค่าเสียหายให้ นายคออี้ และชาวบ้าน บางกลอยบนและใจแผ่นดิน เป็นเงินคนละประมาณ 50,000 บาท กรณีเจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน รื้อถอนและเผา ทาลายบ้านของชาวบ้านเมื่อปี 2554 ซึ่งถือเป็นการใช้อานาจเกินความจาเป็นไม่สมควรแก่เหตุ ขณะที่ชาวบ้านไม่มีสิทธิ์กลับไป อาศัยในที่เดิมได้ โดยชาวบ้านยืนยันจะต่อสู้เพื่อขอพิสูจน์สิทธิ์ต่อไป เผาบ้าน เผาที่ทากินกระเหรี่ยงแก่งกระจาน
  • 65. ตร.เมืองมินิอาโปลิสฯ ละเมิดสิทธิฯผู้ต้องหาชายผิวดาจนเสียชีวิต จนเกิดประท้วงใหญ่ ๑.หลักสิทธิมนุษยชน ๒.หลักนิติธรรม ๓.ความยุติธรรม - ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ - เลือกปฎิบัติ ละเมิดก.ม. - ใช้ความรุนแรง ประมาทเลินเล่อฯ -ไม่ยึดหลักปกครองโดยก.ม.เป็นหลัก -การกระทาของจนท.ใม่เป็นไปตาม ขั้นตอนของก.ม.(due process of law) ไม่เป็นธรรม ไม่เป็นกลาง มีอคติ กับคนผิวสี (รัฐ มินิโซต้า จ่ายเยียวยา 830 ล้านบาท)
  • 67.
  • 68.
  • 69.
  • 70.
  • 71. แนวคิด และแนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน ขององค์กรต่างๆในประเทศไทย สิทธิตามปฏิญญาสากลฯ และอนุสัญญาด้านสิทธิ มนุษยชนของUN NGO,องค์กรศาสนา องค์กรระหว่าง ประเทศ รัฐบาล หน่วยราชการ นักวิชาการ นักปกป้องสิทธิมนุษยชน แนวคิดในเรื่องสิทธิมนุษยชน ความมั่นคงของมนุษย์ สิทธิเสรีภาพปัจเจกชน ความมั่นคงของรัฐ ประโยชน์สาธารณะ
  • 72. แนวคิดและแนวปฏิบัติขององค์กรต่างๆ ที่กระทบกับสิทธิมนุษยชน ความมั่นคงของประเทศ ความปลอดภัยในชีวิต ทรัพย์สิน ประโยชน์สาธารณะ หลักสิทธิมนุษยชนสากล,SDG…. (หลักใจเขาใส่ใจเรา) สิทธิเสรีภาพของประชาชน ตามกฎหมายของรัฐ ความสมดุล อยู่ที่ ไหน • การให้การศึกษา บริการสาธารณสุขแก่ ประชาชนตามแนวชายแดน คนต่างด้าว • การเยียวยาคนต่างด้าวที่เป็นเหยื่อในคดีอาญา • การทางานขององค์กรระหว่างประเทศ ภาค ประชาสังคม หน่วยงานรัฐ • การปราบปรามยาเสพติด • การปราบปรามผู้ก่อการร้าย • (การปฏิบัติงานของจนท.รัฐฝ่าย ความมั่นคง) ความมั่นคงของมนุษย์ การพัฒนามนุษย์