SlideShare a Scribd company logo
1 of 143
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
สาหรับเจ้าหน้าที่รัฐ
โดย
นายพิทยา จินาวัฒนน
ที่ปรึกษาประจาคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม และอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
อดีตที่ปรึกษาการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด และรองเลขาธิการปปส.
การเรียนรู้ของผู้เข้าอบรม
ผู้เข้าอบรม
วิทยากร
เพื่อนผู้เข้า
อบรม
ฝ่ายจัดการ
อบรม
สภาพแวดล้อมในการฝึกอบรม (สนับสนุน และข้อจากัด)
สถานที่อบรม ทรัพยกรฯ
ภัยคุกคาม (โควิดฯ)
นโยบาย ก.ม.
ความพร้อมทาง
ร่างกาย จิตใจ
๓
๓.สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ของคนไทย และคนที่อยู่ในประเทศไทย ดูจากอะไร แตกต่างกันหรือไม่
๔.สิทธิมนุษยชนของประเทศต่างๆ ทาไมจึงแตกต่างกัน ทั้งที่ใช้หลักสากลจากUN ด้วยกัน
๒. สิทธิมนุษยชนสากล และสิทธิมนุษยชนของไทย สัมพันธกันอย่างไร ข้อใดมีขอบเขตกว้างกว่า
๑. สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ และสิทธิมนุษยชน คืออะไร สัมพันธกันอย่างไร คงที่ตลอดไปหรือไม่
หัวข้อในการอบรมสัมนา
การละเมิดสิทธิเด็กนักเรียน
กิจกรรม ทบทวนความเข้าใจในเรื่องสิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ และสิทธิมนุษยชน
๒.สิทธิคืออะไร ๓.เสรีภาพคืออะไร
๑.หน้าที่คืออะไร
๖.สิทธิเสรีภาพของประชาชนในประเทศไทย เหมือนและแตกต่างกับ สิทธิมนุษยชนในหลักสากลอย่างไร
๔.สิทธิมนุษยชนคืออะไร
๕.สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ เหล่านี้ เรารู้อย่างไรว่า เป็นของประชาชนคนไทยในปัจจุบัน ดูจากไหน
๓.ครูขับรถสองแถวรับส่ง
นร.เพื่อหารายได้พิเศษ
๑๓.เกณฑทหาร
๒.การชุมนุมโดยสงบ
๑๑.การตั้งพรรคการเมือง.
๑๐.การแสดงความคิดเห็น
๒๒.การประกอบอาชีพ
๒๓.การนับถือศาสนา
๔.การสื่อสารของบุคคล
๑๖.ในทรัพยสิน มรดก การเวนคืน
๙.การรักษาพยาบาล ๓๐ บาทรักษาทุกโรค
๑๕.น.รได้อาหารกลางวันฟรี
๑๘.น.ร.เรียนฟรี ๑๒ ปี
๑,ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
๖.เสียภาษีอากร
๕.ป้องกันประเทศ ๑๔.มีสิทธิและเสรีภาพ อย่างเท่า
เทียมกัน โดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติ
๑๒.ห้ามการจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ
๑๗.ได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลตามก.ม.
๗.มีศักดิ์ศรี สิทธิ และเสรีภาพ
เท่าเทียมกัน
๑๙.ได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียม
๒๔.ได้รับมาตรฐานการ
ครองชีพอย่างเพียงพอ
๘.การลี้ภัยไปประเทศอื่นเพื่อให้
พ้นจากการถูกประหัตประหาร
๒๑.การมีชีวิตอยู่ และมีความมั่นคง
๒๐.นร.มารร.โดยเดินมา ขี่
จักรยานมา นั่งรถยนตมา
๒๕.การชุมนุมโดยสงบ
๒๘.ในกระบวนการ
ยุติธรรมทางอาญา
๓๑.การได้รับการเยียวยา
๒๗.การเดินทาง เลือกที่อยู่
๒๙.เข้าศึกษาภาคบังคับ ๙ ปี
๓๐.การไว้ผมรองทรงของนร.ชาย
๒๖.การพักผ่อนและมี
เวลาพักจากการทางาน
๓๒. ห้ามนร.ชายไว้หนวดไว้เครามารร.
๓๓.ห้ามการทรมาน หรือ
การลงโทษทารุณ
๓๔.ห้ามบังคับคนให้เป็นทาส
และห้ามค้าทาสทุกรูปแบบ
๓๖,สิทธิของเด็ก สตรี
คนชรา ผู้พิการ แรงงาน
๓๗.สิทธิในส่วนตัว ชื่อเสียง
๓๘. รวมเป็นสมาคม สหภาพ
๓๙. การเข้าถึงข้อมูล
ร้องเรียน ฟ้องหน่วยงานรัฐฯ
๔๐. ความเสมอภาค
ไม่เลือกปฎิบัติ
๔๑. ไม่ทุจริต
๔๓.ไม่ละเมิดสิทธิ
เสรีภาพของผู้อื่น
๔๒.อนุรักษสิ่งแวดล้อม
และวัฒนนธรรม
๔๔.ปฏิบัติตามก.ม.
๔๕.เลี้ยงดูบุตรธิดา
๔๖.ดูแลพ่อแม่ที่แก่เฒน่า
๑.สิทธิคืออะไร ๒.เสรีภาพคืออะไร
๑๑.การตั้งพรรคการเมือง.
๑๐.การแสดงความคิดเห็น
๑๔. มีสิทธิ เสรีภาพอย่างเท่า
เทียมกัน ไม่ถูกเลือกปฏิบัติ
๑๒.ห้ามการจับกุม คุมขัง
หรือเนรเทศโดยพลการ
๑๗.ได้รับการยอมรับ
ว่าเป็นบุคคลตามก.ม.
๑๓.เกณฑทหาร
๒๕.การชุมนุมโดยสงบ
๕.ป้องกันประเทศ
๖.เสียภาษีอากร
๑,ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง
๑๘.น.ร.เรียนฟรี ๑๒ ปี ๗.มีศักดิ์ศรี สิทธิ และ
เสรีภาพเท่าเทียมกัน
๒๒.การประกอบอาชีพ
๒๓.การนับถือศาสนา
๒๙.เข้าศึกษาภาค
บังคับ ๙ ปี
๑๖.ทรัพยสิน มรดก
เวนคืน
๓๗.รวมเป็นสมาคม
สหภาพ
๓๖.สิทธิของเด็ก สตรี
คนชรา ผู้พิการ แรงงาน
๙. ๓๐ บาทรักษาทุกโรค
สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ ที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ สิทธิมนุษยชนในข้อตกลง,ก.ม.ระหว่างประเทศ
หน้าที่คืออะไร ๔.สิทธิมนุษยชนคืออะไร
๑.สิทธิคืออะไร ๒.เสรีภาพคืออะไร
๒๔.ได้รับมาตรฐานการ
ครองชีพอย่างเพียงพอ
๓๓.ห้ามการทรมาน
หรือการลงโทษทารุณ
๒๑.การมีชีวิตอยู่ และ
มั่นคง
๓.ครูขับรถฯรับส่งนร.
หารายได้พิเศษ
๒๐.นร.มารร.โดยเดินมา ขี่
จักรยานมา นั่งรถยนตมา
๓๗.สิทธิในส่วนตัว
ชื่อเสียง
๔๑.ไม่ทุจริต
๔๔.ปฏิบัติตามก.ม.
สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ ที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ สิทธิมนุษยชนในข้อตกลง,ก.ม.ระหว่างประเทศ
๔.สิทธิมนุษยชนคืออะไร
หน้าที่คืออะไร
๔๕.เลี้ยงดูบุตรธิดา
๔๖.ดูแลพ่อแม่ที่
แก่เฒน่า
นายตารวจขายอาหารค่า
หลังเสร็จภารกิจทุกวัน
สารวัตรทหารไปเป็นรปภ.
ไนทคลับตอนดึก
สิทธิเสรีภาพของบุคคล
(รัฐธรรมนูญฯปี๖๐
ม.๒๕-ม.๔๙)
สิทธิของมารดาก่อน/หลังคลอด,
ผู้ชรา,ผู้ยากไร้
ใช้สิทธิล้มการปกครองไม่ได้
สิทธิสาธารณสุข
สิทธิของผู้บริโภค
สิทธิในการตั้งพรรคการเมือง.
เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ
สิทธิบุคคลและชุมชน ศิลป สวล.เสนอ
หน่วยงาน สวัสดิการชุมชน
เสรีภาพรวมเป็นสมาคม สหภาพฯ
สิทธิบุคคล ชุมชนเข้าถึงข้อมูล
ร้องเรียน ฟ้องหน่วยงานรัฐฯ
เสรีภาพประกอบอาชีพ
เนรเทศ ห้ามเข้าประเทศ ถอนสัญชาติไทย
(ที่ได้มาโดยการเกิด)ไม่ได้
เสรีภาพเดินทาง เลือกที่อยู่
สิทธิในทรัพยสิน มรดก การเวนคืน
เสรีภาพบุคคลในการสื่อสาร
เสรีภาพสื่อฯ
เสรีภาพในการแสดง
ความคิดเห็น
เสรีภาพในเคหสถาน
สิทธิส่วนตัว ชื่อเสียง
เสรีภาพในการนับถือศาสนา
เกณฑแรงงานทาไม่ได้
สิทธิเสรีภาพในชีวิต ร่างกาย
สิทธิกระบวนการยธ.อาญา
ความเสมอภาค
สิทธิได้รับการเยียวยา
๑.สิทธิคืออะไร ๒.เสรีภาพคืออะไร ๓.หน้าที่คืออะไร
-ประโยชน อานาจ
ความสามารถของ
บุคคล ที่รัฐรับรอง
คุ้มครองให้ มีก.ม.
นโยบายฯ รองรับ
-อิสรภาพ ที่จะทา/
ไม่ทาอะไรก็ได้ ถ้า
ไม่ละเมิดก.ม. ไม่
ละเมิดสิทธิฯผู้อื่น
-กิจที่ต้องทา หรือไม่
ทา ถ้าไม่ปฏิบัติ มี
ความผิด มีโทษ
-หน้าที่ตามก.ม./ตาม
ศีลธรรม
-สิ่งที่ติดตัวคนเรามาตั้งแต่เกิด
เป็นศักดิศรีของความเป็นมนุษย
ความเสมอภาค ไม่ถูกเลือก
ปฏิบัติ เป็นสากล ไม่ขึ้นกับรัฐใด
พรากไม่ได้ แบ่งแยก/โอนไม่ได้ มี
ส่วนร่วมได้รับประโยชน
ตรวจสอบได้โดยหลักนิติธรรมฯ
๔.สิทธิมนุษยชนคืออะไร
๑.สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ และสิทธิมนุษยชน คืออะไร เหมือนกัน ต่างกันอย่างไร
นักปรัชญา เช่น รุสโซ
ในสัญญาประชาคม
บอกคนเราเกิดมา
พร้อมอิสระภาพ
นักสังคมวิทยา ว่าคนเรา
เกิดมามีหน้าที่ใน
ครอบครัว กลุ่ม ชุมชน
เกิดมาทีหลัง เมื่อผู้มี
อานาจรับรอง มีก.ม.
มารับรอง
เป็นสิทธิพื้นฐานของทุกคนต้องมี
เป็นสากล มาได้รับความสนใจหลัง
WW2 เมื่อตั้งUN มีอนุสัญญาขึ้น
สิทธิ หน้าที่ และเสรีภาพของประชาชน สิทธิมนุษยชน ตามรัฐธรรมนูญฯ ปี ๒๕๖๐
สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ สิทธิมนุษยชน
-ประโยชนหรืออานาจ
ของบุคคลที่รัฐรับรอง/
คุ้มครองให้
-อิสระที่จะทาอะไร หรือ
ไม่ทาก็ได้
-ถ้าไม่มีก.ม.ห้าม /ไม่ผิดก.ม.
-ไม่ขัดศีลธรรม
-ไม่ละเมิดสิทธิฯ ผู้อื่น
-ไม่ทาให้ผู้อื่นเดือดร้อน
-กิจที่ต้องปฏิบัติ (ตาม
ก.ม.,ตามหลักศีลธรรม)
ตัวอย่าง :
-สิทธิในการมีทรัพยสิน
-สิทธิที่ไม่ถูกขายเป็นทาส
-สิทธิในกระบวนการ
ยุติธรรมทางอาญา
(ประกันตัว,มีทนายฯ
ได้รับการเยียวยา)
-สิทธิในการตั้งพรรค
การเมือง
ตัวอย่าง :
-เสรีภาพในการแสดงออก
-เสรีภาพในการนับถือศาสนา
-เสรีภาพในการประกอบอาชีพ
-เสรีภาพของสื่อ
-เสรีภาพในการเดินทาง
-เสรีภาพในเคหสถาน จะแต่ง
ตัวอย่างไรก็ได้ถ้าไม่อนาจาร
ตัวอย่าง :
-หน้าที่ในการเสียภาษี
-หน้าที่ในการเกณฑทหาร -
หน้าที่ป้องกันประเทศ
-หน้าที่ในการรักษาชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย
-หน้าที่ไม่ทุจริต
-หน้าที่ในการดูแลบุตรธิดา
ความหมาย/ขอบเขตของไทย :
-ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
-สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของ
บุคคลที่ได้ที่ได้รับการรับรอง หรือ
คุ้มครอง ตามรัฐธรรมนูญฯ ตามก.ม.
ไทย ตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมี
พันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติ
-สิทธิธรรมชาติ ติดตัวมาตั้งแต่เกิด
-ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย
-ความเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ
-ไม่อาจพรากไปได้ แบ่งแยกไม่ได้ -
สากลข้ามพรมแดน ไม่ขึ้นกับรัฐใดๆ
-ไม่ผูกกับก.ม.บ้านเมือง เพราะไปผูก
กับความเป็นมนุษยแล้ว*
-ไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น ไม่
ละเมิดก.ม. ไม่ผิดศีลธรรมฯ
ความสัมพันธของ สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพของประชาชน และสิทธิมนุษยชน
สิทธิ เสรีภาพ
หน้าที่ สิทธิมนุษยชน(สากล)
-รู้จักกันหลังWW2 เมื่อตั้ง
UN มีกฎบัตร (charter)
แล้วจัดทาข้อตกลงคือ
ปฏิญญาสากลฯ ขึ้นต่อมา
ทาอนุสัญญาฯ ๙ ฉบับ
รวมทั้งมีสนธิสัญญาอื่นที่
เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
เช่น ผู้ลี้ภัย แรงงานฯ
-สัมพันธ์กับสิทธิเสรีภาพ
ของบุคคลที่อยู่ในรัฐใดๆ
สิทธิกับเสรีภาพ มักใช้คู่กัน และมี “สิทธิในเสรีภาพ” มี
สิทธิใช้เสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญรับรอง จึงเกิดหน้าที่
แก่บุคคลอื่นที่จะไม่ละเมิดการใช้เสรีภาพของบุคคลนั้น
กิจที่ต้องทา/งดเว้น
การกระทา ถ้าไม่
ปฏิบัติตาม มี
ความผิด ถูกลงโทษ
สิทธิเป็นอานาจที่
เรียกร้องให้บุคคล
อื่นทา หรืองดเว้น
การกระทา
“สิทธิของฉัน เธอ
อย่ามายุ่ง”
เสรีภาพเป็นอานาจของบุคคล
นั้นที่มีอยู่เหนือตนเองที่จะทา
หรือไม่ทาอะไร โดยไม่ถูกแทรก
แซงหรือครอบงาจากบุคคลใด
เสรีภาพจึงเกิดหน้าที่แก่บุคคล
อื่นที่ไม่รบกวนเสรีภาพของตน
หน้าที่ตามก.ม.
สัมพันธหน้าที่ทาง
ศีลธรรมของรัฐนั้น
สิทธิ เสรีภาพ
หน้าที่ สิทธิมนุษยชน(สากล)
หน้าที่ ที่เสี่ยง ที่ก่อให้เกิด
ประโยชนแก่สังคมมาก ย่อม
ทาให้เกิดสิทธิประโยชนแก่ผู้
มีหน้าที่์นั้น ตามมา
เมื่อรัฐกาหนดสิทธิฯให้ปชช. รัฐมีหน้าที่เฉพาะเจาะจง ต้องเตรียม
การ เตรียมทรัพยากร การจัดการ ให้คนเข้าถึง/ใช้สิทธินั้น
ส่วนเสรีภาพนั้น รัฐมีหน้าที่ไม่ขัดขวางการใช้เสรีภาพของปชช
สิทธิ เสรีภาพของบุคคลในรัฐใด สัมพันธกับ สิทธิมนุษยชนสากล
และสิทธิมนุษยชนของรัฐนั้น ตามที่มีพันธกรณี และบริบทของรัฐนั้น
(ปัจจัยด้านการเมือง ปกครอง ก.ม. เศรษฐกิจ สังคม วัฒนนธรรมฯ )
เช่นปท.ประชาธิไตย สังคมนิยม อิสลามฯ
กิจกรรมบางอย่างอาจเปลี่ยนจาก เสรีภาพ เป็นสิทธิ หน้าที่ได้
สิทธิ คู่กับหน้าที่ เสมอเหมือนสองหน้าของ
เหรียญเดียวกัน เมื่อบุคคลหนึ่งมีสิทธิ บุคคล
อื่นมีหน้าที่ ที่ต้องเคารพสิทธิผู้ทรงสิทธินั้น
ศักดิ์ศรีของมนุษย ความ
เสมอภาค ไม่ถูกละเมิดฯ
ย่อมเกิดในสังคมที่มี /ให้
คุณค่า”ประชาธิปไตย”มาก
และปกครองโดยยึดก.ม.
เป็นหลัก ไม่ใช่ยึดตัวบุคคล
เป็นหลัก มีความยุติธรรม
สิทธิมนุษยชน ทุกคนต้องมีสิทธิพื้นฐานโดยเสมอภาคกัน
จนท.จับกุม ไปคุมขัง โดยไม่มีสาเหตุ
พิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมและเปิดเผย
บังคับคนให้เป็นทาส
ได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียม
มีศักดิ์ศรี สิทธิ และเสรีภาพเท่าเทียมกัน
ทรมาน หรือการลงโทษทารุณโหดร้าย ได้รับความคุ้มครองตามก.ม.เท่าเทียมกัน
ได้รับมาตรฐานการครองชีพอย่างเพียงพอ
มีชีวิตอยู่ และมีความมั่นคง
ไม่ให้เป็นเจ้าของทรัพยสิน
บังคับให้เชื่อ หรือนับถือศาสนาตามที่สั่ง
ห้ามเดินทาง ห้ามเลือกถิ่นที่อยู่
สิทธิมนุษยชน ทุกคนต้องมีสิทธิพื้นฐานโดยเสมอภาคกัน
จนท.จับกุม ไปคุมขัง โดยไม่มีสาเหตุ
พิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมและเปิดเผย
บังคับคนให้เป็นทาส
มีศักดิ์ศรี สิทธิ และเสรีภาพเท่าเทียมกัน
ทรมาน หรือการลงโทษทารุณโหดร้าย
ได้รับความคุ้มครองตามก.ม.เท่าเทียมกัน
ได้รับมาตรฐานการครองชีพอย่างเพียงพอ
มีชีวิตอยู่ และมีความมั่นคง
ไม่ให้เป็นเจ้าของทรัพยสิน
ห้ามเดินทาง ห้ามเลือกถิ่นที่อยู่
สิทธิมนุษยชน ทุกคนต้องมีสิทธิพื้นฐานโดยเสมอภาคกัน
ห้ามเลือกคู่ครอง ห้ามมีครอบครัว
ห้ามแสดงความคิดเห็นและแสดงออก พักผ่อนและมีเวลาพักจากการทางาน
มีส่วนร่วมในรัฐบาลทั้งทางตรง และ
โดยผ่านผู้แทน และเข้าถึงบริการ
สาธารณะโดยเท่าเทียมกัน
ได้รับการเยียวยา เมื่อถูกละเมิด
ได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียม
เข้ามารบกวนความเป็นอยู่ส่วนตัว
ครอบครัว เคหสถาน การติดต่อสื่อสาร
ได้รับปัจจัยสี่ สวัสดิการสังคม ประกัน
การว่างงาน เจ็บป่วย
สิทธิพื้นฐานเหล่านี้ อยู่ในข้อตกลง
ระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน
สาระสาคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ(สากล ไร้พรมแดนฯ)
๑. ทุกคนมีศักดิ์ศรี สิทธิ และเสรีภาพเท่าเทียมกัน และต้องปฏิบัติต่อกันฉันพี่น้อง
๒. ทุกคนมีสิทธิ และเสรีภาพ อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติ
๓. ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิตอยู่ และมีความมั่นคง
๔. ห้ามบังคับคนให้เป็นทาส และห้ามค้าทาสทุกรูปแบบ (ค้ามนุษย)
.๕. ห้ามการทรมาน หรือการลงโทษทารุณโหดร้ายผิดมนุษย
๖. สิทธิในการได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลตามกฎหมาย
๗. สิทธิในการได้รับความคุ้มครองตามก.ม.อย่างเท่าเทียมกัน
๘. สิทธิในการได้รับการเยียวยาจากศาล
๙. ห้ามการจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ
๑๐. สิทธิในการได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมและเปิดเผย
๔๙
๑๑. สิทธิในการได้รับการสันนิษฐานว่าบริสุทธิ์ก่อนศาลตัดสิน และต้องมีก.ม.กาหนดว่าการ
กระทานั้นเป็นความผิด
๑๒. ห้ามรบกวนความเป็นอยู่ส่วนตัว ครอบครัว เคหสถาน การติดต่อสื่อสาร รวมทั้งห้าม
ทาลายชื่อเสียง และเกียรติยศ
๑๓. เสรีภาพในการเดินทางและเลือกถิ่นที่อยู่ในประเทศ รวมทั้งการออกนอกประเทศหรือ
กลับเข้าประเทศโดยเสรี
๑๔. สิทธิในการลี้ภัยไปประเทศอื่นเพื่อให้พ้นจากการถูกประหัตประหาร
๑๕. สิทธิในการได้รับสัญชาติ และการเปลี่ยนสัญชาติ
๑๖. สิทธิในการเลือกคู่ครอง และสร้างครอบครัว
๑๗. สิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพยสิน
๑๘. เสรีภาพในความคิด มโนธรรม ความเชื่อ หรือการถือศาสนา
๑๙. เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและแสดงออก รวมทั้งการได้รับข้อมูลข่าวสาร
๒๐.สิทธิในการชุมนุมโดยสงบและรวมกลุ่ม และห้ามบังคับเป็นสมาชิกสมาคม
๕๐
๒๑. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในรัฐบาลทั้งทางตรง และโดยผ่านผู้แทน อย่างอิสระ และมีสิทธิเข้าถึง
บริการสาธารณะโดยเท่าเทียมกัน
๒๒.สิทธิในการได้รับความมั่นคงทางสังคม และได้รับสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนนธรรม
โดยการกาหนดระเบียบและทรัพยากรของประเทศตนเอง
๒๓. สิทธิในการมีงานทาตามที่ต้องการ และได้รับการประกันการว่างงาน รวมทั้งได้รับ
ค่าตอบแทนเท่ากัน สาหรับงานอย่างเดียวกัน และรายได้ต้องพอแก่การดารงชีพสาหรับตนเอง
และครอบครัว ตลอดจนมีสิทธิก่อตั้ง และเข้าร่วมสหภาพแรงงาน
๒๔. สิทธิในการพักผ่อนและมีเวลาพักจากการทางาน
๒๕. สิทธิในการได้รับมาตรฐานการครองชีพอย่างเพียงพอ ได้รับปัจจัยสี่ สวัสดิการสังคม
ประกันการว่างงาน เจ็บป่วย เป็นหม้าย ผู้สูงอายุ ตลอดจนต้องคุ้มครองแม่และเด็กเป็นพิเศษ
๒๖. สิทธิในการได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน
๒๗. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในวัฒนนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน และได้รับการคุ้มครองทรัพยสิน
ทางปัญญา
๕๑
สิทธิ
• ประโยชน หรือ อานาจของบุคคล ที่รัฐรับรอง คุ้มครองให้ (มีก.ม.รับรอง)
รัฐ อาจยกระดับ “เสรีภาพ” ขึ้นมาเป็น “สิทธิ” เมื่อเห็นความจาเป็น เช่น การรักษาพยาบาลฯ
รัฐ มีหน้าที่จาเพาะเจาะจง ต้องเตรียมการ มีก.ม.ระเบียบ คน สถานที่ อุปกรณ งบฯรองรับ
เช่น สิทธิในชีวิตร่างกาย การพบ/มีทนายฯ สิทธิรักษาพยาบาล สิทธิของเด็ก ผู้พิการ ผู้สูงอายุฯ
• การใช้สิทธิของบุคคล ต้องไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น ไม่ละเมิดก.ม. ไม่ขัดศีลธรรมอันดี
สิทธิ คู่กับหน้าที่ เมื่อบุคคลมีสิทธิ บุคคลอื่นมีหน้าที่ต้องไม่ละเมิดสิทธิผู้ทรงสิทธินั้น
สิทธิ สัมพันธใกล้ชิดกับ เสรีภาพ มักกล่าวรวมๆกันไปว่าสิทธิเสรีภาพ
เสรีภาพ
• อิสระที่จะทาอะไร หรือ ไม่ทาอะไรก็ได้ โดยไม่มีใครมาบงการ
เช่น เปลือยกายเดินคนเดียวในห้องนอน เปิดเพลงเสียงดังในห้องที่เก็บเสียง
เวลาเจ็บป่วย ไม่ไปหาหมอ หรือ ไปหมอแผนโบราณ หมอจีน หรือ หมอแผนปัจจุบัน
• ถ้าไม่ทาให้ผู้อื่นเดือดร้อน ไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น
• ไม่ขัดหลักศีลธรรม/ศาสนา
• ไม่ผิดก.ม.
เช่น เสรีภาพในการนับถือศาสนา การแสดงออก การประกอบอาชีพฯ
สิทธิเสรีภาพของบุคคล
(รัฐธรรมนูญฯปี๖๐
ม.๒๕-ม.๔๙)
สิทธิของมารดาก่อน/หลังคลอด,
ผู้ชรา,ผู้ยากไร้
ใช้สิทธิล้มการปกครองไม่ได้
สิทธิสาธารณสุข
สิทธิของผู้บริโภค
สิทธิในการตั้งพรรคการเมือง.
เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ
สิทธิบุคคลและชุมชน ศิลป สวล.เสนอ
หน่วยงาน สวัสดิการชุมชน
เสรีภาพรวมเป็นสมาคม สหภาพฯ
สิทธิบุคคล ชุมชนเข้าถึงข้อมูล
ร้องเรียน ฟ้องหน่วยงานรัฐฯ
เสรีภาพประกอบอาชีพ
เนรเทศ ห้ามเข้าประเทศ ถอนสัญชาติไทย
(ที่ได้มาโดยการเกิด)ไม่ได้
เสรีภาพเดินทาง เลือกที่อยู่
สิทธิในทรัพยสิน มรดก การเวนคืน
เสรีภาพบุคคลในการสื่อสาร
เสรีภาพสื่อฯ
เสรีภาพในการแสดง
ความคิดเห็น
เสรีภาพในเคหสถาน
สิทธิส่วนตัว ชื่อเสียง
เสรีภาพในการนับถือศาสนา
เกณฑแรงงานทาไม่ได้
สิทธิเสรีภาพในชีวิต ร่างกาย
สิทธิกระบวนการยธ.อาญา
ความเสมอภาค
สิทธิได้รับการเยียวยา
เป็นพลวัตร
รักษา ชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย
ประชาธิปไตย
ป้องกันประเทศ
ปฏิบัติตามกฎหมาย
เข้าศึกษาภาคบังคับ
รับราชการทหาร/
เกณฑทหาร ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพ
ของบุคคลอื่น
ใช้สิทธิเลือกตั้ง
คานึงประโยชนส่วนรวม
อนุรักษสิ่งแวดล้อม
และวัฒนนธรรม
เสียภาษีอากร
ไม่ทุจริต
หน้าที่ของ
คนไทย
(รธน.ฯม.๕๐)
หน้าที่ของคนไทย
ในรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ
อาจเน้นแตกต่างกัน
หน้าที่
• กิจ หรือ สิ่งที่ต้องทา หรือไม่กระทา ตาม ก.ม.หรือ หลักศีลธรรม
• ถ้าไม่ปฏิบัติ มีความผิด และมีโทษ
เช่น การเลี้ยงดูลูก, เสียภาษี เกณฑทหาร เคารพก.ม., ศึกษาภาคบังคับฯ
• หน้าที่ กับ สิทธิ เป็นของคู่กัน เหมือนหน้าสองหน้า ของเหรียญเดียวกัน
เมื่อบุคคลหนึ่งมีสิทธิ บุคคลอื่นมีหน้าที่ต้องเคารพสิทธิ ไม่ละเมิดสิทธิของผู้มีสิทธิ
• หน้าที่ ก่อให้เกิดสิทธิ(ประโยชน) เช่น หน้าที่ของนายกรัฐมนตรี ประธานรัฐสภา
ประธานศาลฎีกา หน้าที่ของทหารที่เสี่ยงภัยในภาคใต้ ได้รับสิทธิประโยชนมากกว่า
รัฐอาจเปลี่ยน “สิทธิ” เป็น “หน้าที่” เนื่องจากจาเป็น เช่น เรียนภาคบังคับ ไปเลือกตั้งฯ
• สิทธิธรรมชาติ ติดตัวคนมาแต่เกิด ไม่ว่าบุคคลนั้นจะมีเชื้อชาติ ผิวสีใด เพศใด นับ
ถือศาสนาใด ยากดีมีจน เรียนสูง เรียนน้อย มีอาชีพใด เพราะมนุษยทุกคนล้วนแต่
มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย มีสิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาค (ไม่เลือกปฎิบัติ)
- เป็นสิทธิสากลข้ามพรมแดน ไม่ขึ้นกับ ก.ม.ของประเทศใด*
- ไม่สามารถพรากสิทธิฯนี้ไปได้
- โอนสิทธิฯให้กันไม่ได้ แบ่งแยกไม่ได้
- มนุษยเรามีส่วนร่วมใช้ประโยชนในสิทธินั้น ตรวจสอบได้โดยหลักนิติธรรม
๒๕
• ยึดหลัก“เอาใจเขามาใส่ใจเรา” ถ้าเราไม่อยากถูกทาอะไรที่ไม่ดี เราก็อย่าไปทากับ
ผู้อื่นแบบนั้น เพราะทุกคนในโลกล้วนเป็นเพื่อนมนุษย เป็นพี่น้องกันทั้งสิ้น
สิทธิมนุษยชน
ความหมายของสิทธิ และสิทธิมนุษยชน
(ศ. ดร.วิษณุ เครืองาม)
สิทธิ (Rights) หมายถึง
• สิ่งที่กฎหมายรับรอง และให้ความคุ้มครอง ไม่ให้ผู้ใดกระทาการละเมิด
• ดังนั้นสิทธิผูกไว้กับก.ม. หากมีก.ม.รับรอง คุ้มครอง สิ่งนั้นเรียกว่าสิทธิ ซึ่ง
หากไม่มีการกาหนดสิทธิดังกล่าวในก.ม.อาจทาให้มีการลิดรอน หรือไม่ได้รับ
ความคุ้มครองทางก.ม.ได้
สิทธิมนุษยชน (Human Rights)
• เหนือขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งถือว่าคนเราเกิดมา มีสภาพเป็นมนุษยไม่ว่าจะมี
เชื้อชาติใด เพศใด นับถือศาสนาใด มีคติความเชื่อ ทางการเมืองอย่างไร
มีสถานภาพใด ไม่ว่าจะสูงต่ํา ดาขาวมั่งมีหรืออยากจน ในฐานะที่เป็น
มนุษยก็ย่อมมีความเสมอภาคกัน
• โดยไม่ผูกกับกฎหมายบ้านเมือง เพราะมันไปผูกกับความเป็นมนุษยเสีย
แล้ว เช่น มนุษยมีร่างกายก็มีสิทธิที่จะเดิน มนุษยเกิดมามีสมอง ก็มีสิทธิที่
จะคิด เมื่อมีสิทธิที่จะคิดจึงมีความเชื่อ เมื่อมนุษยมีร่างกายก็มีสิทธิที่จะ
ทางาน เมื่อทางานก็มีสิทธิ ที่จะพักผ่อน
สิทธิมนุษยชน : ความหมาย องค์ประกอบ
ศักดิศรีของ
ความเป็นมนุษย
สิทธิ เสรีภาพ
การมี เข้าถึง และใช้สิทธิฯ
และไม่ถูกละเมิดสิทธิฯ
ความเสมอภาค
และความเท่าเทียม
การไม่เลือกปฎิบัติ
สิทธิตาม
ธรรมชาติ ที่ติดตัวมนุษยทุกคน มาแต่
เกิดไม่ว่าจะมีเชื้อชาติ ผิวพรรณ มีความ
เชื่อใด เป็นสากลไม่มีพรมแดน พราก
ไม่ได้ โอนให้กันไม่ได้ฯ
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (Human Dignity)
• เกิดมาเป็นคน
- ยากดีมีจน
- สูงต่า ดาขาว เชื้อชาติใด วรรณะใด
- เรียนมาก หรือเรียนน้อย
- อยู่ในประเทศใด ในยุโรป อเมริกา
- ทาอะไร เป็นชาวเมือง ชาวไร่ ชาวนา นักการเมือง ขรก.เจ้าของธุรกิจ...
- นับถือศาสนาพุทธ คริสต อิสลาม ถือผี ไม่มีศาสนา
- เป็นเด็กน้อย ผู้หญิง LGBT ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ต้องขัง คนเร่ร่อน ผู้ติดเชื้อเอชไอวีฯ
• ล้วนแต่เป็นคนเหมือนกัน ทุกคนต้องมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย
ความเท่าเทียมกัน ความเสมอภาคอย่างเป็นธรรม (Equality & Equity)
• คนเราเกิดมา อาจมีความแตกต่างกัน มีความหลากหลายจากปัจจัยทางชีวภาพ เศรษฐกิจ
สังคมฯ
• แต่คนเราต้องมีเสมอภาคและความเท่าเทียม (ในจิตสานึกของเรา และการดูแลของรัฐ)
- ในเรื่องโอกาสทางการศึกษา การสาธารณสุข การบริการอื่นๆของรัฐ (และภาคเอกชน)
- ในเรื่องการเข้าถึงทรัพยากรฯ
- ในเรื่องสิทธิในกระบวนการยุติธรรมฯ
• กรณีที่เป็นผู้ด้อยโอกาส รัฐอาจมีมาตรการพิเศษช่วยเหลือ ไม่ถือว่าเป็นการเลือกปฎิบัติ
ความเป็นธรรม
ความเท่าเทียม
ความเสมอภาค ไม่ได้หมายความว่า ให้ทรัพยากรเท่าๆกัน แต่คานึงถึง ความจาเป็นของแต่ละคบ
ว่าใครมีความจาเป็นมาก ควรได้รับทรัพยากรมากกว่าเพื่อให้มีสิทธิพื้นฐานเท่ากัน ใกล้เคียงกัน
การมีสิทธิประเภทต่างๆ เช่น สิทธิพลเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม และการเข้าถึงสิทธิฯ (Access to rights)
•สิทธิพลเมือง เช่น สิทธิในชีวิต ร่างกาย ทรัพยสินของบุคคล การสื่อสารฯ
•สิทธิการเมือง เช่น สิทธิในการชุมนุม การตั้งพรรคการเมืองฯ
•สิทธิทางเศรษฐกิจ เช่น สิทธิในการมีงานทา ได้ค่าตอบแทน มีวันพักฯ
•สิทธิทางสังคม เช่น สิทธิด้านการศึกษา สาธารณสุขฯ
•สิทธิทางวัฒนนธรรม เช่น สิทธิในศิลปะ วัฒนนธรรม การละเล่นพื้นเมือง
มุมมองเรื่องสิทธิมนุษยชน (+)
เกิดมาเป็นคน ยากดีมีจน จะขาวจะดา
จะเรียนมามากหรือเรียนมาน้อย
ก็มีศักดิ์ศรี เป็นคนเหมือนกัน
เอาใจเขามาใส่ใจเรา เราไม่ชอบให้ใครทาอะไรกับเรา
เราก็อย่าไปทากับเขาอย่างนั้น
จะรวยจะจน ถ้าทาผิด
ก็ต้องติดคุกเหมือนกัน
คุกไม่ใช่มีไว้ขังแต่คนจนเท่านั้น
สิทธิที่ติดตัวคนมาตั้งแต่
เกิด
เป็นสากล
ไม่มีพรหมแดน
สัมพันธเชื่อมโยงกัน
แบ่งแยกไม่ได้
โอนให้กันไม่ได้
พรากเอกไปจากเราไม่ได้
จะเขียนก.ม.มาห้ามก็
ไม่ได้
ทาไมต้องลัดคิวให้บริการคน
รวย หรือญาติมิตรก่อน
ถ้าเขาป่วยจะตายก็ไม่ว่า
