SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
๑
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
โดย ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศพรพวัณ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความนํา
พระพุทธศาสนาเปนศาสนาแหงเหตุผล มีระบบความเชื่อความศรัทธา ที่ตั้งอยูบนรากฐานแหง
ปญญา ผูที่มีความเชื่อตามคําสอนในพระพุทธศาสนาสามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิตได ดังนั้น
พระพุทธศาสนาจึงหมายถึง วิถีแหงชีวิต อันเปนระบบแหงการดําเนินชีวิตที่เรียกวา Way of life๑
จึงทําให
พระพุทธศาสนาแตกตางจากศาสนาอื่น ความเชื่อที่ประกอบดวยเหตุผล เรียกวา ศรัทธา ๔ ประกอบดวย๒
๑. กัมมสัทธา คือความเชื่อกรรม เชื่อกฎแหงกรรม เชื่อวากรรมมีอยูจริง คือเชื่อวาเมื่อทําอะไรโดยมี
เจตนา คือจงใจทําทั้งรูยอมเปนกรรม คือเปนความชั่วความดีมีขึ้นในตนเปนเหตุปจจัยกอใหเกิดผลดีผลราย
สืบเนื่องตอไป การกระทําไมวางเปลาและเชื่อวาผลที่ตองการจะสําเร็จไดดวยการกระทํา มิใชดวยออนวอน
หรือนอนคอยโชค เปนตน
๒. วิปากสัทธา คือ เชื่อวิบาก เชื่อผลของกรรม เชื่อวาผลของกรรมมีจริง คือ วากรรมที่ทําแลวตองมี
ผล และผลตองมีเหตุ ผลดีจากกรรมดี ผลชั่วเกิดจากกรรมชั่ว
๓. กัมมัสสกตาสัทธา คือ เชื่อความที่สัตวมีกรรมเปนของของตน เชื่อวาแตละคนเปนเจาของกรรม
จะตองรับผิดชอบเสวยวิบากเปนไปตามกรรมของตน
๔. ตถาคตโพธิสัทธา คือ เชื่อความตรัสรูของพระพุทธเจา มั่นใจในองคพระตถาคตวาทรงเปนพระ
สัมมาสัมพุทธะ ทรงพระคุณทั้ง ๙ ประการ ตรัสธรรม บัญญัติวินัยไวดวยดี ทรงเปนผูนําทางที่แสดงใหเห็น
วา มนุษยคือเราทุกคนนี้ หากฝกตนดวยดีก็สามารถเขาถึงภูมิธรรมสูงสุด บริสุทธิ์หลุดพนได ดังที่พระองค
ไดทรงบําเพ็ญไวเปนแบบอยาง
จากหลักศรัทธา ๔ ขางตนจะเห็นไดวาพระพุทธศาสนาเปนศาสนาที่สอนเรื่องกรรม และให
ความสําคัญหลักกรรมวาเปนหลักธรรมใหญและสําคัญ ทั้งนี้เพราะกรรมไดมีความสัมพันธกับการดําเนิน
ชีวิตประจําวันของมนุษย กรรมจึงเปนหลักธรรมมีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตประจําวันของคนในสังคม
บุคคลจะมีชีวิตที่เจริญขึ้นหรือเสื่อมลง มีทุกขหรือสุขนั้น มีผลมาจากกรรมของตนเองทั้งสิ้น มิใชการกระทํา
ของผูอื่น พระพุทธศาสนาไดใหความหมายของกรรมไวดังที่ปรากฏในพุทธพจนที่วา “ภิกษุทั้งหลาย เจตนา
นั่นเอง เราเรียกวากรรม บุคคลจงใจแลวจึงกระทําดวยกาย ดวยวาจา ดวยใจ”๓
ดังนั้นกรรมจึงเกิดจากการ
๑
พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) พุทธศาสนากับปรัชญา (กรุงเทพฯ : อมรินทรพรินติ้ง กรุพ จํากัด
,๒๕๓๓), หนา ๑๒.
๒
พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม (กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย,๒๕๔๓), หนา ๑๖๔.
๓
องฺ. ฉกฺก. (ไทย) ๒๒/๓๓๔/๔๒๒.
๒
กระทําของตัวเราเอง มิใชมีใครมากําหนดการกระทําดี เรียกวากรรมดี การกระทําชั่ว เรียกวา กรรมชั่ว ใน
การกระทําทุกอยางยอมมีผลเรียกวา วิบาก ที่บุคคลผูกระทําจะตองเปนผูรับ
สังคมไทยแตเดิมไดมีการปลูกฝงคานิยมเรื่องกรรม ใหเชื่อในกฎแหงกรรม จนมีสํานวนไทยวา “ทํา
ดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว” และยกยองคนดี คือ คนที่มีคุณธรรม แตปจจุบันสังคมไทยไดมีคานิยมที่เปลี่ยนไป การ
ใหความสําคัญเรื่องกรรมมีนอยลง สาเหตุเพราะสังคมไทยไปรับวัฒนธรรมของชาวตะวันตกเขามา ยอมให
เทคโนโลยีเขามามีบทบาทเพื่ออํานวยความสะดวกสบายตอวิถีการดําเนินชีวิตประจําวันของคนไทยในทุก
เรื่อง จนสงผลใหความเชื่อ คานิยมของคนไทยเปลี่ยนไป เปนสังคมบริโภคนิยมและวัตถุนิยม ดังที่ทานพุทธ
ทาสภิกขุไดกลาวไววา...สังคมไทยปจจุบันไดมีการเปลี่ยนแปลงไปตามวัตถุเปนอยางมาก แตการ
เปลี่ยนแปลงดังกลาว หาไดเปนไปเพื่อประโยชนสุขที่แทจริงของคนไทยไม คนนิยมวัตถุหรือวัตถุนิยมมาก
ไปมีกิเลสมากขึ้นและสิ่งที่ขาดคือศีลธรรมสภาพสังคมที่ฟอนเฟะเพราะรับอิทธิพลอารยธรรมตะวันตก...๔
จากคานิยมเดิมที่ยกยองคนดี คือ คนมีคุณธรรม และเชื่อในกฎแหงกรรมตามสํานวนที่วา “ทําดีไดดี
ทําชั่วไดชั่ว”ในปจจุบันไดจางหายไปกับคนไทยรุนใหมสังคมไทยไดเปลี่ยนคานิยมไปยกยองวัตถุคนดีคือ
คนที่มีเงินทอง มีอํานาจ และผลตอบแทนของการทําดีไดดี และคําวา “ดี” ในความหมายของคนรุนใหม คือ
ไดวัตถุสิ่งของ เงินทอง ชื่อเสียง เกียรติยศ ทั้งๆ ที่ผูที่ไดรับการยกยองเปนผูประพฤติเสื่อมเสีย แตสังคม
ไมไดใหความสนใจความประพฤติหรือวิธีการที่ทําใหไดมาซึ่งวัตถุสิ่งของเหลานั้น เพียงแตขอใหไดมาเปน
พอ จึงเกิดสํานวนที่นํามาใชในสังคมใหมวา “ทําดีไดดีมีที่ไหน ทําชั่วไดดีมีถมไป” ซึ่งแสดงใหเห็นถึง
ผลกระทบของความเชื่อเรื่องกรรมในสังคมไทยไดคลอนแคลน สังคมเกิดความเขาใจเรื่องกรรม
คลาดเคลื่อนไปจากความเปนจริงและไมเชื่อกฎแหงกรรมวามีจริง ความเชื่อเหลานี้ไมไดมีผลเฉพาะผูใหญ
เทานั้น แตไดสงผลกระทบทั้งทางตรง และทางออมอยางมากกับเด็กและวัยรุนที่จะเปนกําลังของชาติ ทําให
เกิดความเชื่อเรื่องกรรม คลาดเคลื่อนและผิดเพี้ยนไปจากความเปนจริงและไมเชื่อเรื่องกรรมและผลแหง
กรรมวามีจริง สาเหตุมาจากเห็นการกระทําของผูใหญที่กระทําตัวอยางที่ไมดีไว และกฎแหงกรรมก็ไมได
ลงโทษผูกระทําผิดใหเห็นทันตา
นอกจากนี้วัฒนธรรมตามกระแสโลกาภิวัฒนยุคของการสื่อสารที่ไรพรมแดนเครื่องมือสื่อสารตางๆ
ไดยั่วยุกระตุนใหเกิดความตองการทางวัตถุ และบริโภคนิยมเพื่อสนองกิเลสอยูตลอดเวลา ความสุขเกิดจาก
การมีวัตถุ จึงตองมีการแสวงหาดานเดียว รวมถึงการหางเหินจากหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ผลจากการ
มีความเชื่อเรื่องกรรมที่ผิดไปจากเดิมไดกอใหเกิดปญหาในสังคมปจจุบัน เชน ปญหายาเสพติด ปญหา
อบายมุข ปญหาอาชญากรรม และอื่นๆ อีกมากมายนานัปการ
๔
พุทธทาสภิกฺขุ, ทานพุทธทาสกับการศึกษา (กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา,๒๕๔๕), หนา ๑๓.
๓
กรรมตามแนวพุทธศาสนา
คําสอนเรื่อง กรรม ถือวาเปนเรื่องที่สําคัญประการหนึ่งในพุทธศาสนา เพราะมีลักษณะเปน
วิทยาศาสตร คือสามารถพิสูจนหรืออธิบายไดดวยเหตุผล พุทธศาสนาไดสอนเรื่องกรรมไววา กรรมเปน
เครื่องบันดาล กรรมเปนเครื่องสรางทุกอยาง กรรมคือการกระทํา กระทําไวอยางไร ยอมเกิดผลแหงการ
กระทํานั้น เหมือนชาวนาหวานพืชไวเชนไร ยอมไดรับผลแหงการหวานพืชนั้น เชนนั้นเหมือนกัน
ในอภิณหปจจเวกขณสูตร มีคําสอนเรื่องกรรมไววา “หญิงชาย คฤหัสถ บรรพชิต ควรพิจารณา
เนืองๆ วา เรามีกรรมเปนของตน เปนผูรับผลของกรรม มีกรรมเปนกําเนิด มีกรรมเปนเผาพันธุ มีกรรมเปน
ที่อยูอาศัย เราทํากรรมอันใดไว ดีก็ตาม ชั่วก็ตาม เราจักไดรับผลของกรรมนั้น”๕
และอีกขอความหนึ่ง ที่
ปรากฏใน วาเสฏฐบุตรวา “บุคคลไมไดเปนคนชั่ว ไมไดเปนคนดี เพราะชาติ หากเปนเพราะการกระทํา
บุคคลเปนชาวนา เปนศิลปน เปนพอคา เปนคนรับใช เปนโจร เปนทหาร เปนนักบูชายัญ เปนพระราชา ก็
เพราะการกระทําโลกเปนไปเพราะกรรมสัตวทั้งหลายผูกพันอยูที่กรรมเหมือนกับสลักลิ่มเปนเครื่องยึดรถ
ที่แลนไปฉะนั้น”๖
ความหมายของกรรม
ในหนังสือพุทธธรรมไดใหความหมายของกรรมไววา การงานหรือการกระทํา แตในทางธรรมตอง
จํากัดความจําเพราะลงไปวา หมายถึงการกระทําที่ประกอบดวยเจตนาหรือการกระทําที่เปนไปดวยความจง
ใจถาเปนการกระทําที่ไมมีเจตนาก็ไมเรียกวาเปนกรรมในความหมายทางธรรม๗
กลาวคือการกระทําที่ไดชื่อ
วาเปนกรรมนั้นยอมประกอบดวยเจตนาเปนพื้นฐานของการกระทํา ดังพุทธพจนที่วา เจตนาหํ ภิกฺขเว กมฺมํ
วทามิความวา"เรากลาวเจตนาวาเปนกรรม"หมายถึงสิ่งที่บุคคลตั้งใจแลวหรือคิดแลวยอมกระทํากรรมทาง
กาย ทางวาจา หรือทางใจ
คําวา กรรม เปนศัพทภาษาสันสกฤต (ภาษาบาลี คือ กมฺม) แปลวา การกระทําเปนคํากลางๆไมดีไม
ชั่ว ถาการกระทํานั้นเปนการกระทําดี ก็เรียกวา "กุศลกรรม" แตถาเปนการกระทําไมดีก็เปนอกุศลกรรม
เหมือนคําวา ทิฏฐิ (ความเห็น) ก็เปนคํากลางๆ เหมือนกัน ยังไมถือวาผิดหรือไมผิด เมื่อเห็นชอบก็เปน
สัมมาทิฏฐิ แตถามีความเห็นผิดก็เปนมิจฉาทิฏฐิ ฉะนั้น เมื่อพบคําวากรรมก็ใหเขาใจวา เปนการกระทําที่
ประกอบดวยความจงใจ คือมีเจตนาที่จะกระทํา กลาวคือเปนการกระทําโดยหวังผลลัพธ
๕
อางใน พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร, พุทธปรัชญาการศึกษา (เลย : มจร.วิทยาลัยสงฆเลย, ๒๕๕๐), หนา ๔๗.
๖
เสฐียร พันธรังษี,ศาสนาเปรียบเทียบ (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔), หนา ๑๕๒ - ๑๕๓.
๗
พระธรรมปฎก,,พุทธกรรม กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(,๒๕๔๖,), หนา ๑๕๗.
