SlideShare a Scribd company logo
1 of 55
Download to read offline
การวัดผลและ
ประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผล (measurement)
หมายถึง กระบวนการเพื่อให้ได้มาซึ่ง ตัวเลข หรือ
สัญลักษณ์ ที่มีความหมายแทนคุณลักษณะ หรือ
คุณภาพของสิ่งที่วัด โดยใช้เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพ
การประเมินผล (evaluation)
หมายถึง กระบวนการที่กระทาต่อจากการวัดผลแล้ว
วินิจฉัย ตัดสิน ลงสรุปคุณค่าที่ได้จากการวัดผล อย่าง
มีกฎเกณฑ์ และมีคุณธรรม
ดังนั้นการวัดผลและประเมินผลมีความสัมพันธ์
กันเพราะการวัดผลจะทาให้ได้ตัวเลข ปริมาณ
หรือรายละเอียดของคุณลักษณะหรือพฤติกรรม
ของบุคคล จากนั้นนาเอาผลการวัดนี้ไปพิจารณา
เปรียบเทียบกับเกณฑ์ที่กาหนดไว้เพื่อตัดสินหรือ
ลงสรุปเกี่ยวกับสิ่งนั้นเรียกว่าการประเมินผล
แนวคิดหลักการของการวัดและประเมินผล
๑. สถานศึกษาเป็นผู้รับผิดชอบการวัดประการประเมินผลการเรียนรู้
ของผู้เรียน โดยเปิดโอกาสให้ผู้ที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วม
๒. มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาผู้เรียนและตัดสินผลการเรียน
๓. ต้องสอดคล้องและครอบคลุมมาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
๔. ต้องดาเนินเทคนิคและวิธีที่หลากหลาย
๕. พิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ควบคู่ไปกันการเรียนการสอน
๖. เพื่อประเมินผล (evaluation)
๗. ให้มีการเทียนโอนผลการเรียนระหว่างสถานศึกษา
๘. ให้สถานศึกษาจัดทาและออกเอกสารหลักฐานการศึกษา
จุดมุ่งหมายของการวัดและประเมินผล
• การพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณสมบัติเปลี่ยนแปลงไปตามวัตถุปรสสงค
ของการจัดการศึกษาแลสช่วยให้ครูได้แนวทางในการปรับปรุง
การสอน
• เพื่อพัฒนาผู้เรียน (เกิดขึ้นรสหว่างการเรียนการสอน เพื่อทราบ
จุดเด่น จุดที่ต้องพัฒนา เน้นการให้ข้อมูล ย้อนกลับ เพื่อปรับปรุง
การเรียนการสอน)
• เพื่อตัดสินผลการเรียน (เกิดขึ้นหลังการเรียนการสอน สรุปรวมสิ่งที่
เกิดขึ้นทั้งหมด เน้นการพิจารณาบนพื้นฐานของเกณฑ)
ระดับของการวัดผลและประเมินผล
แบ่งออกเป็น ๔ ระดับ ได้แก่
๑. ระดับชั้นเรียน
๒. ระดับสถานศึกษา
๓. ระดับเขตพื้นที่การศึกษา
๔. ระดับชาติ
๑. การประเมินระดับชั้นเรียน
- เป็นการปรสเมินผลที่อยู่ในกรสบวนการจัดการเรียนรู้
- ผู้ดาเนินการเป็นปกติแลสสม่าเสมอในการจัดการเรียน
การสอน ใช้เทคนิคการปรสเมินอย่างหลากหลาย เช่น
การซักถาม การสังเกต การตรวจการบ้าน แฟ้มสสสมงาน ฯลฯ
- เป็นการตรวจสอบว่าผู้เรียนมีพัฒนาการความก้าวหน้าในการ
เรียนรู้ อันเป็นผลมาจากกการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
หรือไม่ แลสมากน้อยเพียงใด
- ต้องสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้แลสตัวชี้วัด
๒. การประเมินระดับสถานศึกษา
- เพื่อตัดสินผล การเรียนการสอนของผู้เรียนเป็นรายปี/รายภาค
ผลการปรสเมินการอ่าน คิดวิเคราสหแลสเขียน คุณลักษณส
อันพึงปรสสงค แลสกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
- เป็นการปรสเมินเกี่ยวกับการจัดการศึกษาของสถานศึกษาว่า
ส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนตามเป้ าหมายหรือไม่ นาผลที่
ได้เปรียบเทียบกับเกณฑรสดับชาติ
- เพื่อปรับปรุงนโยบาย หลักสูตร โครงการ วิธีการจัดการ
เรียนการสอน
๓. การประเมินระดับเขตพื้นที่การศึกษา
- เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของ
เขตพื้นที่การศึกษาตามภารสความรับผิดชอบ
- เป็นการปรสเมินคุณภาพผู้เรียนในรสดับเขตพื้นที่การศึกษา
๒. การสอบมาตรฐานกลาง LAS (Local Assessment System)
LAS คือ การประเมินคุณภาพการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับเขตพื้นที่ สาหรับนักเรียน
ระดับชั้น ป.2, ป.4, ป.5, ม.2 และ ม.5 ของทุกโรงเรียนในเขตพื้นที่การศึกษา ซึ่งเดิมมีการกาหนดรายวิชาในการ
ทดสอบ ในแต่ละระดับ 5 รายวิชา คือ คณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ
สังคมฯ วิทยาศาสตร์
แต่ปัจจุบันจะมีการทดสอบให้ครบทั้ง 8 กลุ่มสาระวิชา ได้แก่ สังคมศึกษา, คณิตศาสตร์, ภาษาอังกฤษ,
ภาษาไทย, วิทยาศาสตร์, สุขศึกษาและพลศึกษา, ศิลปะ, และการงานอาชีพเทคโนโลยี
๑. การประเมินความสามารถด้านการอ่าน ของนักเรียนชั้น ป.๑
๓. การสอบ NT (National Test)
คือ การทดสอบการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับชาติ ซึ่งมีความหมายเดียวกับ O-NET แต่แตกต่างกันตรงที่
หน่วยงานที่รับผิดชอบในการดาเนินงาน ซึ่ง NT จัดสอบโดย สพฐ. หรือสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ส่วน O-NET จัดสอบโดย สทศ. หรือสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ
เน้นการทดสอบใน 3 ด้าน ได้แก่ การอ่านออกเขียนได้ การคิดคานวณ และความสามารถด้านเหตุผล
๔. การประเมินระดับชาติ
- เป็นการปรสเมินคุณภาพผู้เรียนในรสดับชาติตามมาตรฐานการ
เรียนการสอนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
- ผู้เรียนทุกคนในปรสชั้น ป.๖,ม.๓,ม.๖ ต้องได้รับการ
ปรสเมิน เพื่อนาไปใช้ในการวางแผนยกรสดับคุณภาพการจัด
การศึกษา
O-NET (Ordinary National Educational Test)
คือ การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน เป็นการทดสอบ
เพื่อวัดความรู้และความคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
และชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ประเมินตามมาตรฐานการเรียนรู้ในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
ซึ่งกาหนดรายวิชาในการทดสอบ ในแต่ละระดับ ดังนี้
- ป.6 จัดทดสอบ จานวน 4 วิชา 8 กลุ่มสาระฯ ได้แก่ ภาษาไทย+คณิตศาสตร์, สุขศึกษาและพลศึกษา+
ศิลปะ+การงานอาชีพเทคโนโลยี, สังคมศึกษา+วิทยาศาสตร์, และภาษาอังกฤษ
- ม.3 จัดทดสอบ จานวน 4 วิชา 8 กลุ่มสาระฯ ได้แก่ ภาษาไทย+คณิตศาสตร์, สุขศึกษาและพลศึกษา+
ศิลปะ+การงานอาชีพเทคโนโลยี, สังคมศึกษา+วิทยาศาสตร์, และภาษาอังกฤษ
- ม.6 จัดทดสอบ จานวน 6 วิชา 8 กลุ่มสาระฯ ได้แก่ สังคมศึกษา, คณิตศาสตร์, ภาษาอังกฤษ,
ภาษาไทย, วิทยาศาสตร์, สุขศึกษาและพลศึกษา+ศิลปะ+การงานอาชีพเทคโนโลยี
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นสูง (Advanced National Educational Test; A-NET)
เป็นการสอบความรู้ขั้นสูง 6 ภาคเรียน ทดสอบเฉพาะนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่ประสงค์จะเข้าศึกษา
สถาบันอุดมศึกษาในระบบแอดมิชชั่น ในปี พ.ศ. 2553 ได้ยกเลิกการสอบเอเน็ต แล้วเปลี่ยนไปใช้การทดสอบความ
ถนัดทั่วไป วิชาชีพและวิชาการ (GAT-PAT) แทน รวมมีการจัดสอบเอเน็ตทั้งหมด 4 ครั้ง
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติสาหรับการศึกษานอกระบบโรงเรียน (Non-Formal National Education
Test; N-NET)