สอดคล้องกับหลักธรรมชาติ
หลักการทางศาสนา
สิทธิ เสรีภาพ
ศักดิ์ศรี
ของมนุษย
ที่ทาให้คน
แตกต่างไป
จากสัตว
ไม่ใช่เป็นเรื่อง
การจับผิด หรือ
การต่อต้านการ
ทางานของ
เจ้าหน้าที่รัฐ แต่
เป็นเรื่องที่
เกี่ยวข้องกับเรา
ตั้งแต่อยู่ในท้อง
แม่ โตขึ้น เรียน
ทางาน มีคู่ มีลูก
ป่วย แก่ พิการ
จนกระทั่งตาย
มุมมองในเรื่องสิทธิมนุษยชน (-)
เวลาชาวบ้านถูกยิง
ถูกระเบิด
พวกสิทธิมนุษยชน
หายหัวไปไหนหมด
เอาไอ้พวกข่มขืนฆ่าไป
ประหารให้หมด
อย่ามาอ้างสิทธิมนุษยชนเลย ทีชีวิต
คนอื่นมันไม่เห็นความสาคัญ พวก
มองโลกสวย
พวกตามก้น
ฝรั่ง
พวกที่คอยจับผิดการ
ทางานของ
ต.ร.,ทหาร, ขรก.ฯ
พวกที่คิดว่ามี
สิทธิเสรีภาพ
จนไร้ขอบเขต
พวกเห็นคนต่างชาติ
คนต่างด้าว ดีกว่าคนไทย
ทาไมเราต้องใช้เงินภาษีฯของ
คนไทยไปเลี้ยงดูคนต่างชาติ
พวกชอบการปกครอง
แบบสาธารณรัฐ ชอบ
อ้างความเสมอภาค พวก
ล้มสถาบันฯ NGO
พวกขัดขวาง
การพัฒนนา
ประเทศ
• สิทธิมนุษยชน หมายความว่า
- ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย
- สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของบุคคลที่ได้ที่ได้รับการรับรอง หรือคุ้มครอง
- ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
- ตามกฎหมายไทย
- ตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตาม
(พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 3)
ความหมายของสิทธิมนุษยชน ของประเทศไทย
ขอบเขตของหลักสิทธิมนุษยชน ของประเทศไทย จะแคบกว่า หลักสิทธิมนุษยชนสากล ในประเด็น สิทธิ
เสรีภาพ ความเสมอภาค และความคุ้มครองของบุคคลฯ เป็นไปตามก.ม.ไทย และพันธกรณีของประเทศไทย)
สิทธิมนุษยชน มิได้มีแต่เพียงมิติด้าน ก.ม. เท่านั้น แต่เป็นสหวิทยาการ มีทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนนธรรมฯ
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.๑๙๔๘/พ.ศ.๒๔๙๑*
ขจัดการเลือกปฏิบัติ
ทางเชื้อชาติ*
ค.ศ.๑๙๖๕/พ.ศ.๒๕๐๘
เด็ก*
ค.ศ.๑๙๘๙/พ.ศ.๒๕๓๒
ต่อต้านการทรมาน
ค.ศ.๑๙๘๔/พ.ศ.๒๕๒๗*
ต่อต้านอุ้มหาย
ค.ศ. ๒๐๐๖/พ.ศ.๒๕๔๙
แรงงานอพยพฯ
ค.ศ.๑๙๙๐/พ.ศ.๒๕๓๓
สตรี*
ค.ศ..๑๙๗๙/พ.ศ.๒๕๒๒
คนพิการ*
ค.ศ.๒๐๐๖/พ.ศ.๒๕๔๙
ปัญหาการละเมิดสิทธิฯในรูปแบบต่างๆเช่น ฆ่าล้างเผ่าพันธฯในWW2
การจัดตั้งองคกรสหประชาชาติ ค.ศ.๑๙๔๕/พ.ศ.๒๔๘๘
กติกาฯว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง
ค.ศ.๑๙๖๖/พ.ศ.๒๕๐๙*
กติกาฯว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนนธรรม
ค.ศ.๑๙๖๖/พ.ศ.๒๕๐๙*
การจัดกลุ่มของ
อนุสัญญาด้านสิทธิ
มนุษยชน
เจตนารมณร่วมกัน
ไม่มีสภาพบังคับ
เป็นก.ม.ระหว่าง
ประเทศ
อนุสัญญาสิทธิ
มนุษยชน ๙ ฉบับ
มีสถานะเป็นก.ม.
ระหว่างประเทศ
ทุกฉบับเป็นสิทธิ
มนุษยชนสากล
ไร้พรมแดนฯ
ข้อตกลง และก.ม.ระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.๑๙๔๘/พ.ศ.๒๔๙๑*
กติกาฯว่าด้วย
สิทธิพลเมือง
และสิทธิ
ทางการเมือง
ICCPR
ค.ศ.๑๙๖๖/
พ.ศ.๒๕๐๙*
กติกาฯว่าด้วย
สิทธิทาง
เศรษฐกิจ สังคม
วัฒนนธรรม
ICESC
ค.ศ.๑๙๖๖/พ.ศ.
๒๕๐๙*
เด็ก*
ค.ศ.๑๙๘๙/
พ.ศ.๒๕๓๒
สตรี*
ค.ศ..๑๙๗๙/
พ.ศ.๒๕๒๒
คนพิการ*
ค.ศ.๒๐๐๖/
พ.ศ.๒๕๔๙
แรงงาน
อพยพฯ
ค.ศ.๑๙๙๐
/พ.ศ.๒๕๓๓
ขจัดการเลือกปฏิบัติ
ทางเชื้อชาติ*
ค.ศ.๑๙๖๕
/พ.ศ.๒๕๐๘
ต่อต้านการทรมาน
ค.ศ.๑๙๘๔/
พ.ศ.๒๕๒๗*
ต่อต้านอุ้มหาย
ค.ศ. ๒๐๐๖/
พ.ศ.๒๕๔๙
ผู้เปราะบาง ที่เสี่ยงถูกละเมิด
จนท.ผู้มีอิทธิพล ที่เสี่ยงไปละเมิดบุคคลอื่น
หลักสิทธิมนุษยชนสากล ดูจากอะไร ที่ไหน
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.๑๙๔๘/๒๔๙๑ (UDHR)
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ๙ ฉบับ (ICCPR,ICESC,CERD,CED,CRD,
สนธิสัญญาอื่นๆ เช่น ILO 87,ILO 98,อนุสัญญาผู้ลี้ภัยฯ
หลักจารีตประเพณีระหว่างประเทศ
รัฐที่เป็นสมาชิก
อนุสัญญาฯ
มีพันธะกรณีต้องปฏิบัติ
ตามอนุสัญญาต่อต้าน
การทรมานฯ
๑) ประกันให้เกิดสิทธิ
(ก.ม.,บริหาร,ศาล)
๒) เผยแพร่
หลักการของ
อนุสัญญา
๓) ปฏิบัติให้เกิดสิทธิ
แก่ปชช.ในรัฐ
๔) รายงาน
สถานการณ
ต่อ UN
รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.๒๕๔๐ (รัฐธรรมนูญ ฉบับประชาชน)
เจตนารมณของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐ ก็คือการปฏิรูปการเมืองโดยมี
เป้าหมาย ๓ ประการ[2]
๑. ขยายสิทธิ เสรีภาพ และส่วนร่วมของพลเมืองในการเมือง สิทธิใน
กระบวนการการยุติธรรม เยียวยาฯ
๒. การเพิ่มการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐโดยประชาชน เพื่อให้เกิด
ความสุจริตและโปร่งใสในระบอบการเมือง
๓.การทาให้ระบบการเมืองมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพ
รัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐ มีผลกระทบที่สาคัญต่อพัฒนนาการสิทธิมนุยชน
ในประเทศไทย หลายประการ
- บทบัญญัติเรื่องสิทธิฯต่างๆ
- นาไปสู่ก.ม.ภายในด้านการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและการเยียวยา
- การจัดตั้งองคกรคุ้มครองสิทธิฯและการตรวจสอบรัฐบาลฯ
สิทธิ เสรีภาพของปวงชนชาวไทย
หมวด ๓ มาตรา ๒๕-๔๙
หน้าที่ของปวงชนชาวไทย
หมวด ๔ มาตรา ๕๐ (๑๐ ประการ)
สิทธิมนุษยชน ของประชาชนไทย
หมวด ๑ บททั่วไป มาตรา ๔
พรบ.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
มาตรา ๓
สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
ทบทวนความรู้ ความเข้าใจ
• หน้าที่ เป็นกิจ หรือสิ่งที่บุคคลต้องปฏิบัติ ถ้าไม่ปฏิบัติ มีความผิดและมีโทษ อาจแบ่งเป็นหน้าที่
ทางศีลธรรม และหน้าที่ตามก.ม. ปกติหน้าที่ตามก.ม.จะสอดคล้องกับหน้าที่ทางศีลธรรม
• รัฐเองก็มีหน้าที่ด้วย ได้แก่ ด้านความมั่นคง การรักษาความปลอดภัย การบริการสาธารณะ /
การพัฒนนา รวมทั้งหน้าที่ในด้านสิทธิมนุษยชน คือ การเคารพสิทธิของปชช.(respect) การ
ปกป้อง(protect) และการเติมเต็ม(fulfil)
• ในขณะที่ “สิทธิ” เป็นประโยชน อานาจ หรือความสามารถของบุคคลที่รัฐรับรองให้ และทาให้
ผู้อื่นรวมทั้งรัฐมีหน้าที่ ต้องเคารพสิทธิของผู้ทรงสิทธิ และเมื่อรัฐให้สิทธิแก่ประชาชน ยังมี
หน้าที่เฉพาะเจาะจงที่ทาให้บุคคลเข้าถึงสิทธินั้นโดยสะดวก (เช่น ๓๐ บาทรักษาทุกโรค การ
เรียนฟรี) ในขณะที่รัฐมีมีหน้าที่เจาะจงในเรื่องเสรีภาพ แต่ต้องไม่ขัดขวาง
สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ สิทธิมนุษยชน คืออะไร มีความเกี่ยวข้องสัมพันธกันอย่างไร
ทบทวนความรู้ ความเข้าใจ
• เสรีภาพ เป็นความอิสระที่จะทาอะไรหรือไม่ทา ไม่อยู่ใต้การบงการของใคร แต่ต้องไม่
ละเมิดสิทธิฯผู้อื่น ไม่ละเมิดก.ม.
• สิทธิมนุษยชนไทย กับ สิทธิมนุษยชนสากล สัมพันธกันอย่างไร มีข้อแตกต่างกันอย่างไร
อะไรเป็นสาเหตุที่สาคัญ สิทธิมนุษยชนไทย จะรู้ได้อย่างไร ดูจากที่ไหน และสิทธิมนุษยชน
สากล มีอะไรบ้าง ดูที่ไหน
• สิทธิมนุษยชนเป็นสิทธิที่ติดตัวมนุษยมาตั้งแต่เกิด พรากไม่ได้ ถ่ายโอนไม่ได้ เป็นสากล ไม่
ขึ้นกับก.ม.ของรัฐใด ส่วนสิทธิมนุษยชนของรัฐใด ปกติต้องสอดคล้องกับหลักสากล
เนื่องจากเป็นสมาชิกUN แต่ในทางปฎิบัติปัจจัยสภาพแวดล้อมทางด้านการเมือง การ
ปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนนธรรมฯส่งผลต่อสถานการณสิทธิมนุษยชนของรัฐนั้นๆ เช่น
ประเทศเสรีประชาธิปไตย ประเทศสังคมนิยม ประเทศที่ยังมีการปกครองไม่เป็น
ประชาธิปไตยมากนัก ประเทศที่ประชาชนนับถือศาสนาอิสลาม(ที่ใช้ก.ม.ชีอะห)
บันไดของการป้องกัน เฝ้าระวัง คุ้มครองสิทธิฯ
+ ให้ประชาชน จนท.รัฐ รู้/ตระหนักเรื่องสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน
เคารพสิทธิฯ ผู้อื่น เคารพ ก.ม.
+ เมื่อพบการละเมิดสิทธิฯ แจ้งหน่วยงานฯทราบเพื่อคุ้มครองสิทธิฯ
+ เข้าไปช่วยเหลือผู้อื่น ชุมชน ในการป้องกัน คุ้มครองสิทธิฯ
ประเทศไทย เป็นสังคมที่เคารพสิทธิ สมานฉันท น่าอยู่
+
- ชอบอ้างสิทธิ เอาประโยชนส่วนตน ไม่เคารพสิทธิผู้อื่น และประโยชนส่วนรวม
ชอบเลี่ยง/ละเมิดก.ม.เมื่อมีโอกาส
สังคมไทยยัง
มีลักษณะนี้
อยู่มาก
ช่วยเปลี่ยนสังคมไทย
เป็นสังคมตระหนักรู้
เรื่องสิทธิฯ ไม่ละเมิด
สิทธิฯไม่ละเมิดก.ม.
สรุปสาระสาคัญของหลักสิทธิมนุษยชนสากล
ศักดิ์ศรี
ความเป็นมนุษย
ความเสมอภาค
เท่าเทียม ไม่เลือกปฎิบัติ ความมีสิทธิ เข้าถึงสิทธิประเภทต่างๆ
เกิดมาเป็นคน ไม่ว่าจะเป็นคน
เชื้อชาติใด มีสัญชาติหรือไม่
นับถือศาสนาใด มีความเชื่อการเมืองใด
ยากดีมีจน สูงต่าดาขาว
เรียนมาก เรียนน้อย
ล้วนมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย
แม้คนเราจะแตกต่างทางร่างกาย สติปัญญา
ฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองฯ
แต่ต้องมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน
เว้นแต่กลุ่มผู้ด้อยโอกาส อาจได้รับการสนับสนุน
มากกว่า จนกว่ามีความใกล้เคียงกัน
ตั้งแต่อยู่ในครรภมารดา จนเสียชีวิต
ต้องเข้าถึง ได้รับ และปกป้อง
คุ้มครองสิทธิ ทั้งสิทธิพลเมือง
(ร่างกาย ชีวิต ทรัพยสินฯ) สิทธิ
การเมือง สิทธิทางสังคม (การศึกษา
สาธารณสุข) เศรษฐกิจ วัฒนนธรรมฯ
เสรีภาพ
สิทธิ
หน้าที่
สิทธิมนุษยชน
ยกระดับขึ้น
เป็นสิทธิ
ปฎิบัติตามก.มฯ
อิสระที่จะทา หรือ ไม่ทาอะไร แต่
ต้องไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น/ก.ม.
ประโยชน อานาจของ
บุคคล ที่รัฐรับรองให้
ความหมาย และความสัมพันธระหว่าง สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
สิทธิธรรมชาติติดตัวคนมาตั้งแต่เกิด ข้ามพรหมแดนฯ
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย เสมอภาค เข้าถึงสิทธิต่างๆ
ไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น
รัฐดูแลให้ปชช.เข้าถึงสิทธิ
ไม่ละเมิดสิทธิ และเยียวยา
เมื่อถูกละเมิดฯ
รัฐดูแลปชช.ใช้เสรีภาพ
โดยไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น
ไม่ละเมิดก.ม.
ปชช.ทาหน้าที่ด้วยความเต็มใจ
๒. สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ และสิทธิมนุษยชน สัมพันธ์กันอย่างไร มีสภาพคงที่หรือไม่
สิทธิกับหน้าที่ เป็นของคู่กัน เมื่อบุคคลมีสิทธิ บุคคลอื่นมีหน้าที่ต้องเคารพสิทธิของผู้ทรงสิทธิ
สิทธิ กับเสรีภาพ เป็น “สิ่ง” ที่ประชาชนในประเทศเสรีประชาธิปไตย ต้องมี
และมีความสัมพันธกัน โดยรัฐอาจยกเสรีภาพให้เป็นสิทธิฯ หรือ สิทธิในเสรีภาพ
รัฐมีหน้าที่จาเพาะเจาะจงเมื่อกาหนดสิทธิของประชาชนขึ้น ต้องเตรียม ก.ม.องคกร ทรัพยากร
การจัดการฯ ให้ประชาชนเข้าถึงสิทธิ ขณะที่รัฐมีหน้าที่ให้ประชาชนใช้เสรีภาพโดยไม่แทรกแซง
สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ เปลี่ยนแปลงได้ ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ปัจจัยการเมือง การปกครอง
ก.ม. เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี่ ความสัมพันธระหว่างประเทศฯ ของรัฐ
๓.สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ของประชาชนคนไทย และคนที่อยู่ในประเทศไทย ดูจากอะไร ที่ไหน
ดูจาก ก.ม.ภายใน (รัฐธรรมนูญ ก.ม.ลาดับรอง นโยบายรัฐบาล) และจารีตประเพณี (กรณีที่ดิน
ชาวเล)
สิทธิ เสรีภาพของผู้สัญชาติไทย มีขอบเขตกว้างกว่า ผู้ที่อยู่ในประเทศไทย เช่น แรงงานต่างด้าว
ผู้ไร้สัญชาติฯ
ดูจากข้อตกลง สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนฯ ที่ไทยมีพันธกรณี ( เช่น สิทธิเด็ก
เป็นสากล)
สิทธิมนุษยชน มีขอบเขตกว้างกว่าสิทธิพลเมือง(คนที่เป็นพลเมือง ถือสัญชาติรัฐนั้น)
สิทธิพลเมือง
สิทธิเศรษฐกิจ สิทธิทางสังคม
สิทธิทางวัฒนนธรรม
สิทธิทางการเมือง
สิทธิมนุษยชน
เสรีภาพ
สิทธิ
หน้าที่
สิทธิมนุษยชน
ยกระดับขึ้น
เป็นสิทธิ
ปฎิบัติตามก.มฯ
อิสระที่จะทา หรือ ไม่ทาอะไร
แต่ต้องไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น/ก.ม.
ประโยชน อานาจของ
บุคคล ที่รัฐรับรองให้
ความหมาย และความสัมพันธระหว่าง สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
สิทธิธรรมชาติติดตัวคนมาตั้งแต่เกิด ข้ามพรหมแดนฯ
ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย เสมอภาค เข้าถึงสิทธิต่างๆ
ไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น
รัฐดูแลให้ปชช.เข้าถึงสิทธิ
ไม่ละเมิดสิทธิ และเยียวยา
เมื่อถูกละเมิดฯ
รัฐดูแลปชช.ใช้เสรีภาพ
โดยไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น
ไม่ละเมิดก.ม.
ปชช.ทาหน้าที่ด้วยความเต็มใจ
หลักสิทธิมนุษยชนสากล ดูจากอะไร ที่ไหน
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ๙ ฉบับ
สนธิสัญญาอื่นๆ เช่น ILO 87,ILO 98
หลักจารีตประเพณีระหว่างประเทศ
ข้อตกลงฯและอนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ
คาปรารถของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ...ที่รับรองและประกาศโดยข้อมติสมัชชา
สหประชาชาติ ที่ ๒๒๗ เอ /// เมื่อ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๑ กล่าวถึง หลักนิติธรรม (Rule
of Law) ไว้ด้วยว่า
…….เป็นความจาเป็นที่ หลักสิทธิมนุษยชน ควรได้รับความคุ้มครองโดย
หลักนิติธรรม ถ้าไม่ประสงค์ให้มนุษย์ต้องถูกบีบบังคับให้หาทางออกเป็นที่
พึ่งสุดท้าย ด้วยการก่อความไม่สงบ เพื่อต่อต้านทรราชย์และการกดขี่…...
“....กฎหมายทั้งปวงนั้น เราบัญญัติขึ้นเพื่อใช้เป็นปัจจัยสาหรับรักษาความยุติธรรม
กล่าวโดยสรุปก็คือ ใช้เป็นแบบแผนแห่งความประพฤติปฏิบัติของมหาชนสถานหนึ่ง
กับใช้เป็นแม่บทในการพิจารณาตัดสินความประพฤติปฏิบัตินั้นๆ ให้เป็นไปอย่าง
ถูกต้องเที่ยงตรงอีกสถานหนึ่ง
โดยที่กฎหมายเป็นแค่เครื่องมือในการรักษาความยุติธรรมดังกล่าว จึงไม่ควรที่จะ
ถือว่ามีความสาคัญยิ่งไปกว่าความยุติธรรม หากควรจะต้องถือว่าความยุติธรรมมาก่อน
กฎหมายและอยู่เหนือกฎหมาย การพิจารณาพิพากษาอรรถคดีใดๆ โดยคานึงถึงแต่
ความถูกผิดตามกฎหมายเท่านั้น ดูจะไม่เป็นการเพียงพอ จาต้องคานึงถึงความ
ยุติธรรมซึ่งเป็นจุดประสงคด้วยเสมอ
พระบรมราโชวาทรัชกาลที่ ๙ ในพิธีพระราชทานประกาศนียบัตรแก่ผู้สอบไล่ได้ตามหลักสูตรของสานัก
อบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ณ เนติบัณฑิตสภา เมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๕
ความหมาย ความสัมพันธ์ของ สิทธิมนุษยชน นิติธรรม ความยุติธรรม
สิทธิมนุษยชน (สากล กับไทย) นิติธรรม ความยุติธรรม
-ความถูกต้องตามศีลธรรม
บนพื้นฐานของจริยธรรม
ความสมเหตุสมผล ก.ม.,
ก.ม.ธรรมชาติ, ศาสนา,
ความเที่ยงธรรม
(equity) และความเป็น
ธรรม (fairness)
ตลอดจนการบังคับใช้ก.ม.
-การปกครองที่ดีนั้นควรต้องให้ก.ม.อยู่สูงสุด
(supremacy of law) และทุกๆ คนต้องมี
สถานะที่เสมอภาค และเท่าเทียมกันภายใต้ก.ม.
-สิทธิธรรมชาติ ติดตัวมาแต่เกิด
-ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย
-ความเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ
-การเข้าถึงมี/สิทธิ ไม่อาจพรากไปได้
-แบ่งแยกไม่ได้ สัมพันธกัน
-สากลข้ามพรมแดน ไม่ขึ้นกับรัฐ
ใดๆ
-ไม่ผูกกับก.ม.บ้านเมือง เพราะไปผูก
กับความเป็นมนุษยแล้ว*
(สิทธิพื้นฐานขั้นต่าของมนุษยทุกคน)
-การปกครอง/บริหาร” ยึดก.ม.เป็นหลัก” ทั้ง
การออกก.ม.- เนื้อหาก.ม.- และการใช้ก.ม.
ต้องถูกต้อง เป็นธรรม เพื่อประโยชนของคน
ส่วนใหญ่ และมีการควบคุมการใช้ก.ม.อย่าง
เหมาะสม(นักวิชาการ NGOs นักกิจกรรม โต้มาก)
๑
-หลักนิติธรรม เกิด พัฒนนาในอังกฤษ (ใช้ระบบก.ม.
จารีตประเพณี) ส่วนหลักนิติรัฐ เกิด พัฒนนาในยุโรป
แผ่นดินใหญ่ (ใช้ระบบก.ม.ลายลักษณอักษร) ทั้งสอง
หลัก ต่างเน้น”การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพประชาชน”
หลักสิทธิมนุษยชนของไทย
มีขอบเขตแค่ไหน
ความหมาย ความสัมพันธ์ของ สิทธิมนุษยชน นิติธรรม ความยุติธรรม
สิทธิมนุษยชน นิติธรรม ความยุติธรรม
ความถูกต้องตามศีลธรรมบน
พื้นฐานของจริยธรรม ความ
สมเหตุสมผล ก.ม. ก.ม.
ธรรมชาติ ศาสนา ความเที่ยง
ธรรม (equity) และความเป็น
ธรรม (fairness) ตลอดจน
การบังคับใช้ก.ม.
- ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย
- สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของ
บุคคลที่ได้ที่ได้รับการรับรอง หรือ
คุ้มครอง
- ตามรัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย
- ตามกฎหมายไทย
- ตามสนธิสัญญาที่ประเทศ
ไทยมีสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมี
พันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตาม
(พรบ.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 3)
ข้อเรียกร้องทางศีลธรรมบาง
อย่าง ใช้เป็นเกณฑวัดการ
กระทาอันใดอันหนึ่งว่าถูก
หรือไม่ถูก มันเป็นข้อกาหนด
ในทางศีลธรรม
องคประกอบของหลักนิติธรรม :
มีกระบวนการออกก.ม. มีเนื้อหาของก.ม.ที่
ถูกต้อง เป็นธรรมเพื่อประโยชนของคนส่วนใหญ่
, ก.ม.ใช้บังคับทั่วไป, ต้องแจ้งให้ประชาชนทราบ
อย่างเปิดเผย,ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ,ห้าม
ยกเว้นความรับผิดของการกระทาในอนาคต, มีผู้
พิพากษาที่เป็นอิสระ เป็นกลาง
หลักนิติธรรม หรือหลักการบริหารโดยยึดก.ม.
เป็นหลัก ไม่ขึ้นอยู่กับตัวบุคคลผู้ปกครอง เป็น
หลัก เป็นหลักที่ควบคู่กับหลักนิติรัฐ (รัฐที่ยึดก.ม.
เป็นหลัก รัฐยอมลดอานาจมาปฏิบัติตามก.ม. ไม่
ทาอะไรที่ก.ม.ไม่ให้อานาจ) และ หลักดาเนินการ
ตามกระบวนการขั้นตอนที่ถูกต้องตามก.ม.
(Due process of law ของอเมริกา)
ความหมาย ความสัมพันธ์ของสิทธิมนุษยชน นิติธรรม ความยุติธรรม
สิทธิมนุษยชน นิติธรรม ความยุติธรรม
ความถูกต้องตามศีลธรรม
บนพื้นฐานของจริยธรรม
ความสมเหตุสมผล ก.ม.
ก.ม.ธรรมชาติ* ศาสนา
ความเที่ยงธรรม (equity)
และความเป็นธรรม
(fairness) ตลอดจนการ
บังคับใช้ก.ม.
การปกครองที่ดีนั้นควรต้องให้ก.ม.
อยู่สูงสุด (supremacy of law) และ
ทุกๆ คนต้องมีสถานะที่เสมอ
ภาค และเท่าเทียมกันภายใต้ก.ม.
-ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย เป็นสิทธิธรรมชาติ
ติดตัวมาแต่เกิด เป็นสากลข้ามพรหมแดน
“ความเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ”*
-การเข้าถึง/มีสิทธิ ไม่อาจพรากไปได้ แบ่งแยก
ไม่ได้ สัมพันธเชื่อมโยงกัน มีส่วนร่วม เป็นส่วน
หนึ่งของสิทธิ ตรวจสอบได้ ใช้หลักนิติธรรม
- (สิทธิพื้นฐานขั้นต่าของมนุษยทุกคน)
การปกครอง/บริหาร ยึดก.ม.เป็นหลัก
๑).การออกก.ม.๒).เนื้อหาก.ม. ๓).การ
ใช้ก.ม.ต้องถูกต้อง เป็นธรรม เพื่อ
ประโยชนของคนส่วนใหญ่ และมีการ
ควบคุมการใช้ก.ม.อย่างเหมาะสม*
๑
- ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย
- สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับ
การรับรอง หรือคุ้มครอง
- ตามรัฐธรรมนูญฯไทย
- ตามกฎหมายไทย
- ตามสนธิสัญญาที่ไทยมีพันธกรณีที่ต้องปฏิบัติ
(พรบ.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน พศ.๒๕๔๒ ม.๓)
หลักนิติธรรม บรรจุในรัฐธรรมนูญฯ
พ.ศ.๒๕๕๐ เป็นครั้งแรก ( ใน ม.๓ ว.๒ ,
ม.๗๘)
ความสัมพันธของทั้งสาม
หลัก คือ เสมอภาค
ไม่เลือกปฏิบัติ
ใช้หลักนิติธรรม
มิสซิส อิลลินอร์ รูสเวลล์ ภรรยาของประธานาธิบดี แฟรงคลิน ดี รูสเวลล์ แห่งสหรัฐอเมริกา
ผู้มีบทบาทสาคัญในการยกร่างปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ (๓๐ ข้อ)
สรุปสาระสาคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ (สากล ไร้พรมแดนฯ)
๑. ทุกคนมีศักดิ์ศรี สิทธิ และเสรีภาพเท่าเทียมกัน และต้องปฏิบัติต่อกันฉันพี่น้อง
๒. ทุกคนมีสิทธิ และเสรีภาพ อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติ
๓. ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิตอยู่ และมีความมั่นคง
๔. ห้ามบังคับคนให้เป็นทาส และห้ามค้าทาสทุกรูปแบบ (ค้ามนุษย)
.๕. ห้ามการทรมาน หรือการลงโทษทารุณโหดร้ายผิดมนุษย
๖. สิทธิในการได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลตามกฎหมาย
๗. สิทธิในการได้รับความคุ้มครองตามก.ม.อย่างเท่าเทียมกัน
๘. สิทธิในการได้รับการเยียวยาจากศาล
๙. ห้ามการจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ
๑๐. สิทธิในการได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมและเปิดเผย
๔๙
๑๑. สิทธิในการได้รับการสันนิษฐานว่าบริสุทธิ์ก่อนศาลตัดสิน และต้องมีก.ม.กาหนดว่าการ
กระทานั้นเป็นความผิด
๑๒. ห้ามรบกวนความเป็นอยู่ส่วนตัว ครอบครัว เคหสถาน การติดต่อสื่อสาร รวมทั้งห้าม
ทาลายชื่อเสียง และเกียรติยศ
๑๓. เสรีภาพในการเดินทางและเลือกถิ่นที่อยู่ในประเทศ รวมทั้งการออกนอกประเทศหรือ
กลับเข้าประเทศโดยเสรี
๑๔. สิทธิในการลี้ภัยไปประเทศอื่นเพื่อให้พ้นจากการถูกประหัตประหาร
๑๕. สิทธิในการได้รับสัญชาติ และการเปลี่ยนสัญชาติ
๑๖. สิทธิในการเลือกคู่ครอง และสร้างครอบครัว
๑๗. สิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพยสิน
๑๘. เสรีภาพในความคิด มโนธรรม ความเชื่อ หรือการถือศาสนา
๑๙. เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและแสดงออก รวมทั้งการได้รับข้อมูลข่าวสาร
๒๐.สิทธิในการชุมนุมโดยสงบและรวมกลุ่ม และห้ามบังคับเป็นสมาชิกสมาคม
๕๐
๒๑. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในรัฐบาลทั้งทางตรง และโดยผ่านผู้แทน อย่างอิสระ และมีสิทธิเข้าถึง
บริการสาธารณะโดยเท่าเทียมกัน
๒๒.สิทธิในการได้รับความมั่นคงทางสังคม และได้รับสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนนธรรม
โดยการกาหนดระเบียบและทรัพยากรของประเทศตนเอง
๒๓. สิทธิในการมีงานทาตามที่ต้องการ และได้รับการประกันการว่างงาน รวมทั้งได้รับ
ค่าตอบแทนเท่ากัน สาหรับงานอย่างเดียวกัน และรายได้ต้องพอแก่การดารงชีพสาหรับตนเอง
และครอบครัว ตลอดจนมีสิทธิก่อตั้ง และเข้าร่วมสหภาพแรงงาน
๒๔. สิทธิในการพักผ่อนและมีเวลาพักจากการทางาน
๒๕. สิทธิในการได้รับมาตรฐานการครองชีพอย่างเพียงพอ ได้รับปัจจัยสี่ สวัสดิการสังคม
ประกันการว่างงาน เจ็บป่วย เป็นหม้าย ผู้สูงอายุ ตลอดจนต้องคุ้มครองแม่และเด็กเป็นพิเศษ
๒๖. สิทธิในการได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน
๒๗. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในวัฒนนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน และได้รับการคุ้มครองทรัพยสิน
ทางปัญญา
๕๑
สาระสาคัญของ
ปฏิญญาสากลฯ
สรุปสาระสาคัญของหลักสิทธิมนุษยชนสากล
ศักดิ์ศรี
ความเป็นมนุษย
ความเสมอภาค
เท่าเทียม ไม่เลือกปฎิบัติ ความมีสิทธิ เข้าถึง
สิทธิประเภทต่างๆ
เกิดมาเป็นคน ไม่ว่าจะเป็นคน
เชื้อชาติใด มีสัญชาติหรือไม่
นับถือศาสนาใด มีความเชื่อการเมืองใด
ยากดีมีจน สูงต่าดาขาว
เรียนมาก เรียนน้อย
ล้วนมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย
แม้คนเราจะแตกต่างทางร่างกาย สติปัญญา
ฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองฯ
แต่ต้องมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน
เว้นแต่กลุ่มผู้ด้อยโอกาส อาจได้รับการสนับสนุน
มากกว่า จนกว่ามีความใกล้เคียงกัน
ตั้งแต่อยู่ในครรภมารดา จนเสียชีวิต
ต้องเข้าถึง ได้รับ และปกป้อง
คุ้มครองสิทธิ ทั้งสิทธิพลเมือง
(ร่างกาย ชีวิต ทรัพยสินฯ) สิทธิ
การเมือง สิทธิทางสังคม (การศึกษา
สาธารณสุข) เศรษฐกิจ วัฒนนธรรมฯ
๔. สิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชนของไทย (คนไทย และคนที่อยู่ในประเทศไทย)
เหมือนและแตกต่างกับ สิทธิมนุษยชนสากล อย่างไร
ในส่วน สิทธิ เสรีภาพของผู้สัญชาติไทย มีขอบเขตกว้างกว่า ผู้ที่อยู่ในประเทศไทย
เช่น แรงงานต่างด้าว ผู้ไร้สัญชาติฯ
ไทยนาเอาหลักสิทธิมนุษชนสากล มาบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ และก.ม.ภายในหลายฉบับ
สิทธิมนุษยชนไทย มีขอบเขตแคบกว่า เพราะไทยยังไม่เป็นภาคีอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนบางฉบับ
สิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชนของประชาชนที่รัฐกาหนดไว้ เหมือนกัน และต่างกันกับ
สิทธิมนุษยชนตามหลักสากลอย่างไร
กฎบัตร UN มีวัตถุประสงค
๑ ใน ๔ ข้อเป็นเรื่องสิทธิมนุษยชน
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
อนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนฯ ๙ ฉบับ
สนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนอื่น
เช่น ผู้ลี้ภัย แรงงานฯ
จารีตประเพณีระหว่างประเทศ
สิทธิเสรีภาพ สิทธิมนุษยชน
ของประชาชน
ในประเทศไทย เป็นไปตามที่
รัฐธรรมนูญฯ, ก.ม.ภายใน และ
วัฒนนธรรมฯ
สิทธิมนุษยชนสากล (UN)
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน

More Related Content

What's hot

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิวPadvee Academy
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือrungnapa4523
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศแวมไพร์ แวมไพร์
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณPadvee Academy
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาMontree Dangreung
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...Earn Supeerapat
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันEyezz Alazy
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกChanapa Youngmang
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการkrupeem
 
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธาบทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธาน้อง มัดไหม
 

What's hot (20)

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ศาสนายิว
ศาสนายิวศาสนายิว
ศาสนายิว
 
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศหน่วยการเรียนรู้ที่  7  ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2 ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
ทวีปยุโรป สังคมศึกษา ม.2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษาResume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
Resume ประวัติส่วนตัวสมัคร ครูเอกพลศึกษา
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
PowerPoint ประกอบการศึกษาเรื่องภูมิศาสตร์ประเทศไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเ...
 
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวันกฎหมายในชีวิตประจำวัน
กฎหมายในชีวิตประจำวัน
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
มงคล38
มงคล38มงคล38
มงคล38
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
 
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธาบทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
บทละครพูด เรื่อง มัทนะพาธา
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 

Similar to หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน

หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
การถ่ายรูป
การถ่ายรูปการถ่ายรูป
การถ่ายรูปTorTor Peerachai
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายthnaporn999
 
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
 การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชนssuserd18196
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนiearn4234
 
สิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาลสิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาลluckana9
 
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชนหลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชนพัน พัน
 
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา  สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา ssuserd18196
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]Sansanee Tooksoon
 
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายการพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายSomprasong friend Ka Nuamboonlue
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4AJ Por
 
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา ssuserd18196
 

Similar to หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน (20)

หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนUpdate กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
Update กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน
 
การถ่ายรูป
การถ่ายรูปการถ่ายรูป
การถ่ายรูป
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
เกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมายเกี่ยวกับกฏหมาย
เกี่ยวกับกฏหมาย
 
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
 การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
การวิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็นสิทธิมนุษยชน
 
สตรี
สตรีสตรี
สตรี
 
Human2.1 1
Human2.1 1Human2.1 1
Human2.1 1
 
สิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชนสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน
 
สิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาลสิทธิมนุษ พยาบาล
สิทธิมนุษ พยาบาล
 
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชนหลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
 
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา  สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
 
Human2.1
Human2.1Human2.1
Human2.1
 
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
หน่วยที่ ๓ ความเป็นพลเมืองดี [Autosaved]
 
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมายการพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
การพัฒนามนุษย์และสังคมเพื่อความเป็นไท ความหมาย
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ครั้งที่ 4
 
Medical Law
Medical LawMedical Law
Medical Law
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
กระบวนการยุติธรรมทางอาญา
 

More from ssuserd18196

เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง  เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง ssuserd18196
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง ssuserd18196
 
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2565)
 แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4  (พ.ศ. 2562-2565) แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4  (พ.ศ. 2562-2565)
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2565)ssuserd18196
 
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพLandmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพssuserd18196
 
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากลพัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากลssuserd18196
 
หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน ssuserd18196
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็กssuserd18196
 
เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน ssuserd18196
 
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรมssuserd18196
 

More from ssuserd18196 (9)

เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง  เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
 
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
เทคนิควิธีการเป็นวิทยากรมือทอง
 
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2565)
 แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4  (พ.ศ. 2562-2565) แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4  (พ.ศ. 2562-2565)
แผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2562-2565)
 
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพLandmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
Landmark กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ
 
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากลพัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
 
หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน หลักการสิทธิมนุษยชน
หลักการสิทธิมนุษยชน
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็ก
 
เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน เขตสิทธิมนุษยชน
เขตสิทธิมนุษยชน
 
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
ช่องทางการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมและความยุติธรรม
 

หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน

  • 1. หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน สาหรับเจ้าหน้าที่รัฐ โดย นายพิทยา จินาวัฒนน ที่ปรึกษาประจาคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ อดีตรองปลัดกระทรวงยุติธรรม และอธิบดีกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ อดีตที่ปรึกษาการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด และรองเลขาธิการปปส.
  • 3. ๓.สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ของคนไทย และคนที่อยู่ในประเทศไทย ดูจากอะไร แตกต่างกันหรือไม่ ๔.สิทธิมนุษยชนของประเทศต่างๆ ทาไมจึงแตกต่างกัน ทั้งที่ใช้หลักสากลจากUN ด้วยกัน ๒. สิทธิมนุษยชนสากล และสิทธิมนุษยชนของไทย สัมพันธกันอย่างไร ข้อใดมีขอบเขตกว้างกว่า ๑. สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ และสิทธิมนุษยชน คืออะไร สัมพันธกันอย่างไร คงที่ตลอดไปหรือไม่ หัวข้อในการอบรมสัมนา
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 10. กิจกรรม ทบทวนความเข้าใจในเรื่องสิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ และสิทธิมนุษยชน ๒.สิทธิคืออะไร ๓.เสรีภาพคืออะไร ๑.หน้าที่คืออะไร ๖.สิทธิเสรีภาพของประชาชนในประเทศไทย เหมือนและแตกต่างกับ สิทธิมนุษยชนในหลักสากลอย่างไร ๔.สิทธิมนุษยชนคืออะไร ๕.สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ เหล่านี้ เรารู้อย่างไรว่า เป็นของประชาชนคนไทยในปัจจุบัน ดูจากไหน
  • 11. ๓.ครูขับรถสองแถวรับส่ง นร.เพื่อหารายได้พิเศษ ๑๓.เกณฑทหาร ๒.การชุมนุมโดยสงบ ๑๑.การตั้งพรรคการเมือง. ๑๐.การแสดงความคิดเห็น ๒๒.การประกอบอาชีพ ๒๓.การนับถือศาสนา ๔.การสื่อสารของบุคคล ๑๖.ในทรัพยสิน มรดก การเวนคืน ๙.การรักษาพยาบาล ๓๐ บาทรักษาทุกโรค ๑๕.น.รได้อาหารกลางวันฟรี ๑๘.น.ร.เรียนฟรี ๑๒ ปี ๑,ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ๖.เสียภาษีอากร ๕.ป้องกันประเทศ ๑๔.มีสิทธิและเสรีภาพ อย่างเท่า เทียมกัน โดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติ ๑๒.ห้ามการจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ ๑๗.ได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลตามก.ม. ๗.มีศักดิ์ศรี สิทธิ และเสรีภาพ เท่าเทียมกัน ๑๙.ได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียม ๒๔.ได้รับมาตรฐานการ ครองชีพอย่างเพียงพอ ๘.การลี้ภัยไปประเทศอื่นเพื่อให้ พ้นจากการถูกประหัตประหาร ๒๑.การมีชีวิตอยู่ และมีความมั่นคง ๒๐.นร.มารร.โดยเดินมา ขี่ จักรยานมา นั่งรถยนตมา
  • 12. ๒๕.การชุมนุมโดยสงบ ๒๘.ในกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา ๓๑.การได้รับการเยียวยา ๒๗.การเดินทาง เลือกที่อยู่ ๒๙.เข้าศึกษาภาคบังคับ ๙ ปี ๓๐.การไว้ผมรองทรงของนร.ชาย ๒๖.การพักผ่อนและมี เวลาพักจากการทางาน ๓๒. ห้ามนร.ชายไว้หนวดไว้เครามารร. ๓๓.ห้ามการทรมาน หรือ การลงโทษทารุณ ๓๔.ห้ามบังคับคนให้เป็นทาส และห้ามค้าทาสทุกรูปแบบ ๓๖,สิทธิของเด็ก สตรี คนชรา ผู้พิการ แรงงาน ๓๗.สิทธิในส่วนตัว ชื่อเสียง ๓๘. รวมเป็นสมาคม สหภาพ ๓๙. การเข้าถึงข้อมูล ร้องเรียน ฟ้องหน่วยงานรัฐฯ ๔๐. ความเสมอภาค ไม่เลือกปฎิบัติ ๔๑. ไม่ทุจริต ๔๓.ไม่ละเมิดสิทธิ เสรีภาพของผู้อื่น ๔๒.อนุรักษสิ่งแวดล้อม และวัฒนนธรรม ๔๔.ปฏิบัติตามก.ม. ๔๕.เลี้ยงดูบุตรธิดา ๔๖.ดูแลพ่อแม่ที่แก่เฒน่า
  • 13. ๑.สิทธิคืออะไร ๒.เสรีภาพคืออะไร ๑๑.การตั้งพรรคการเมือง. ๑๐.การแสดงความคิดเห็น ๑๔. มีสิทธิ เสรีภาพอย่างเท่า เทียมกัน ไม่ถูกเลือกปฏิบัติ ๑๒.ห้ามการจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ ๑๗.ได้รับการยอมรับ ว่าเป็นบุคคลตามก.ม. ๑๓.เกณฑทหาร ๒๕.การชุมนุมโดยสงบ ๕.ป้องกันประเทศ ๖.เสียภาษีอากร ๑,ไปใช้สิทธิเลือกตั้ง ๑๘.น.ร.เรียนฟรี ๑๒ ปี ๗.มีศักดิ์ศรี สิทธิ และ เสรีภาพเท่าเทียมกัน ๒๒.การประกอบอาชีพ ๒๓.การนับถือศาสนา ๒๙.เข้าศึกษาภาค บังคับ ๙ ปี ๑๖.ทรัพยสิน มรดก เวนคืน ๓๗.รวมเป็นสมาคม สหภาพ ๓๖.สิทธิของเด็ก สตรี คนชรา ผู้พิการ แรงงาน ๙. ๓๐ บาทรักษาทุกโรค สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ ที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ สิทธิมนุษยชนในข้อตกลง,ก.ม.ระหว่างประเทศ หน้าที่คืออะไร ๔.สิทธิมนุษยชนคืออะไร
  • 14. ๑.สิทธิคืออะไร ๒.เสรีภาพคืออะไร ๒๔.ได้รับมาตรฐานการ ครองชีพอย่างเพียงพอ ๓๓.ห้ามการทรมาน หรือการลงโทษทารุณ ๒๑.การมีชีวิตอยู่ และ มั่นคง ๓.ครูขับรถฯรับส่งนร. หารายได้พิเศษ ๒๐.นร.มารร.โดยเดินมา ขี่ จักรยานมา นั่งรถยนตมา ๓๗.สิทธิในส่วนตัว ชื่อเสียง ๔๑.ไม่ทุจริต ๔๔.ปฏิบัติตามก.ม. สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ ที่กาหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ สิทธิมนุษยชนในข้อตกลง,ก.ม.ระหว่างประเทศ ๔.สิทธิมนุษยชนคืออะไร หน้าที่คืออะไร ๔๕.เลี้ยงดูบุตรธิดา ๔๖.ดูแลพ่อแม่ที่ แก่เฒน่า นายตารวจขายอาหารค่า หลังเสร็จภารกิจทุกวัน สารวัตรทหารไปเป็นรปภ. ไนทคลับตอนดึก
  • 15. สิทธิเสรีภาพของบุคคล (รัฐธรรมนูญฯปี๖๐ ม.๒๕-ม.๔๙) สิทธิของมารดาก่อน/หลังคลอด, ผู้ชรา,ผู้ยากไร้ ใช้สิทธิล้มการปกครองไม่ได้ สิทธิสาธารณสุข สิทธิของผู้บริโภค สิทธิในการตั้งพรรคการเมือง. เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ สิทธิบุคคลและชุมชน ศิลป สวล.เสนอ หน่วยงาน สวัสดิการชุมชน เสรีภาพรวมเป็นสมาคม สหภาพฯ สิทธิบุคคล ชุมชนเข้าถึงข้อมูล ร้องเรียน ฟ้องหน่วยงานรัฐฯ เสรีภาพประกอบอาชีพ เนรเทศ ห้ามเข้าประเทศ ถอนสัญชาติไทย (ที่ได้มาโดยการเกิด)ไม่ได้ เสรีภาพเดินทาง เลือกที่อยู่ สิทธิในทรัพยสิน มรดก การเวนคืน เสรีภาพบุคคลในการสื่อสาร เสรีภาพสื่อฯ เสรีภาพในการแสดง ความคิดเห็น เสรีภาพในเคหสถาน สิทธิส่วนตัว ชื่อเสียง เสรีภาพในการนับถือศาสนา เกณฑแรงงานทาไม่ได้ สิทธิเสรีภาพในชีวิต ร่างกาย สิทธิกระบวนการยธ.อาญา ความเสมอภาค สิทธิได้รับการเยียวยา
  • 16. ๑.สิทธิคืออะไร ๒.เสรีภาพคืออะไร ๓.หน้าที่คืออะไร -ประโยชน อานาจ ความสามารถของ บุคคล ที่รัฐรับรอง คุ้มครองให้ มีก.ม. นโยบายฯ รองรับ -อิสรภาพ ที่จะทา/ ไม่ทาอะไรก็ได้ ถ้า ไม่ละเมิดก.ม. ไม่ ละเมิดสิทธิฯผู้อื่น -กิจที่ต้องทา หรือไม่ ทา ถ้าไม่ปฏิบัติ มี ความผิด มีโทษ -หน้าที่ตามก.ม./ตาม ศีลธรรม -สิ่งที่ติดตัวคนเรามาตั้งแต่เกิด เป็นศักดิศรีของความเป็นมนุษย ความเสมอภาค ไม่ถูกเลือก ปฏิบัติ เป็นสากล ไม่ขึ้นกับรัฐใด พรากไม่ได้ แบ่งแยก/โอนไม่ได้ มี ส่วนร่วมได้รับประโยชน ตรวจสอบได้โดยหลักนิติธรรมฯ ๔.สิทธิมนุษยชนคืออะไร ๑.สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ และสิทธิมนุษยชน คืออะไร เหมือนกัน ต่างกันอย่างไร นักปรัชญา เช่น รุสโซ ในสัญญาประชาคม บอกคนเราเกิดมา พร้อมอิสระภาพ นักสังคมวิทยา ว่าคนเรา เกิดมามีหน้าที่ใน ครอบครัว กลุ่ม ชุมชน เกิดมาทีหลัง เมื่อผู้มี อานาจรับรอง มีก.ม. มารับรอง เป็นสิทธิพื้นฐานของทุกคนต้องมี เป็นสากล มาได้รับความสนใจหลัง WW2 เมื่อตั้งUN มีอนุสัญญาขึ้น
  • 17. สิทธิ หน้าที่ และเสรีภาพของประชาชน สิทธิมนุษยชน ตามรัฐธรรมนูญฯ ปี ๒๕๖๐ สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ สิทธิมนุษยชน -ประโยชนหรืออานาจ ของบุคคลที่รัฐรับรอง/ คุ้มครองให้ -อิสระที่จะทาอะไร หรือ ไม่ทาก็ได้ -ถ้าไม่มีก.ม.ห้าม /ไม่ผิดก.ม. -ไม่ขัดศีลธรรม -ไม่ละเมิดสิทธิฯ ผู้อื่น -ไม่ทาให้ผู้อื่นเดือดร้อน -กิจที่ต้องปฏิบัติ (ตาม ก.ม.,ตามหลักศีลธรรม) ตัวอย่าง : -สิทธิในการมีทรัพยสิน -สิทธิที่ไม่ถูกขายเป็นทาส -สิทธิในกระบวนการ ยุติธรรมทางอาญา (ประกันตัว,มีทนายฯ ได้รับการเยียวยา) -สิทธิในการตั้งพรรค การเมือง ตัวอย่าง : -เสรีภาพในการแสดงออก -เสรีภาพในการนับถือศาสนา -เสรีภาพในการประกอบอาชีพ -เสรีภาพของสื่อ -เสรีภาพในการเดินทาง -เสรีภาพในเคหสถาน จะแต่ง ตัวอย่างไรก็ได้ถ้าไม่อนาจาร ตัวอย่าง : -หน้าที่ในการเสียภาษี -หน้าที่ในการเกณฑทหาร - หน้าที่ป้องกันประเทศ -หน้าที่ในการรักษาชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย -หน้าที่ไม่ทุจริต -หน้าที่ในการดูแลบุตรธิดา ความหมาย/ขอบเขตของไทย : -ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ -สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของ บุคคลที่ได้ที่ได้รับการรับรอง หรือ คุ้มครอง ตามรัฐธรรมนูญฯ ตามก.ม. ไทย ตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมี พันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติ -สิทธิธรรมชาติ ติดตัวมาตั้งแต่เกิด -ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย -ความเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ -ไม่อาจพรากไปได้ แบ่งแยกไม่ได้ - สากลข้ามพรมแดน ไม่ขึ้นกับรัฐใดๆ -ไม่ผูกกับก.ม.บ้านเมือง เพราะไปผูก กับความเป็นมนุษยแล้ว* -ไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น ไม่ ละเมิดก.ม. ไม่ผิดศีลธรรมฯ
  • 18. ความสัมพันธของ สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพของประชาชน และสิทธิมนุษยชน สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ สิทธิมนุษยชน(สากล) -รู้จักกันหลังWW2 เมื่อตั้ง UN มีกฎบัตร (charter) แล้วจัดทาข้อตกลงคือ ปฏิญญาสากลฯ ขึ้นต่อมา ทาอนุสัญญาฯ ๙ ฉบับ รวมทั้งมีสนธิสัญญาอื่นที่ เกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชน เช่น ผู้ลี้ภัย แรงงานฯ -สัมพันธ์กับสิทธิเสรีภาพ ของบุคคลที่อยู่ในรัฐใดๆ สิทธิกับเสรีภาพ มักใช้คู่กัน และมี “สิทธิในเสรีภาพ” มี สิทธิใช้เสรีภาพตามที่รัฐธรรมนูญรับรอง จึงเกิดหน้าที่ แก่บุคคลอื่นที่จะไม่ละเมิดการใช้เสรีภาพของบุคคลนั้น กิจที่ต้องทา/งดเว้น การกระทา ถ้าไม่ ปฏิบัติตาม มี ความผิด ถูกลงโทษ สิทธิเป็นอานาจที่ เรียกร้องให้บุคคล อื่นทา หรืองดเว้น การกระทา “สิทธิของฉัน เธอ อย่ามายุ่ง” เสรีภาพเป็นอานาจของบุคคล นั้นที่มีอยู่เหนือตนเองที่จะทา หรือไม่ทาอะไร โดยไม่ถูกแทรก แซงหรือครอบงาจากบุคคลใด เสรีภาพจึงเกิดหน้าที่แก่บุคคล อื่นที่ไม่รบกวนเสรีภาพของตน หน้าที่ตามก.ม. สัมพันธหน้าที่ทาง ศีลธรรมของรัฐนั้น
  • 19. สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ สิทธิมนุษยชน(สากล) หน้าที่ ที่เสี่ยง ที่ก่อให้เกิด ประโยชนแก่สังคมมาก ย่อม ทาให้เกิดสิทธิประโยชนแก่ผู้ มีหน้าที่์นั้น ตามมา เมื่อรัฐกาหนดสิทธิฯให้ปชช. รัฐมีหน้าที่เฉพาะเจาะจง ต้องเตรียม การ เตรียมทรัพยากร การจัดการ ให้คนเข้าถึง/ใช้สิทธินั้น ส่วนเสรีภาพนั้น รัฐมีหน้าที่ไม่ขัดขวางการใช้เสรีภาพของปชช สิทธิ เสรีภาพของบุคคลในรัฐใด สัมพันธกับ สิทธิมนุษยชนสากล และสิทธิมนุษยชนของรัฐนั้น ตามที่มีพันธกรณี และบริบทของรัฐนั้น (ปัจจัยด้านการเมือง ปกครอง ก.ม. เศรษฐกิจ สังคม วัฒนนธรรมฯ ) เช่นปท.ประชาธิไตย สังคมนิยม อิสลามฯ กิจกรรมบางอย่างอาจเปลี่ยนจาก เสรีภาพ เป็นสิทธิ หน้าที่ได้ สิทธิ คู่กับหน้าที่ เสมอเหมือนสองหน้าของ เหรียญเดียวกัน เมื่อบุคคลหนึ่งมีสิทธิ บุคคล อื่นมีหน้าที่ ที่ต้องเคารพสิทธิผู้ทรงสิทธินั้น ศักดิ์ศรีของมนุษย ความ เสมอภาค ไม่ถูกละเมิดฯ ย่อมเกิดในสังคมที่มี /ให้ คุณค่า”ประชาธิปไตย”มาก และปกครองโดยยึดก.ม. เป็นหลัก ไม่ใช่ยึดตัวบุคคล เป็นหลัก มีความยุติธรรม
  • 20. สิทธิมนุษยชน ทุกคนต้องมีสิทธิพื้นฐานโดยเสมอภาคกัน จนท.จับกุม ไปคุมขัง โดยไม่มีสาเหตุ พิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมและเปิดเผย บังคับคนให้เป็นทาส ได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียม มีศักดิ์ศรี สิทธิ และเสรีภาพเท่าเทียมกัน ทรมาน หรือการลงโทษทารุณโหดร้าย ได้รับความคุ้มครองตามก.ม.เท่าเทียมกัน ได้รับมาตรฐานการครองชีพอย่างเพียงพอ มีชีวิตอยู่ และมีความมั่นคง ไม่ให้เป็นเจ้าของทรัพยสิน บังคับให้เชื่อ หรือนับถือศาสนาตามที่สั่ง ห้ามเดินทาง ห้ามเลือกถิ่นที่อยู่
  • 21. สิทธิมนุษยชน ทุกคนต้องมีสิทธิพื้นฐานโดยเสมอภาคกัน จนท.จับกุม ไปคุมขัง โดยไม่มีสาเหตุ พิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมและเปิดเผย บังคับคนให้เป็นทาส มีศักดิ์ศรี สิทธิ และเสรีภาพเท่าเทียมกัน ทรมาน หรือการลงโทษทารุณโหดร้าย ได้รับความคุ้มครองตามก.ม.เท่าเทียมกัน ได้รับมาตรฐานการครองชีพอย่างเพียงพอ มีชีวิตอยู่ และมีความมั่นคง ไม่ให้เป็นเจ้าของทรัพยสิน ห้ามเดินทาง ห้ามเลือกถิ่นที่อยู่
  • 22. สิทธิมนุษยชน ทุกคนต้องมีสิทธิพื้นฐานโดยเสมอภาคกัน ห้ามเลือกคู่ครอง ห้ามมีครอบครัว ห้ามแสดงความคิดเห็นและแสดงออก พักผ่อนและมีเวลาพักจากการทางาน มีส่วนร่วมในรัฐบาลทั้งทางตรง และ โดยผ่านผู้แทน และเข้าถึงบริการ สาธารณะโดยเท่าเทียมกัน ได้รับการเยียวยา เมื่อถูกละเมิด ได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียม เข้ามารบกวนความเป็นอยู่ส่วนตัว ครอบครัว เคหสถาน การติดต่อสื่อสาร ได้รับปัจจัยสี่ สวัสดิการสังคม ประกัน การว่างงาน เจ็บป่วย สิทธิพื้นฐานเหล่านี้ อยู่ในข้อตกลง ระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน
  • 23. สาระสาคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ(สากล ไร้พรมแดนฯ) ๑. ทุกคนมีศักดิ์ศรี สิทธิ และเสรีภาพเท่าเทียมกัน และต้องปฏิบัติต่อกันฉันพี่น้อง ๒. ทุกคนมีสิทธิ และเสรีภาพ อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติ ๓. ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิตอยู่ และมีความมั่นคง ๔. ห้ามบังคับคนให้เป็นทาส และห้ามค้าทาสทุกรูปแบบ (ค้ามนุษย) .๕. ห้ามการทรมาน หรือการลงโทษทารุณโหดร้ายผิดมนุษย ๖. สิทธิในการได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลตามกฎหมาย ๗. สิทธิในการได้รับความคุ้มครองตามก.ม.อย่างเท่าเทียมกัน ๘. สิทธิในการได้รับการเยียวยาจากศาล ๙. ห้ามการจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ ๑๐. สิทธิในการได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมและเปิดเผย ๔๙
  • 24. ๑๑. สิทธิในการได้รับการสันนิษฐานว่าบริสุทธิ์ก่อนศาลตัดสิน และต้องมีก.ม.กาหนดว่าการ กระทานั้นเป็นความผิด ๑๒. ห้ามรบกวนความเป็นอยู่ส่วนตัว ครอบครัว เคหสถาน การติดต่อสื่อสาร รวมทั้งห้าม ทาลายชื่อเสียง และเกียรติยศ ๑๓. เสรีภาพในการเดินทางและเลือกถิ่นที่อยู่ในประเทศ รวมทั้งการออกนอกประเทศหรือ กลับเข้าประเทศโดยเสรี ๑๔. สิทธิในการลี้ภัยไปประเทศอื่นเพื่อให้พ้นจากการถูกประหัตประหาร ๑๕. สิทธิในการได้รับสัญชาติ และการเปลี่ยนสัญชาติ ๑๖. สิทธิในการเลือกคู่ครอง และสร้างครอบครัว ๑๗. สิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพยสิน ๑๘. เสรีภาพในความคิด มโนธรรม ความเชื่อ หรือการถือศาสนา ๑๙. เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและแสดงออก รวมทั้งการได้รับข้อมูลข่าวสาร ๒๐.สิทธิในการชุมนุมโดยสงบและรวมกลุ่ม และห้ามบังคับเป็นสมาชิกสมาคม ๕๐
  • 25. ๒๑. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในรัฐบาลทั้งทางตรง และโดยผ่านผู้แทน อย่างอิสระ และมีสิทธิเข้าถึง บริการสาธารณะโดยเท่าเทียมกัน ๒๒.สิทธิในการได้รับความมั่นคงทางสังคม และได้รับสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนนธรรม โดยการกาหนดระเบียบและทรัพยากรของประเทศตนเอง ๒๓. สิทธิในการมีงานทาตามที่ต้องการ และได้รับการประกันการว่างงาน รวมทั้งได้รับ ค่าตอบแทนเท่ากัน สาหรับงานอย่างเดียวกัน และรายได้ต้องพอแก่การดารงชีพสาหรับตนเอง และครอบครัว ตลอดจนมีสิทธิก่อตั้ง และเข้าร่วมสหภาพแรงงาน ๒๔. สิทธิในการพักผ่อนและมีเวลาพักจากการทางาน ๒๕. สิทธิในการได้รับมาตรฐานการครองชีพอย่างเพียงพอ ได้รับปัจจัยสี่ สวัสดิการสังคม ประกันการว่างงาน เจ็บป่วย เป็นหม้าย ผู้สูงอายุ ตลอดจนต้องคุ้มครองแม่และเด็กเป็นพิเศษ ๒๖. สิทธิในการได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน ๒๗. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในวัฒนนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน และได้รับการคุ้มครองทรัพยสิน ทางปัญญา ๕๑