๔
ลักษณะของกรรม
การกระทําทุกอยางไมใชเปนกรรมเสมอไป แตการกระทําที่จัดวาเปนกรรมโดยสมบูรณ จะตอง
ประกอบดวยลักษณะ ๓ ประการ คือ
๑. มีกิเลสเปนแรงกระตุนใหเกิดการกระทํา
๒. มีเจตนา คือความจงใจหรือตั้งใจที่จะกระทํา
๓. ลงมือกระทํา
เจตนาเปนองคประกอบที่สําคัญที่จะทําใหการกระทํานั้นเปนกรรมโดยสมบูรณหรือไมตัวอยางเชน
นาย ก. ขับรถยนตไปชนสุนัขตาย การกระทําของนาย ก. ไมจัดวาเปนกรรม เพราะนาย ก. ไมมีเจตนาที่จะ
กระทํา(ไมตั้งใจที่จะขับรถชนสุนัข) แตถานาย ก. ใชปนยิงสุนัขตาย เพราะโมโหที่เจาสุนัขตัวนั้นไปกัดไก
ชนที่เขาเลี้ยงไว การกระทําของนาย ก. จัดวาเปนกรรม เพราะองคประกอบของการกระทํากรรมครบ
สมบูรณ คือ มีกิเลส (ความโกรธ) เปนแรงผลักดันใหกระทํากรรมนั้น ประกอบกับมีความจงใจในการลงมือ
กระทําดวย เมื่อการกระทํานั้นสําเร็จผลโดยมีแรงผลักดันกับความจงใจมีอยูดวยกัน ผลของการกระทํานั้น
จัดเปนกรรมทันที
เครื่องมือในการกระทํากรรม
มนุษยมีสวนประกอบที่สําคัญ ๒ อยางคือ กายกับใจ ในสวนกายที่ใชกระทําการไดก็มีอยู ๒ สวน
ดวยกัน คือ รางกาย(มือ เทา) กับ ปาก เมื่อกลาวโดยสรุป เครื่องมือที่ใชในการกระทํากรรมของมนุษยมีอยู ๓
ทาง คือ
๑. กายกรรม คือการกระทําทางกาย มีทั้งที่เปนกุศลและอกุศล คือทั้งดีและไมดี กายกรรมฝายกุศล
ไดแก การไมฆาสัตว การไมลักขโมย การไมประพฤติเสียหายในเรื่องกาม กายกรรมฝายอกุศลไดแก การฆา
สัตว การลักขโมย การประพฤติผิดในกาม
๒. วจีกรรม คือการกระทําทางวาจา มีทั้งที่เปนกุศลและอกุศล คือมีทั้งดีและไมดี วจีกรรมฝายกุศล
ไดแก การไมพูดเท็จ การพูดคําหยาบ การไมพูดสอเสียด การไมพูดคําเพอเจอ วจีกรรมฝายอกุศล ไดแก การ
พูดเท็จ การพูดคําหยาบ การพูดคําสอเสียด การพูดคําเพอเจอ
๓. มโนกรรม คือการกระทําทางใจ มีทั้งที่เปนกุศลและอกุศล คือมีทั้งดีและไมดี มโนกรรมฝายกุศล
ไดแก การคิดในทางไมโลภอยากไดของคนอื่น การคิดในทางไมเบียดเบียนคนอื่น การมีความเห็นถูกตอง
ตามทํานองคลองธรรม มโนกรรมฝายอกุศล ไดแก คิดโลภอยากไดของคนอื่น การคิดไปในทางเบียดเบียน
คนอื่น การเห็นผิดจากทํานองคลองธรรม
ในบรรดากรรมทั้ง ๓ ประการ คือกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม ทั้งที่เปนกุศลและอกุศล
มโนกรรมสําคัญที่สุด และมีผลกวางขวางรุนแรงที่สุด ดังพุทธพจนที่วา “บรรดากรรม ๓ อยางเหลานี้....เรา
๕
บัญญัติมโนกรรมวามีโทษมากกวา ในการทําบาปกรรม ในความเปนไปแหงบาปกรรม หาบัญญัติกายกรรม
อยางนั้นไม หาบัญญัติวจีกรรมอยางนั้นไม”๘
ประเภทของกรรม
ในพระไตรปฎกจําแนกกรรมออกเปนหลายประเภทแลวแตวาจะจําแนกเพื่อวัตถุประสงคอะไร
กลาวคือ ถาแบงตามคุณภาพหรือตามธรรมที่เปนมูลเหตุ กรรมสามารถแบงไดเปน ๒ อยาง ดังนี้
๑. อกุศลกรรม คือกรรมที่เปนอกุศล การกระทําที่ไมดี กรรมชั่ว หมายถึงการกระทําที่เกิดจากอกุศล
มูล คือ โลภะ โทสะ หรือ โมหะ
๒. กุศลกรรม คือกรรมที่เปนกุศล การกระทําที่ดี หรือกรรมดี หมายถึงการกระทําที่เกิดจากกุศลมูล
คือ อโลภะ อโทสะ หรืออโมหะ
ถาเปนกรรมจําแนกตามสภาพที่สัมพันธกับวิบากหรือการใหผล จัดเปน ๔ ประเภท คือ๘
๑. กรรมดํา หมายถึงอกุศลกรรมที่เกิดจากอกุศลเจตนา ไดแกกายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขารที่มี
การเบียดเบียน ตัวอยางเชน ฆาสัตว ลักทรัพย ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จดื่มน้ําเมา เปนตน นอกจากนี้กรรม
ดํายังหมายถึงครุกรรมอกุศล ๕ อยาง คือ ฆาพอ ฆาแม ฆาพระอรหันต ทํารายพระพุทธเจาจนหอพระโลหิต
และยุยงสงฆใหแตกกัน
กรรมดํามีผลดํา คือผลที่กอใหเกิดความทุกข ความเดือดรอนแกผูกระทํา ซึ่งอาจเกิดในชาตินี้หรือ
ชาติหนา หรือทั้งชาตินี้ชาติหนา ซึ่งแลวแตกรรมนั้นๆ เชน การฆาคนตายใหผลในชาตินี้คือถูกจําคุก ผลใน
ชาติหนาตกนรกผูประกอบกรรมดําไดรับผลสองชั้นผลชั้นนอกคือทําใหตัวเองเดือดรอนผลชั้นในคือทําให
ใจเศราหมอง กิเลสในตัวงอกงามยิ่งขึ้น
๒. กรรมขาว หมายถึงกุศลกรรมที่ที่เกิดจากกุศลเจตนา ไดแก กายสังขาร วจีสังขาร และมโน
สังขารที่ไมมีการเบียดเบียนงดเวนจากการฆาสัตวจากการลักทรัพยจากการประพฤติผิดในกามจากการพูด
เท็จ จากการดื่มน้ําเมา การใหทาน การรักษาศีล การมีจิตเมตตากรุณาตอผูอื่น นอกจากนี้กรรมขาวยังรวมไป
ถึงครุกรรมฝายกุศล คือ สมาบัติ ๘ อันไดแกรูปฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ ดวย กรรมขาวมีผลขาว คือผลที่
กอใหเกิดความสุขสบาย ความเจริญรุงเรืองในชีวิต ซึ่งอาจเกิดในชาตินี้หรือชาติหนา หรือทั้งชาตินี้และชาติ
หนาก็ได ผูประกอบกรรมขาวจะไดรับผลชั้นนอก คือทําใหตัวเองมีความสุขและมีความเจริญรุงเรืองในชีวิต
ผลชั้นในคือ ทําใหกิเลสเครื่องเศราหมองลดนอยลงไป
๘
ม.ม. ๑๓/๖๔//๕๖.
๘
สุจิตรา ออนคอม,ศาสนาเปรียบเทียบ (กรุงเทพ ฯ : หจก.สํานักพิมพ และสายสงดวงแกว,๒๕๔๕), หนา ๘๘-
๘๙.
๖
๓. กรรมทั้งดําทั้งขาว หมายถึงกรรมที่เปนทั้งอกุศลและกุศลซึ่งเกิดจากเจตนาที่เปนทั้งอกุศลและ
กุศล ไดแก กายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร อันมีความเบียดเบียนบาง ไมเบียดเบียนบาง เชน การกระทํา
ของมนุษยทั่วๆ ไป
กรรมทั้งดําทั้งขาวใหผลทั้งดําทั้งขาวคือกอใหเกิดทั้งสุขและทุกขระคนกันเชนเกิดในตระกูลมั่งคั่ง
ร่ํารวยแตขี้โรค เปนตน
กรรมทั้งสามอยางที่กลาวมานี้ยังมีผลตอการเวียนวายตายเกิด กลาวคือ เมื่อทํากรรมหนึ่งกรรมใดใน
๓ อยางนี้ บุคคลยังตองเกิดเพื่อรับผลของกรรมนั้นๆ ไมวาจะเปนผลดีหรือผลชั่ว หรือทั้งผลดีและผลชั่ว
๔. กรรมไมดําไมขาว หมายถึงกรรรมที่ไมเปนทั้งอกุศลและกุศล เกิดจากเจตนาที่ไมใชทั้งอกุศล
และกุศล ไดแก เจตนาเพื่อละกรรมดํา กรรมขาว และกรรมทั้งดําทั้งขาว คือการปฏิบัติอริยมรรคมีองค ๘
ทั้งนี้เพราะการปฏิบัติอริยมรรคมีองค ๘ นั้นยอมเปนการหลุดพนจากการเวียนวายตายเกิดในสังสารวัฏ
ตลอดไป
กรรมไมดําไมขาวใหผลไมดําไมขาว เพราะกรรมชนิดนี้เปนไปเพื่อดับภพ ดับชาติ เพื่อความหลุด
พน เพื่อที่สุดแหงทุกข เพื่อนิพพาน เพราะผูปฏิบัติกรรมชนิดนี้ในที่สุดก็จะบรรลุอรหัตตผลเปนพระอรหันต
การกระทําของพระอรหันตจึงเรียกวา"กิริยา"เพื่อใหแตกตางจากรรมธรรมดากรรมไมดําไมขาวนําไปสูการ
สิ้นสุดแหงกรรม กรรมทั้งปวงที่ทําจะนําไปสิ้นสุดในกรรมนั้น กรรมดีและกรรมชั่วที่เคยทําไวแมจะยังให
ผลไมหมด แตเมื่อบรรลุนิพพานแลวกรรมเหลานั้นก็กลายเปนอโหสิกรรม คือกรรมที่ไมใหผลอีกตอไป
กรรม ๑๒ ประเภท
ในคัมภีรอรรถกถา เชน วิสุทธิมรรค และมโนรถปุรณีไดแบงกรรมออกเปน ๑๒ ประเภท เรียกวา
กรรม ๑๒ ซึ่งแบงเปนหมวดใหญๆ ได ๓ หมวด คือ หมวดที่ ๑ วาดวยปากกาล คือการจําแนกตามเวลาที่
ใหผลมี ๔ อยาง หมวดที่ ๒ วาดวยกิจ คือการจําแนกการใหผลตามหนาที่มี ๔ อยาง และหมวดที่ ๓ วาดวย
ปากทานปริยายคือการจําแนกตามลําดับความแรงในการใหผล๙
ดังนี้
๑. กรรมทีใหผลตามหนาที่
ตามหลักพุทธศาสนาเชื่อวามนุษยทุกคนเกิดมาเพราะกรรมของตน กรรมเปนตัวกําหนดวิถีชีวิตของ
มนุษย ชีวิตจะเปนอยางไรลวนขึ้นอยูกับกรรมที่ตนทําไว กรรมจะทําหนาอยางตรงไปตรงมา เพื่อใหผลของ
การกระทําสมดุลกับกรรมที่ตนทําไว ในที่นี้แบงกรรมที่ใหผลตามหนาที่ออกเปน ๔ ประเภท คือ
๑.๑ ชนกกรรม
คําวา “ชนกกรรม” หมายถึงกรรมแตงใหเกิด กรรมที่เปนตัวนําไปเกิด ถาเปนกรรมดีก็นําไปเกิดใน
ภพที่ดี ถาเปนกรรรมชั่วก็นําไปเกิดในภพที่ชั่ว หนาที่ของกรรมชนิดนี้ คือเมื่อบุคคลตายลง ชนกกรรมมี
๙
องฺ. อ. ๒/๑๓๑-๑๔๑-๑๔๖.