เป็นการทดสอบเพื่อวัดความรู้ ให้แก่นักเรียนที่กาลังศึกษา ในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ที่คาดว่าจะสาเร็จการศึกษาใน
ภาคเรียนที่ 1 และภาคเรียนที่ 2 ของปีการศึกษา
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอาชีวศึกษา (Vocational National Educational Test; V-NET)
เป็นการทดสอบเพื่อวัดความรู้ ให้แก่นักเรียนที่กาลังศึกษา ปวช.ชั้นปีที่ 3 เพื่อทดสอบความรู้และความคิด
ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2545 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2546), นาผลไปใช้ ในการปรับปรุง
คุณภาพ การเรียนการสอนของโรงเรียน และเพื่อนาผลไปใช้ในการประเมิน การเรียนรู้ของนักเรียนระดับชาติ
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านพระพุทธศาสนา (Buddhism National Education Testing; B-
NET)
เป็นการทดสอบเพื่อวัดความรู้ขั้นสูงจาก 5 ภาคเรียน สาหรับนักเรียนที่กาลังศึกษา หรือจบการศึกษา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือเทียบเท่า ที่จะเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยของรัฐ ด้วยระบบรับตรง ระบบโควตา และ
ระบบพิเศษ โดยมีการจัดทดสอบใน 5 วิชา และสามารถรักษาคะแนนสอบไว้ได้ เป็นระยะเวลา 2 ปีการศึกษา
การทดสอบทางการศึกษาระดับชาติด้านอิสลามศึกษา (Islamic National Educational Test; I-NET)
เป็นการทดสอบเพื่อวัดความรู้ และความคิดของนักเรียน ตามหลักสูตรอิสลามศึกษา พ.ศ. 2546 เพื่อนาผล
ไปใช้ในการปรับปรุงคุณภาพ การเรียนการสอนของโรงเรียน และนาไปใช้ในวัตถุประสงค์อื่น โดยมีการจัดสอบ
ให้แก่นักเรียน ที่กาลังศึกษาอยู่ในปีสุดท้าย ของหลักสูตรอิสลามศึกษา ตอนต้น ตอนกลาง และตอนปลาย ใน
โรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ควบคู่วิชาสามัญ ในกรุงเทพมหานคร จังหวัดนนทบุรี ประจวบคีรีขันธ์ กระบี่
ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา พัทลุง ภูเก็ต ยะลา ระนอง สงขลา สตูล สุราษฎร์ธานี และ
ศูนย์ตาดีกาใน 5 จังหวัดชายแดนภาคใต้
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
มีดังนี้
การตัดสินผลการเรียน
- รสดับปรสถมศึกษา
- รสดับมัธยมศึกษา
การให้ระดับผลการเรียน
- รสดับปรสถมศึกษา
- รสดับมัธยมศึกษา
การรายงานผลการเรียน
การตัดสินผลการเรียน
ระดับประถมศึกษา
๑) ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมด
๒) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัดและผ่านตามเกณฑ์ที่
สถานศึกษากาหนด
๓) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
๔) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์
ที่สถานศึกษา กาหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
การให้ระดับผลการเรียน (ระดับประถมศึกษา)
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
ระบบ
ตัวเลข
ระบบ
ตัวอักษร
ระบบร้อยละ ระบบที่ใช้คาสาคัญสะท้อนมาตรฐาน
๕ ระดับ ๔ ระดับ ๒ ระดับ
๔ A ๘๐-๑๐๐ ดีเยี่ยม ดีเยี่ยม
ผ่าน
๓.๕ B+ ๗๕-๗๙
ดี ดี๓ B ๗๐-๗๔
๒.๕ C+ ๖๕-๖๙ พอใช้
๒ C ๖๐-๖๔
ผ่าน๑.๕ D+ ๕๕-๕๙ ผ่าน
๑ D ๕๐-๕๔
๐ F ๐-๔๙ ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน ไม่ผ่าน
ดีเยี่ยม หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน
คิดวิเคราะห์ และเขียน ที่มีคุณภาพดีเลิศอยู่เสมอ
ดี หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน
คิดวิเคราะห์ และเขียน ที่มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับ
ผ่าน หมายถึง มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน
คิดวิเคราะห์ และเขียนที่มีข้อบกพร่องบางประการ
ไม่ผ่าน หมายถึง ไม่มีผลงานที่แสดงถึงความสามารถในการอ่าน คิดวิเคราะห์
และเขียน หรือถ้ามีผลงาน ผลงานนั้นยังมีข้อบกพร่องที่
ต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขหลายประการ
เกณฑ์การตัดสิน
การอ่าน
คิดวิเคราะห์
และเขียน
ดีเยี่ยม หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตนตามคุณลักษณะจนเป็นนิสัย และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันเพื่อประโยชน์สุข
ของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน ๕-๘
คุณลักษณะ และไม่มีลักษณะใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับดี
ดี หมายถึง ผู้เรียนมีคุณลักษณะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้เป็นการยอมรับของสังคม
โดยพิจารณาจาก
๑. ได้ผลกรประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน ๑-๔ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใด
ได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับดี หรือ
๒. ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน ๔ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะ
ใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับผ่าน หรือ
๓. ได้ผลการประเมินระดับดี จานวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใด
ได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับผ่าน
ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่สถานศึกษากาหนดโดยพิจารณาจาก
๑. ได้ผลการประเมินระดับผ่าน จานวน ๕-๘ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะ
ใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับผ่าน หรือ
๒. ได้ผลการประเมินระดับดี จานวน ๔ คุณลักษณะ และไม่มีคุณลักษณะใด
ได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับผ่าน
ไม่ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขสถานศึกษา โดยพิจารณาจาก
ผลการประเมินระดับไม่ผ่าน ตั้งแต่ ๑ คุณลักษณะ
เกณฑ์การตัดสิน
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงานตามเกณฑ์ที่สถานศึกษา
กาหนด
ไม่ผ่าน หมายถึง ผู้เรียนมีเวลาเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
ปฏิบัติกิจกรรมและมีผลงานไม่เป็นไปตามเกณฑ์
ที่สถานศึกษากาหนด
เกณฑ์การตัดสิน
กิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียน
การเลื่อนชั้น (ระดับประถมศึกษา)
เมื่อสิ้นปีการศึกษา ผู้เรียนจะได้รับการเลื่อนชั้น เมื่อมีคุณสมบัติตามเกณฑ์
ดังนี้
๑) ผู้เรียนมีเวลาเรียนตลอดปีการศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐
ของเวลาเรียนทั้งหมด
๒) ผู้เรียนมีผลการประเมินผ่านทุกรายวิชาพื้นฐาน
๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนผ่าน
ตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
การเรียนซ้าชั้น(ระดับประถมศึกษา)
๑) มีเวลาเรียนไม่ถึงร้อยละ ๘๐ อันเนื่องมาจากสาเหตุจาเป็น
หรือเหตุสุดวิสัย แต่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์การเลื่อนชั้นในข้ออื่นๆ
ครบถ้วน
๒) ผู้เรียนมีผลการประเมินผ่านมาตรฐานการเรียนรู้และ
ตัวชี้วัดไม่ถึงเกณฑ์
๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินรายวิชาในกลุ่มสาระภาษาไทย
คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรมอยู่ในระดับผ่าน
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
การสอนซ่อมเสริม (ระดับประถมศึกษา)
การสอนซ่อมเสริม เป็นการสอนเพื่อแก้ไขข้อบกพร่อง
กรณีที่ผู้เรียนมีความรู้ ทักษา กระบวนการ หรือเจตคติ/
คุณลักษณะไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
สถานศึกษาต้องจัดสอนซ่อมเสริมเป็นกรณีพิเศษ
นอกเหนือไปจากการสอนตามปกติ
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
การตัดสินผลการเรียน
ระดับมัธยมศึกษา
๑) ตัดสินผลการเรียนเป็นรายวิชา ผู้เรียนต้องมีเวลาเรียนตลอดภาคเรียน
ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาเรียนทั้งหมดในรายวิชานั้นๆ
๒) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินทุกตัวชี้วัดและผ่านตามเกณฑ์
ที่สถานศึกษากาหนด
๓) ผู้เรียนต้องได้รับการตัดสินผลการเรียนทุกรายวิชา
๔) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตามเกณฑ์
ที่สถานศึกษา กาหนดในการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
การให้ระดับผลการเรียน (ระดับมัธยมศึกษา)
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
ระบบตัวเลข ระบบตัวอักษร ระบบร้อยละ
๔ ดีเยี่ยม ๘๐-๑๐๐
๓.๕ ดีมาก ๗๕-๗๙
๓ ดี ๗๐-๗๔
๒.๕ ค่อนข้างดี ๖๕-๖๙
๒ ปานกลาง ๖๐-๖๔
๑.๕ พอใช้ ๕๕-๕๙
๑ ผ่านเกณฑ์ขั้นต่า ๕๐-๕๔
๐ ต่ากว่าเกณฑ์ ๐-๔๙
ในกรณีที่ไม่สามารถให้
ระดับผลการเรียนเป็น ๘
ระดับได้ ให้ใช้ตัวอักษร
ระบุเงื่อนไขของผลการ
เรียน ดังนี้
มส หมายถึง
ผู้เรียนไม่มีสิทธิเข้ารับการ
วัดผลปลายภาคเรียน
ร หมายถึง
รอการตัดสินและยังตัดสิน
ผลการเรียนไม่ได้
การเลื่อนชั้น (ระดับมัธยมศึกษา)
เมื่อสิ้นปีการศึกษา ผู้เรียนจะได้รับการเลื่อนชั้น เมื่อมีคุณสมบัติตามเกณฑ์
ดังนี้
๑) รายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมได้รับการติดสินผล
การเรียนผ่านตามเกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
๒) ผู้เรียนต้องได้รับการประเมินและมีผลการประเมินผ่านตาม
เกณฑ์ที่สถานศึกษากาหนด
๓) ระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้นควรได้
ไม่ต่ากว่า ๑.๐๐
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
การสอนซ่อมเสริม (ระดับมัธยมศึกษา)
สามารถดาเนินการได้ในกรณี ดังนี้
๑) ผู้เรียนมีความรู้/ทักษะพื้นฐานไม่เพียงพอที่จะศึกษาใน
แต่ละรายวิชานั้น
๒) ผู้เรียนไม่สามารถแสดงความรู้ ทักษะ กระบวนการ หรือ
เจตคติ/คุณลักษณะที่กาหนดไว้ตามมาตรฐานการเรียนรู้
๓) ผู้เรียนได้ระดับผลการเรียน “๐” ให้จัดการสอนซ่อมเสริม
ก่อนสอบแก้ตัว
๔) กรณีผู้เรียนมีผลการเรียนไม่ผ่าน สามารถจัดสอนซ่อมเสริม
ในภาคฤดูร้อนเพื่อแก้ไขผลการเรียน
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
การเรียนซ้าชั้น(ระดับมัธยมศึกษา)
มี ๒ ลักษณะ คือ
๑) ผู้เรียนมีระดับผลการเรียนเฉลี่ยในปีการศึกษานั้น
ต่ากว่า ๑.๐๐ และมีแนวโน้มว่าจะเป็นปัญหาต่อ
การเรียนในระดับชั้นที่สูงขึ้น
๒) ผู้เรียนมีผลการเรียน ๐, ร, มส เกินครึ่งหนึ่งของ
รายวิชาที่ลงทะเบียนเรียนในปีการศึกษานั้น
เกณฑ์การวัดและประเมินผลการเรียน
ระดับประถมศึกษา
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน กาหนดเกณฑ์กลาง
สาหรับการจบการศึกษาเป็น ๓ ระดับ คือ