  • 26. สิทธิ • ประโยชน หรือ อานาจของบุคคล ที่รัฐรับรอง คุ้มครองให้ (มีก.ม.รับรอง) รัฐ อาจยกระดับ “เสรีภาพ” ขึ้นมาเป็น “สิทธิ” เมื่อเห็นความจาเป็น เช่น การรักษาพยาบาลฯ รัฐ มีหน้าที่จาเพาะเจาะจง ต้องเตรียมการ มีก.ม.ระเบียบ คน สถานที่ อุปกรณ งบฯรองรับ เช่น สิทธิในชีวิตร่างกาย การพบ/มีทนายฯ สิทธิรักษาพยาบาล สิทธิของเด็ก ผู้พิการ ผู้สูงอายุฯ • การใช้สิทธิของบุคคล ต้องไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น ไม่ละเมิดก.ม. ไม่ขัดศีลธรรมอันดี สิทธิ คู่กับหน้าที่ เมื่อบุคคลมีสิทธิ บุคคลอื่นมีหน้าที่ต้องไม่ละเมิดสิทธิผู้ทรงสิทธินั้น สิทธิ สัมพันธใกล้ชิดกับ เสรีภาพ มักกล่าวรวมๆกันไปว่าสิทธิเสรีภาพ
  • 27. เสรีภาพ • อิสระที่จะทาอะไร หรือ ไม่ทาอะไรก็ได้ โดยไม่มีใครมาบงการ เช่น เปลือยกายเดินคนเดียวในห้องนอน เปิดเพลงเสียงดังในห้องที่เก็บเสียง เวลาเจ็บป่วย ไม่ไปหาหมอ หรือ ไปหมอแผนโบราณ หมอจีน หรือ หมอแผนปัจจุบัน • ถ้าไม่ทาให้ผู้อื่นเดือดร้อน ไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น • ไม่ขัดหลักศีลธรรม/ศาสนา • ไม่ผิดก.ม. เช่น เสรีภาพในการนับถือศาสนา การแสดงออก การประกอบอาชีพฯ
  • 28. สิทธิเสรีภาพของบุคคล (รัฐธรรมนูญฯปี๖๐ ม.๒๕-ม.๔๙) สิทธิของมารดาก่อน/หลังคลอด, ผู้ชรา,ผู้ยากไร้ ใช้สิทธิล้มการปกครองไม่ได้ สิทธิสาธารณสุข สิทธิของผู้บริโภค สิทธิในการตั้งพรรคการเมือง. เสรีภาพในการชุมนุมโดยสงบ สิทธิบุคคลและชุมชน ศิลป สวล.เสนอ หน่วยงาน สวัสดิการชุมชน เสรีภาพรวมเป็นสมาคม สหภาพฯ สิทธิบุคคล ชุมชนเข้าถึงข้อมูล ร้องเรียน ฟ้องหน่วยงานรัฐฯ เสรีภาพประกอบอาชีพ เนรเทศ ห้ามเข้าประเทศ ถอนสัญชาติไทย (ที่ได้มาโดยการเกิด)ไม่ได้ เสรีภาพเดินทาง เลือกที่อยู่ สิทธิในทรัพยสิน มรดก การเวนคืน เสรีภาพบุคคลในการสื่อสาร เสรีภาพสื่อฯ เสรีภาพในการแสดง ความคิดเห็น เสรีภาพในเคหสถาน สิทธิส่วนตัว ชื่อเสียง เสรีภาพในการนับถือศาสนา เกณฑแรงงานทาไม่ได้ สิทธิเสรีภาพในชีวิต ร่างกาย สิทธิกระบวนการยธ.อาญา ความเสมอภาค สิทธิได้รับการเยียวยา เป็นพลวัตร
  • 29. รักษา ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย ประชาธิปไตย ป้องกันประเทศ ปฏิบัติตามกฎหมาย เข้าศึกษาภาคบังคับ รับราชการทหาร/ เกณฑทหาร ไม่ละเมิดสิทธิและเสรีภาพ ของบุคคลอื่น ใช้สิทธิเลือกตั้ง คานึงประโยชนส่วนรวม อนุรักษสิ่งแวดล้อม และวัฒนนธรรม เสียภาษีอากร ไม่ทุจริต หน้าที่ของ คนไทย (รธน.ฯม.๕๐) หน้าที่ของคนไทย ในรัฐธรรมนูญแต่ละฉบับ อาจเน้นแตกต่างกัน
  • 30. หน้าที่ • กิจ หรือ สิ่งที่ต้องทา หรือไม่กระทา ตาม ก.ม.หรือ หลักศีลธรรม • ถ้าไม่ปฏิบัติ มีความผิด และมีโทษ เช่น การเลี้ยงดูลูก, เสียภาษี เกณฑทหาร เคารพก.ม., ศึกษาภาคบังคับฯ • หน้าที่ กับ สิทธิ เป็นของคู่กัน เหมือนหน้าสองหน้า ของเหรียญเดียวกัน เมื่อบุคคลหนึ่งมีสิทธิ บุคคลอื่นมีหน้าที่ต้องเคารพสิทธิ ไม่ละเมิดสิทธิของผู้มีสิทธิ • หน้าที่ ก่อให้เกิดสิทธิ(ประโยชน) เช่น หน้าที่ของนายกรัฐมนตรี ประธานรัฐสภา ประธานศาลฎีกา หน้าที่ของทหารที่เสี่ยงภัยในภาคใต้ ได้รับสิทธิประโยชนมากกว่า รัฐอาจเปลี่ยน “สิทธิ” เป็น “หน้าที่” เนื่องจากจาเป็น เช่น เรียนภาคบังคับ ไปเลือกตั้งฯ
  • 31. • สิทธิธรรมชาติ ติดตัวคนมาแต่เกิด ไม่ว่าบุคคลนั้นจะมีเชื้อชาติ ผิวสีใด เพศใด นับ ถือศาสนาใด ยากดีมีจน เรียนสูง เรียนน้อย มีอาชีพใด เพราะมนุษยทุกคนล้วนแต่ มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย มีสิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาค (ไม่เลือกปฎิบัติ) - เป็นสิทธิสากลข้ามพรมแดน ไม่ขึ้นกับ ก.ม.ของประเทศใด* - ไม่สามารถพรากสิทธิฯนี้ไปได้ - โอนสิทธิฯให้กันไม่ได้ แบ่งแยกไม่ได้ - มนุษยเรามีส่วนร่วมใช้ประโยชนในสิทธินั้น ตรวจสอบได้โดยหลักนิติธรรม ๒๕ • ยึดหลัก“เอาใจเขามาใส่ใจเรา” ถ้าเราไม่อยากถูกทาอะไรที่ไม่ดี เราก็อย่าไปทากับ ผู้อื่นแบบนั้น เพราะทุกคนในโลกล้วนเป็นเพื่อนมนุษย เป็นพี่น้องกันทั้งสิ้น สิทธิมนุษยชน
  • 32. ความหมายของสิทธิ และสิทธิมนุษยชน (ศ. ดร.วิษณุ เครืองาม) สิทธิ (Rights) หมายถึง • สิ่งที่กฎหมายรับรอง และให้ความคุ้มครอง ไม่ให้ผู้ใดกระทาการละเมิด • ดังนั้นสิทธิผูกไว้กับก.ม. หากมีก.ม.รับรอง คุ้มครอง สิ่งนั้นเรียกว่าสิทธิ ซึ่ง หากไม่มีการกาหนดสิทธิดังกล่าวในก.ม.อาจทาให้มีการลิดรอน หรือไม่ได้รับ ความคุ้มครองทางก.ม.ได้
  • 33. สิทธิมนุษยชน (Human Rights) • เหนือขึ้นไปอีกชั้นหนึ่ง ซึ่งถือว่าคนเราเกิดมา มีสภาพเป็นมนุษยไม่ว่าจะมี เชื้อชาติใด เพศใด นับถือศาสนาใด มีคติความเชื่อ ทางการเมืองอย่างไร มีสถานภาพใด ไม่ว่าจะสูงต่ํา ดาขาวมั่งมีหรืออยากจน ในฐานะที่เป็น มนุษยก็ย่อมมีความเสมอภาคกัน • โดยไม่ผูกกับกฎหมายบ้านเมือง เพราะมันไปผูกกับความเป็นมนุษยเสีย แล้ว เช่น มนุษยมีร่างกายก็มีสิทธิที่จะเดิน มนุษยเกิดมามีสมอง ก็มีสิทธิที่ จะคิด เมื่อมีสิทธิที่จะคิดจึงมีความเชื่อ เมื่อมนุษยมีร่างกายก็มีสิทธิที่จะ ทางาน เมื่อทางานก็มีสิทธิ ที่จะพักผ่อน
  • 34. สิทธิมนุษยชน : ความหมาย องค์ประกอบ ศักดิศรีของ ความเป็นมนุษย สิทธิ เสรีภาพ การมี เข้าถึง และใช้สิทธิฯ และไม่ถูกละเมิดสิทธิฯ ความเสมอภาค และความเท่าเทียม การไม่เลือกปฎิบัติ สิทธิตาม ธรรมชาติ ที่ติดตัวมนุษยทุกคน มาแต่ เกิดไม่ว่าจะมีเชื้อชาติ ผิวพรรณ มีความ เชื่อใด เป็นสากลไม่มีพรมแดน พราก ไม่ได้ โอนให้กันไม่ได้ฯ
  • 35. ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ (Human Dignity) • เกิดมาเป็นคน - ยากดีมีจน - สูงต่า ดาขาว เชื้อชาติใด วรรณะใด - เรียนมาก หรือเรียนน้อย - อยู่ในประเทศใด ในยุโรป อเมริกา - ทาอะไร เป็นชาวเมือง ชาวไร่ ชาวนา นักการเมือง ขรก.เจ้าของธุรกิจ... - นับถือศาสนาพุทธ คริสต อิสลาม ถือผี ไม่มีศาสนา - เป็นเด็กน้อย ผู้หญิง LGBT ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ต้องขัง คนเร่ร่อน ผู้ติดเชื้อเอชไอวีฯ • ล้วนแต่เป็นคนเหมือนกัน ทุกคนต้องมีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39.
  • 40. ความเท่าเทียมกัน ความเสมอภาคอย่างเป็นธรรม (Equality & Equity) • คนเราเกิดมา อาจมีความแตกต่างกัน มีความหลากหลายจากปัจจัยทางชีวภาพ เศรษฐกิจ สังคมฯ • แต่คนเราต้องมีเสมอภาคและความเท่าเทียม (ในจิตสานึกของเรา และการดูแลของรัฐ) - ในเรื่องโอกาสทางการศึกษา การสาธารณสุข การบริการอื่นๆของรัฐ (และภาคเอกชน) - ในเรื่องการเข้าถึงทรัพยากรฯ - ในเรื่องสิทธิในกระบวนการยุติธรรมฯ • กรณีที่เป็นผู้ด้อยโอกาส รัฐอาจมีมาตรการพิเศษช่วยเหลือ ไม่ถือว่าเป็นการเลือกปฎิบัติ
  • 41. ความเป็นธรรม ความเท่าเทียม ความเสมอภาค ไม่ได้หมายความว่า ให้ทรัพยากรเท่าๆกัน แต่คานึงถึง ความจาเป็นของแต่ละคบ ว่าใครมีความจาเป็นมาก ควรได้รับทรัพยากรมากกว่าเพื่อให้มีสิทธิพื้นฐานเท่ากัน ใกล้เคียงกัน
  • 42. การมีสิทธิประเภทต่างๆ เช่น สิทธิพลเมือง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการเข้าถึงสิทธิฯ (Access to rights) •สิทธิพลเมือง เช่น สิทธิในชีวิต ร่างกาย ทรัพยสินของบุคคล การสื่อสารฯ •สิทธิการเมือง เช่น สิทธิในการชุมนุม การตั้งพรรคการเมืองฯ •สิทธิทางเศรษฐกิจ เช่น สิทธิในการมีงานทา ได้ค่าตอบแทน มีวันพักฯ •สิทธิทางสังคม เช่น สิทธิด้านการศึกษา สาธารณสุขฯ •สิทธิทางวัฒนนธรรม เช่น สิทธิในศิลปะ วัฒนนธรรม การละเล่นพื้นเมือง
  • 43.
  • 44.
  • 45.
  • 46. มุมมองเรื่องสิทธิมนุษยชน (+) เกิดมาเป็นคน ยากดีมีจน จะขาวจะดา จะเรียนมามากหรือเรียนมาน้อย ก็มีศักดิ์ศรี เป็นคนเหมือนกัน เอาใจเขามาใส่ใจเรา เราไม่ชอบให้ใครทาอะไรกับเรา เราก็อย่าไปทากับเขาอย่างนั้น จะรวยจะจน ถ้าทาผิด ก็ต้องติดคุกเหมือนกัน คุกไม่ใช่มีไว้ขังแต่คนจนเท่านั้น สิทธิที่ติดตัวคนมาตั้งแต่ เกิด เป็นสากล ไม่มีพรหมแดน สัมพันธเชื่อมโยงกัน แบ่งแยกไม่ได้ โอนให้กันไม่ได้ พรากเอกไปจากเราไม่ได้ จะเขียนก.ม.มาห้ามก็ ไม่ได้ ทาไมต้องลัดคิวให้บริการคน รวย หรือญาติมิตรก่อน ถ้าเขาป่วยจะตายก็ไม่ว่า สอดคล้องกับหลักธรรมชาติ หลักการทางศาสนา สิทธิ เสรีภาพ ศักดิ์ศรี ของมนุษย ที่ทาให้คน แตกต่างไป จากสัตว ไม่ใช่เป็นเรื่อง การจับผิด หรือ การต่อต้านการ ทางานของ เจ้าหน้าที่รัฐ แต่ เป็นเรื่องที่ เกี่ยวข้องกับเรา ตั้งแต่อยู่ในท้อง แม่ โตขึ้น เรียน ทางาน มีคู่ มีลูก ป่วย แก่ พิการ จนกระทั่งตาย
  • 47. มุมมองในเรื่องสิทธิมนุษยชน (-) เวลาชาวบ้านถูกยิง ถูกระเบิด พวกสิทธิมนุษยชน หายหัวไปไหนหมด เอาไอ้พวกข่มขืนฆ่าไป ประหารให้หมด อย่ามาอ้างสิทธิมนุษยชนเลย ทีชีวิต คนอื่นมันไม่เห็นความสาคัญ พวก มองโลกสวย พวกตามก้น ฝรั่ง พวกที่คอยจับผิดการ ทางานของ ต.ร.,ทหาร, ขรก.ฯ พวกที่คิดว่ามี สิทธิเสรีภาพ จนไร้ขอบเขต พวกเห็นคนต่างชาติ คนต่างด้าว ดีกว่าคนไทย ทาไมเราต้องใช้เงินภาษีฯของ คนไทยไปเลี้ยงดูคนต่างชาติ พวกชอบการปกครอง แบบสาธารณรัฐ ชอบ อ้างความเสมอภาค พวก ล้มสถาบันฯ NGO พวกขัดขวาง การพัฒนนา ประเทศ
  • 48. • สิทธิมนุษยชน หมายความว่า - ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย - สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของบุคคลที่ได้ที่ได้รับการรับรอง หรือคุ้มครอง - ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย - ตามกฎหมายไทย - ตามสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมีพันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตาม (พระราชบัญญัติคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 3) ความหมายของสิทธิมนุษยชน ของประเทศไทย ขอบเขตของหลักสิทธิมนุษยชน ของประเทศไทย จะแคบกว่า หลักสิทธิมนุษยชนสากล ในประเด็น สิทธิ เสรีภาพ ความเสมอภาค และความคุ้มครองของบุคคลฯ เป็นไปตามก.ม.ไทย และพันธกรณีของประเทศไทย) สิทธิมนุษยชน มิได้มีแต่เพียงมิติด้าน ก.ม. เท่านั้น แต่เป็นสหวิทยาการ มีทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนนธรรมฯ
  • 49. ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.๑๙๔๘/พ.ศ.๒๔๙๑* ขจัดการเลือกปฏิบัติ ทางเชื้อชาติ* ค.ศ.๑๙๖๕/พ.ศ.๒๕๐๘ เด็ก* ค.ศ.๑๙๘๙/พ.ศ.๒๕๓๒ ต่อต้านการทรมาน ค.ศ.๑๙๘๔/พ.ศ.๒๕๒๗* ต่อต้านอุ้มหาย ค.ศ. ๒๐๐๖/พ.ศ.๒๕๔๙ แรงงานอพยพฯ ค.ศ.๑๙๙๐/พ.ศ.๒๕๓๓ สตรี* ค.ศ..๑๙๗๙/พ.ศ.๒๕๒๒ คนพิการ* ค.ศ.๒๐๐๖/พ.ศ.๒๕๔๙ ปัญหาการละเมิดสิทธิฯในรูปแบบต่างๆเช่น ฆ่าล้างเผ่าพันธฯในWW2 การจัดตั้งองคกรสหประชาชาติ ค.ศ.๑๙๔๕/พ.ศ.๒๔๘๘ กติกาฯว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง ค.ศ.๑๙๖๖/พ.ศ.๒๕๐๙* กติกาฯว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนนธรรม ค.ศ.๑๙๖๖/พ.ศ.๒๕๐๙* การจัดกลุ่มของ อนุสัญญาด้านสิทธิ มนุษยชน เจตนารมณร่วมกัน ไม่มีสภาพบังคับ เป็นก.ม.ระหว่าง ประเทศ อนุสัญญาสิทธิ มนุษยชน ๙ ฉบับ มีสถานะเป็นก.ม. ระหว่างประเทศ ทุกฉบับเป็นสิทธิ มนุษยชนสากล ไร้พรมแดนฯ
  • 50. ข้อตกลง และก.ม.ระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชน ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.๑๙๔๘/พ.ศ.๒๔๙๑* กติกาฯว่าด้วย สิทธิพลเมือง และสิทธิ ทางการเมือง ICCPR ค.ศ.๑๙๖๖/ พ.ศ.๒๕๐๙* กติกาฯว่าด้วย สิทธิทาง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนนธรรม ICESC ค.ศ.๑๙๖๖/พ.ศ. ๒๕๐๙* เด็ก* ค.ศ.๑๙๘๙/ พ.ศ.๒๕๓๒ สตรี* ค.ศ..๑๙๗๙/ พ.ศ.๒๕๒๒ คนพิการ* ค.ศ.๒๐๐๖/ พ.ศ.๒๕๔๙ แรงงาน อพยพฯ ค.ศ.๑๙๙๐ /พ.ศ.๒๕๓๓ ขจัดการเลือกปฏิบัติ ทางเชื้อชาติ* ค.ศ.๑๙๖๕ /พ.ศ.๒๕๐๘ ต่อต้านการทรมาน ค.ศ.๑๙๘๔/ พ.ศ.๒๕๒๗* ต่อต้านอุ้มหาย ค.ศ. ๒๐๐๖/ พ.ศ.๒๕๔๙ ผู้เปราะบาง ที่เสี่ยงถูกละเมิด จนท.ผู้มีอิทธิพล ที่เสี่ยงไปละเมิดบุคคลอื่น
  • 51. หลักสิทธิมนุษยชนสากล ดูจากอะไร ที่ไหน ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ.๑๙๔๘/๒๔๙๑ (UDHR) อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ๙ ฉบับ (ICCPR,ICESC,CERD,CED,CRD, สนธิสัญญาอื่นๆ เช่น ILO 87,ILO 98,อนุสัญญาผู้ลี้ภัยฯ หลักจารีตประเพณีระหว่างประเทศ
  • 53. รัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.๒๕๔๐ (รัฐธรรมนูญ ฉบับประชาชน) เจตนารมณของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. ๒๕๔๐ ก็คือการปฏิรูปการเมืองโดยมี เป้าหมาย ๓ ประการ[2] ๑. ขยายสิทธิ เสรีภาพ และส่วนร่วมของพลเมืองในการเมือง สิทธิใน กระบวนการการยุติธรรม เยียวยาฯ ๒. การเพิ่มการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐโดยประชาชน เพื่อให้เกิด ความสุจริตและโปร่งใสในระบอบการเมือง ๓.การทาให้ระบบการเมืองมีเสถียรภาพและประสิทธิภาพ รัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐ มีผลกระทบที่สาคัญต่อพัฒนนาการสิทธิมนุยชน ในประเทศไทย หลายประการ - บทบัญญัติเรื่องสิทธิฯต่างๆ - นาไปสู่ก.ม.ภายในด้านการคุ้มครองสิทธิมนุษยชนและการเยียวยา - การจัดตั้งองคกรคุ้มครองสิทธิฯและการตรวจสอบรัฐบาลฯ
  • 54. สิทธิ เสรีภาพของปวงชนชาวไทย หมวด ๓ มาตรา ๒๕-๔๙ หน้าที่ของปวงชนชาวไทย หมวด ๔ มาตรา ๕๐ (๑๐ ประการ) สิทธิมนุษยชน ของประชาชนไทย หมวด ๑ บททั่วไป มาตรา ๔ พรบ.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ มาตรา ๓
  • 55. สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๖๐
  • 56. ทบทวนความรู้ ความเข้าใจ • หน้าที่ เป็นกิจ หรือสิ่งที่บุคคลต้องปฏิบัติ ถ้าไม่ปฏิบัติ มีความผิดและมีโทษ อาจแบ่งเป็นหน้าที่ ทางศีลธรรม และหน้าที่ตามก.ม. ปกติหน้าที่ตามก.ม.จะสอดคล้องกับหน้าที่ทางศีลธรรม • รัฐเองก็มีหน้าที่ด้วย ได้แก่ ด้านความมั่นคง การรักษาความปลอดภัย การบริการสาธารณะ / การพัฒนนา รวมทั้งหน้าที่ในด้านสิทธิมนุษยชน คือ การเคารพสิทธิของปชช.(respect) การ ปกป้อง(protect) และการเติมเต็ม(fulfil) • ในขณะที่ “สิทธิ” เป็นประโยชน อานาจ หรือความสามารถของบุคคลที่รัฐรับรองให้ และทาให้ ผู้อื่นรวมทั้งรัฐมีหน้าที่ ต้องเคารพสิทธิของผู้ทรงสิทธิ และเมื่อรัฐให้สิทธิแก่ประชาชน ยังมี หน้าที่เฉพาะเจาะจงที่ทาให้บุคคลเข้าถึงสิทธินั้นโดยสะดวก (เช่น ๓๐ บาทรักษาทุกโรค การ เรียนฟรี) ในขณะที่รัฐมีมีหน้าที่เจาะจงในเรื่องเสรีภาพ แต่ต้องไม่ขัดขวาง สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ สิทธิมนุษยชน คืออะไร มีความเกี่ยวข้องสัมพันธกันอย่างไร
  • 57. ทบทวนความรู้ ความเข้าใจ • เสรีภาพ เป็นความอิสระที่จะทาอะไรหรือไม่ทา ไม่อยู่ใต้การบงการของใคร แต่ต้องไม่ ละเมิดสิทธิฯผู้อื่น ไม่ละเมิดก.ม. • สิทธิมนุษยชนไทย กับ สิทธิมนุษยชนสากล สัมพันธกันอย่างไร มีข้อแตกต่างกันอย่างไร อะไรเป็นสาเหตุที่สาคัญ สิทธิมนุษยชนไทย จะรู้ได้อย่างไร ดูจากที่ไหน และสิทธิมนุษยชน สากล มีอะไรบ้าง ดูที่ไหน • สิทธิมนุษยชนเป็นสิทธิที่ติดตัวมนุษยมาตั้งแต่เกิด พรากไม่ได้ ถ่ายโอนไม่ได้ เป็นสากล ไม่ ขึ้นกับก.ม.ของรัฐใด ส่วนสิทธิมนุษยชนของรัฐใด ปกติต้องสอดคล้องกับหลักสากล เนื่องจากเป็นสมาชิกUN แต่ในทางปฎิบัติปัจจัยสภาพแวดล้อมทางด้านการเมือง การ ปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนนธรรมฯส่งผลต่อสถานการณสิทธิมนุษยชนของรัฐนั้นๆ เช่น ประเทศเสรีประชาธิปไตย ประเทศสังคมนิยม ประเทศที่ยังมีการปกครองไม่เป็น ประชาธิปไตยมากนัก ประเทศที่ประชาชนนับถือศาสนาอิสลาม(ที่ใช้ก.ม.ชีอะห)