๗
หนาที่นําบุคคลนั้นไปเกิดตามฐานะสมควรแกกรรรมที่เขาทํา เชนนําไปเกิดในตระกูลมั่งคั่งร่ํารวย หรือใน
ตระกูลยากจนขัดสน เปนตน เมื่อนําไปเกิดตามสมควรแกฐานะของกรรมที่บุคคลนั้นทําแลว ก็เปนอันหมด
หนาที่เปรียบเหมือนบิดาผูยังบุตรใหเกิดแลวเปนอันหมดหนาที่ฉะนั้น
ตัวอยางเชน : วีระพล เปนลูกชายของสุทธินันทมหาเศรษฐีทางจังหวัดภาคเหนือของประเทศไทย
ชนกกรรมฝายกุศลนําวีระพลมาเกิดในตระกูลมหาเศรษฐี เขาไมลําบากในชีวิตเลย เพราะพอแมของเขามีเงิน
อยากไดอะไร พอแมก็ซื้อหามาให คําวา "ไมมี" เขาไมเคยไดยิน
ตรงกันขามกับทองมี ซึ่งเปนลูกของลุงมาปามีอาชีพทํานาทําสวนในแถบภาคอีสาน เขาไมเคยพบ
กับความสบายใจในชีวิตเลย มีแตทํางานหนักชวยพอแมหาเลี้ยงครอบครัวเพราะพอแมของเขาเปนชาวนา
ยากจน เขาไมเคยไดยินคําวา "มี" เลยในชีวิต
สิ่งที่ทําใหวีระพลกับทองมามีความแตกตางกันในลักษณะของการเกิดก็คือ กรรม ซึ่งทั้งสองทํามา
ไมเหมือนกัน
๑.๒ อุปตถัมภกรรม
คําวา “อุปตถัมภกรรม” หมายถึงกรรมสนับสนุน กรรมที่เขาชวยสนับสนุนหรือซ้ําเติมตอจากชนก
กรรม กลาวคือเมื่อชนกกรรมแตางใหเกิดแลว อุปตถัมภกรรมจึงเขามาสนับสนุนสงเสริม เปรียบเหมือนแม
นมผูเลี้ยงทารกที่บิดาใหเกิดแลว หากชนกกรรรมนําไปเกิดในตระกูลที่มั่งคั่งร่ํารวย อุปตถัมภกกรรมก็จะไป
สนับสนุนใหไดรับความสุข เขาในลักษณะวารุงเรืองมาแลว มีรุงเรืองไปภายหนา แตถาชนกกรรมแตงให
เกิดในที่ไมดีอุปตถัมภกกรรมก็จะไปซ้ําเติมใหเลวยิ่งขึ้นเขาในลักษณะวามืดมาแลวมีมืดไปภายหนาดังนั้น
ถาชนกกรรรมดี อุปตถัมภกรรมก็ดีดวย แตถาชนกกรรมไมดี อุปตถัมภกรรมก็พลอยไมดีไปดวย
ตัวอยางเชน : ชนกกรรมฝายกุศลนําพาใหวีระพลมาเกิดในตระกูลที่มีฐานะมั่งคงแลว เขายังมีความ
สมบูรณทางรางกายอยางเต็มที่ มีอวัยวะครบทุกสวน ในขณะเดียวกันความสมบูรณทางจิตใจของวีระพลก็
ยอดเยี่ยม เขาเปนคนมีอุปนิสัยออนนอมถอมตน มีความขยันหมั่นเพียรในการแสวงหาความรู และมี
กิริยามารยาทเรียบรอยสมกับเปนลูกผูดีทุกประการเขาไมเคยสรางความเดือดรอนใหกับพอแมการที่วีระพล
เกิดมามีความสมบูรณทางรางกายทุกอยาง เปนเพราะชนกรรรมฝายกุศล ในขณะเดียวกันอุปตถัมภกรรมก็
สนับสนุนใหเขาดียิ่งขึ้น
ชนกกรรมฝายอกุศลนําพาใหทองมามาเกิดในตระกูลชาวนาที่ยากจน ตัวเขาเองก็เกิดมาเปนคน
พิการมาแตกําเนิด พอแมของทองมาก็เปนคนไมเอาไหน คือพอขี้เหลา แมเลนการพนัน ทะเลาะกันเกือบทุก
วัน ตัวเขาเองนอกจากจะเปนคนพิการแลว ยังมีนิสัยไมดีหลายอยาง เชน ชอบดื่มเหลา และเลนไพ เวลาเมาก็
เลนบทนักเลงทาตีตอยกับชาวบานอยูล่ําไป ที่เปนเชนนี้ เพราะกรรมฝายอกุศลนําพาใหทองมามาเกิดใน
สภาพแวดลอมที่ไมดี อุปตถัมภกรรมก็สนับสนุนซ้ําเติมใหเขาเลวยิ่งขึ้น
๘
๑.๓ อุปปฬกกรรม
คําวา “อุปปฬกกรรม” หมายถึงกรรมบีบคั้น กรรมที่มาใหผลบีบคั้นผลแหงชนกกรรม และ
อุปตถัมภกรรมนั้น ใหแปรเปลี่ยนทุเลาลงไป บั่นทอนวิบากมิใหเปนไปไดนาน เชน ถาชนกกรรมดี อุปปฬก
กรรมก็จะไปบีบคั้นใหเลวลง เขาลักษณะวา รุงเรืองมาแลวมีมืดไปภายหนา แตถาชนกกรรมไมดี อุปปฬก
กรรมจะเขาไปกีดกันใหทุเลาลง เขาในลักษณะวามืดมาแลวมีรุงเรืองไปภายหนา เมื่ออุปปฬกกรรมมัน
เบียดเบียนชนกกรรมมันจึงเบียดเบียนอุปถัมภกกรรมไปดวย เพราะอุปตถัมภกรรมจะไปตามชนกกรรม
ตัวอยางเชน : ชนกกรรรมฝายกุศลนําพาใหสุนทรมาเกิดในตระกูลที่มีฐานะดี แตอุปปฬกกรรมก็มา
บีบคั้นขัดขวางใหเขาเปนคนไมดี เขาเกิดมาในตระกูลที่ดีมีทั้งฐานะและชื่อเสียง แตปรากฏวา ฐานะและ
ชื่อเสียงตองมาสูญสิ้นหรือเสื่อมลง เพราะสุนทรประพฤติตนเปนคนไมเอาไหน สรางความลําบากใจใหแก
พอแมเปนอยางมาก
ชนกกรรมฝายอกุศลนําพาใหแดงมาเกิดในตระกูลต่ํา เปนคนมีฐานะยากจนและลําบากมาก แตอุป
ปฬกกรรมมาขัดขวางใหเขาเปนคนดี ถึงแมเขาจะเกิดมาในครอบครัวที่มีฐานะยากจน มิหนําซ้ําเขายังพิการ
มาแตกําเนิดอีกดวย แตเขาก็ไมไดปลอยชีวิตใหเปลาประโยชน เขาเปนคนมีความขยันมุงมั่นและอดทน
ประกอบสัมมาชีพ จนสรางฐานะของตนเองขึ้นทัดเทียมกับคนอื่นได
๑.๔ อุปฆาตกรรม
คําวา “อุปฆาตกรรม” หมายถึงกรรมตัดรอน เปนกรรมแรง กรรมฝายตรงขามกับชนกกรรมและ
อุปตถัมภกรรม เขาตัดรอนการใหผลของกรรมสองอยางนั้นใหขาดไปเสียทีเดียว เชนเกิดในตระกูลสูงมั่งคั่ง
แตอายุสั้น เปนตน ในทางตรงขาม ถาชนกกรรมและอุปตถัมภกรรมไมดี แตมีอุปฆาตกรรมอยูอุปฆาตกรรม
ก็จะไปตัดรอนผลไมดีนั้น เชน เกิดในตระกูลยากจนขัดสน ไดรับความทุกข แตมีเศรษฐีมาขอไปเปนบุตร
บุญธรรม ไดรับความสุขสบาย เปนตน
ตัวอยางเชน : พระภิกษุสุข บวช เปนพระมาได ๑๓ พรรษา ระยะเวลา ๑๓ ป ที่ผานมานั้น ทานได
ประพฤติปฏิบัติตนอยูในกรอบของพระธรรมวินัย จนเปนที่เคารพนับถือของชาวบานเปนอยางยิ่ง พอบวช
ครบ ๕ พรรษา ชาวบานก็พากันนิมนตใหทานเปนเจาอาวาสที่วัดประจําหมูบาน ทางคณะสงฆก็แตงตั้งให
ทานเปนเจาอาวาสตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา ในชวงเวลา ๘ ป ที่เปนเจาอาวาส พระภิกษุสุขไดนําพาชาวบาน
พัฒนาวัดแหงนั้นใหเจริญกาวหนาไปมาก อยูตอมาวันหนึ่งทานไดรับนิมนตใหไปเทศนที่หมูบานอื่น ขา
กลับรถที่มาสงทานไดเกิดอุบัติเหตุเสียหลักพลิกคร่ําลงขางทาง เปนเหตุใหทานเสียชีวิตทันที ชาวบานพอรู
ขาวตางพากันเสียใจ และเสียดายวา ทานไมนาอายุสั้นอยางนี้เลย พระดี ๆ อยางนี้นาจะมีอายุที่ยืนยาว ฯลฯ
แตเมื่อพูดถึงเรื่องกรรม ก็เพราะเหตุที่อุปฆาตกรรมมาตัดรอนใหพระภิกษุสุขอายุสั้น แทนที่จะมีอายุยืนยาว
ประมาณ ๗๐-๘๐ ป
ทานเปรียบอุปฆาตกรรมวา เหมือนกับผลไมชนิดใดชนิดหนึ่ง สมมติวาเปนผลมะมวง ตามธรรมดา
ของผลมะมวง เมื่อตนมะมวงออกชอออกดอกเสร็จแลวก็จะติดผล เมื่อเวลาผานไป ผลมะมวงก็จะ
๙
เจริญเติบโตตามลําดับ พอระยะใกลจะแกก็มีคนๆ หนึ่งเอาไมมาสอยไปกินเสียกอน แทนที่จะแกและสุก
ลวงลงมาตามธรรมชาติ
๒. กรรมที่ใหผลตามกาลเวลา
ลักษณะของกรรมที่ใหผลตามกาลเวลา แบงออกเปน ๔ ประเภท ดังนี้
๒.๑ ทิฏฐธัมมเวทนียกรรม
คําวา “ทิฏฐธัมมเวทนียกรรม” หมายถึงกรรมใหผลในปจจุบันภพนี้ ไดแกกรรมดีก็ตาม ชั่วก็ตาม ที่
ผูกระทําทําแลวจะไดรับผลในชาตินี้ทันตาเห็น เพราะเปนกรรรมแรง แตถาผูกระทํากรรมตายลงเสียกอนที่
กรรมจะใหผล กรรมนี้ก็จะเปนอโหสิกรรม ทานเปรียบวาเหมือนนายพรานเห็นเนื้อ หยิบลูกศรยิงไปทันที
ถาถูกเนื้อก็ลมที่นั่น แตถาพลาดเนื้อก็รอดไปเลย
ตัวอยางเชน : เด็กชายเกง เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ ของโรงเรียนแหงหนึ่ง เขาเปนเด็กที่มี
ความขยันในการศึกษาเลาเรียนมาก ผลปรากฏวา เขาเปนเด็กที่เรียนเกงและสอบไดที่ ๑ ของหองมาตลอด
ผูปกครองของเด็กชายเกง ก็พลอยมีความสุขไปดวย เพราะคุณครูและเพื่อนๆ ของเกง ตางพูดชมเชยความดี
ของเขาใหฟงเสมอ
สวนนางสาวโอเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ ของโรงเรียนแหงหนึ่ง เธอเปนเด็กใจแตก คบ
ผูชายมาหลายคน เวลาไปเรียนหนังสือเธอไมมีสมาธิ เพราะเธอสนใจสิ่งอื่นมากกวาการเรียน มิหนําซ้ําเธอยัง
ขาดเรียนบอยมาก เมื่อเวลาสอบวัดผลปลายภาคเรียนที่ผานมา ปรากฏวาเธอติดศูนยไปหลายวิชา จึงเปนเหตุ
ใหเธอเรียนไมจบพรอมกับเพื่อนคนอื่นๆ ในภาคเรียนนี้
๒.๒ อุปชชเวทนียกรรม
คําวา “อุปชชเวทนียกรรม” หมายถึงกรรมใหผลในภพที่จะไปเกิด คือภพหนาที่ใกลกับภพปจจุบัน
ไดแกกรรมดีก็ตาม ชั่วก็ตาม ที่ผูกระทําทําแลวจะไดรับผลในภพหนาหรือชาติหนา เพราะเปนกรรมแรงนอย
กวากรรมแรก หากกรรมนี้ไมมีโอกาสใหผลในภพหนาก็จะกลายเปนอโหสิกรรม
ตัวอยางเชน : เด็กชายเกงและนางสาวโอดังกลาวขางตน เกงเปนเด็กขยัน มีความสนใจในการศึกษา
หาความรู อนาคต(ชาติหนา) เขาตองเปนคนที่มีความรูกวาง หรือประสบความสําเร็จในการศึกษาอยาง
แนนอน สวนโอไมสนใจในการเรียน อนาคต(ชาติหนา) เธอจะตองประสบความลมเหลวในเรื่องการเรียน
หรือเรียนไมเกงเหมือนเด็กชายเกง
๒.๓ อปราปริยเวทนียกรรม
คําวา “อปราปริยเวทนียกรรม” หมายถึงกรรมใหผลภพตอๆ ไปถัดจากภพหนาหรือชาติหนาไดแก
กรรมดีก็ตาม ชั่วก็ตาม ที่ผูกระทําแลวจะไดรับผลในภพตอๆ ไป เพราะเปนกรรมที่แรงนอยกวาสองกรรม
๑๐
แรก กรรมชนิดนี้จะติดตามผูกระทําไปเรื่อยๆ ไดโอกาสเมื่อใดก็ใหผลเมื่อนั้น ไมเปนอโหสิกรรมตราบเทา
ผูกระทํายังอยูในวัฏสงสาร จะสิ้นสุดก็ตอเมื่อไดใหผลหมดแลวหรือผูกระทํากรรมบรรลุพระนิพพาน ทาน
เปรียบเหมือนสุนัขไลเนื้อที่วิ่งไลตามเนื้อตลอดเวลา ตามทันเมื่อใดก็กัดเมื่อนั้น
ตัวอยางเชน : ลุงมีสามีปามามีนิสัยประจําตัวอยางหนึ่งคือ ชอบดื่มสุรา แกดื่มสุรามาตั้งแตสมัยยัง
เปนหนุม ขณะนี้อายุลุงมียาง ๗๖ ปแลว สมัยเปนหนุมจนถึงวัยกลางคนแกยังไมเปนไร คือมีสุขภาพแข็งแรง
แตปจจุบันนี้แกเปนโรคตับแข็ง ทําใหรางกายทรุดโทรมตองเขารักษาตัวที่โรงพยาบาลบอยๆ แตอาการก็ยัง
ไมดีขึ้น เนื่องจากผลที่ชอบดื่มสุราเมื่อวัยหนุมนั่นเอง
๒.๔ อโหสิกรรม
คําวา “อโหสิกรรม” หมายถึงกรรมเลิกใหผล ไมมีผลอีก คําวา "อโหสิกรรม" เปนคําสามัญ แปลวา
"กรรมไดมีแลว" แตในที่นี้นํามาใชใชในความหมายเฉพาะวา "มีแตกรรรมเทานั้น วิบากไมมี" อโหสิกรรม
จึงหมายถึงกรรมที่หมดโอกาสใหผลอยางหนึ่ง หรือกรรมที่ใหผลหมดแลวประการหนึ่ง อโหสิกรรมจึงเปน
กรรมที่ไดใหผลสําเร็จแลว ไมตองใหผลอีกตอไป เพราะไดใหผลในภพใดภพหนึ่งดังกลาวแลวขางตน
๓. กรรมที่ใหผลตามความหนักเบา
กรรมแตละอยางใหผลตามความหนักเบาไมเหมือนกัน เพราะฉะนั้นเราจึงสามารถแบงกรรมตาม
ความหนักเบาออกเปน ๔ ประเภท คือ
๓.๑ ครุกรรม
คําวา “ครุกรรม” หมายถึงกรรมหนัก เปนกรรมที่จะใหผลกอนกรรมอื่นทุกชนิด ครุกรรมที่เปนฝาย
กุศล ไดแก การปฏิบัติสมถและวิปสนากรรมฐานจนถึงขั้นสมาบัติ ๘ ฝายอกุศล ไดแก นิยตมิจฉาทิฏฐิกรรม
และอนันตริยกรรม
นิยตมิจฉาทิฏฐิกรรม คืออกุศลกรรรมที่กระทําดวยความเห็นผิด ซึ่งสามารถนําไปสูนิรยภูมิโดย
แนนอน๑๐
อนันตริยกรรม คือกรรมหนัก กรรมที่เปนบาปหนักที่สุด ตัดทางสวรรค ตัดทางนิพพาน กรรมที่
ใหผลคือความเดือดรอนไมเวนระยะเลย มี ๕ อยางคือ๑๑
(๑) มาตุฆาต ฆามารดา
๑๐
สมาน บุญอารักษ,พจนานุกรมพระอภิธรรมเจ็ดคัมภีร อางใน สุจิตรา ออนคอม,อางแลว, หนา ๑๐๓.