เกณฑ์การจบระดับประถมศึกษา
๑) ผู้เรียนเรียนรายวิชาพื้นฐานและรายวิชา/กิจกรรมเพิ่มเติม
โดยเป็นรายวิชาพื้นฐาน ตามโครงสร้างเวลาเรียน
๒) ผู้เรียนต้องมีผลการประเมินรายวิชาพื้นฐานผ่านเกณฑ์การประเมิน
ที่สถานศึกษากาหนด
๓) ผู้เรียนมีผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
ในระดับผ่านเกณฑ์การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
๔) ผู้เรียนมีผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในระดับผ่านเกณฑ์
การประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
๕) ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนและมีผลการประเมินตามที่สถานศึกษากาหนด
การเทียบโอน
ผลการเรียน
ก่อนเปิดภาคเรียนแรก
ต้นภาคเรียนแรก
ดาเนินการในช่วง
การย้ายสถานศึกษา
การเปลี่ยนรูปแบบ
การศึกษา
การออกกลางคันและ
ขอกลับมาศึกษาต่อ
การย้ายหลักสูตร
การรายงานผลการเรียน
เป็นการสื่อสารให้ผู้ปกครองและผู้เรียนทราบความก้าวหน้าในการ
เรียนรู้ของผู้เรียน สถานศึกษาต้องสรุปผลการประเมิน และจัดทา
เอกสารรายงานให้ผู้ปกครองทราบเป็นระยะๆ หรืออย่างน้อยภาค
เรียนละ ๑ ครั้ง
การรายงานผลการเรียนในเอกสารหลักฐานการศึกษา ได้แก่
๑. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการกาหนด
ระเบียนแสดงผลการเรียน
สาหรับผู้เรียนจบการศึกษาระดับประถมศึกษา (ป.๖) / จบการศึกษาภาคบังคับ (ม.๓) /
จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.๖) / หรือเมื่อลาออกจากถานศึกษาในทุกกรณี
ประกาศนียบัตร
เป็นเอกสารวุฒิการศึกษาเพื่อรับรองศักดิ์และสิทธิ์ของผู้จบการศึกษา ที่สถานศึกษาให้
ไว้แก่ผู้จบการศึกษาภาคบังคับ (ม.๓) และผู้จบการศึกษาขั้นพื้นฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(ม.๖)
แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา
เป็นเอกสารอนุมัติการจบหลักสูตรโดยบันทึกรายชื่อและข้อมูลของผู้จบการศึกษาระดับประถมศึกษา
(ป.๖) จบการศึกษาภาคบังคับ (ม.๓) และจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน (ม.๖)
๒. เอกสารหลักฐานการศึกษาที่สถานศึกษากาหนด
เป็นเอกสารที่สถานศึกษาจัดทาขั้นเพื่อบันทึกพัฒนาการ ผลการ
เรียนรู้ และข้อมูลสาคัญ เกี่ยวกับผู้เรียน เช่น แบบรายงานประจาตัว
นักเรียน แบบบันทึกผลการเรียนประจารายวิชา ระเบียนสะสม
ใบรับรองผลการเรียน และเอกสารอื่นๆ ตามวัตถุประสงค์ของการนา
เอกสารไปใช้
ปพ. ย่อมาจาก "เอกสารประเมินผลตามหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน"
ซึ่งเป็นเอกสารปรสจาโรงเรียน เพื่อใช้สาหรับ
ตรวจสอบ สื่อสาร ส่งต่อแลสรับรองผลการเรียนของนักเรียน
ทุกคนในโรงเรียน
โดยปพ.นั้นสามารถแบ่งเป็นปรสเภทแลสการใช้งาน
การรายงานผลการเรียน
ปพ. 1 คือ ระเบียนแสดงผลการเรียน
เป็นเอกสารบันทึกผลการเรียนของนักเรียนในทุกกลุ่ม
สาระวิชา และกิจกรรมต่างๆที่ได้เรียนในแต่ละช่วงชั้นของ
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อใช้เป็นหลักฐานแสดง
สถานภาพและผลการเรียนของ นักเรียนแต่ละคน และใช้
เป็นหลักฐานในการสมัครเข้าเรียนต่อ หรือสมัครเข้าทางาน
เอกสารใบนี้จะให้เมื่อนักเรียนเรียนจบแต่ละช่วงชั้น
- ช่วงชั้นที่1 จบชั้นป.3, - ช่วงชั้นที่2 จบชั้นป.6,
- ช่วงชั้นที่3 จบชั้นม.3, - ช่วงชั้นที่4 จบชั้นม.6)
การรายงานผลการเรียน
ปพ. ๒ คือ หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา
หรือ ประกาศนียบัตร
