SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
ขอบเขตเนื้อหา
- ทบทวนความรู ้พื้นฐานสาหรับการวิเคราะห์สถานการณ์
- ตัวอย่างการวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นด้านสิทธิ
มนุษยชน
- กิจกรรมเรียนรู ้การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสิทธิ
มนุษยชน
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็น
สิทธิมนุษยชน
หลักสิทธิมนุษยชนสากล ดูจากอะไร ที่ไหน
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (UDHR)
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชน 9 ฉบับ
(ICCPR,ICESC,CERD,CED,CRC,CRPD,CEDAW,CP
PED,CMW)
สนธิสัญญาอื่นๆ เช่น ILO 87,ILO 98,อนุสัญญาผู้
ลี้ภัยฯ
หลักจารีตประเพณีระหว่างประเทศ
ส่วนแรก คําปรารภ ข้อ 1 และข้อ 2 กล่าวถึงหลักการสําคัญของสิทธิมนุษยชน ที่ว่า
การยอมรับศักดิ์ศรีประจําตัว และสิทธิซึ่งเสมอกันและไม่อาจโอนแก่กันได้ของมนุษย์เป็นรากฐาน
ของเสรีภาพ ความยุติธรรม และสันติภาพในพิภพ มนุษย์เกิดมาอิสระเสรี และ เท่า
เทียมกันทั้งศักดิ์ศรีและสิทธิ มีความเสมอภาคกันโดยไม่มีการจําแนกความแตกต่าง ใน
เรื่องใดๆ ดังนั้นจึงห้ามเลือกปฏิบัติต่อมนุษย์และควรปฏิบัติต่อกันเสมือนเป็นพี่น้อง
ส่วนที่สอง ข้อ 3 ถึงข้อ 21 กล่าวถึงสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
ส่วนที่สาม ข้อ 22 ถึงข้อ 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
ส่วนที่สี่ กล่าวถึงหน้าที่ของบุคคล สังคม และรัฐ โดยการที่จะต้องดําเนินการสร้าง
หลักประกันให้มีการคุ้มครองสิทธิที่ปรากฏในปฏิญญานี้ให้ได้รับการปฏิบัติอย่าง จ ริ ง จั ง
ห้ามรัฐกระทําการละเมิดสิทธิมนุษยชนและจํากัดสิทธิของบุคคลมิให้ใช้สิทธิมนุษยชนละเมิดของ
ผู้อื่น สังคมและโลก
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
(UDHR)
1. อนุสัญญาว่า
ด้วยการขจัดการ
เลือกปฏิบัติทาง
เชื้อชาติในทุก
รูปแบบ (1965 :
CERD)
2. กติการะหว่าง
ประเทศว่าด้วย
สิทธิพลเมืองและ
สิทธิทางการเมือง
(1966 : ICCPR)
3. กติการะหว่าง
ประเทศว่าด้วย
สิทธิทางเศรษฐกิจ
สังคม และ
วัฒนธรรม
(1966 : ICESCR)
5. อนุสัญญาต่อต้าน
การทรมานและการ
ประติบัติหรือการ
ลงโทษอื่นที่โหดร้าย
ไร้มนุษยธรรม หรือ
ย่ายีศักดิ์ศรี (1984 :
CAT)
อนุสัญญาว่าด้วยการ
คุ้มครองบุคคลจาก
การหายสาบสูญโดย
ถูกบังคับ
(2006 : CPPED) ลงนาม
แต่ยังไม่ได้ให้สัตยาบัน
4. อนุสัญญาว่า
ด้วยการขจัดการ
เลือกปฏิบัติต่อสตรี
ในทุกรูปแบบ (1979
: CEDAW)
6. อนุสัญญาว่าด้วย
สิทธิเด็ก (1989 : CRC)
7. อนุสัญญา
ระหว่างประเทศว่า
ด้วยสิทธิของคน
พิการ (2006 :
CRPD)
อนุสัญญาว่าด้วย
การคุ้มครองสิทธิ
ของแรงงาน
โยกย้ายถิ่นฐาน
และสมาชิก
ใน
ครอบครัว (1990 :
CMW)
สิทธิ เสรีภาพของปวงชนชาวไทย
หมวด 3 มาตรา 25 - 49
หน้าที่ของปวงชนชาวไทย
หมวด 4 มาตรา 50 (10 ประการ)
สิทธิมนุษยชน ของประชาชนไทย
หมวด 1 บททั่วไป มาตรา 4
สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน
ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560
สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ตามที่กาหนดในกฎหมายลาดับรอง
นโยบายของรัฐ และจารีตประเพณี
ตัวอย่างการวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสิทธิ
มนุษยชน
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019
แนวทางการวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
1. ข้อเท็จจริงของสถานการณ์ :
ผู้ที่เกี่ยวข้อง :
ผู้ละเมิด (ใคร-ถ้ามี)
ผู้ถูกละเมิด/ได้รับผลกระทบ (ใคร-ถ้ามี)
2. เกี่ยวข้องกับประเด็นสิทธิมนุษยชนอย่างไร
(พิจารณาจากหลักการ/ ขอบเขต/ หลักนิติธรรม/ หลักความยุติธรรม/
สนธิสัญญาระหว่างประเทศ/ แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฯ/ แผน NAP)
3. การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนทั้งในและระหว่างประเทศ
(กลไก มาตรการ กฎหมาย นโยบาย ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์)
4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ตามกฎหมาย/หลักการสิทธิมนุษยชน)
สถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า
2019
เหตุการณ์ : การแพร่ระบาดของโควิด 19 ในประเทศไทย
- มกราคม 63 รับทราบรายงานการระบาดและเริ่มเฝ้าระวังคัดกรองผู้เดินทางจาก
ต่างประเทศ
- มีนาคม 63 มีรายงานผู้ติดเชื้อโควิด 19 จากสนามมวย หลังจากนั้นรัฐบาลประกาศใช้
พรก.ฉุกเฉินฯ เพื่อควบคุมการแพร่ระบาด มีการผ่อนคลายมาตรการเป็นระยะจากการควบคุม
การแพร่ระบาดได้ดี
- เมษายน 64 จนถึงปัจจุบัน มีรายงานผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นจากการรวมกลุ่มคนจํานวนมากและ
เชื้อโรคมีการกลายพันธุ์ รัฐบาลใช้ พรก.ฉุกเฉินฯ กําหนดมาตรการที่เข้มข้นขึ้น เพื่อควบคุมการ
แพร่ระบาดของเชื้อ รวมทั้งการจัดหาวัคซีนเพื่อป้องกันความรุนแรงจากการติดเชื้อ
สถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า
2019
ผู้ที่เกี่ยวข้อง : - รัฐบาล โดย ศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (ศบค.)
- ภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับมาตรการที่รัฐกําหนด
- ประชาชน
ผู้ละเมิด (ใคร-ถ้ามี)