๑๑
พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท (กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๖), หนา ๓๐๑.
๑๑
(๒) ปตุฆาต ฆาบิดา
(๓) อรหันตฆาต ฆาพระอรหันต
(๔) โลหิตุปบาท ทํารายพระพุทธเจาจนถึงยังพระโลหิตใหหอขึ้นไป
(๕) สังฆเภท ทําสงฆใหแตกกัน
ครุกรรมทั้ง ๒ ประเภทขางตนเปนกรรมหนัก ใครทํายอมไดรับผลทันที โดยมีคํากลาวเปรียบเทียบ
ไววา ครุกรรมเหมือนกับโคที่เปนหัวหนาฝูง พอนายโคบาล ปลอยโคออกจากคอก โคที่มีกําลังมากกวา (ครุ
กรรม) ก็ยอมเบียดเสียดโคตัวอื่นออกจากคอกไปกอนเสมอ
๓.๒ พหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม
คําวา “พหุลกรรม” หมายถึงกรรมที่ทําบอยๆ จนเคยชิน หรือกรรมที่ทําเปนประจํา กรรมชนิดนี้เปน
กรรมเบา จะใหผลก็ตอเมื่อครุกรรมใหผลแลว แตถาไมมีครุกรรม พหุลกรรมจะใหผลกอนกรรมอื่น
๓.๓ อาสันนกรรม หมายถึงกรรมจวนเจียน หรือกรรมที่ระลึกถึงในเวลาใกลจะตาย ทั้งกรรมดี และ
กรรมชั่ว จะเกิดอารมณ ๓ อยาง คือ
(๑) กรรมอารมณ คือการนึกถึงกรรมทั้งที่เปนกุศลและอกุศลที่ตนเองไดกระทํามาแลว เชน นึก
ถึงบุญกุศลที่ตนเองเคยทํามา มีการไหวพระสวดมนต ใหทาน เปนตน หรือนึกถึงบาปที่ตนเคยทํามา เชน เคย
ฆาคน ฆาสัตว เปนตน
(๒) กรรมนิมิตอารมณ คืออารมณที่เปนเครื่องหมายของกรรมที่ตนเองไดทําไว เชน ฝายกุศล มี
ภาพโบสถวิหาร ภาพศาลาการเปรียญ เปนตน ที่ตนเคยบริจาคสรางไว ฝายอกุศลก็มีภาพหอก ภาพดาบ ภาพ
ปนผานาไมที่ตนเองเคยใชเปนอาวุธประหารหรือทํารายบุคคลหรือสัตวอื่น
(๓) คติมินิตอารมณ คืออารมณที่เปนนิมิตหรือเครื่องหมายบงบอกถึงภพภูมิหรือคติที่ตนเองจะ
ไปเกิด ถาเปนคตินิมิตที่ดีที่จะนําไปสูสุคติภูมิ ก็จะปรากฏเปนประสาททิพวิมานใหเห็น ถาเปนคตินิมิตที่ไม
ดี เชน ภาพสัตวนรก ภาพสัตวเดรัจฉาน เปนตน ก็จะนําไปสูทุคติภูมิ
๓.๔ กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม
คําวา “กตัตตากรรม” หมายถึงกรรมสักวาทํา ไดแก กรรมดีก็ตาม ชั่วก็ตาม ที่ทําไวดวยเจตนาอัน
ออน หรือมิใชเจตนาอยางนั้นโดยตรง แตทําไปเพราะความสะเพรา ประมาท หรือความคึกคะนอง กรรม
ชนิดนี้ใหผลนอยที่สุด กลาวคือ ถาบาปก็บาปนอย ถาบุญก็บุญนอย และจะใหผลตอเมื่อไมมีกรรมอื่นมา
ใหผลแลว
๑๒
การใหผลของกรรม
คนสวนมากเชื่อกันวา การใหผลของกรรมยอมใหผลตรงๆ เทานั้น เชนความเชื่อที่วา เมื่อชาติที่แลว
เคยหักขากบขาเขียด เกิดมาชาตินี้จึงเปนคนขาเปตั้งแตแรกเกิดแตลักษณะการใหผลของกรรมนั้นอาจใหใน
ลักษณะ ๓ ประการ คือ๑๒
๑. ใหผลในระดับคุณภาพของจิต คือคนที่ทําความดี (กุศลกรรม) ยอมมีคุณภาพจิตที่ดี คนที่มี
สุขภาพจิตดี ยอมมีหนายิ้มแยมแจมใส มีความสุข สงบเรียบรอย สวนคนที่ทํากรรมไมดี(อกุศลกรรม)
คุณภาพจิตของเขายอมไมดี มีผลทําใหจิตใจของเขามีความเรารอน กระวนกระวายไมเปนสุข
๒.ใหผลในระดับอุปนิสัย หรือบุคลิกภาพสืบเนื่องมาจากการใหผลของกรรมในระดับคุณภาพของ
จิต คนที่ทํากรรมดี เมื่อมีสุขภาพจิตดี ยอมมีบุคลิกที่ดีตามไปดวย สงผลใหเขาเปนคนที่มีจิตที่มีเมตตา เปน
บุคคลที่นาเคารพนับถือ สามารถเปนแบบอยางของผูอื่นได ในทางตรงกันขาม คนที่ทํากรรมไมดี ยอมมี
อุปนิสัยหรือบุคลิกภาพไมดี เพราะจิตใจเศราหมอง ทําใหมีความทุกขตลอดเวลา
๓. ใหผลในระดับภายนอก หรือใหผลทางสังคม คนที่ทํากรรมดี เชน ตั้งใจทําหนาที่ของตนเองดี
นอกจากจะมีคุณภาพจิตดี เปนคนหนาตาเบิกบาน ยิ้มแยมแจมใส สงผลทําใหเกิดบุคลิกภาพที่ดีแลว ยังมีผล
ตอการเขาสังคมหรือการดําเนินชีวิตในสังคมอีกดวย กลาวคือเมื่อเขาเปนคนมีสีหนายิ้มแยมแจมใส
บุคลิกภาพดี ก็สงผลใหเขาเปนที่ชื่นชอบของคนอื่น ทํางานรวมกับผูอื่นไดดี ก็สงเสริมใหเขามีความ
เจริญกาวหนาในหนาที่การงาน
ความสรุป
เมื่อศึกษาเรื่องกฎแหงกรรมในทางพุทธศาสนาแลวจะพบวากรรมมีลักษณะการใหผลที่คอนขางจะ
สลับซับซอน แตก็ขึ้นอยูกับผลของการกระทําของตนเองเปนหลัก จะใหใครไปใชแทนเหมือนทรัพยสินเงิน
ทองก็ไมได เหมือนดังพุทธพจนบทหนึ่งกลาวยืนยันเรื่องกฎแหงกรรมไววา บุคคลหวานพืชเชนใด ยอม
ไดผลเชนนั้น ทําดียอมไดรับผลดี ทําชั่วยอมไดรับผลชั่ว ความจริงก็คือ ทําอยางใด ยอมไดรับผลอยางนั้น
เหมือนเราปลูกไมผล หากเรานํามะมวงไปปลูก สิ่งที่เราไดก็คือผลมะมวง ไมใชผลมะขาม เมื่อเราทําความดี
สิ่งที่เราไดก็คือความสุขใจ ความอิ่มใจ แตเมื่อทําความชั่ว สิ่งที่ไดรับก็คือ ความเศราหมอง ความขัดเคือง
ความทุกขใจ เปนตน
ดังนั้น กรรมที่แทจริงในพุทธศาสนาก็คือการกระทําดวยเจตนา (ซึ่งเจตนาก็คือกิเลส ที่สรุปอยูที่
ความยินดี-ยินราย) ถาไมมีเจตนาจะไมเรียกวาเปนกรรม แตจะเรียกวาเปน กิริยา ซึ่งมีผลเปน ปฏิกิริยา (เชน
ถาเราเดินไปเหยียบสัตวเล็กๆ ตายโดยไมเจตนาก็มีผลเปนเพียงสัตวตายเทานั้น)โดยกรรมนี้จะมีอยู ๒
ประเภทใหญๆ คือ กรรมชั่ว กับ กรรมดี ซึ่งกรรมนี้จะเกิดจากใจโดยตรง แตก็สามารถแสดงออกมาทางกาย
และวาจาได
๑๒
พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร, อางแลว, หนา ๕๖.
๑๓
หนังสืออางอิง
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยา. กรุงเทพฯ :
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙.
พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) พุทธศาสนากับปรัชญา. กรุงเทพฯ : อมรินทรพรินติ้ง กรุพ
จํากัด,๒๕๓๓.
พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต),พจนานุกรมพุทธศาสตรฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ: มหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๓.
พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท กรุงเทพ ฯ :
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๖.
พระธรรมปฎก,,พุทธกรรมกรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(,๒๕๔๖.
พระธรรมปฎก,,พุทธกรรม กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(,๒๕๔๖.
พุทธทาสภิกฺขุ, ทานพุทธทาสกับการศึกษา.กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา,๒๕๔๕.
พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร, พุทธปรัชญาการศึกษา. เลย: มจร.วิทยาลัยสงฆเลย, ๒๕๕๐.
เสฐียร พันธรังษี,ศาสนาเปรียบเทียบ.กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔.
สุจิตรา ออนคอม,ศาสนาเปรียบเทียบ (กรุงเทพ ฯ : หจก.สํานักพิมพ และสายสงดวงแกว,๒๕๔๕.