- จะให้นักเรียนเมื่อจบการศึกษาภาคบังคับ 9 ปี (จบม.3)
- และสาเร็จการศึกษาขั้นพื้นฐาน (12 ปี จบม.6)
- สามารถนาไปใช้เป็นหลักฐานแสดงระดับวุฒิการศึกษา
ของตนเองได้
การรายงานผลการเรียน
ปพ. ๓ คือ แบบรายงานผู้สาเร็จการศึกษา
- เป็นแบบรายงานรายชื่อและข้อมูลของนักเรียนที่จบ
การศึกษาตามหลักสูตรการศึกษาภาคบังคับและหลักสูตร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
- เพื่อใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบ ยืนยันและรับรองวุฒิ
การศึกษาของนักเรียนแต่ละคน โดยโรงเรียนจะส่งให้สานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษา
- และเขตพื้นที่การศึกษาจะส่งไปให้กระทรวงศึกษาธิการ
ปพ. ๔ คือ แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เป็นเอกสารรายงานพัฒนาการ
ด้านคุณลักษณะของนักเรียนเกี่ยวกับคุณธรรม
จริยธรรม ค่านิยม และคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ที่โรงเรียนกาหนดขึ้น
โรงเรียนจะจัดทาขึ้นให้นักเรียนทุกคน
ควบคู่กับระเบียนแสดงผลการเรียน (ปพ.1)
เพื่อประกอบในการสมัครเข้าศึกษาต่อ
หรือสมัครทางาน
ปพ. ๕ คือ แบบบันทึกผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
- เป็นเอกสารที่ครูใช้บันทึกเวลาเรียน
- ข้อมูลการวัดและประเมินผลการเรียน
- ข้อมูลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ของนักเรียนแต่ละคน
- เพื่อตัดสินผลการเรียน
- รวมทั้งใช้เป็นหลักฐานสาหรับตรวจสอบ
ยืนยันด้านการเรียน การมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ
ในวิชาที่เรียน
ปพ. ๖ คือ แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล
หรือ สมุดแจ้งเกรด / หรือ สมุดบันทึกผลการเรียน
แล้วแต่โรงเรียนจะเรียก
ใบปพ.6 นี้ ครูประจาชั้นจะต้องออกให้นักเรียน
เป็นปีหรือเป็นเทอมก็ได้
เพื่อให้นักเรียนนาไปแจ้งผลการเรียนกับผู้ปกครอง
ปพ. ๗ คือ ใบรับรองผลการศึกษา
- นักเรียนทุกระดับชั้นสามารถขอได้ที่ฝ่ายวิชาการ
ของโรงเรียน
- ใช้ในกรณีที่นักเรียนต้องการใบรับรองชั่วคราว
ว่าเป็นนักเรียนของโรงเรียนนั้นจริงๆ
- หรือใช้เป็นหลักฐานชั่วคราวแทนปพ.1
เพราะปพ.1 จะออกตอนที่เราจบแต่ละช่วงชั้น
และปพ.7 จะมีอายุแค่สูงสุด 120 วัน
หรือ 4 เดือน สาหรับการขอแต่ละครั้ง
ปพ. ๘ คือ เอกสารระเบียนสะสม
เป็นเอกสารที่มีข้อมูลทุกอย่างของนักเรียน
พัฒนาการและผลงานด้านต่างๆ ของนักเรียน
ทั้งที่โรงเรียนและที่บ้าน เพื่อที่จะได้รู้จัก
และดูแลช่วยเหลือนักเรียนได้ถูกต้อง
โดยปกติโรงเรียนจะเก็บข้อมูลตอนม.1
หรือม.4 และพยายามทาให้ข้อมูลเป็นปัจจุบันที่สุด
ปพ. ๙ คือ สมุดบันทึกผลการเรียนรู้
เป็นเอกสารที่โรงเรียนทาขึ้นเพื่อบันทึกรายวิชาต่างๆ
ที่นักเรียนจะต้องได้เรียนตามโครงสร้างหลักสูตรของโรงเรียน
และผลการประเมิน ผลการเรียนแต่ละวิชา
ถ้านักเรียนย้ายโรงเรียนสามารถนาไปใช้เทียบโอนวิชาเรียนได้
*ปพ.1-ปพ.3 ทุกโรงเรียนจะมีลักษณะเหมือนกัน ส่วนปพ.4-ปพ.9 จะแตกต่างกันแล้วแต่โรงเรียน*
การรายงานผลการเรียน
การรายงานคุณภาพการศึกษาให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ สามารถรายงาน
ได้หลายวิธี เช่น
- รายงานคุณภาพการศึกษาประจาปี
- วารสาร/จุลสารของสถานศึกษา
- จดหมายส่วนตัว
- การให้คาปรึกษาหารือเป็นรายบุคคล
- การให้พบครูที่ปรึกษาหรือการประชุมเครือข่ายผู้ปกครอง
- การให้ข้อมูลทางอินเทอร์เน็ตผ่านเว็บไซต์ของสถานศึกษา
The End