ผู้ถูกละเมิด/ได้รับผลกระทบ (ใคร-ถ้ามี) ประชาชน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรน่า 2019
2. เกี่ยวข้องกับประเด็นสิทธิ
มนุษยชนอย่างไร
(พิจารณาจากหลักการ/ ขอบเขต/ หลักนิติธรรม/
หลักความยุติธรรม/สนธิสัญญาระหว่างประเทศ/ แผน
สิทธิมนุษยชนแห่งชาติฯ/ แผน NAP)
ผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโค
วิด 19
- ความร้ายแรงของโรคมีผลคุกคามต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชน (สิทธิในชีวิต ร่างกาย
สิทธิสุขภาพ)
- ความร้ายแรงของโรคทําให้การเข้าถึงสิทธิต่างๆ ที่ประชาชนเคยได้รับลดลง โดยเฉพาะ
กลุ่มเปราะบางต่างๆ เช่น ผู้สูงอายุ ผู้พิการ
- ความร้ายแรงของโรคมีผลต่อการครองชีพขั้นพื้นฐานของประชาชน สาเหตุจากการ
หยุดชะงักของเศรษฐกิจ การหยุดประกอบกิจการของสถานประกอบการต่างๆ การเลิกจ้าง
รัฐมีหน้าที่ให้ความคุ้มครองประชาชนให้มีสุขภาพที่ดี จึงต้องบังคับใช้กฎหมายเพื่อ
จํากัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชน
- พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558
- พระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ2548 ข้อกําหนดตาม
มาตรา 9
ผลกระทบของรัฐในการควบคุมการแพร่ระบาดของ
โรคโควิด 19
- เสรีภาพในการเดินทางและการเลือกถิ่นที่อยู่
- เสรีภาพในการประกอบอาชีพ
- สิทธิในกระบวนการยุติธรรม
- สิทธิในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและตามความเชื่อ
- เสรีภาพในการแสดงออกและการรวมตัวกัน (การชุมนุม การรวมกลุ่ม)
- สิทธิในการได้รับบริการทางสาธารณสุขของรัฐ
- สิทธิในการศึกษา
- สิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและการมีส่วนร่วม
- สิทธิในการได้รับการชดเชยเยียวยาจากรัฐ
- ความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ รวมถึงการไม่ถูกตีตราและเหยียดเชื้อชาติ
- เสรีภาพในการเดินทางและการเลือก
ถิ่นที่อยู่
- สิทธิในกระบวนการยุติธรรม
- ความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ
รวมถึงการไม่ถูกตีตราและเหยียดเชื้อ
ชาติ
- สิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและการ
มีส่วนร่วม
- เสรีภาพในการแสดงออกและการ
รวมตัวกัน (การชุมนุม การรวมกลุ่ม)
- สิทธิในการได้รับบริการทางสาธารณสุขของรัฐ
- สิทธิในการศึกษา
- สิทธิในการได้รับการชดเชยเยียวยาจากรัฐ
- สิทธิในการประกอบพิธีกรรมทาง
ศาสนาและตามความเชื่อ
- เสรีภาพในการประกอบอาชีพ
ผลกระทบต่อแรงงาน
- กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
(ICESCR)
ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 และข้อ 11 (สิทธิในโอกาสที่จะหาเลี้ยงชีพโดยงานที่ตนเลือกหรือรับอย่างเสรี
สิทธิที่จะมีสภาพการทํางานที่ยุติธรรมและน่าพึงพอใจ...สภาพการทํางานที่ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ การ
มีโอกาสความก้าวหน้าในการทํางาน การได้รับการพักผ่อน การมีสวัสดิการสังคม การประกันสังคม การมี
มาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอต่อตนเองและครอบครัว)
- แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2562 – 2565)
ด้านเศรษฐกิจและธุรกิจ สํานักงาน คกก. คุ้มครองผู้บริโภค กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์
กระทรวงยุติธรรม
กลุ่มเกษตรและกลุ่มผู้ใช้แรงงาน กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม รับผิดชอบหลัก
- แผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ระยะที่ 1
(พ.ศ.2562 – 2565) ด้านแรงงาน ผู้ที่เกี่ยวข้อง กระทรวงแรงงาน ภาคธุรกิจ ภาคเอกชน
ผลกระทบต่อแรงงานในระบบ
ผลกระทบต่อแรงงานนอกระบบ
ผลกระทบต่อแรงงานข้ามชาติ
ผลกระทบต่อแรงงานไทยในต่างประเทศ
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า
2019
3. การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนทั้งในและ
ระหว่างประเทศ
(กลไก มาตรการ กฎหมาย นโยบาย ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องกับ
เหตุการณ์)
4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ตามกฎหมาย/หลักการ
สิทธิมนุษยชน)
แนวปฏิบัติของสานักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่ง
สหประชาชาติ
- การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ - มาตรการฉุกเฉิน - ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง
- ที่อยู่อาศัย - คนพิการ บุคคลที่อยู่ในสถานที่คุมขังและสถาบันต่างๆ
- การให้ข้อมูลและการมีส่วนร่วม - ผู้อพยพและผู้ลี้ภัย - ความเป็นส่วนตัว
- การตีตรา ความเกลียดชังชาวต่างชาติ และการเหยียดเชื้อชาติ
- ผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจ - เพศสภาพ - นํ้าและสุขาภิบาล
มีคําแนะนําให้ (สถาบันสิทธิมนุษยชน) ติดตามมาตรการที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบในด้านสิทธิในการทํางาน
การมีมาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอต่อการดํารงชีวิต
- รัฐควรกําหนดมาตรการคุ้มครองผู้ที่ติดโควิด 19 และมาตรการทางรายได้สําหรับผู้ที่ไม่สามารถประกอบ
อาชีพ
- ควรให้ความสนใจกลุ่มสตรี กลุ่มที่มีความเสี่ยงไม่ได้รับค่าตอบแทน (แรงงานนอกระบบ) การจ้างงานที่ลดลง
(กลุ่มแรงงานข้ามชาติ)
มาตรการของรัฐ
- ประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานด้วยเหตุสุดวิสัย (กระทรวงแรงงาน กองทุนประกันสังคม)
- ลดอัตราเงินสมทบประกันสังคม
- ทั่วไป เช่น บรรเทาภาระค่านําประปา ค่าไฟฟ้า คืนค่าประกันไฟฟ้า เงินเยียวยา พักชําระหนี้
ผลกระทบต่อแรงงานในระบบ
มาตรการของรัฐ
- โครงการเราไม่ทิ้งกัน (5000 บาท 3 เดือน)
- จัดตั้งศูนย์บริการจัดหางาน part-time
- ฝึกอบรมอาชีพ
- ทั่วไป เช่น บรรเทาภาระค่านําประปา ค่าไฟฟ้า คืนค่าประกันไฟฟ้า พักชําระหนี้สินเชื่อฉุกเฉิน
ผลกระทบต่อแรงงานนอกระบบ
มาตรการของรัฐ
- ให้ความรู้ อุปกรณ์ป้องกันโรคและสิ่งจําเป็นขั้นพื้นฐานในการดํารงชีวิต (กระทรวงแรงงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)
- ขอความช่วยเหลือสายด่วนกระทรวงแรงงาน จัดล่ามแปลภาษา
- ส่งกลับประเทศ (กระทรวงการต่างประเทศ สํานักงานตรวจคนเข้าเมือง)
มาตรการของรัฐ
- ประสานเพื่ออํานวยความสะดวกในการเดินทางกลับประเทศ
ผลกระทบต่อแรงงานข้ามชาติ (ในระบบ
และนอกระบบ)
ผลกระทบต่อแรงงานไทยใน
ต่างประเทศ
ตัวอย่างการวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสิทธิ
มนุษยชน
1. ข้อเท็จจริงของสถานการณ์ :
ผู้ละเมิด : นายดนุสรณ์
ผู้ถูกละเมิด : นางสาวปิยานุช
นางสาววิลาสินี
2. เกี่ยวข้องกับประเด็นสิทธิมนุษยชนอย่างไร
หลักการ : ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ไม่มีใครพรากไปได้
ขอบเขต : สิทธิพลเมือง สิทธิในชีวิตและร่างกาย
สนธิสัญญาระหว่างประเทศ : ICCPR
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฯ : ด้านกระบวนการยุติธรรม
กลุ่มผู้เสียหาย/ผู้ตกเป็นเหยื่อ/พยาน
3. การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนทั้งในและระหว่างประเทศ
(กลไก มาตรการ กฎหมาย นโยบาย ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์)
4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ตามกฎหมาย/หลักการสิทธิมนุษยชน)
ประมวลกฎหมายอาญา
หมวด 1 ความผิดต่อชีวิต มาตรา 288 - 294
หมวด 2 ความผิดต่อร่างกาย มาตรา 295 – 300
(สํานักงานตํารวจแห่งชาติ สํานักงานอัยการสูงสุด ศาล)
การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม การให้คําปรึกษากฎหมาย (ยธ ศคช ศูนย์ดํารงธรรม)
ค่าใช้จ่ายในการดําเนินคดี จากกองทุนยุติธรรม (ยธ)
พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จําเลยในคดีอาญา
พ.ศ.2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559
การชดเชยเยียวยากรณีบาดเจ็บและเสียชีวิต (กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ)
พระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 กรณีพยานในที่เกิดเหตุถูกข่มขู่คุกคาม
อาจไม่ได้รับความปลอดภัย (กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ)
กิจกรรมเรียนรู ้การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน
ให้สมาชิกแต่ละท่าน พิจารณาเหตุการณ์ตัวอย่าง โดยวิเคราะห์
ในประเด็น ดังต่อไปนี้
1. ข้อเท็จจริงของสถานการณ์ :
ผู้ที่เกี่ยวข้อง :
ผู้ละเมิด (ใคร-ถ้ามี)
ผู้ถูกละเมิด/ได้รับผลกระทบ (ใคร-ถ้ามี)
2. เกี่ยวข้องกับประเด็นสิทธิมนุษยชนอย่างไร
(พิจารณาจากหลักการ/ ขอบเขต/ หลักนิติธรรม/ หลักความยุติธรรม/
สนธิสัญญาระหว่างประเทศ/ แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฯ/ แผน NAP)
3. การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนทั้งในและระหว่างประเทศ
(กลไก มาตรการ กฎหมาย นโยบาย ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์)
4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ตามกฎหมาย/หลักการสิทธิมนุษยชน)
พาดหัวข่าว : วิจารณ์เดือด โรงเรียนมัธยมกล้อนผมนักเรียน
ที่มา : https://www.sanook.com/news/8355778/ และ
https://www.thairath.co.th/news/society/1570783
เหตุการณ์ : โรงเรียนในจังหวัดแห่งหนึ่งลงโทษนักเรียน โดยครูจับนักเรียนที่ไว้ผม
ยาวมาฟาดก้นก่อนจะกล้อนผมจนแหว่ง
พาดหัวข่าว : ผบ.ตร.ฟัน คลิปโหดมัดฆ่า ถุงคลุมหัวคาเซฟเฮ
เหตุการณ์ : นายษิทรา เบี้ยบังเกิด เลขาธิการมูลนิธิทีมงานทนายประชาชน
โพสต์เฟซบุ๊กระบุข้อความว่า เปิดคลิปผู้กํากับโจ้ คลุมถุงฆ่าพ่อค้ายา
ที่มา : https://www.thairath.co.th/news/crime/2176103 และ
https://www.matichon.co.th/local/crime/news_2903541
พาดหัวข่าว : เพื่อนบ้านสุดทน มนุษย์ป้ าโปรยข้าวเลี้ยงนก
ล้างขี้แมวหน้าบ้าน
เหตุการณ์ : เมื่อวันที่ 23 ส.ค.64 ผู้สื่อข่าวได้รับร้องเรียนจากชาวบ้านในหมู่บ้านแห่งหนึ่งว่าขณะนี้กําลังได้รับ
ความเดือดร้อนอย่างหนักจากเพื่อนบ้านรายหนึ่ง ที่นําข้าวสุกไปโปรยเกลื่อนริมกําแพง ในซอยเชื่อมต่อซึ่งเป็นทาง
สาธารณะ เพื่อให้นกพิราบบินมากินอาหารเป็นประจําทุกวัน จนทําให้ชาวบ้านในหมู่บ้านดังกล่าวได้รับความ
เดือดร้อนจากขี้นกพิราบที่บินมาเกาะบนหลังคาบ้าน นอกจากนี้อาหารที่เหลือเน่าบูดส่งกลิ่นเหม็น รวมทั้งเวลาฝนตก
ไหลลงท่อระบายนํ้าทําให้เน่าอยู่ภายในท่อและอุดตัน สร้างความเดือดร้อนเรื่องกลิ่นรบกวนให้กับเพื่อนบ้านที่อยู่
ใกล้เคียงอีก ซึ่งที่ผ่านมาผู้เดือดร้อนได้แจ้งกรรมการหมู่บ้าน และเทศบาลให้เข้าตรวจสอบแล้ว แต่ก็ยังเป็นเหมือนเดิม
ที่มา :
https://www.sanook.com/news/8431858
/
27
ท่านมี
ประสบการณ์
อะไรที่
ต้องการ
แลกเปลี่ยน
เรียนรู ้ร่วมกัน
28