More Related Content

What's hot

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์bambookruble
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)mintmint2540
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ssuser456899
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 

What's hot (20)

ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงานใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
ใบความรู้ ขั้นตอนการทำโครงงาน
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7(4,10)
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2ติวก่อนสอบ ม.2
ติวก่อนสอบ ม.2
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 

Similar to ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา

ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาppompuy pantham
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาศศิพร แซ่เฮ้ง
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีPa'rig Prig
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarmaTongsamut vorasan
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarmaTongsamut vorasan
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 

Similar to ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา (20)

บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนาเป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
เป้าหมายของชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
 
Manomayitti 1-8
Manomayitti 1-8Manomayitti 1-8
Manomayitti 1-8
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนาสถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
05 ethics
05 ethics05 ethics
05 ethics
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 

More from pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองpentanino
 

More from pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
 

ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา

  • 1. ๑ ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา โดย ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศพรพวัณ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ ความนํา พระพุทธศาสนาเปนศาสนาแหงเหตุผล มีระบบความเชื่อความศรัทธา ที่ตั้งอยูบนรากฐานแหง ปญญา ผูที่มีความเชื่อตามคําสอนในพระพุทธศาสนาสามารถนําไปปฏิบัติในการดําเนินชีวิตได ดังนั้น พระพุทธศาสนาจึงหมายถึง วิถีแหงชีวิต อันเปนระบบแหงการดําเนินชีวิตที่เรียกวา Way of life๑ จึงทําให พระพุทธศาสนาแตกตางจากศาสนาอื่น ความเชื่อที่ประกอบดวยเหตุผล เรียกวา ศรัทธา ๔ ประกอบดวย๒ ๑. กัมมสัทธา คือความเชื่อกรรม เชื่อกฎแหงกรรม เชื่อวากรรมมีอยูจริง คือเชื่อวาเมื่อทําอะไรโดยมี เจตนา คือจงใจทําทั้งรูยอมเปนกรรม คือเปนความชั่วความดีมีขึ้นในตนเปนเหตุปจจัยกอใหเกิดผลดีผลราย สืบเนื่องตอไป การกระทําไมวางเปลาและเชื่อวาผลที่ตองการจะสําเร็จไดดวยการกระทํา มิใชดวยออนวอน หรือนอนคอยโชค เปนตน ๒. วิปากสัทธา คือ เชื่อวิบาก เชื่อผลของกรรม เชื่อวาผลของกรรมมีจริง คือ วากรรมที่ทําแลวตองมี ผล และผลตองมีเหตุ ผลดีจากกรรมดี ผลชั่วเกิดจากกรรมชั่ว ๓. กัมมัสสกตาสัทธา คือ เชื่อความที่สัตวมีกรรมเปนของของตน เชื่อวาแตละคนเปนเจาของกรรม จะตองรับผิดชอบเสวยวิบากเปนไปตามกรรมของตน ๔. ตถาคตโพธิสัทธา คือ เชื่อความตรัสรูของพระพุทธเจา มั่นใจในองคพระตถาคตวาทรงเปนพระ สัมมาสัมพุทธะ ทรงพระคุณทั้ง ๙ ประการ ตรัสธรรม บัญญัติวินัยไวดวยดี ทรงเปนผูนําทางที่แสดงใหเห็น วา มนุษยคือเราทุกคนนี้ หากฝกตนดวยดีก็สามารถเขาถึงภูมิธรรมสูงสุด บริสุทธิ์หลุดพนได ดังที่พระองค ไดทรงบําเพ็ญไวเปนแบบอยาง จากหลักศรัทธา ๔ ขางตนจะเห็นไดวาพระพุทธศาสนาเปนศาสนาที่สอนเรื่องกรรม และให ความสําคัญหลักกรรมวาเปนหลักธรรมใหญและสําคัญ ทั้งนี้เพราะกรรมไดมีความสัมพันธกับการดําเนิน ชีวิตประจําวันของมนุษย กรรมจึงเปนหลักธรรมมีอิทธิพลตอการดําเนินชีวิตประจําวันของคนในสังคม บุคคลจะมีชีวิตที่เจริญขึ้นหรือเสื่อมลง มีทุกขหรือสุขนั้น มีผลมาจากกรรมของตนเองทั้งสิ้น มิใชการกระทํา ของผูอื่น พระพุทธศาสนาไดใหความหมายของกรรมไวดังที่ปรากฏในพุทธพจนที่วา “ภิกษุทั้งหลาย เจตนา นั่นเอง เราเรียกวากรรม บุคคลจงใจแลวจึงกระทําดวยกาย ดวยวาจา ดวยใจ”๓ ดังนั้นกรรมจึงเกิดจากการ ๑ พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) พุทธศาสนากับปรัชญา (กรุงเทพฯ : อมรินทรพรินติ้ง กรุพ จํากัด ,๒๕๓๓), หนา ๑๒. ๒ พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร ฉบับประมวลธรรม (กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย,๒๕๔๓), หนา ๑๖๔. ๓ องฺ. ฉกฺก. (ไทย) ๒๒/๓๓๔/๔๒๒.
  • 2. ๒ กระทําของตัวเราเอง มิใชมีใครมากําหนดการกระทําดี เรียกวากรรมดี การกระทําชั่ว เรียกวา กรรมชั่ว ใน การกระทําทุกอยางยอมมีผลเรียกวา วิบาก ที่บุคคลผูกระทําจะตองเปนผูรับ สังคมไทยแตเดิมไดมีการปลูกฝงคานิยมเรื่องกรรม ใหเชื่อในกฎแหงกรรม จนมีสํานวนไทยวา “ทํา ดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว” และยกยองคนดี คือ คนที่มีคุณธรรม แตปจจุบันสังคมไทยไดมีคานิยมที่เปลี่ยนไป การ ใหความสําคัญเรื่องกรรมมีนอยลง สาเหตุเพราะสังคมไทยไปรับวัฒนธรรมของชาวตะวันตกเขามา ยอมให เทคโนโลยีเขามามีบทบาทเพื่ออํานวยความสะดวกสบายตอวิถีการดําเนินชีวิตประจําวันของคนไทยในทุก เรื่อง จนสงผลใหความเชื่อ คานิยมของคนไทยเปลี่ยนไป เปนสังคมบริโภคนิยมและวัตถุนิยม ดังที่ทานพุทธ ทาสภิกขุไดกลาวไววา...สังคมไทยปจจุบันไดมีการเปลี่ยนแปลงไปตามวัตถุเปนอยางมาก แตการ เปลี่ยนแปลงดังกลาว หาไดเปนไปเพื่อประโยชนสุขที่แทจริงของคนไทยไม คนนิยมวัตถุหรือวัตถุนิยมมาก ไปมีกิเลสมากขึ้นและสิ่งที่ขาดคือศีลธรรมสภาพสังคมที่ฟอนเฟะเพราะรับอิทธิพลอารยธรรมตะวันตก...๔ จากคานิยมเดิมที่ยกยองคนดี คือ คนมีคุณธรรม และเชื่อในกฎแหงกรรมตามสํานวนที่วา “ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว”ในปจจุบันไดจางหายไปกับคนไทยรุนใหมสังคมไทยไดเปลี่ยนคานิยมไปยกยองวัตถุคนดีคือ คนที่มีเงินทอง มีอํานาจ และผลตอบแทนของการทําดีไดดี และคําวา “ดี” ในความหมายของคนรุนใหม คือ ไดวัตถุสิ่งของ เงินทอง ชื่อเสียง เกียรติยศ ทั้งๆ ที่ผูที่ไดรับการยกยองเปนผูประพฤติเสื่อมเสีย แตสังคม ไมไดใหความสนใจความประพฤติหรือวิธีการที่ทําใหไดมาซึ่งวัตถุสิ่งของเหลานั้น เพียงแตขอใหไดมาเปน พอ จึงเกิดสํานวนที่นํามาใชในสังคมใหมวา “ทําดีไดดีมีที่ไหน ทําชั่วไดดีมีถมไป” ซึ่งแสดงใหเห็นถึง ผลกระทบของความเชื่อเรื่องกรรมในสังคมไทยไดคลอนแคลน สังคมเกิดความเขาใจเรื่องกรรม คลาดเคลื่อนไปจากความเปนจริงและไมเชื่อกฎแหงกรรมวามีจริง ความเชื่อเหลานี้ไมไดมีผลเฉพาะผูใหญ เทานั้น แตไดสงผลกระทบทั้งทางตรง และทางออมอยางมากกับเด็กและวัยรุนที่จะเปนกําลังของชาติ ทําให เกิดความเชื่อเรื่องกรรม คลาดเคลื่อนและผิดเพี้ยนไปจากความเปนจริงและไมเชื่อเรื่องกรรมและผลแหง กรรมวามีจริง สาเหตุมาจากเห็นการกระทําของผูใหญที่กระทําตัวอยางที่ไมดีไว และกฎแหงกรรมก็ไมได ลงโทษผูกระทําผิดใหเห็นทันตา นอกจากนี้วัฒนธรรมตามกระแสโลกาภิวัฒนยุคของการสื่อสารที่ไรพรมแดนเครื่องมือสื่อสารตางๆ ไดยั่วยุกระตุนใหเกิดความตองการทางวัตถุ และบริโภคนิยมเพื่อสนองกิเลสอยูตลอดเวลา ความสุขเกิดจาก การมีวัตถุ จึงตองมีการแสวงหาดานเดียว รวมถึงการหางเหินจากหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ผลจากการ มีความเชื่อเรื่องกรรมที่ผิดไปจากเดิมไดกอใหเกิดปญหาในสังคมปจจุบัน เชน ปญหายาเสพติด ปญหา อบายมุข ปญหาอาชญากรรม และอื่นๆ อีกมากมายนานัปการ ๔ พุทธทาสภิกฺขุ, ทานพุทธทาสกับการศึกษา (กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา,๒๕๔๕), หนา ๑๓.
  • 3. ๓ กรรมตามแนวพุทธศาสนา คําสอนเรื่อง กรรม ถือวาเปนเรื่องที่สําคัญประการหนึ่งในพุทธศาสนา เพราะมีลักษณะเปน วิทยาศาสตร คือสามารถพิสูจนหรืออธิบายไดดวยเหตุผล พุทธศาสนาไดสอนเรื่องกรรมไววา กรรมเปน เครื่องบันดาล กรรมเปนเครื่องสรางทุกอยาง กรรมคือการกระทํา กระทําไวอยางไร ยอมเกิดผลแหงการ กระทํานั้น เหมือนชาวนาหวานพืชไวเชนไร ยอมไดรับผลแหงการหวานพืชนั้น เชนนั้นเหมือนกัน ในอภิณหปจจเวกขณสูตร มีคําสอนเรื่องกรรมไววา “หญิงชาย คฤหัสถ บรรพชิต ควรพิจารณา เนืองๆ วา เรามีกรรมเปนของตน เปนผูรับผลของกรรม มีกรรมเปนกําเนิด มีกรรมเปนเผาพันธุ มีกรรมเปน ที่อยูอาศัย เราทํากรรมอันใดไว ดีก็ตาม ชั่วก็ตาม เราจักไดรับผลของกรรมนั้น”๕ และอีกขอความหนึ่ง ที่ ปรากฏใน วาเสฏฐบุตรวา “บุคคลไมไดเปนคนชั่ว ไมไดเปนคนดี เพราะชาติ หากเปนเพราะการกระทํา บุคคลเปนชาวนา เปนศิลปน เปนพอคา เปนคนรับใช เปนโจร เปนทหาร เปนนักบูชายัญ เปนพระราชา ก็ เพราะการกระทําโลกเปนไปเพราะกรรมสัตวทั้งหลายผูกพันอยูที่กรรมเหมือนกับสลักลิ่มเปนเครื่องยึดรถ ที่แลนไปฉะนั้น”๖ ความหมายของกรรม ในหนังสือพุทธธรรมไดใหความหมายของกรรมไววา การงานหรือการกระทํา แตในทางธรรมตอง จํากัดความจําเพราะลงไปวา หมายถึงการกระทําที่ประกอบดวยเจตนาหรือการกระทําที่เปนไปดวยความจง ใจถาเปนการกระทําที่ไมมีเจตนาก็ไมเรียกวาเปนกรรมในความหมายทางธรรม๗ กลาวคือการกระทําที่ไดชื่อ วาเปนกรรมนั้นยอมประกอบดวยเจตนาเปนพื้นฐานของการกระทํา ดังพุทธพจนที่วา เจตนาหํ ภิกฺขเว กมฺมํ วทามิความวา"เรากลาวเจตนาวาเปนกรรม"หมายถึงสิ่งที่บุคคลตั้งใจแลวหรือคิดแลวยอมกระทํากรรมทาง กาย ทางวาจา หรือทางใจ คําวา กรรม เปนศัพทภาษาสันสกฤต (ภาษาบาลี คือ กมฺม) แปลวา การกระทําเปนคํากลางๆไมดีไม ชั่ว ถาการกระทํานั้นเปนการกระทําดี ก็เรียกวา "กุศลกรรม" แตถาเปนการกระทําไมดีก็เปนอกุศลกรรม เหมือนคําวา ทิฏฐิ (ความเห็น) ก็เปนคํากลางๆ เหมือนกัน ยังไมถือวาผิดหรือไมผิด เมื่อเห็นชอบก็เปน สัมมาทิฏฐิ แตถามีความเห็นผิดก็เปนมิจฉาทิฏฐิ ฉะนั้น เมื่อพบคําวากรรมก็ใหเขาใจวา เปนการกระทําที่ ประกอบดวยความจงใจ คือมีเจตนาที่จะกระทํา กลาวคือเปนการกระทําโดยหวังผลลัพธ ๕ อางใน พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร, พุทธปรัชญาการศึกษา (เลย : มจร.วิทยาลัยสงฆเลย, ๒๕๕๐), หนา ๔๗. ๖ เสฐียร พันธรังษี,ศาสนาเปรียบเทียบ (กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔), หนา ๑๕๒ - ๑๕๓. ๗ พระธรรมปฎก,,พุทธกรรม กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(,๒๕๔๖,), หนา ๑๕๗.
