SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
๑


                                      หลักสุ ขนามัยในพุทธปรั ชญา
                                                                                ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์ พรพวัณ
--------------------------------------------------------------
ความเบืองต้น
         พุทธปรัชญาเป็ นแหล่งกําเนิดภูมิปัญญาตะวันออกอีกแหล่งหนึงทีได้ศึกษาเรื องราวเกียวกับ
ชีวิตในแง่มุมต่างๆ มากมาย และหลักพุทธธรรมก็ได้เข้ามามีบทบาทและอิทธิพลต่อการดําเนิ นชีวิต
ของคนในสังคมในหลายรู ปแบบ ไม่ว่าจะเป็ นวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต คติ ความเชือ และอืนๆ
อีกมากมาย ในเรื องของการดูแลสุขภาพก็เป็ นวิถีส่วนหนึ งทีหลักพุทธธรรมเข้าไปมีส่วนเกียวข้อง
ด้วย เพราะถ้าหากนําเอาหลักพุทธธรรมมาศึกษาในประเด็นสุ ขภาพ ก็จะไม่ศึกษาเพียงแค่ว่า มีโรค
หรื อไม่มีโรคเท่านัน เพราะเรื องของสุ ขภาพมีความเชือมโยงกับมนุ ษย์และพฤติกรรมของมนุ ษ ย์
การกระทํา การพูด การคิด การดํารงชีวิต สิ งแวดล้อม ทีอยู่อาศัย สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง
วัฒนธรรม ประเพณี และวิทยาการต่างๆ ตลอดถึงเรื องของศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ศีลธรรม
ค่านิยม ความมีนาใจ ความไร้นาใจ ล้วนเป็ นเหตุปัจจัยทีจะผลักดันให้สุขภาพเป็ นไปในทิศทางทีดี
                  ํ             ํ
หรื อไม่ดี การใช้หลักพุทธธรรมมาเป็ นพืนฐานในการดูแลสุขภาพจะต้องคํานึ งถึงสองด้าน คือนาม
กับรู ป หรื อกายกับจิต ไม่เน้นส่วนใดส่วนหนึงหรื อแยกส่วนออกจากกัน เพราะถ้าทําเช่นนันสุขภาพ
ของมนุษย์ก็จะอยูในสภาพทีครึ งๆ กลางๆ ไม่สมบูรณ์แท้
                    ่

หลักธรรมทีว่าด้ วยสุ ขนามัย (สุ ข + อนามัย)
          สุ ขลักษณะหรื อหัว ใจของอนามัย(Sanitation) นัน ตามหลักการเรี ยนรู้หมายถึง “ความ
สะอาด” ถ้าไม่มีความสะอาด ก็ยากทีจะกล่าวว่า “มีหลักอนามัย” ได้ องค์การอนามัยโลกได้ให้คา       ํ
จํากัดความของคําว่า “สุ ขภาพ” ไว้ดงนี สุ ขภาพคือ สุ ขภาวะโดยสมบูรณ์ทงทางกาย ทางจิต และ
                                     ั                                  ั
ทางสังคม๑ เมือพิจ ารณาคําจํากัด ความเรื องสุ ข ภาพหรื อสุ ข นามัย ขององค์ก ารอนามัย โลกแล้ว
ค่ อ นข้า งจะมี ค วามสอดคล้อ งกับ หลัก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนา เพราะในคํา สอนทาง
พระพุทธศาสนาจะเน้นถึงความสะอาด ซึงเป็ นหัวใจสําคัญของหลักธรรมที ว่าด้วยความหมดจด
แห่งจิตใจ
          พระพุทธศาสนาได้ให้ความสําคัญกับเรื องของความสะอาดมาก ดังจะเห็นได้จากมีการ
กล่าวไว้หลายแห่งด้วยกันในพระคัมภีร์ แต่ใช้คาว่า “สุ ทธิ” ซึงแปลว่า “สะอาด” หรื อ “บริสุทธิ” มา
                                            ํ