More Related Content

What's hot

หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน ssuserd18196
 
สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28...
สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28...สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28...
สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28...wasant kraisornsiwawet
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนiearn4234
 
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชนหลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชนพัน พัน
 
เจน1111
เจน1111เจน1111
เจน1111Noojen
 
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตรติวอินดี้ ง่ายโคตร
 

What's hot (12)

หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน
 
สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28...
สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28...สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28...
สไลด์ ปัญหาการตีความร่างพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามสิ่งยั่วยุพฤติกรรมอันตราย (28...
 
Human1
Human1Human1
Human1
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
Human1.2
Human1.2Human1.2
Human1.2
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน
 
Human2.1 1
Human2.1 1Human2.1 1
Human2.1 1
 
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชนหลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
 
เจน1111
เจน1111เจน1111
เจน1111
 
ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2ใบงาน ม.2
ใบงาน ม.2
 
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา  ติวอินดี้ ง่ายโคตร
1ความรู้เกี่ยวกับการศึกษา ติวอินดี้ ง่ายโคตร
 

Similar to การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน

Similar to การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน (9)

11 the right to health
11 the right to health11 the right to health
11 the right to health
 
Human rights in the the judicial process
Human rights in the the judicial processHuman rights in the the judicial process
Human rights in the the judicial process
 
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.รพ.สต.ปี 2554   6 ชม.
รพ.สต.ปี 2554 6 ชม.
 