  • 4. ๔ ลักษณะของกรรม การกระทําทุกอยางไมใชเปนกรรมเสมอไป แตการกระทําที่จัดวาเปนกรรมโดยสมบูรณ จะตอง ประกอบดวยลักษณะ ๓ ประการ คือ ๑. มีกิเลสเปนแรงกระตุนใหเกิดการกระทํา ๒. มีเจตนา คือความจงใจหรือตั้งใจที่จะกระทํา ๓. ลงมือกระทํา เจตนาเปนองคประกอบที่สําคัญที่จะทําใหการกระทํานั้นเปนกรรมโดยสมบูรณหรือไมตัวอยางเชน นาย ก. ขับรถยนตไปชนสุนัขตาย การกระทําของนาย ก. ไมจัดวาเปนกรรม เพราะนาย ก. ไมมีเจตนาที่จะ กระทํา(ไมตั้งใจที่จะขับรถชนสุนัข) แตถานาย ก. ใชปนยิงสุนัขตาย เพราะโมโหที่เจาสุนัขตัวนั้นไปกัดไก ชนที่เขาเลี้ยงไว การกระทําของนาย ก. จัดวาเปนกรรม เพราะองคประกอบของการกระทํากรรมครบ สมบูรณ คือ มีกิเลส (ความโกรธ) เปนแรงผลักดันใหกระทํากรรมนั้น ประกอบกับมีความจงใจในการลงมือ กระทําดวย เมื่อการกระทํานั้นสําเร็จผลโดยมีแรงผลักดันกับความจงใจมีอยูดวยกัน ผลของการกระทํานั้น จัดเปนกรรมทันที เครื่องมือในการกระทํากรรม มนุษยมีสวนประกอบที่สําคัญ ๒ อยางคือ กายกับใจ ในสวนกายที่ใชกระทําการไดก็มีอยู ๒ สวน ดวยกัน คือ รางกาย(มือ เทา) กับ ปาก เมื่อกลาวโดยสรุป เครื่องมือที่ใชในการกระทํากรรมของมนุษยมีอยู ๓ ทาง คือ ๑. กายกรรม คือการกระทําทางกาย มีทั้งที่เปนกุศลและอกุศล คือทั้งดีและไมดี กายกรรมฝายกุศล ไดแก การไมฆาสัตว การไมลักขโมย การไมประพฤติเสียหายในเรื่องกาม กายกรรมฝายอกุศลไดแก การฆา สัตว การลักขโมย การประพฤติผิดในกาม ๒. วจีกรรม คือการกระทําทางวาจา มีทั้งที่เปนกุศลและอกุศล คือมีทั้งดีและไมดี วจีกรรมฝายกุศล ไดแก การไมพูดเท็จ การพูดคําหยาบ การไมพูดสอเสียด การไมพูดคําเพอเจอ วจีกรรมฝายอกุศล ไดแก การ พูดเท็จ การพูดคําหยาบ การพูดคําสอเสียด การพูดคําเพอเจอ ๓. มโนกรรม คือการกระทําทางใจ มีทั้งที่เปนกุศลและอกุศล คือมีทั้งดีและไมดี มโนกรรมฝายกุศล ไดแก การคิดในทางไมโลภอยากไดของคนอื่น การคิดในทางไมเบียดเบียนคนอื่น การมีความเห็นถูกตอง ตามทํานองคลองธรรม มโนกรรมฝายอกุศล ไดแก คิดโลภอยากไดของคนอื่น การคิดไปในทางเบียดเบียน คนอื่น การเห็นผิดจากทํานองคลองธรรม ในบรรดากรรมทั้ง ๓ ประการ คือกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม ทั้งที่เปนกุศลและอกุศล มโนกรรมสําคัญที่สุด และมีผลกวางขวางรุนแรงที่สุด ดังพุทธพจนที่วา “บรรดากรรม ๓ อยางเหลานี้....เรา
  • 5. ๕ บัญญัติมโนกรรมวามีโทษมากกวา ในการทําบาปกรรม ในความเปนไปแหงบาปกรรม หาบัญญัติกายกรรม อยางนั้นไม หาบัญญัติวจีกรรมอยางนั้นไม”๘ ประเภทของกรรม ในพระไตรปฎกจําแนกกรรมออกเปนหลายประเภทแลวแตวาจะจําแนกเพื่อวัตถุประสงคอะไร กลาวคือ ถาแบงตามคุณภาพหรือตามธรรมที่เปนมูลเหตุ กรรมสามารถแบงไดเปน ๒ อยาง ดังนี้ ๑. อกุศลกรรม คือกรรมที่เปนอกุศล การกระทําที่ไมดี กรรมชั่ว หมายถึงการกระทําที่เกิดจากอกุศล มูล คือ โลภะ โทสะ หรือ โมหะ ๒. กุศลกรรม คือกรรมที่เปนกุศล การกระทําที่ดี หรือกรรมดี หมายถึงการกระทําที่เกิดจากกุศลมูล คือ อโลภะ อโทสะ หรืออโมหะ ถาเปนกรรมจําแนกตามสภาพที่สัมพันธกับวิบากหรือการใหผล จัดเปน ๔ ประเภท คือ๘ ๑. กรรมดํา หมายถึงอกุศลกรรมที่เกิดจากอกุศลเจตนา ไดแกกายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขารที่มี การเบียดเบียน ตัวอยางเชน ฆาสัตว ลักทรัพย ประพฤติผิดในกาม พูดเท็จดื่มน้ําเมา เปนตน นอกจากนี้กรรม ดํายังหมายถึงครุกรรมอกุศล ๕ อยาง คือ ฆาพอ ฆาแม ฆาพระอรหันต ทํารายพระพุทธเจาจนหอพระโลหิต และยุยงสงฆใหแตกกัน กรรมดํามีผลดํา คือผลที่กอใหเกิดความทุกข ความเดือดรอนแกผูกระทํา ซึ่งอาจเกิดในชาตินี้หรือ ชาติหนา หรือทั้งชาตินี้ชาติหนา ซึ่งแลวแตกรรมนั้นๆ เชน การฆาคนตายใหผลในชาตินี้คือถูกจําคุก ผลใน ชาติหนาตกนรกผูประกอบกรรมดําไดรับผลสองชั้นผลชั้นนอกคือทําใหตัวเองเดือดรอนผลชั้นในคือทําให ใจเศราหมอง กิเลสในตัวงอกงามยิ่งขึ้น ๒. กรรมขาว หมายถึงกุศลกรรมที่ที่เกิดจากกุศลเจตนา ไดแก กายสังขาร วจีสังขาร และมโน สังขารที่ไมมีการเบียดเบียนงดเวนจากการฆาสัตวจากการลักทรัพยจากการประพฤติผิดในกามจากการพูด เท็จ จากการดื่มน้ําเมา การใหทาน การรักษาศีล การมีจิตเมตตากรุณาตอผูอื่น นอกจากนี้กรรมขาวยังรวมไป ถึงครุกรรมฝายกุศล คือ สมาบัติ ๘ อันไดแกรูปฌาน ๔ และอรูปฌาน ๔ ดวย กรรมขาวมีผลขาว คือผลที่ กอใหเกิดความสุขสบาย ความเจริญรุงเรืองในชีวิต ซึ่งอาจเกิดในชาตินี้หรือชาติหนา หรือทั้งชาตินี้และชาติ หนาก็ได ผูประกอบกรรมขาวจะไดรับผลชั้นนอก คือทําใหตัวเองมีความสุขและมีความเจริญรุงเรืองในชีวิต ผลชั้นในคือ ทําใหกิเลสเครื่องเศราหมองลดนอยลงไป ๘ ม.ม. ๑๓/๖๔//๕๖. ๘ สุจิตรา ออนคอม,ศาสนาเปรียบเทียบ (กรุงเทพ ฯ : หจก.สํานักพิมพ และสายสงดวงแกว,๒๕๔๕), หนา ๘๘- ๘๙.
  • 6. ๖ ๓. กรรมทั้งดําทั้งขาว หมายถึงกรรมที่เปนทั้งอกุศลและกุศลซึ่งเกิดจากเจตนาที่เปนทั้งอกุศลและ กุศล ไดแก กายสังขาร วจีสังขาร มโนสังขาร อันมีความเบียดเบียนบาง ไมเบียดเบียนบาง เชน การกระทํา ของมนุษยทั่วๆ ไป กรรมทั้งดําทั้งขาวใหผลทั้งดําทั้งขาวคือกอใหเกิดทั้งสุขและทุกขระคนกันเชนเกิดในตระกูลมั่งคั่ง ร่ํารวยแตขี้โรค เปนตน กรรมทั้งสามอยางที่กลาวมานี้ยังมีผลตอการเวียนวายตายเกิด กลาวคือ เมื่อทํากรรมหนึ่งกรรมใดใน ๓ อยางนี้ บุคคลยังตองเกิดเพื่อรับผลของกรรมนั้นๆ ไมวาจะเปนผลดีหรือผลชั่ว หรือทั้งผลดีและผลชั่ว ๔. กรรมไมดําไมขาว หมายถึงกรรรมที่ไมเปนทั้งอกุศลและกุศล เกิดจากเจตนาที่ไมใชทั้งอกุศล และกุศล ไดแก เจตนาเพื่อละกรรมดํา กรรมขาว และกรรมทั้งดําทั้งขาว คือการปฏิบัติอริยมรรคมีองค ๘ ทั้งนี้เพราะการปฏิบัติอริยมรรคมีองค ๘ นั้นยอมเปนการหลุดพนจากการเวียนวายตายเกิดในสังสารวัฏ ตลอดไป กรรมไมดําไมขาวใหผลไมดําไมขาว เพราะกรรมชนิดนี้เปนไปเพื่อดับภพ ดับชาติ เพื่อความหลุด พน เพื่อที่สุดแหงทุกข เพื่อนิพพาน เพราะผูปฏิบัติกรรมชนิดนี้ในที่สุดก็จะบรรลุอรหัตตผลเปนพระอรหันต การกระทําของพระอรหันตจึงเรียกวา"กิริยา"เพื่อใหแตกตางจากรรมธรรมดากรรมไมดําไมขาวนําไปสูการ สิ้นสุดแหงกรรม กรรมทั้งปวงที่ทําจะนําไปสิ้นสุดในกรรมนั้น กรรมดีและกรรมชั่วที่เคยทําไวแมจะยังให ผลไมหมด แตเมื่อบรรลุนิพพานแลวกรรมเหลานั้นก็กลายเปนอโหสิกรรม คือกรรมที่ไมใหผลอีกตอไป กรรม ๑๒ ประเภท ในคัมภีรอรรถกถา เชน วิสุทธิมรรค และมโนรถปุรณีไดแบงกรรมออกเปน ๑๒ ประเภท เรียกวา กรรม ๑๒ ซึ่งแบงเปนหมวดใหญๆ ได ๓ หมวด คือ หมวดที่ ๑ วาดวยปากกาล คือการจําแนกตามเวลาที่ ใหผลมี ๔ อยาง หมวดที่ ๒ วาดวยกิจ คือการจําแนกการใหผลตามหนาที่มี ๔ อยาง และหมวดที่ ๓ วาดวย ปากทานปริยายคือการจําแนกตามลําดับความแรงในการใหผล๙ ดังนี้ ๑. กรรมทีใหผลตามหนาที่ ตามหลักพุทธศาสนาเชื่อวามนุษยทุกคนเกิดมาเพราะกรรมของตน กรรมเปนตัวกําหนดวิถีชีวิตของ มนุษย ชีวิตจะเปนอยางไรลวนขึ้นอยูกับกรรมที่ตนทําไว กรรมจะทําหนาอยางตรงไปตรงมา เพื่อใหผลของ การกระทําสมดุลกับกรรมที่ตนทําไว ในที่นี้แบงกรรมที่ใหผลตามหนาที่ออกเปน ๔ ประเภท คือ ๑.๑ ชนกกรรม คําวา “ชนกกรรม” หมายถึงกรรมแตงใหเกิด กรรมที่เปนตัวนําไปเกิด ถาเปนกรรมดีก็นําไปเกิดใน ภพที่ดี ถาเปนกรรรมชั่วก็นําไปเกิดในภพที่ชั่ว หนาที่ของกรรมชนิดนี้ คือเมื่อบุคคลตายลง ชนกกรรมมี ๙ องฺ. อ. ๒/๑๓๑-๑๔๑-๑๔๖.