         ป.ธ.๖, พธ.บ., M.A.(Phil.), M.A.(Bud.), Ph.D.(Phil.) อาจารย์ประจํา มจร. วิทยาลัยสงฆ์เลย
        ๑
         พระเทพปัญญาเมธี, สารัตถธรรม (กรุ งเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๘),
หน้า ๒๑๗.
๒

แทนความสะอาด บริ สุทธิ และหมดจด ซึงแบ่งออกเป็ น ๓ ขันด้วยกัน คือ สะอาดขั นธรรมดา
สะอาดขันบริสุทธิ และ สะอาดขันหมดจด ดังจะอรรถาธิบายในแต่ละขันดังต่อไปนี

           ๑. สะอาดขันธรรมดา
           ความสะอาดชันต้น หรื อทีเรี ยกว่า “สุ ทธิ” นี เป็ นความสะอาดภายนอก หรื อความสะอาด
ของร่ างกายของคนเราทัว ๆ ไป ตลอดไปถึงสิงอุปโภคบริ โภคทังหลาย ทีปราศจากความสกปรก ไม่
มีโทษใดๆ ต่อร่ างกายเมือบริ โภคแล้ว มีบางคนเข้าใจผิดต่อหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา โดย
เฉพาะทีสอนเรื องเกียวกับเรื อง อสุ ภกรรมฐาน คือสอนให้พิจารณาร่ างกายของคนเรานี ว่าเป็ นของ
ไม่สะอาด หรื อไม่ก็มีพุทธบัญญัติให้พระภิกษุใช้ ผ้ าบังสุ กล คือ ผ้ าเปื อนฝุ่ นทีเขาห่ อศพ หรื อ ผ้ าที
                                                                 ุ
เขาทิงตามกองขยะ ก็ดี หรื อทรงสอนให้พระภิกษุอยูตาม รุกขมูล คืออยูตามโคนต้นไม้ก็ดี หรื อให้
                                                           ่                 ่
พระภิ ก ษุ ฉัน ยาดองด้ว ยนํามูต รเน่ าก็ ดี หรื อการที ทรงยกย่อง ลู ข ะปฏิบั ติ คื อการใช้ผาอัน เป็ น
                                                                                            ้
เครื องนุ่ งห่ มสี เศร้ าหมองก็ ดี ซึ งก็ ลว นแต่ จ ะเพ่งเล็งหลัก คําสอนว่ าพระพุทธศาสนานิ ย มความ
                                           ้
สกปรก และปล่อยตัวไปตามยถากรรม ไม่รู้จกความสะอาด    ั
           การเข้าใจเช่นนันถือว่าเป็ นเรื องเข้าใจผิดหรื อไม่เข้าใจในหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา
เป็ นการมองทีขาดวิจารณญาณ แท้จริ ง พระพุทธเจ้าทรงสอนให้พิจารณาเห็นหลักแห่ งความจริ ง
ของสัจธรรม ซึงมันมีหรื อเป็ นอยูแล้วอย่างนัน เช่น ทรงสอนให้พิจารณาเกียวกับเรื องเหล่านี :-
                                      ่
               ๑.๑ การพิจารณาอสุ ภกรรมฐาน เรื องนี พระพุทธองค์ทรงสอนให้พิจารณาว่า ร่ างกาย
ของคนเรานีทังหญิงและชาย เยาวัยหรื อว่าแก่ชรา เป็ นรังแห่งโรค เป็ นแหล่งของความสกปรก ฯลฯ
มีท่อระบายความสกปรกออก ๙ ท่อ ได้แก่ ตาทังสอง หูทงสอง จมูกทังสอง ปากหนึ ง ทวารหนัก
                                                                   ั
หนึง และทวารเบาหนึ ง รวมเป็ น ๙ ท่อ ซึงความจริ งก็เป็ นอย่างนันจริ งๆ ลองพิจารณาดูตงแต่ใน     ั
ท้องและลําไส้น้อย ลําไส้ใหญ่ ว่าเป็ นอย่างไร เมือพิจารณาแล้ว จะเห็นตรงตามทีตรัสสอนไว้ คือ
ทุกชินส่วนของร่ างกายเรา ในคนๆ หนึง จะมีถุงหนังห่อหุมซึงบรรจุของไม่สะอาด สิงทีออกมาจาก
                                                               ้
ร่ างกาย ไม่ว่ าจะเป็ นนํา เป็ นเนื อ หรื อเป็ นลมที ออกมาจากร่ างกายช่ องใดก็ ต าม ถือว่ าเป็ นของ
สกปรกทังนัน อย่าว่าแต่จะให้กินเลย แม้แต่จะให้ดม หรื อเอามือไปแตะต้องก็ตาม ก็ยงเป็ นทีรังเกียจ
                                                                                        ั
อยูนนเอง
    ่ ั
             การทีพระพุทธเจ้าตรัสสอนให้พิจารณาดูตามความจริ งเช่นนี ก็เพือจะบรรเทาความมัวเมา
ในความสวยงามหรื อรู ปร่ างหน้าตา ถ้ามองในแง่อนามัยก็เพือให้ทุกคนมีความรู้สึกตัวว่า ร่ างกาย
ของเรานี ไม่สะอาด จะได้เอาใจใส่ดูแลคอยระมัดระวังตัวให้สะอาดอย่างสมําเสมอ ด้วยการอาบนํา
สระผม แปรงฟัน นอกจากนี ยังทรงสอนให้พระภิกษุไปดูซากศพทีเน่ าเปื อย ด้วยวิธีการทีแยบยล
เช่น ให้ไปยืนดูซากศพในระยะทีไม่ใกล้และไม่ไกลจนเกินไป และให้ยืนทางด้านเหนื อลม ดังนี
เป็ นต้น
๓