Medical Law
Medical LawMedical Law
Medical Law
 
ขอบคุณครับ ขอบคุณ
ขอบคุณครับ ขอบคุณขอบคุณครับ ขอบคุณ
ขอบคุณครับ ขอบคุณ
 
Human2.3
Human2.3Human2.3
Human2.3
 
สตรี
สตรีสตรี
สตรี
 
ปฏิญญาสากลฯ
ปฏิญญาสากลฯปฏิญญาสากลฯ
ปฏิญญาสากลฯ
 
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิดสังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
สังคม รัฐและกฎหมาย สิทธิ หน้าที่และความรับผิด
 

More from ssuserd18196

เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง  เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง ssuserd18196
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง ssuserd18196
 
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพLandmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพssuserd18196
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็กssuserd18196
 
เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน ssuserd18196
 
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรมssuserd18196
 

More from ssuserd18196 (6)

เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง  เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
 
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพLandmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็ก
 
เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน
 
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 

การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน

  • 1. ขอบเขตเนื้อหา - ทบทวนความรู ้พื้นฐานสาหรับการวิเคราะห์สถานการณ์ - ตัวอย่างการวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นด้านสิทธิ มนุษยชน - กิจกรรมเรียนรู ้การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสิทธิ มนุษยชน การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็น สิทธิมนุษยชน
  • 2. หลักสิทธิมนุษยชนสากล ดูจากอะไร ที่ไหน ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (UDHR) อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชน 9 ฉบับ (ICCPR,ICESC,CERD,CED,CRC,CRPD,CEDAW,CP PED,CMW) สนธิสัญญาอื่นๆ เช่น ILO 87,ILO 98,อนุสัญญาผู้ ลี้ภัยฯ หลักจารีตประเพณีระหว่างประเทศ
  • 3. ส่วนแรก คําปรารภ ข้อ 1 และข้อ 2 กล่าวถึงหลักการสําคัญของสิทธิมนุษยชน ที่ว่า การยอมรับศักดิ์ศรีประจําตัว และสิทธิซึ่งเสมอกันและไม่อาจโอนแก่กันได้ของมนุษย์เป็นรากฐาน ของเสรีภาพ ความยุติธรรม และสันติภาพในพิภพ มนุษย์เกิดมาอิสระเสรี และ เท่า เทียมกันทั้งศักดิ์ศรีและสิทธิ มีความเสมอภาคกันโดยไม่มีการจําแนกความแตกต่าง ใน เรื่องใดๆ ดังนั้นจึงห้ามเลือกปฏิบัติต่อมนุษย์และควรปฏิบัติต่อกันเสมือนเป็นพี่น้อง ส่วนที่สอง ข้อ 3 ถึงข้อ 21 กล่าวถึงสิทธิของพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ส่วนที่สาม ข้อ 22 ถึงข้อ 27 กล่าวถึงสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ส่วนที่สี่ กล่าวถึงหน้าที่ของบุคคล สังคม และรัฐ โดยการที่จะต้องดําเนินการสร้าง หลักประกันให้มีการคุ้มครองสิทธิที่ปรากฏในปฏิญญานี้ให้ได้รับการปฏิบัติอย่าง จ ริ ง จั ง ห้ามรัฐกระทําการละเมิดสิทธิมนุษยชนและจํากัดสิทธิของบุคคลมิให้ใช้สิทธิมนุษยชนละเมิดของ ผู้อื่น สังคมและโลก ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (UDHR)
  • 4.
  • 5.
  • 6. 1. อนุสัญญาว่า ด้วยการขจัดการ เลือกปฏิบัติทาง เชื้อชาติในทุก รูปแบบ (1965 : CERD) 2. กติการะหว่าง ประเทศว่าด้วย สิทธิพลเมืองและ สิทธิทางการเมือง (1966 : ICCPR) 3. กติการะหว่าง ประเทศว่าด้วย สิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม (1966 : ICESCR) 5. อนุสัญญาต่อต้าน การทรมานและการ ประติบัติหรือการ ลงโทษอื่นที่โหดร้าย ไร้มนุษยธรรม หรือ ย่ายีศักดิ์ศรี (1984 : CAT) อนุสัญญาว่าด้วยการ คุ้มครองบุคคลจาก การหายสาบสูญโดย ถูกบังคับ (2006 : CPPED) ลงนาม แต่ยังไม่ได้ให้สัตยาบัน 4. อนุสัญญาว่า ด้วยการขจัดการ เลือกปฏิบัติต่อสตรี ในทุกรูปแบบ (1979 : CEDAW) 6. อนุสัญญาว่าด้วย สิทธิเด็ก (1989 : CRC) 7. อนุสัญญา ระหว่างประเทศว่า ด้วยสิทธิของคน พิการ (2006 : CRPD) อนุสัญญาว่าด้วย การคุ้มครองสิทธิ ของแรงงาน โยกย้ายถิ่นฐาน และสมาชิก ใน ครอบครัว (1990 : CMW)