  • 58. บันไดของการป้องกัน เฝ้าระวัง คุ้มครองสิทธิฯ + ให้ประชาชน จนท.รัฐ รู้/ตระหนักเรื่องสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชน เคารพสิทธิฯ ผู้อื่น เคารพ ก.ม. + เมื่อพบการละเมิดสิทธิฯ แจ้งหน่วยงานฯทราบเพื่อคุ้มครองสิทธิฯ + เข้าไปช่วยเหลือผู้อื่น ชุมชน ในการป้องกัน คุ้มครองสิทธิฯ ประเทศไทย เป็นสังคมที่เคารพสิทธิ สมานฉันท น่าอยู่ + - ชอบอ้างสิทธิ เอาประโยชนส่วนตน ไม่เคารพสิทธิผู้อื่น และประโยชนส่วนรวม ชอบเลี่ยง/ละเมิดก.ม.เมื่อมีโอกาส สังคมไทยยัง มีลักษณะนี้ อยู่มาก ช่วยเปลี่ยนสังคมไทย เป็นสังคมตระหนักรู้ เรื่องสิทธิฯ ไม่ละเมิด สิทธิฯไม่ละเมิดก.ม.
  • 59. สรุปสาระสาคัญของหลักสิทธิมนุษยชนสากล ศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย ความเสมอภาค เท่าเทียม ไม่เลือกปฎิบัติ ความมีสิทธิ เข้าถึงสิทธิประเภทต่างๆ เกิดมาเป็นคน ไม่ว่าจะเป็นคน เชื้อชาติใด มีสัญชาติหรือไม่ นับถือศาสนาใด มีความเชื่อการเมืองใด ยากดีมีจน สูงต่าดาขาว เรียนมาก เรียนน้อย ล้วนมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย แม้คนเราจะแตกต่างทางร่างกาย สติปัญญา ฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองฯ แต่ต้องมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน เว้นแต่กลุ่มผู้ด้อยโอกาส อาจได้รับการสนับสนุน มากกว่า จนกว่ามีความใกล้เคียงกัน ตั้งแต่อยู่ในครรภมารดา จนเสียชีวิต ต้องเข้าถึง ได้รับ และปกป้อง คุ้มครองสิทธิ ทั้งสิทธิพลเมือง (ร่างกาย ชีวิต ทรัพยสินฯ) สิทธิ การเมือง สิทธิทางสังคม (การศึกษา สาธารณสุข) เศรษฐกิจ วัฒนนธรรมฯ
  • 60. เสรีภาพ สิทธิ หน้าที่ สิทธิมนุษยชน ยกระดับขึ้น เป็นสิทธิ ปฎิบัติตามก.มฯ อิสระที่จะทา หรือ ไม่ทาอะไร แต่ ต้องไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น/ก.ม. ประโยชน อานาจของ บุคคล ที่รัฐรับรองให้ ความหมาย และความสัมพันธระหว่าง สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน สิทธิธรรมชาติติดตัวคนมาตั้งแต่เกิด ข้ามพรหมแดนฯ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย เสมอภาค เข้าถึงสิทธิต่างๆ ไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น รัฐดูแลให้ปชช.เข้าถึงสิทธิ ไม่ละเมิดสิทธิ และเยียวยา เมื่อถูกละเมิดฯ รัฐดูแลปชช.ใช้เสรีภาพ โดยไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น ไม่ละเมิดก.ม. ปชช.ทาหน้าที่ด้วยความเต็มใจ
  • 61. ๒. สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ และสิทธิมนุษยชน สัมพันธ์กันอย่างไร มีสภาพคงที่หรือไม่ สิทธิกับหน้าที่ เป็นของคู่กัน เมื่อบุคคลมีสิทธิ บุคคลอื่นมีหน้าที่ต้องเคารพสิทธิของผู้ทรงสิทธิ สิทธิ กับเสรีภาพ เป็น “สิ่ง” ที่ประชาชนในประเทศเสรีประชาธิปไตย ต้องมี และมีความสัมพันธกัน โดยรัฐอาจยกเสรีภาพให้เป็นสิทธิฯ หรือ สิทธิในเสรีภาพ รัฐมีหน้าที่จาเพาะเจาะจงเมื่อกาหนดสิทธิของประชาชนขึ้น ต้องเตรียม ก.ม.องคกร ทรัพยากร การจัดการฯ ให้ประชาชนเข้าถึงสิทธิ ขณะที่รัฐมีหน้าที่ให้ประชาชนใช้เสรีภาพโดยไม่แทรกแซง สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ เปลี่ยนแปลงได้ ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อม ปัจจัยการเมือง การปกครอง ก.ม. เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี่ ความสัมพันธระหว่างประเทศฯ ของรัฐ
  • 62. ๓.สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ของประชาชนคนไทย และคนที่อยู่ในประเทศไทย ดูจากอะไร ที่ไหน ดูจาก ก.ม.ภายใน (รัฐธรรมนูญ ก.ม.ลาดับรอง นโยบายรัฐบาล) และจารีตประเพณี (กรณีที่ดิน ชาวเล) สิทธิ เสรีภาพของผู้สัญชาติไทย มีขอบเขตกว้างกว่า ผู้ที่อยู่ในประเทศไทย เช่น แรงงานต่างด้าว ผู้ไร้สัญชาติฯ ดูจากข้อตกลง สนธิสัญญาระหว่างประเทศด้านสิทธิมนุษยชนฯ ที่ไทยมีพันธกรณี ( เช่น สิทธิเด็ก เป็นสากล)
  • 64. เสรีภาพ สิทธิ หน้าที่ สิทธิมนุษยชน ยกระดับขึ้น เป็นสิทธิ ปฎิบัติตามก.มฯ อิสระที่จะทา หรือ ไม่ทาอะไร แต่ต้องไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น/ก.ม. ประโยชน อานาจของ บุคคล ที่รัฐรับรองให้ ความหมาย และความสัมพันธระหว่าง สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน สิทธิธรรมชาติติดตัวคนมาตั้งแต่เกิด ข้ามพรหมแดนฯ ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย เสมอภาค เข้าถึงสิทธิต่างๆ ไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น รัฐดูแลให้ปชช.เข้าถึงสิทธิ ไม่ละเมิดสิทธิ และเยียวยา เมื่อถูกละเมิดฯ รัฐดูแลปชช.ใช้เสรีภาพ โดยไม่ละเมิดสิทธิผู้อื่น ไม่ละเมิดก.ม. ปชช.ทาหน้าที่ด้วยความเต็มใจ
  • 67. คาปรารถของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ...ที่รับรองและประกาศโดยข้อมติสมัชชา สหประชาชาติ ที่ ๒๒๗ เอ /// เมื่อ ๑๐ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๙๑ กล่าวถึง หลักนิติธรรม (Rule of Law) ไว้ด้วยว่า …….เป็นความจาเป็นที่ หลักสิทธิมนุษยชน ควรได้รับความคุ้มครองโดย หลักนิติธรรม ถ้าไม่ประสงค์ให้มนุษย์ต้องถูกบีบบังคับให้หาทางออกเป็นที่ พึ่งสุดท้าย ด้วยการก่อความไม่สงบ เพื่อต่อต้านทรราชย์และการกดขี่…...
  • 68. “....กฎหมายทั้งปวงนั้น เราบัญญัติขึ้นเพื่อใช้เป็นปัจจัยสาหรับรักษาความยุติธรรม กล่าวโดยสรุปก็คือ ใช้เป็นแบบแผนแห่งความประพฤติปฏิบัติของมหาชนสถานหนึ่ง กับใช้เป็นแม่บทในการพิจารณาตัดสินความประพฤติปฏิบัตินั้นๆ ให้เป็นไปอย่าง ถูกต้องเที่ยงตรงอีกสถานหนึ่ง โดยที่กฎหมายเป็นแค่เครื่องมือในการรักษาความยุติธรรมดังกล่าว จึงไม่ควรที่จะ ถือว่ามีความสาคัญยิ่งไปกว่าความยุติธรรม หากควรจะต้องถือว่าความยุติธรรมมาก่อน กฎหมายและอยู่เหนือกฎหมาย การพิจารณาพิพากษาอรรถคดีใดๆ โดยคานึงถึงแต่ ความถูกผิดตามกฎหมายเท่านั้น ดูจะไม่เป็นการเพียงพอ จาต้องคานึงถึงความ ยุติธรรมซึ่งเป็นจุดประสงคด้วยเสมอ พระบรมราโชวาทรัชกาลที่ ๙ ในพิธีพระราชทานประกาศนียบัตรแก่ผู้สอบไล่ได้ตามหลักสูตรของสานัก อบรมศึกษากฎหมายแห่งเนติบัณฑิตยสภา ณ เนติบัณฑิตสภา เมื่อวันที่ ๗ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๑๕
  • 69. ความหมาย ความสัมพันธ์ของ สิทธิมนุษยชน นิติธรรม ความยุติธรรม สิทธิมนุษยชน (สากล กับไทย) นิติธรรม ความยุติธรรม -ความถูกต้องตามศีลธรรม บนพื้นฐานของจริยธรรม ความสมเหตุสมผล ก.ม., ก.ม.ธรรมชาติ, ศาสนา, ความเที่ยงธรรม (equity) และความเป็น ธรรม (fairness) ตลอดจนการบังคับใช้ก.ม. -การปกครองที่ดีนั้นควรต้องให้ก.ม.อยู่สูงสุด (supremacy of law) และทุกๆ คนต้องมี สถานะที่เสมอภาค และเท่าเทียมกันภายใต้ก.ม. -สิทธิธรรมชาติ ติดตัวมาแต่เกิด -ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย -ความเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ -การเข้าถึงมี/สิทธิ ไม่อาจพรากไปได้ -แบ่งแยกไม่ได้ สัมพันธกัน -สากลข้ามพรมแดน ไม่ขึ้นกับรัฐ ใดๆ -ไม่ผูกกับก.ม.บ้านเมือง เพราะไปผูก กับความเป็นมนุษยแล้ว* (สิทธิพื้นฐานขั้นต่าของมนุษยทุกคน) -การปกครอง/บริหาร” ยึดก.ม.เป็นหลัก” ทั้ง การออกก.ม.- เนื้อหาก.ม.- และการใช้ก.ม. ต้องถูกต้อง เป็นธรรม เพื่อประโยชนของคน ส่วนใหญ่ และมีการควบคุมการใช้ก.ม.อย่าง เหมาะสม(นักวิชาการ NGOs นักกิจกรรม โต้มาก) ๑ -หลักนิติธรรม เกิด พัฒนนาในอังกฤษ (ใช้ระบบก.ม. จารีตประเพณี) ส่วนหลักนิติรัฐ เกิด พัฒนนาในยุโรป แผ่นดินใหญ่ (ใช้ระบบก.ม.ลายลักษณอักษร) ทั้งสอง หลัก ต่างเน้น”การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพประชาชน” หลักสิทธิมนุษยชนของไทย มีขอบเขตแค่ไหน
  • 70. ความหมาย ความสัมพันธ์ของ สิทธิมนุษยชน นิติธรรม ความยุติธรรม สิทธิมนุษยชน นิติธรรม ความยุติธรรม ความถูกต้องตามศีลธรรมบน พื้นฐานของจริยธรรม ความ สมเหตุสมผล ก.ม. ก.ม. ธรรมชาติ ศาสนา ความเที่ยง ธรรม (equity) และความเป็น ธรรม (fairness) ตลอดจน การบังคับใช้ก.ม. - ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย - สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของ บุคคลที่ได้ที่ได้รับการรับรอง หรือ คุ้มครอง - ตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย - ตามกฎหมายไทย - ตามสนธิสัญญาที่ประเทศ ไทยมีสนธิสัญญาที่ประเทศไทยมี พันธกรณีที่จะต้องปฏิบัติตาม (พรบ.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน แห่งชาติ พ.ศ.2542 มาตรา 3) ข้อเรียกร้องทางศีลธรรมบาง อย่าง ใช้เป็นเกณฑวัดการ กระทาอันใดอันหนึ่งว่าถูก หรือไม่ถูก มันเป็นข้อกาหนด ในทางศีลธรรม องคประกอบของหลักนิติธรรม : มีกระบวนการออกก.ม. มีเนื้อหาของก.ม.ที่ ถูกต้อง เป็นธรรมเพื่อประโยชนของคนส่วนใหญ่ , ก.ม.ใช้บังคับทั่วไป, ต้องแจ้งให้ประชาชนทราบ อย่างเปิดเผย,ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ,ห้าม ยกเว้นความรับผิดของการกระทาในอนาคต, มีผู้ พิพากษาที่เป็นอิสระ เป็นกลาง หลักนิติธรรม หรือหลักการบริหารโดยยึดก.ม. เป็นหลัก ไม่ขึ้นอยู่กับตัวบุคคลผู้ปกครอง เป็น หลัก เป็นหลักที่ควบคู่กับหลักนิติรัฐ (รัฐที่ยึดก.ม. เป็นหลัก รัฐยอมลดอานาจมาปฏิบัติตามก.ม. ไม่ ทาอะไรที่ก.ม.ไม่ให้อานาจ) และ หลักดาเนินการ ตามกระบวนการขั้นตอนที่ถูกต้องตามก.ม. (Due process of law ของอเมริกา)
  • 71. ความหมาย ความสัมพันธ์ของสิทธิมนุษยชน นิติธรรม ความยุติธรรม สิทธิมนุษยชน นิติธรรม ความยุติธรรม ความถูกต้องตามศีลธรรม บนพื้นฐานของจริยธรรม ความสมเหตุสมผล ก.ม. ก.ม.ธรรมชาติ* ศาสนา ความเที่ยงธรรม (equity) และความเป็นธรรม (fairness) ตลอดจนการ บังคับใช้ก.ม. การปกครองที่ดีนั้นควรต้องให้ก.ม. อยู่สูงสุด (supremacy of law) และ ทุกๆ คนต้องมีสถานะที่เสมอ ภาค และเท่าเทียมกันภายใต้ก.ม. -ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย เป็นสิทธิธรรมชาติ ติดตัวมาแต่เกิด เป็นสากลข้ามพรหมแดน “ความเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ”* -การเข้าถึง/มีสิทธิ ไม่อาจพรากไปได้ แบ่งแยก ไม่ได้ สัมพันธเชื่อมโยงกัน มีส่วนร่วม เป็นส่วน หนึ่งของสิทธิ ตรวจสอบได้ ใช้หลักนิติธรรม - (สิทธิพื้นฐานขั้นต่าของมนุษยทุกคน) การปกครอง/บริหาร ยึดก.ม.เป็นหลัก ๑).การออกก.ม.๒).เนื้อหาก.ม. ๓).การ ใช้ก.ม.ต้องถูกต้อง เป็นธรรม เพื่อ ประโยชนของคนส่วนใหญ่ และมีการ ควบคุมการใช้ก.ม.อย่างเหมาะสม* ๑ - ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย - สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับ การรับรอง หรือคุ้มครอง - ตามรัฐธรรมนูญฯไทย - ตามกฎหมายไทย - ตามสนธิสัญญาที่ไทยมีพันธกรณีที่ต้องปฏิบัติ (พรบ.คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน พศ.๒๕๔๒ ม.๓) หลักนิติธรรม บรรจุในรัฐธรรมนูญฯ พ.ศ.๒๕๕๐ เป็นครั้งแรก ( ใน ม.๓ ว.๒ , ม.๗๘) ความสัมพันธของทั้งสาม หลัก คือ เสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ ใช้หลักนิติธรรม
  • 72. มิสซิส อิลลินอร์ รูสเวลล์ ภรรยาของประธานาธิบดี แฟรงคลิน ดี รูสเวลล์ แห่งสหรัฐอเมริกา ผู้มีบทบาทสาคัญในการยกร่างปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ (๓๐ ข้อ)
  • 73. สรุปสาระสาคัญของปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนฯ (สากล ไร้พรมแดนฯ) ๑. ทุกคนมีศักดิ์ศรี สิทธิ และเสรีภาพเท่าเทียมกัน และต้องปฏิบัติต่อกันฉันพี่น้อง ๒. ทุกคนมีสิทธิ และเสรีภาพ อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ถูกเลือกปฏิบัติ ๓. ทุกคนมีสิทธิในการมีชีวิตอยู่ และมีความมั่นคง ๔. ห้ามบังคับคนให้เป็นทาส และห้ามค้าทาสทุกรูปแบบ (ค้ามนุษย) .๕. ห้ามการทรมาน หรือการลงโทษทารุณโหดร้ายผิดมนุษย ๖. สิทธิในการได้รับการยอมรับว่าเป็นบุคคลตามกฎหมาย ๗. สิทธิในการได้รับความคุ้มครองตามก.ม.อย่างเท่าเทียมกัน ๘. สิทธิในการได้รับการเยียวยาจากศาล ๙. ห้ามการจับกุม คุมขัง หรือเนรเทศโดยพลการ ๑๐. สิทธิในการได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมและเปิดเผย ๔๙
  • 74. ๑๑. สิทธิในการได้รับการสันนิษฐานว่าบริสุทธิ์ก่อนศาลตัดสิน และต้องมีก.ม.กาหนดว่าการ กระทานั้นเป็นความผิด ๑๒. ห้ามรบกวนความเป็นอยู่ส่วนตัว ครอบครัว เคหสถาน การติดต่อสื่อสาร รวมทั้งห้าม ทาลายชื่อเสียง และเกียรติยศ ๑๓. เสรีภาพในการเดินทางและเลือกถิ่นที่อยู่ในประเทศ รวมทั้งการออกนอกประเทศหรือ กลับเข้าประเทศโดยเสรี ๑๔. สิทธิในการลี้ภัยไปประเทศอื่นเพื่อให้พ้นจากการถูกประหัตประหาร ๑๕. สิทธิในการได้รับสัญชาติ และการเปลี่ยนสัญชาติ ๑๖. สิทธิในการเลือกคู่ครอง และสร้างครอบครัว ๑๗. สิทธิในการเป็นเจ้าของทรัพยสิน ๑๘. เสรีภาพในความคิด มโนธรรม ความเชื่อ หรือการถือศาสนา ๑๙. เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและแสดงออก รวมทั้งการได้รับข้อมูลข่าวสาร ๒๐.สิทธิในการชุมนุมโดยสงบและรวมกลุ่ม และห้ามบังคับเป็นสมาชิกสมาคม ๕๐
  • 75. ๒๑. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในรัฐบาลทั้งทางตรง และโดยผ่านผู้แทน อย่างอิสระ และมีสิทธิเข้าถึง บริการสาธารณะโดยเท่าเทียมกัน ๒๒.สิทธิในการได้รับความมั่นคงทางสังคม และได้รับสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนนธรรม โดยการกาหนดระเบียบและทรัพยากรของประเทศตนเอง ๒๓. สิทธิในการมีงานทาตามที่ต้องการ และได้รับการประกันการว่างงาน รวมทั้งได้รับ ค่าตอบแทนเท่ากัน สาหรับงานอย่างเดียวกัน และรายได้ต้องพอแก่การดารงชีพสาหรับตนเอง และครอบครัว ตลอดจนมีสิทธิก่อตั้ง และเข้าร่วมสหภาพแรงงาน ๒๔. สิทธิในการพักผ่อนและมีเวลาพักจากการทางาน ๒๕. สิทธิในการได้รับมาตรฐานการครองชีพอย่างเพียงพอ ได้รับปัจจัยสี่ สวัสดิการสังคม ประกันการว่างงาน เจ็บป่วย เป็นหม้าย ผู้สูงอายุ ตลอดจนต้องคุ้มครองแม่และเด็กเป็นพิเศษ ๒๖. สิทธิในการได้รับการศึกษาอย่างเท่าเทียมกัน ๒๗. สิทธิที่จะมีส่วนร่วมในวัฒนนธรรมและวิถีชีวิตของชุมชน และได้รับการคุ้มครองทรัพยสิน ทางปัญญา ๕๑
  • 77. สรุปสาระสาคัญของหลักสิทธิมนุษยชนสากล ศักดิ์ศรี ความเป็นมนุษย ความเสมอภาค เท่าเทียม ไม่เลือกปฎิบัติ ความมีสิทธิ เข้าถึง สิทธิประเภทต่างๆ เกิดมาเป็นคน ไม่ว่าจะเป็นคน เชื้อชาติใด มีสัญชาติหรือไม่ นับถือศาสนาใด มีความเชื่อการเมืองใด ยากดีมีจน สูงต่าดาขาว เรียนมาก เรียนน้อย ล้วนมีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย แม้คนเราจะแตกต่างทางร่างกาย สติปัญญา ฐานะทางเศรษฐกิจ สังคม การเมืองฯ แต่ต้องมีความเสมอภาคเท่าเทียมกัน เว้นแต่กลุ่มผู้ด้อยโอกาส อาจได้รับการสนับสนุน มากกว่า จนกว่ามีความใกล้เคียงกัน ตั้งแต่อยู่ในครรภมารดา จนเสียชีวิต ต้องเข้าถึง ได้รับ และปกป้อง คุ้มครองสิทธิ ทั้งสิทธิพลเมือง (ร่างกาย ชีวิต ทรัพยสินฯ) สิทธิ การเมือง สิทธิทางสังคม (การศึกษา สาธารณสุข) เศรษฐกิจ วัฒนนธรรมฯ
  • 78. ๔. สิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชนของไทย (คนไทย และคนที่อยู่ในประเทศไทย) เหมือนและแตกต่างกับ สิทธิมนุษยชนสากล อย่างไร ในส่วน สิทธิ เสรีภาพของผู้สัญชาติไทย มีขอบเขตกว้างกว่า ผู้ที่อยู่ในประเทศไทย เช่น แรงงานต่างด้าว ผู้ไร้สัญชาติฯ ไทยนาเอาหลักสิทธิมนุษชนสากล มาบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ และก.ม.ภายในหลายฉบับ สิทธิมนุษยชนไทย มีขอบเขตแคบกว่า เพราะไทยยังไม่เป็นภาคีอนุสัญญาสิทธิมนุษยชนบางฉบับ
  • 79. สิทธิ เสรีภาพ สิทธิมนุษยชนของประชาชนที่รัฐกาหนดไว้ เหมือนกัน และต่างกันกับ สิทธิมนุษยชนตามหลักสากลอย่างไร กฎบัตร UN มีวัตถุประสงค ๑ ใน ๔ ข้อเป็นเรื่องสิทธิมนุษยชน ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน อนุสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนฯ ๙ ฉบับ สนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนอื่น เช่น ผู้ลี้ภัย แรงงานฯ จารีตประเพณีระหว่างประเทศ สิทธิเสรีภาพ สิทธิมนุษยชน ของประชาชน ในประเทศไทย เป็นไปตามที่ รัฐธรรมนูญฯ, ก.ม.ภายใน และ วัฒนนธรรมฯ สิทธิมนุษยชนสากล (UN)