  • 7. ๗ หนาที่นําบุคคลนั้นไปเกิดตามฐานะสมควรแกกรรรมที่เขาทํา เชนนําไปเกิดในตระกูลมั่งคั่งร่ํารวย หรือใน ตระกูลยากจนขัดสน เปนตน เมื่อนําไปเกิดตามสมควรแกฐานะของกรรมที่บุคคลนั้นทําแลว ก็เปนอันหมด หนาที่เปรียบเหมือนบิดาผูยังบุตรใหเกิดแลวเปนอันหมดหนาที่ฉะนั้น ตัวอยางเชน : วีระพล เปนลูกชายของสุทธินันทมหาเศรษฐีทางจังหวัดภาคเหนือของประเทศไทย ชนกกรรมฝายกุศลนําวีระพลมาเกิดในตระกูลมหาเศรษฐี เขาไมลําบากในชีวิตเลย เพราะพอแมของเขามีเงิน อยากไดอะไร พอแมก็ซื้อหามาให คําวา "ไมมี" เขาไมเคยไดยิน ตรงกันขามกับทองมี ซึ่งเปนลูกของลุงมาปามีอาชีพทํานาทําสวนในแถบภาคอีสาน เขาไมเคยพบ กับความสบายใจในชีวิตเลย มีแตทํางานหนักชวยพอแมหาเลี้ยงครอบครัวเพราะพอแมของเขาเปนชาวนา ยากจน เขาไมเคยไดยินคําวา "มี" เลยในชีวิต สิ่งที่ทําใหวีระพลกับทองมามีความแตกตางกันในลักษณะของการเกิดก็คือ กรรม ซึ่งทั้งสองทํามา ไมเหมือนกัน ๑.๒ อุปตถัมภกรรม คําวา “อุปตถัมภกรรม” หมายถึงกรรมสนับสนุน กรรมที่เขาชวยสนับสนุนหรือซ้ําเติมตอจากชนก กรรม กลาวคือเมื่อชนกกรรมแตางใหเกิดแลว อุปตถัมภกรรมจึงเขามาสนับสนุนสงเสริม เปรียบเหมือนแม นมผูเลี้ยงทารกที่บิดาใหเกิดแลว หากชนกกรรรมนําไปเกิดในตระกูลที่มั่งคั่งร่ํารวย อุปตถัมภกกรรมก็จะไป สนับสนุนใหไดรับความสุข เขาในลักษณะวารุงเรืองมาแลว มีรุงเรืองไปภายหนา แตถาชนกกรรมแตงให เกิดในที่ไมดีอุปตถัมภกกรรมก็จะไปซ้ําเติมใหเลวยิ่งขึ้นเขาในลักษณะวามืดมาแลวมีมืดไปภายหนาดังนั้น ถาชนกกรรรมดี อุปตถัมภกรรมก็ดีดวย แตถาชนกกรรมไมดี อุปตถัมภกรรมก็พลอยไมดีไปดวย ตัวอยางเชน : ชนกกรรมฝายกุศลนําพาใหวีระพลมาเกิดในตระกูลที่มีฐานะมั่งคงแลว เขายังมีความ สมบูรณทางรางกายอยางเต็มที่ มีอวัยวะครบทุกสวน ในขณะเดียวกันความสมบูรณทางจิตใจของวีระพลก็ ยอดเยี่ยม เขาเปนคนมีอุปนิสัยออนนอมถอมตน มีความขยันหมั่นเพียรในการแสวงหาความรู และมี กิริยามารยาทเรียบรอยสมกับเปนลูกผูดีทุกประการเขาไมเคยสรางความเดือดรอนใหกับพอแมการที่วีระพล เกิดมามีความสมบูรณทางรางกายทุกอยาง เปนเพราะชนกรรรมฝายกุศล ในขณะเดียวกันอุปตถัมภกรรมก็ สนับสนุนใหเขาดียิ่งขึ้น ชนกกรรมฝายอกุศลนําพาใหทองมามาเกิดในตระกูลชาวนาที่ยากจน ตัวเขาเองก็เกิดมาเปนคน พิการมาแตกําเนิด พอแมของทองมาก็เปนคนไมเอาไหน คือพอขี้เหลา แมเลนการพนัน ทะเลาะกันเกือบทุก วัน ตัวเขาเองนอกจากจะเปนคนพิการแลว ยังมีนิสัยไมดีหลายอยาง เชน ชอบดื่มเหลา และเลนไพ เวลาเมาก็ เลนบทนักเลงทาตีตอยกับชาวบานอยูล่ําไป ที่เปนเชนนี้ เพราะกรรมฝายอกุศลนําพาใหทองมามาเกิดใน สภาพแวดลอมที่ไมดี อุปตถัมภกรรมก็สนับสนุนซ้ําเติมใหเขาเลวยิ่งขึ้น
  • 8. ๘ ๑.๓ อุปปฬกกรรม คําวา “อุปปฬกกรรม” หมายถึงกรรมบีบคั้น กรรมที่มาใหผลบีบคั้นผลแหงชนกกรรม และ อุปตถัมภกรรมนั้น ใหแปรเปลี่ยนทุเลาลงไป บั่นทอนวิบากมิใหเปนไปไดนาน เชน ถาชนกกรรมดี อุปปฬก กรรมก็จะไปบีบคั้นใหเลวลง เขาลักษณะวา รุงเรืองมาแลวมีมืดไปภายหนา แตถาชนกกรรมไมดี อุปปฬก กรรมจะเขาไปกีดกันใหทุเลาลง เขาในลักษณะวามืดมาแลวมีรุงเรืองไปภายหนา เมื่ออุปปฬกกรรมมัน เบียดเบียนชนกกรรมมันจึงเบียดเบียนอุปถัมภกกรรมไปดวย เพราะอุปตถัมภกรรมจะไปตามชนกกรรม ตัวอยางเชน : ชนกกรรรมฝายกุศลนําพาใหสุนทรมาเกิดในตระกูลที่มีฐานะดี แตอุปปฬกกรรมก็มา บีบคั้นขัดขวางใหเขาเปนคนไมดี เขาเกิดมาในตระกูลที่ดีมีทั้งฐานะและชื่อเสียง แตปรากฏวา ฐานะและ ชื่อเสียงตองมาสูญสิ้นหรือเสื่อมลง เพราะสุนทรประพฤติตนเปนคนไมเอาไหน สรางความลําบากใจใหแก พอแมเปนอยางมาก ชนกกรรมฝายอกุศลนําพาใหแดงมาเกิดในตระกูลต่ํา เปนคนมีฐานะยากจนและลําบากมาก แตอุป ปฬกกรรมมาขัดขวางใหเขาเปนคนดี ถึงแมเขาจะเกิดมาในครอบครัวที่มีฐานะยากจน มิหนําซ้ําเขายังพิการ มาแตกําเนิดอีกดวย แตเขาก็ไมไดปลอยชีวิตใหเปลาประโยชน เขาเปนคนมีความขยันมุงมั่นและอดทน ประกอบสัมมาชีพ จนสรางฐานะของตนเองขึ้นทัดเทียมกับคนอื่นได ๑.๔ อุปฆาตกรรม คําวา “อุปฆาตกรรม” หมายถึงกรรมตัดรอน เปนกรรมแรง กรรมฝายตรงขามกับชนกกรรมและ อุปตถัมภกรรม เขาตัดรอนการใหผลของกรรมสองอยางนั้นใหขาดไปเสียทีเดียว เชนเกิดในตระกูลสูงมั่งคั่ง แตอายุสั้น เปนตน ในทางตรงขาม ถาชนกกรรมและอุปตถัมภกรรมไมดี แตมีอุปฆาตกรรมอยูอุปฆาตกรรม ก็จะไปตัดรอนผลไมดีนั้น เชน เกิดในตระกูลยากจนขัดสน ไดรับความทุกข แตมีเศรษฐีมาขอไปเปนบุตร บุญธรรม ไดรับความสุขสบาย เปนตน ตัวอยางเชน : พระภิกษุสุข บวช เปนพระมาได ๑๓ พรรษา ระยะเวลา ๑๓ ป ที่ผานมานั้น ทานได ประพฤติปฏิบัติตนอยูในกรอบของพระธรรมวินัย จนเปนที่เคารพนับถือของชาวบานเปนอยางยิ่ง พอบวช ครบ ๕ พรรษา ชาวบานก็พากันนิมนตใหทานเปนเจาอาวาสที่วัดประจําหมูบาน ทางคณะสงฆก็แตงตั้งให ทานเปนเจาอาวาสตั้งแตบัดนั้นเปนตนมา ในชวงเวลา ๘ ป ที่เปนเจาอาวาส พระภิกษุสุขไดนําพาชาวบาน พัฒนาวัดแหงนั้นใหเจริญกาวหนาไปมาก อยูตอมาวันหนึ่งทานไดรับนิมนตใหไปเทศนที่หมูบานอื่น ขา กลับรถที่มาสงทานไดเกิดอุบัติเหตุเสียหลักพลิกคร่ําลงขางทาง เปนเหตุใหทานเสียชีวิตทันที ชาวบานพอรู ขาวตางพากันเสียใจ และเสียดายวา ทานไมนาอายุสั้นอยางนี้เลย พระดี ๆ อยางนี้นาจะมีอายุที่ยืนยาว ฯลฯ แตเมื่อพูดถึงเรื่องกรรม ก็เพราะเหตุที่อุปฆาตกรรมมาตัดรอนใหพระภิกษุสุขอายุสั้น แทนที่จะมีอายุยืนยาว ประมาณ ๗๐-๘๐ ป ทานเปรียบอุปฆาตกรรมวา เหมือนกับผลไมชนิดใดชนิดหนึ่ง สมมติวาเปนผลมะมวง ตามธรรมดา ของผลมะมวง เมื่อตนมะมวงออกชอออกดอกเสร็จแลวก็จะติดผล เมื่อเวลาผานไป ผลมะมวงก็จะ
  • 9. ๙ เจริญเติบโตตามลําดับ พอระยะใกลจะแกก็มีคนๆ หนึ่งเอาไมมาสอยไปกินเสียกอน แทนที่จะแกและสุก ลวงลงมาตามธรรมชาติ ๒. กรรมที่ใหผลตามกาลเวลา ลักษณะของกรรมที่ใหผลตามกาลเวลา แบงออกเปน ๔ ประเภท ดังนี้ ๒.๑ ทิฏฐธัมมเวทนียกรรม คําวา “ทิฏฐธัมมเวทนียกรรม” หมายถึงกรรมใหผลในปจจุบันภพนี้ ไดแกกรรมดีก็ตาม ชั่วก็ตาม ที่ ผูกระทําทําแลวจะไดรับผลในชาตินี้ทันตาเห็น เพราะเปนกรรรมแรง แตถาผูกระทํากรรมตายลงเสียกอนที่ กรรมจะใหผล กรรมนี้ก็จะเปนอโหสิกรรม ทานเปรียบวาเหมือนนายพรานเห็นเนื้อ หยิบลูกศรยิงไปทันที ถาถูกเนื้อก็ลมที่นั่น แตถาพลาดเนื้อก็รอดไปเลย ตัวอยางเชน : เด็กชายเกง เปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๒ ของโรงเรียนแหงหนึ่ง เขาเปนเด็กที่มี ความขยันในการศึกษาเลาเรียนมาก ผลปรากฏวา เขาเปนเด็กที่เรียนเกงและสอบไดที่ ๑ ของหองมาตลอด ผูปกครองของเด็กชายเกง ก็พลอยมีความสุขไปดวย เพราะคุณครูและเพื่อนๆ ของเกง ตางพูดชมเชยความดี ของเขาใหฟงเสมอ สวนนางสาวโอเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๖ ของโรงเรียนแหงหนึ่ง เธอเปนเด็กใจแตก คบ ผูชายมาหลายคน เวลาไปเรียนหนังสือเธอไมมีสมาธิ เพราะเธอสนใจสิ่งอื่นมากกวาการเรียน มิหนําซ้ําเธอยัง ขาดเรียนบอยมาก เมื่อเวลาสอบวัดผลปลายภาคเรียนที่ผานมา ปรากฏวาเธอติดศูนยไปหลายวิชา จึงเปนเหตุ ใหเธอเรียนไมจบพรอมกับเพื่อนคนอื่นๆ ในภาคเรียนนี้ ๒.๒ อุปชชเวทนียกรรม คําวา “อุปชชเวทนียกรรม” หมายถึงกรรมใหผลในภพที่จะไปเกิด คือภพหนาที่ใกลกับภพปจจุบัน ไดแกกรรมดีก็ตาม ชั่วก็ตาม ที่ผูกระทําทําแลวจะไดรับผลในภพหนาหรือชาติหนา เพราะเปนกรรมแรงนอย กวากรรมแรก หากกรรมนี้ไมมีโอกาสใหผลในภพหนาก็จะกลายเปนอโหสิกรรม ตัวอยางเชน : เด็กชายเกงและนางสาวโอดังกลาวขางตน เกงเปนเด็กขยัน มีความสนใจในการศึกษา หาความรู อนาคต(ชาติหนา) เขาตองเปนคนที่มีความรูกวาง หรือประสบความสําเร็จในการศึกษาอยาง แนนอน สวนโอไมสนใจในการเรียน อนาคต(ชาติหนา) เธอจะตองประสบความลมเหลวในเรื่องการเรียน หรือเรียนไมเกงเหมือนเด็กชายเกง ๒.๓ อปราปริยเวทนียกรรม คําวา “อปราปริยเวทนียกรรม” หมายถึงกรรมใหผลภพตอๆ ไปถัดจากภพหนาหรือชาติหนาไดแก กรรมดีก็ตาม ชั่วก็ตาม ที่ผูกระทําแลวจะไดรับผลในภพตอๆ ไป เพราะเปนกรรมที่แรงนอยกวาสองกรรม
  • 10. ๑๐ แรก กรรมชนิดนี้จะติดตามผูกระทําไปเรื่อยๆ ไดโอกาสเมื่อใดก็ใหผลเมื่อนั้น ไมเปนอโหสิกรรมตราบเทา ผูกระทํายังอยูในวัฏสงสาร จะสิ้นสุดก็ตอเมื่อไดใหผลหมดแลวหรือผูกระทํากรรมบรรลุพระนิพพาน ทาน เปรียบเหมือนสุนัขไลเนื้อที่วิ่งไลตามเนื้อตลอดเวลา ตามทันเมื่อใดก็กัดเมื่อนั้น ตัวอยางเชน : ลุงมีสามีปามามีนิสัยประจําตัวอยางหนึ่งคือ ชอบดื่มสุรา แกดื่มสุรามาตั้งแตสมัยยัง เปนหนุม ขณะนี้อายุลุงมียาง ๗๖ ปแลว สมัยเปนหนุมจนถึงวัยกลางคนแกยังไมเปนไร คือมีสุขภาพแข็งแรง แตปจจุบันนี้แกเปนโรคตับแข็ง ทําใหรางกายทรุดโทรมตองเขารักษาตัวที่โรงพยาบาลบอยๆ แตอาการก็ยัง ไมดีขึ้น เนื่องจากผลที่ชอบดื่มสุราเมื่อวัยหนุมนั่นเอง ๒.๔ อโหสิกรรม คําวา “อโหสิกรรม” หมายถึงกรรมเลิกใหผล ไมมีผลอีก คําวา "อโหสิกรรม" เปนคําสามัญ แปลวา "กรรมไดมีแลว" แตในที่นี้นํามาใชใชในความหมายเฉพาะวา "มีแตกรรรมเทานั้น วิบากไมมี" อโหสิกรรม จึงหมายถึงกรรมที่หมดโอกาสใหผลอยางหนึ่ง หรือกรรมที่ใหผลหมดแลวประการหนึ่ง อโหสิกรรมจึงเปน กรรมที่ไดใหผลสําเร็จแลว ไมตองใหผลอีกตอไป เพราะไดใหผลในภพใดภพหนึ่งดังกลาวแลวขางตน ๓. กรรมที่ใหผลตามความหนักเบา กรรมแตละอยางใหผลตามความหนักเบาไมเหมือนกัน เพราะฉะนั้นเราจึงสามารถแบงกรรมตาม ความหนักเบาออกเปน ๔ ประเภท คือ ๓.๑ ครุกรรม คําวา “ครุกรรม” หมายถึงกรรมหนัก เปนกรรมที่จะใหผลกอนกรรมอื่นทุกชนิด ครุกรรมที่เปนฝาย กุศล ไดแก การปฏิบัติสมถและวิปสนากรรมฐานจนถึงขั้นสมาบัติ ๘ ฝายอกุศล ไดแก นิยตมิจฉาทิฏฐิกรรม และอนันตริยกรรม นิยตมิจฉาทิฏฐิกรรม คืออกุศลกรรรมที่กระทําดวยความเห็นผิด ซึ่งสามารถนําไปสูนิรยภูมิโดย แนนอน๑๐ อนันตริยกรรม คือกรรมหนัก กรรมที่เปนบาปหนักที่สุด ตัดทางสวรรค ตัดทางนิพพาน กรรมที่ ใหผลคือความเดือดรอนไมเวนระยะเลย มี ๕ อยางคือ๑๑ (๑) มาตุฆาต ฆามารดา ๑๐ สมาน บุญอารักษ,พจนานุกรมพระอภิธรรมเจ็ดคัมภีร อางใน สุจิตรา ออนคอม,อางแลว, หนา ๑๐๓. ๑๑ พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท (กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๖), หนา ๓๐๑.