More Related Content

What's hot

หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่Apirak Potpipit
 
บริการติดตามผล
บริการติดตามผล บริการติดตามผล
บริการติดตามผล Wiparat Khangate
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้นTik Msr
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557Anusara Sensai
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Kruthai Kidsdee
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยBenjapron Seesukong
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อwisheskerdsilp
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลTupPee Zhouyongfang
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องmoohhack
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรSunisa199444
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 

What's hot (20)

หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
มาตรฐานและตัวบ่งชี้ สมศ.รอบสี่
 
บริการติดตามผล
บริการติดตามผล บริการติดตามผล
บริการติดตามผล
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
กระดาษเส้น
กระดาษเส้นกระดาษเส้น
กระดาษเส้น
 
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
วิจัยในชั้นเรียน ภาคเรียนที่ 2 2557
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
Pdf format แบบประเมินพฤติกรรมการทำงาน2013
 
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัยการเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
การเขียนข้อสอบวัดพฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
กระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อกระดาษคำตอบ20ข้อ
กระดาษคำตอบ20ข้อ
 
สรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผลสรุปการวัดประเมินผล
สรุปการวัดประเมินผล
 
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องบทที่  2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 

Similar to การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้

ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาaumkpru45
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้onnichabee
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7sangkom
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้Chainarong Maharak
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติNU
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษาNU
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลwasan
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10kanwan0429
 

Similar to การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้ (20)

ครู 3
ครู 3ครู 3
ครู 3
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
๑ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลการศึกษา
 
การวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผลการวัดผลประเมินผล
การวัดผลประเมินผล
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 

More from DuangdenSandee

คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)DuangdenSandee
 
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)DuangdenSandee
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)DuangdenSandee
 
แผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการแผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการDuangdenSandee
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้DuangdenSandee
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาDuangdenSandee
 
ตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบDuangdenSandee
 
ข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยDuangdenSandee
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)DuangdenSandee
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถามDuangdenSandee
 
การนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยการนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยDuangdenSandee
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลDuangdenSandee
 
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลDuangdenSandee
 
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูลDuangdenSandee
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรDuangdenSandee
 
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยกรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยDuangdenSandee
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องDuangdenSandee
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยDuangdenSandee
 
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์DuangdenSandee
 

More from DuangdenSandee (20)

คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
คำถามแบบโสกราตีส (Socratic questioning)
 
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ Professional Learning Community (PLC)
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
 
แผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการแผนพัฒนางานวิชาการ
แผนพัฒนางานวิชาการ
 
การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้
 
การประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษาการประกันคุณภาพการศึกษา
การประกันคุณภาพการศึกษา
 
ตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบตัวอย่างข้อสอบ
ตัวอย่างข้อสอบ
 
ข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัยข้อสอบแบบอัตนัย
ข้อสอบแบบอัตนัย
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
ทฤษฎีของไวก็อตสกี้(Vygotskys Theory)
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
การนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัยการนำเสนอรายงานการวิจัย
การนำเสนอรายงานการวิจัย
 
การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลการวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูล
 
การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูลการเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล
 
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูลแนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
แนวคิดเกี่ยวกับการวัดและข้อมูล
 
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปรการตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
การตั้งสมมติฐานและการกำหนดตัวแปร
 
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัยกรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
กรอบแนวคิดและแบบจำลองการวิจัย
 
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
การทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
 
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
หลักการพัฒนาแสวงหาความรู้ของมนุษย์
 

การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้