  • 7. สิทธิ เสรีภาพของปวงชนชาวไทย หมวด 3 มาตรา 25 - 49 หน้าที่ของปวงชนชาวไทย หมวด 4 มาตรา 50 (10 ประการ) สิทธิมนุษยชน ของประชาชนไทย หมวด 1 บททั่วไป มาตรา 4 สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560 สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ตามที่กาหนดในกฎหมายลาดับรอง นโยบายของรัฐ และจารีตประเพณี
  • 8.
  • 9.
  • 11. แนวทางการวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน 1. ข้อเท็จจริงของสถานการณ์ : ผู้ที่เกี่ยวข้อง : ผู้ละเมิด (ใคร-ถ้ามี) ผู้ถูกละเมิด/ได้รับผลกระทบ (ใคร-ถ้ามี) 2. เกี่ยวข้องกับประเด็นสิทธิมนุษยชนอย่างไร (พิจารณาจากหลักการ/ ขอบเขต/ หลักนิติธรรม/ หลักความยุติธรรม/ สนธิสัญญาระหว่างประเทศ/ แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฯ/ แผน NAP) 3. การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนทั้งในและระหว่างประเทศ (กลไก มาตรการ กฎหมาย นโยบาย ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์) 4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ตามกฎหมาย/หลักการสิทธิมนุษยชน)
  • 12. สถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 เหตุการณ์ : การแพร่ระบาดของโควิด 19 ในประเทศไทย - มกราคม 63 รับทราบรายงานการระบาดและเริ่มเฝ้าระวังคัดกรองผู้เดินทางจาก ต่างประเทศ - มีนาคม 63 มีรายงานผู้ติดเชื้อโควิด 19 จากสนามมวย หลังจากนั้นรัฐบาลประกาศใช้ พรก.ฉุกเฉินฯ เพื่อควบคุมการแพร่ระบาด มีการผ่อนคลายมาตรการเป็นระยะจากการควบคุม การแพร่ระบาดได้ดี - เมษายน 64 จนถึงปัจจุบัน มีรายงานผู้ติดเชื้อเพิ่มขึ้นจากการรวมกลุ่มคนจํานวนมากและ เชื้อโรคมีการกลายพันธุ์ รัฐบาลใช้ พรก.ฉุกเฉินฯ กําหนดมาตรการที่เข้มข้นขึ้น เพื่อควบคุมการ แพร่ระบาดของเชื้อ รวมทั้งการจัดหาวัคซีนเพื่อป้องกันความรุนแรงจากการติดเชื้อ
  • 13. สถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ผู้ที่เกี่ยวข้อง : - รัฐบาล โดย ศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (ศบค.) - ภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับมาตรการที่รัฐกําหนด - ประชาชน ผู้ละเมิด (ใคร-ถ้ามี) ผู้ถูกละเมิด/ได้รับผลกระทบ (ใคร-ถ้ามี) ประชาชน
  • 14. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรน่า 2019 2. เกี่ยวข้องกับประเด็นสิทธิ มนุษยชนอย่างไร (พิจารณาจากหลักการ/ ขอบเขต/ หลักนิติธรรม/ หลักความยุติธรรม/สนธิสัญญาระหว่างประเทศ/ แผน สิทธิมนุษยชนแห่งชาติฯ/ แผน NAP) ผลกระทบของสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโค วิด 19 - ความร้ายแรงของโรคมีผลคุกคามต่อชีวิตและสุขภาพของประชาชน (สิทธิในชีวิต ร่างกาย สิทธิสุขภาพ) - ความร้ายแรงของโรคทําให้การเข้าถึงสิทธิต่างๆ ที่ประชาชนเคยได้รับลดลง โดยเฉพาะ กลุ่มเปราะบางต่างๆ เช่น ผู้สูงอายุ ผู้พิการ - ความร้ายแรงของโรคมีผลต่อการครองชีพขั้นพื้นฐานของประชาชน สาเหตุจากการ หยุดชะงักของเศรษฐกิจ การหยุดประกอบกิจการของสถานประกอบการต่างๆ การเลิกจ้าง
  • 15. รัฐมีหน้าที่ให้ความคุ้มครองประชาชนให้มีสุขภาพที่ดี จึงต้องบังคับใช้กฎหมายเพื่อ จํากัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชน - พระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 - พระราชกําหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ2548 ข้อกําหนดตาม มาตรา 9 ผลกระทบของรัฐในการควบคุมการแพร่ระบาดของ โรคโควิด 19 - เสรีภาพในการเดินทางและการเลือกถิ่นที่อยู่ - เสรีภาพในการประกอบอาชีพ - สิทธิในกระบวนการยุติธรรม - สิทธิในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาและตามความเชื่อ - เสรีภาพในการแสดงออกและการรวมตัวกัน (การชุมนุม การรวมกลุ่ม) - สิทธิในการได้รับบริการทางสาธารณสุขของรัฐ - สิทธิในการศึกษา - สิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและการมีส่วนร่วม - สิทธิในการได้รับการชดเชยเยียวยาจากรัฐ - ความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ รวมถึงการไม่ถูกตีตราและเหยียดเชื้อชาติ