  • 11. ๑๑ (๒) ปตุฆาต ฆาบิดา (๓) อรหันตฆาต ฆาพระอรหันต (๔) โลหิตุปบาท ทํารายพระพุทธเจาจนถึงยังพระโลหิตใหหอขึ้นไป (๕) สังฆเภท ทําสงฆใหแตกกัน ครุกรรมทั้ง ๒ ประเภทขางตนเปนกรรมหนัก ใครทํายอมไดรับผลทันที โดยมีคํากลาวเปรียบเทียบ ไววา ครุกรรมเหมือนกับโคที่เปนหัวหนาฝูง พอนายโคบาล ปลอยโคออกจากคอก โคที่มีกําลังมากกวา (ครุ กรรม) ก็ยอมเบียดเสียดโคตัวอื่นออกจากคอกไปกอนเสมอ ๓.๒ พหุลกรรม หรือ อาจิณณกรรม คําวา “พหุลกรรม” หมายถึงกรรมที่ทําบอยๆ จนเคยชิน หรือกรรมที่ทําเปนประจํา กรรมชนิดนี้เปน กรรมเบา จะใหผลก็ตอเมื่อครุกรรมใหผลแลว แตถาไมมีครุกรรม พหุลกรรมจะใหผลกอนกรรมอื่น ๓.๓ อาสันนกรรม หมายถึงกรรมจวนเจียน หรือกรรมที่ระลึกถึงในเวลาใกลจะตาย ทั้งกรรมดี และ กรรมชั่ว จะเกิดอารมณ ๓ อยาง คือ (๑) กรรมอารมณ คือการนึกถึงกรรมทั้งที่เปนกุศลและอกุศลที่ตนเองไดกระทํามาแลว เชน นึก ถึงบุญกุศลที่ตนเองเคยทํามา มีการไหวพระสวดมนต ใหทาน เปนตน หรือนึกถึงบาปที่ตนเคยทํามา เชน เคย ฆาคน ฆาสัตว เปนตน (๒) กรรมนิมิตอารมณ คืออารมณที่เปนเครื่องหมายของกรรมที่ตนเองไดทําไว เชน ฝายกุศล มี ภาพโบสถวิหาร ภาพศาลาการเปรียญ เปนตน ที่ตนเคยบริจาคสรางไว ฝายอกุศลก็มีภาพหอก ภาพดาบ ภาพ ปนผานาไมที่ตนเองเคยใชเปนอาวุธประหารหรือทํารายบุคคลหรือสัตวอื่น (๓) คติมินิตอารมณ คืออารมณที่เปนนิมิตหรือเครื่องหมายบงบอกถึงภพภูมิหรือคติที่ตนเองจะ ไปเกิด ถาเปนคตินิมิตที่ดีที่จะนําไปสูสุคติภูมิ ก็จะปรากฏเปนประสาททิพวิมานใหเห็น ถาเปนคตินิมิตที่ไม ดี เชน ภาพสัตวนรก ภาพสัตวเดรัจฉาน เปนตน ก็จะนําไปสูทุคติภูมิ ๓.๔ กตัตตากรรม หรือ กตัตตาวาปนกรรม คําวา “กตัตตากรรม” หมายถึงกรรมสักวาทํา ไดแก กรรมดีก็ตาม ชั่วก็ตาม ที่ทําไวดวยเจตนาอัน ออน หรือมิใชเจตนาอยางนั้นโดยตรง แตทําไปเพราะความสะเพรา ประมาท หรือความคึกคะนอง กรรม ชนิดนี้ใหผลนอยที่สุด กลาวคือ ถาบาปก็บาปนอย ถาบุญก็บุญนอย และจะใหผลตอเมื่อไมมีกรรมอื่นมา ใหผลแลว
  • 12. ๑๒ การใหผลของกรรม คนสวนมากเชื่อกันวา การใหผลของกรรมยอมใหผลตรงๆ เทานั้น เชนความเชื่อที่วา เมื่อชาติที่แลว เคยหักขากบขาเขียด เกิดมาชาตินี้จึงเปนคนขาเปตั้งแตแรกเกิดแตลักษณะการใหผลของกรรมนั้นอาจใหใน ลักษณะ ๓ ประการ คือ๑๒ ๑. ใหผลในระดับคุณภาพของจิต คือคนที่ทําความดี (กุศลกรรม) ยอมมีคุณภาพจิตที่ดี คนที่มี สุขภาพจิตดี ยอมมีหนายิ้มแยมแจมใส มีความสุข สงบเรียบรอย สวนคนที่ทํากรรมไมดี(อกุศลกรรม) คุณภาพจิตของเขายอมไมดี มีผลทําใหจิตใจของเขามีความเรารอน กระวนกระวายไมเปนสุข ๒.ใหผลในระดับอุปนิสัย หรือบุคลิกภาพสืบเนื่องมาจากการใหผลของกรรมในระดับคุณภาพของ จิต คนที่ทํากรรมดี เมื่อมีสุขภาพจิตดี ยอมมีบุคลิกที่ดีตามไปดวย สงผลใหเขาเปนคนที่มีจิตที่มีเมตตา เปน บุคคลที่นาเคารพนับถือ สามารถเปนแบบอยางของผูอื่นได ในทางตรงกันขาม คนที่ทํากรรมไมดี ยอมมี อุปนิสัยหรือบุคลิกภาพไมดี เพราะจิตใจเศราหมอง ทําใหมีความทุกขตลอดเวลา ๓. ใหผลในระดับภายนอก หรือใหผลทางสังคม คนที่ทํากรรมดี เชน ตั้งใจทําหนาที่ของตนเองดี นอกจากจะมีคุณภาพจิตดี เปนคนหนาตาเบิกบาน ยิ้มแยมแจมใส สงผลทําใหเกิดบุคลิกภาพที่ดีแลว ยังมีผล ตอการเขาสังคมหรือการดําเนินชีวิตในสังคมอีกดวย กลาวคือเมื่อเขาเปนคนมีสีหนายิ้มแยมแจมใส บุคลิกภาพดี ก็สงผลใหเขาเปนที่ชื่นชอบของคนอื่น ทํางานรวมกับผูอื่นไดดี ก็สงเสริมใหเขามีความ เจริญกาวหนาในหนาที่การงาน ความสรุป เมื่อศึกษาเรื่องกฎแหงกรรมในทางพุทธศาสนาแลวจะพบวากรรมมีลักษณะการใหผลที่คอนขางจะ สลับซับซอน แตก็ขึ้นอยูกับผลของการกระทําของตนเองเปนหลัก จะใหใครไปใชแทนเหมือนทรัพยสินเงิน ทองก็ไมได เหมือนดังพุทธพจนบทหนึ่งกลาวยืนยันเรื่องกฎแหงกรรมไววา บุคคลหวานพืชเชนใด ยอม ไดผลเชนนั้น ทําดียอมไดรับผลดี ทําชั่วยอมไดรับผลชั่ว ความจริงก็คือ ทําอยางใด ยอมไดรับผลอยางนั้น เหมือนเราปลูกไมผล หากเรานํามะมวงไปปลูก สิ่งที่เราไดก็คือผลมะมวง ไมใชผลมะขาม เมื่อเราทําความดี สิ่งที่เราไดก็คือความสุขใจ ความอิ่มใจ แตเมื่อทําความชั่ว สิ่งที่ไดรับก็คือ ความเศราหมอง ความขัดเคือง ความทุกขใจ เปนตน ดังนั้น กรรมที่แทจริงในพุทธศาสนาก็คือการกระทําดวยเจตนา (ซึ่งเจตนาก็คือกิเลส ที่สรุปอยูที่ ความยินดี-ยินราย) ถาไมมีเจตนาจะไมเรียกวาเปนกรรม แตจะเรียกวาเปน กิริยา ซึ่งมีผลเปน ปฏิกิริยา (เชน ถาเราเดินไปเหยียบสัตวเล็กๆ ตายโดยไมเจตนาก็มีผลเปนเพียงสัตวตายเทานั้น)โดยกรรมนี้จะมีอยู ๒ ประเภทใหญๆ คือ กรรมชั่ว กับ กรรมดี ซึ่งกรรมนี้จะเกิดจากใจโดยตรง แตก็สามารถแสดงออกมาทางกาย และวาจาได ๑๒ พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร, อางแลว, หนา ๕๖.
  • 13. ๑๓ หนังสืออางอิง มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พระไตรปฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยา. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๓๙. พระเมธีธรรมาภรณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) พุทธศาสนากับปรัชญา. กรุงเทพฯ : อมรินทรพรินติ้ง กรุพ จํากัด,๒๕๓๓. พระธรรมปฎก (ป.อ. ปยุตฺโต),พจนานุกรมพุทธศาสตรฉบับประมวลธรรม. กรุงเทพฯ: มหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๓. พระธรรมปฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน ฉบับประมวลศัพท กรุงเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๖. พระธรรมปฎก,,พุทธกรรมกรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(,๒๕๔๖. พระธรรมปฎก,,พุทธกรรม กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย(,๒๕๔๖. พุทธทาสภิกฺขุ, ทานพุทธทาสกับการศึกษา.กรุงเทพฯ : โรงพิมพคุรุสภา,๒๕๔๕. พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร, พุทธปรัชญาการศึกษา. เลย: มจร.วิทยาลัยสงฆเลย, ๒๕๕๐. เสฐียร พันธรังษี,ศาสนาเปรียบเทียบ.กรุงเทพ ฯ : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๓๔. สุจิตรา ออนคอม,ศาสนาเปรียบเทียบ (กรุงเทพ ฯ : หจก.สํานักพิมพ และสายสงดวงแกว,๒๕๔๕.