SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
รูปแบบการสอนโมเดลซิปปา
(CIPPA MODEL)
รูปแบบการสอนโมเดลซิปปา เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนเป็นผู้สร้าง
ความรู้ด้วยตนเอง(Construction of knowledge) ซึ่งนอกจากผู้เรียนจะต้อง
เรียนรู้ด้วยตนเองและพึงตนเองแล้วยังต้องพึ่งการมีปฏิสัมพันธ์ (interaction)
กับเพื่อนๆ บุคคลอื่นๆ และสิ่งแวดล้อมรอบตัวรวมทั้งต้องอาศัยทักษะกระบวนการ
(process skills) ต่างๆ จานวนมากเป็นเครื่องมือในการสร้างความรู้โดยให้ผู้เรียนมี
ความพร้อมในการรับรู้และเรียนรู้อย่างตื่นตัว ผู้เรียนได้มีการเคลื่อนไหวทางกาย อย่าง
เหมาะสม และจะทาให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ดี เข้าใจลึกซึ้งและอยู่คงทนมากขึ้นหากผู้เรียนมี
โอกาสนาความรู้มาประยุกต์ใช้ ในสถานการณ์ที่หลากหลาย
ความหมาย
(ทิศนา แขมมณี, 2545:280)
1. การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางด้านร่างกาย โดยการจัดกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนได้มี
โอกาสเคลื่อนไหวร่างกาย เพื่อช่วยให้ประสาทการรับรู้ของผู้เรียนตื่นตัวพร้อมที่จะรับข้อมูล
และการเรียนรู้ต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น ตามความเหมาะสมกับวัยและระดับความสนใจของผู้เรียน
2. การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางสติปัญญา โดยการจัดกิจกรรมที่ท้าทายความคิดของ
ผู้เรียน สามารถกระตุ้นสมองของผู้เรียนเกิดการเคลื่อนไหว ช่วยให้ผู้เรียนความจดจ่อใน
การคิด สนุกที่จะคิด โดยเรื่องที่สอนต้องไม่ง่ายและไม่ยากเกินไปสาหรับผู้เรียน ครูจึงต้อง
หาประเด็นการคิดที่เหมาะสมกับวัยและความสามารถของผู้เรียนเพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้
ความคิดหรือลงมือทา
ทฤษฎี/แนวคิดในการออกแบบกิจกรรมของโมเดิลซิปปา
ทิศนาแขมมณี (2542)
3. การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทาสังคม โดยการจัดกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนมี
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับบุคคลหรือสิ่งแวดล้อมรอบตัว กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดี
จึงควรเป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมรอบตัวด้วย
4. การให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางอารมณ์ โดยการจัดกิจกรรมที่ส่งผลต่ออารมณ์
ความรู้สึกของผู้เรียน ซึ่งจะช่วยให้การเรียนรู้นั้นเกิดความหมายต่อตนเอง
กิจกรรมจึงควรเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับชีวิต ประสบการณ์ และความเป็นจริงของ
ผู้เรียนจะต้องเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องกับตัวผู้เรียนโดยตรงหรือใกล้ตัวผู้เรียน
ทฤษฎี/แนวคิดในการออกแบบกิจกรรมของโมเดิลซิปปา (ต่อ)
ทิศนาแขมมณี (2542)
C Construct
I Interaction
P Physical participation
P Process learning
A Application
หลักการของรูปแบบการสอนโมลเดลซิปปา
อธิบายหน้าถัดไป
C :Construct หมายถึงการสร้างความรู้ตามแนวคิดของConstructivism
กล่าวคือ กิจกรรมการเรียนรู้ที่ดีควรเป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียนมีโอกาสสร้างความรู้ด้วย
ตนเอง ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจ เกิดการเรียนรู้ที่มีความหมาย ต่อตนเอง การที่ผู้เรียนมี
การได้สร้างความรู้ด้วยตนเองนี้ เป็นกิจกรรมที่ช่วยให้ผู้เรียน มีส่วนร่วมทางสติปัญญา
I : Interaction หมายถึงการปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นหรือสิ่งแวดล้อมรอบตัว กิจกรรมการ
เรียนรู้ที่ดีจะต้องเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับบุคคล และแหล่งความรู้ที่
หลากหลาย ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทางสังคม
P : Physical participation หมายถึงการทีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียนรู้ทาง
กาย คือ ผู้เรียนมีโอกาสได้เคลื่อนไหวร่างกายโดยการทากิจกรรมในลักษณะต่างๆ
P : Process learning หมายถึงการเรียนรู้กระบวนการต่างๆ กิจกรรมการเรียนรู้ที่
ดีควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนรู้กระบวนการต่างๆ ซึ่งเป็นทักษะที่จาเป็นต่อการดารงชีวิต เช่น
กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการคิด กระบวนแก้ปัญหา กระบวนการพัฒนาตนเอง
หลักการของรูปแบบการสอนโมลเดลซิปปา (ต่อ)
ขั้นการแสวงหาความรู้เดิม
แนวทางการจัดการเรียนรู้
1
2
4
3
5
6
7
ขั้นการแสวงหาความรู้ใหม่
ขั้นการศึกษาทาความเข้าใจความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหม่กับความรู้เดิม
ขั้นการแลกเปลี่ยนความรู้ความเข้าใจกับกล่ม
ขั้นการสรปและระเบียบความรู้
ขั้นการแสดงผลงาน ขั้นการประยกต์ใช้ความรู้
1. แนวคิดการสร้างสรรค์องค์ความรู้ (Constructivism)
2. แนวคิดเรื่องกระบวนการกลุ่มและการเรียนแบบร่วมมือ
(Group Process and Co-operative Learning)
3. แนวคิดเกี่ยวกับความพร้อมในการเรียนรู้ (Learning Readiness)
4. แนวคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้กระบวนการ (Process Learning)
5. แนวคิดเกี่ยวกับการถ่ายโอนการเรียนรู้ (Transfer of Learning)
รูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้แบบซิปปา (CIPPA)
ทิศนา แขมณี (2543 : 17)
แนวคิดทฤษฎีที่ใช้
การใช้แนวคิดหลัก 5 แนวคิดใช้พื้นฐานทฤษฎีพัฒนาการมนุษย์ (human development) และทฤษฎีการเรียนรู้จาก
ประสบการณ์ (experiential learning)
ลักษณะการพัฒนารูปแบบการสอน
การจัดการเรียนรู้ตามหลักของ
CIPPA MODEL
I การสร้าง
ปฏิสัมพันธ์ต่อกัน
A
การนา
ความรู้ไป
ประยกต์ใช้
P การมี
ส่วนร่วม
P
การเรียนรู้กระบวนการ
แสวงหาความรู้
คิดวิเคราะห์
ศึกษาค้นคว้า
จัดระเบียบความรู้
ข้อมูล
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
ประสบการณ์
ความคิด
ทางกาย
อารมณ์
สังคม
สติปัญญา
การแสวงหาความรู้
กระบวนการแก้ปัญหา
กระบวนการกล่ม
กระบวนการทางาน
สถานการณ์
ที่หลากหลาย
ฝึกให้จนชานาญ
พัฒนาตนเอง
ผู้เรียน
ขั้นตอน/กระบวนการหลักของรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้
ขั้นนา
จัดกิจกรรมตามหลักการ
ขั้นวิเคราะห์
ขั้นสรปและประเมินผล
สร้าง/กระต้นความสนใจ
หรือเตรียมความพร้อม
ในการเรียน
อภิปรายผลจากกิจกรรม
ขั้นกิจกรรม
- ผู้เรียนได้สร้างความรู้ด้วยตนเอง
- ผู้เรียนได้มีปฏิสัมพันธ์ช่วยกันเรียนรู้ I
- ผู้เรียนมีบทบาท/ส่วนร่วมในการสร้าง
ความรู้ด้วยตนเอง P
- ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการควบคู่กับ
ผลงาน/ข้อสรปความรู้ P
- ผู้เรียนนาความรู้ไปใช้ A
- วิเคราะห์อภิปราย
ผลงาน/ข้อความรู้ที่
สรปได้จากกิจกรรม
(Product)
- วิเคราะห์อภิปราย
กระบวนการเรียนรู้
(Process)
สรปผลและประเมินผล
การเรียนรู้ตามวัตถประสงค์
1) ศึกษา วิเคราะห์ปัญหาการจัดการเรียนรู้ที่ผ่านมา
2) ศึกษาหลักสูตรเพื่อทาความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ จดหมาย และ
โครงสร้างของหลักสูตร ศึกษาอธิบายรายวิชา
3) วิเคราะห์คาอธิบายรายวิชา เพื่อกาหนดจดประสงค์การเรียนรู้ จดประสงค์
ปลายทาง จดประสงค์นาทาง และเนื้อหาให้สอดคล้องกับหลักการ จดหมาย
จดประสงค์ กล่มวิชาและคาอธิบายรายวิชา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ต่อไป
4)วางแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สื่อการเรียนการสอน และการ
วัดผลประเมินผล
การวางแผนการสอน
ผู้เรียนจะเกิดความเข้าใจในสิ่งที่เรียน สามารถ
อธิบาย ชี้แจงตอบคาถามได้ดี นอกจากนั้นยังได้พัฒนา
ทักษะ ในการคิดวิเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การทางาน
เป็นกล่ม การสื่อสาร รวมทั้งเกิดความใฝ่ รู้ด้วย
ลักษณะเด่นของรูปแบบ
END
1. นางสาวเกวลี วงศ์พิพิธ รหัสนักศึกษา 6053200006
2. นางสาวดวงเด่น แสนดี รหัสนักศึกษา 6053200012
3. นางสาววราภรณ์ วสดา รหัสนักศึกษา 6053200017
4. นายเอกฉัตร บูรณะ รหัสนักศึกษา 6053200018
MCI 414 การฝึกปฏิบัติการสอนในชั้นเรียน
เสนอ ผศ.ดร.เกศสดา รัชฎาวิศิษกล
จัดทาและนาเสนอโดย
ระดับ ปริญญาโท คณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยกรงเทพธนบรี

More Related Content

What's hot

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบwanchalerm sotawong
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWann Rattiya
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์korakate
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8supap6259
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 

What's hot (20)

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 11 เรื่องกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
7.ชุดที่ 4 การสังเคราะห์แสง
 
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียงของเล่นทำให้เกิดเสียง
ของเล่นทำให้เกิดเสียง
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
แผนการเรียนรู้โครงสร้างและหน้าที่ของเซลล์
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8สุขฯ ม.2 หน่วย 8
สุขฯ ม.2 หน่วย 8
 
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
5.ชุดที่ 2 โครงสร้างของเซลล์
 
แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2แผนBioม.5 2
แผนBioม.5 2
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 

Similar to Cippa model

การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานAtima Teraksee
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือSukanya Burana
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง Proud N. Boonrak
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7Tsheej Thoj
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้thanakorn
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 
แหล่งการเรียนรู้Atiruj
แหล่งการเรียนรู้Atirujแหล่งการเรียนรู้Atiruj
แหล่งการเรียนรู้Atirujatiruj
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางKunwater Tianmongkon
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยBlade HurthurtHurt
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยBlade HurthurtHurt
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Chaya Kunnock
 

Similar to Cippa model (20)

การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
การจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสาน
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือการเรียนรู้แบบร่วมมือ
การเรียนรู้แบบร่วมมือ
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 
แหล่งการเรียนรู้Atiruj
แหล่งการเรียนรู้Atirujแหล่งการเรียนรู้Atiruj
แหล่งการเรียนรู้Atiruj
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
K2
K2K2
K2
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
อาม
อามอาม
อาม
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 

More from DuangdenSandee

คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)DuangdenSandee
 
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)DuangdenSandee
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)DuangdenSandee
 
แผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการแผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการDuangdenSandee
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้DuangdenSandee
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาDuangdenSandee
 
ตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบDuangdenSandee
 
ข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยDuangdenSandee
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)DuangdenSandee
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถามDuangdenSandee
 
การนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยการนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยDuangdenSandee
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลDuangdenSandee
 
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลDuangdenSandee
 
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูลDuangdenSandee
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรDuangdenSandee
 
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยกรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยDuangdenSandee
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องDuangdenSandee
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยDuangdenSandee
 
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์DuangdenSandee
 

More from DuangdenSandee (20)

คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
 
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
 
แผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการแผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการ
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
ตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบ
 
ข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัย
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
การนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยการนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัย
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
 
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
 
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
 
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยกรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
 
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
 

Cippa model