  • 16. - เสรีภาพในการเดินทางและการเลือก ถิ่นที่อยู่ - สิทธิในกระบวนการยุติธรรม - ความเสมอภาคและการไม่เลือกปฏิบัติ รวมถึงการไม่ถูกตีตราและเหยียดเชื้อ ชาติ - สิทธิในการรับรู้ข้อมูลข่าวสารและการ มีส่วนร่วม - เสรีภาพในการแสดงออกและการ รวมตัวกัน (การชุมนุม การรวมกลุ่ม) - สิทธิในการได้รับบริการทางสาธารณสุขของรัฐ - สิทธิในการศึกษา - สิทธิในการได้รับการชดเชยเยียวยาจากรัฐ - สิทธิในการประกอบพิธีกรรมทาง ศาสนาและตามความเชื่อ - เสรีภาพในการประกอบอาชีพ
  • 17. ผลกระทบต่อแรงงาน - กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม (ICESCR) ข้อ 6 ข้อ 7 ข้อ 8 ข้อ 9 และข้อ 11 (สิทธิในโอกาสที่จะหาเลี้ยงชีพโดยงานที่ตนเลือกหรือรับอย่างเสรี สิทธิที่จะมีสภาพการทํางานที่ยุติธรรมและน่าพึงพอใจ...สภาพการทํางานที่ปลอดภัยและถูกสุขลักษณะ การ มีโอกาสความก้าวหน้าในการทํางาน การได้รับการพักผ่อน การมีสวัสดิการสังคม การประกันสังคม การมี มาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอต่อตนเองและครอบครัว) - แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ.2562 – 2565) ด้านเศรษฐกิจและธุรกิจ สํานักงาน คกก. คุ้มครองผู้บริโภค กระทรวงการคลัง กระทรวงพาณิชย์ กระทรวงยุติธรรม กลุ่มเกษตรและกลุ่มผู้ใช้แรงงาน กระทรวงแรงงาน กระทรวงอุตสาหกรรม รับผิดชอบหลัก - แผนปฏิบัติการระดับชาติว่าด้วยธุรกิจกับสิทธิมนุษยชน ระยะที่ 1 (พ.ศ.2562 – 2565) ด้านแรงงาน ผู้ที่เกี่ยวข้อง กระทรวงแรงงาน ภาคธุรกิจ ภาคเอกชน ผลกระทบต่อแรงงานในระบบ ผลกระทบต่อแรงงานนอกระบบ ผลกระทบต่อแรงงานข้ามชาติ ผลกระทบต่อแรงงานไทยในต่างประเทศ
  • 18. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 3. การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนทั้งในและ ระหว่างประเทศ (กลไก มาตรการ กฎหมาย นโยบาย ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องกับ เหตุการณ์) 4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ตามกฎหมาย/หลักการ สิทธิมนุษยชน) แนวปฏิบัติของสานักงานข้าหลวงใหญ่เพื่อสิทธิมนุษยชนแห่ง สหประชาชาติ - การเข้าถึงบริการด้านสุขภาพ - มาตรการฉุกเฉิน - ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง - ที่อยู่อาศัย - คนพิการ บุคคลที่อยู่ในสถานที่คุมขังและสถาบันต่างๆ - การให้ข้อมูลและการมีส่วนร่วม - ผู้อพยพและผู้ลี้ภัย - ความเป็นส่วนตัว - การตีตรา ความเกลียดชังชาวต่างชาติ และการเหยียดเชื้อชาติ - ผลกระทบทางสังคมและเศรษฐกิจ - เพศสภาพ - นํ้าและสุขาภิบาล มีคําแนะนําให้ (สถาบันสิทธิมนุษยชน) ติดตามมาตรการที่เกี่ยวข้องกับผลกระทบในด้านสิทธิในการทํางาน การมีมาตรฐานการครองชีพที่เพียงพอต่อการดํารงชีวิต - รัฐควรกําหนดมาตรการคุ้มครองผู้ที่ติดโควิด 19 และมาตรการทางรายได้สําหรับผู้ที่ไม่สามารถประกอบ อาชีพ - ควรให้ความสนใจกลุ่มสตรี กลุ่มที่มีความเสี่ยงไม่ได้รับค่าตอบแทน (แรงงานนอกระบบ) การจ้างงานที่ลดลง (กลุ่มแรงงานข้ามชาติ)
  • 19. มาตรการของรัฐ - ประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานด้วยเหตุสุดวิสัย (กระทรวงแรงงาน กองทุนประกันสังคม) - ลดอัตราเงินสมทบประกันสังคม - ทั่วไป เช่น บรรเทาภาระค่านําประปา ค่าไฟฟ้า คืนค่าประกันไฟฟ้า เงินเยียวยา พักชําระหนี้ ผลกระทบต่อแรงงานในระบบ มาตรการของรัฐ - โครงการเราไม่ทิ้งกัน (5000 บาท 3 เดือน) - จัดตั้งศูนย์บริการจัดหางาน part-time - ฝึกอบรมอาชีพ - ทั่วไป เช่น บรรเทาภาระค่านําประปา ค่าไฟฟ้า คืนค่าประกันไฟฟ้า พักชําระหนี้สินเชื่อฉุกเฉิน ผลกระทบต่อแรงงานนอกระบบ มาตรการของรัฐ - ให้ความรู้ อุปกรณ์ป้องกันโรคและสิ่งจําเป็นขั้นพื้นฐานในการดํารงชีวิต (กระทรวงแรงงาน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น) - ขอความช่วยเหลือสายด่วนกระทรวงแรงงาน จัดล่ามแปลภาษา - ส่งกลับประเทศ (กระทรวงการต่างประเทศ สํานักงานตรวจคนเข้าเมือง) มาตรการของรัฐ - ประสานเพื่ออํานวยความสะดวกในการเดินทางกลับประเทศ ผลกระทบต่อแรงงานข้ามชาติ (ในระบบ และนอกระบบ) ผลกระทบต่อแรงงานไทยใน ต่างประเทศ