              ๑.๒ การพิจารณาใช้ ผ้าบังสุ กุล เรื องทีทรงอนุญาตให้พระภิกษุพิจารณาผ้าบังสุ กุลใช้ ก็
เพือให้พระภิกษุในพระพุทธศาสนาเป็ นผูเ้ ลียงง่าย ไม่ตองคิด ยุ่งยากหยุมหยิมในเรื องของการใช้
                                                            ้
เครื องนุ่งห่ม ให้มีใช้เพียงเพือห่ อหุ ้มร่ างกายให้คลายจากทุกขเวทนา อันเกิดจากความหนาว ร้อน
เหลือบ ยุง ริ น ไร และปกปิ ดส่วนทีจะทําให้เกิดความเหนียมอายเท่านัน ซึงก่อนการพิจารณาใช้ก็มี
ขันตอนต่าง ๆ เช่น ขันตอนในการซัก การย้อมสี และการเย็บ เป็ นต้น มิใช่ว่าจะหยิบเอามาใช้สอย
ได้เลยทังทียังเปื อนฝุ่ นอยู่ จะต้องนํามาผ่านขันตอนการทําความสะอาดตามแนวพระพุทธศาสนา
เสียก่อน จึงจะนํามาเป็ นเครื องนุ่งห่มเย็บเป็ นบริ ขารได้
             ๑.๓ การให้ อยู่โคนต้ นไม้ (รุ กขมูล) การทีทรงสอนให้พระภิกษุ อยู่จาพรรษาตามโคน
                                                                               ํ
ต้นไม้ ก็เพือให้เห็นความสําคัญของธรรมชาติว่ามีประโยชน์ต่อชีวิต และก่อนจะอยู่จาก็ตองมีการ
                                                                                      ํ ้
ปั ดกวาดทําความสะอาดเสี ยก่ อน มิใช่ให้อยู่แบบหลบซุ กซ่อนตน หรื อเร้นกายไม่สนเรื องความ
สะอาด ดังจะเห็นได้จากการทรงบัญญัติพระวินยทีว่า ถ้าพระภิกษุไปอยู่ทีใดทีหนึ งแล้วไม่ทาความ
                                                   ั                                        ํ
สะอาด ก็ทรงปรับอาบัติแก่พระภิกษุรูปนัน
                ๑.๔ การให้ ฉันยาดองด้ วยนํามูตรเน่ า (นําปัสสาวะ) การทีทรงสอนให้พระภิกษุฉันยา
ดองด้วยนํามูตรเน่า ก็เพือให้พระภิกษุรู้จกรักษาตนเองเมืออยูป่า นํามูตรเน่ าในทีนี ก็คือนําปั สสาวะ
                                              ั                 ่
และนําปัสสาวะนี ถือว่าเป็ นยาชันยอดทีสามารถสร้างภูมิคุมกันโรคให้กบร่ างกายเป็ นอย่างดี และ
                                                              ้            ั
ประการสําคัญคือเป็ นสิ งทีหาง่ายทีสุดและมีคุณภาพทีสุดสําหรับรักษาโรคทางกาย ไม่ตองรอพึงยา
                                                                                       ้