  • 21. 1. ข้อเท็จจริงของสถานการณ์ : ผู้ละเมิด : นายดนุสรณ์ ผู้ถูกละเมิด : นางสาวปิยานุช นางสาววิลาสินี 2. เกี่ยวข้องกับประเด็นสิทธิมนุษยชนอย่างไร หลักการ : ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ ไม่มีใครพรากไปได้ ขอบเขต : สิทธิพลเมือง สิทธิในชีวิตและร่างกาย สนธิสัญญาระหว่างประเทศ : ICCPR แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฯ : ด้านกระบวนการยุติธรรม กลุ่มผู้เสียหาย/ผู้ตกเป็นเหยื่อ/พยาน
  • 22. 3. การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนทั้งในและระหว่างประเทศ (กลไก มาตรการ กฎหมาย นโยบาย ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์) 4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ตามกฎหมาย/หลักการสิทธิมนุษยชน) ประมวลกฎหมายอาญา หมวด 1 ความผิดต่อชีวิต มาตรา 288 - 294 หมวด 2 ความผิดต่อร่างกาย มาตรา 295 – 300 (สํานักงานตํารวจแห่งชาติ สํานักงานอัยการสูงสุด ศาล) การเข้าถึงกระบวนการยุติธรรม การให้คําปรึกษากฎหมาย (ยธ ศคช ศูนย์ดํารงธรรม) ค่าใช้จ่ายในการดําเนินคดี จากกองทุนยุติธรรม (ยธ) พระราชบัญญัติค่าตอบแทนผู้เสียหาย และค่าทดแทนและค่าใช้จ่ายแก่จําเลยในคดีอาญา พ.ศ.2544 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2559 การชดเชยเยียวยากรณีบาดเจ็บและเสียชีวิต (กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ) พระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 กรณีพยานในที่เกิดเหตุถูกข่มขู่คุกคาม อาจไม่ได้รับความปลอดภัย (กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ)
  • 23. กิจกรรมเรียนรู ้การวิเคราะห์สถานการณ์ด้านสิทธิมนุษยชน ให้สมาชิกแต่ละท่าน พิจารณาเหตุการณ์ตัวอย่าง โดยวิเคราะห์ ในประเด็น ดังต่อไปนี้ 1. ข้อเท็จจริงของสถานการณ์ : ผู้ที่เกี่ยวข้อง : ผู้ละเมิด (ใคร-ถ้ามี) ผู้ถูกละเมิด/ได้รับผลกระทบ (ใคร-ถ้ามี) 2. เกี่ยวข้องกับประเด็นสิทธิมนุษยชนอย่างไร (พิจารณาจากหลักการ/ ขอบเขต/ หลักนิติธรรม/ หลักความยุติธรรม/ สนธิสัญญาระหว่างประเทศ/ แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฯ/ แผน NAP) 3. การคุ้มครองสิทธิมนุษยชนทั้งในและระหว่างประเทศ (กลไก มาตรการ กฎหมาย นโยบาย ฯลฯ ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์) 4. หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ตามกฎหมาย/หลักการสิทธิมนุษยชน)
  • 24. พาดหัวข่าว : วิจารณ์เดือด โรงเรียนมัธยมกล้อนผมนักเรียน ที่มา : https://www.sanook.com/news/8355778/ และ https://www.thairath.co.th/news/society/1570783 เหตุการณ์ : โรงเรียนในจังหวัดแห่งหนึ่งลงโทษนักเรียน โดยครูจับนักเรียนที่ไว้ผม ยาวมาฟาดก้นก่อนจะกล้อนผมจนแหว่ง
  • 25. พาดหัวข่าว : ผบ.ตร.ฟัน คลิปโหดมัดฆ่า ถุงคลุมหัวคาเซฟเฮ เหตุการณ์ : นายษิทรา เบี้ยบังเกิด เลขาธิการมูลนิธิทีมงานทนายประชาชน โพสต์เฟซบุ๊กระบุข้อความว่า เปิดคลิปผู้กํากับโจ้ คลุมถุงฆ่าพ่อค้ายา ที่มา : https://www.thairath.co.th/news/crime/2176103 และ https://www.matichon.co.th/local/crime/news_2903541
  • 26. พาดหัวข่าว : เพื่อนบ้านสุดทน มนุษย์ป้ าโปรยข้าวเลี้ยงนก ล้างขี้แมวหน้าบ้าน เหตุการณ์ : เมื่อวันที่ 23 ส.ค.64 ผู้สื่อข่าวได้รับร้องเรียนจากชาวบ้านในหมู่บ้านแห่งหนึ่งว่าขณะนี้กําลังได้รับ ความเดือดร้อนอย่างหนักจากเพื่อนบ้านรายหนึ่ง ที่นําข้าวสุกไปโปรยเกลื่อนริมกําแพง ในซอยเชื่อมต่อซึ่งเป็นทาง สาธารณะ เพื่อให้นกพิราบบินมากินอาหารเป็นประจําทุกวัน จนทําให้ชาวบ้านในหมู่บ้านดังกล่าวได้รับความ เดือดร้อนจากขี้นกพิราบที่บินมาเกาะบนหลังคาบ้าน นอกจากนี้อาหารที่เหลือเน่าบูดส่งกลิ่นเหม็น รวมทั้งเวลาฝนตก ไหลลงท่อระบายนํ้าทําให้เน่าอยู่ภายในท่อและอุดตัน สร้างความเดือดร้อนเรื่องกลิ่นรบกวนให้กับเพื่อนบ้านที่อยู่ ใกล้เคียงอีก ซึ่งที่ผ่านมาผู้เดือดร้อนได้แจ้งกรรมการหมู่บ้าน และเทศบาลให้เข้าตรวจสอบแล้ว แต่ก็ยังเป็นเหมือนเดิม ที่มา : https://www.sanook.com/news/8431858 /
  • 28. 28