จากหมออย่างเดียว
              ๑.๕ การใช้ ลูขปฏิบัติ ในเรื องของลูขปฏิบติหรื อลูขปปมาณิ กา มีหลายคนเข้าใจผิดใน
                                                          ั       ั
เรื องของความหมาย คิดว่าเป็ นเรื องของความสกปรก ความจริ งพระพุทธองค์ทรงชมเชยการใช้ผาที         ้
เรี ยกว่า “ลูขะ” เดิ มแปลว่า “เศร้ าหมอง” ทีนี คนทีนิ ยมความเกี ยจคร้านก็เลยไปตีความเอาเองว่ า
หมายถึง ผ้ าสกปรก แล้วฉวยโอกาสไม่ซักผ้าให้สะอาด ปล่อยให้ผาสกปรกและมีก ลินอัน เป็ นที
                                                                     ้
รังเกียจของสังคม แต่ความเป็ นจริ ง คําว่า ลูขะ นัน มิได้หมายถึงความสกปรก หรื อแปลว่า เศร้ า
หมอง แต่ ป ระการใด ที จริ ง ต้อ งแปลว่ า “หมอง” ซึ งหมายถึง สี คลํ า ๆ ไม่ ฉู ด ฉาด ซึ งตรงกับ
ภาษาไทยว่า สีเรียบ ๆ ไม่ ฉูดฉาดตา เหมาะกับสมณสารู ป
              ๑.๖ การให้ งดเว้ นอาหารในเวลาเย็น พระพุทธเจ้าได้ทรงสังสอนให้พระภิกษุบริ โภค
อาหาร หรื อดืมเฉพาะสิ งทีมีความจําเป็ นต่อชีวิตจริ งๆ เช่น บทบัญญัติทีให้พระภิกษุงดเว้นจากการ
ฉันอาหารในเวลาวิกาล การทีพระผูมีพระภาคเจ้าและพระภิกษุสงฆ์ไม่ฉนอาหารในเวลาวิกาลนัน มี
                                        ้                                ั
ประโยชน์ในแง่ของสุขภาพ ดังทีปรากฏในพระไตรปิ ฎกว่า เมือพระผูมีพระภาคและภิกษุสงฆ์ฉัน
                                                                       ้
โภชนะ เว้นการฉันในราตรี รู้จกคุณคือความเป็ นผูมีอาพาธน้อย มีโรคเบาบาง กระปรี กระเปร่ ามี
                                  ั                    ้
กําลังและอยูสาราญ๒
               ่ ํ

        ๒
            เรืองเดียวกัน, หน้า ๒๗๒.
๔

             ๑.๗ การบริโภคเพือสุ ขภาพ ในเรื องของการบริ โภค พระพุทธเจ้าตรัสให้พระภิกษุฉัน
อย่างมีสติ โดยพิจารณาอย่างแยบคายว่า การฉันอาหารนัน มิใช่ฉนเพือความเพลิดเพลินสนุ กสนาน
                                                                ั
มิใช่ฉนเพือความมัวเมามันหรื อเพิมพลังให้มากเกินไป ไม่ใช่ฉันเพือการประดับตกแต่งร่ างกายให้
      ั
สวยงาม แต่เป็ นการฉันเพือให้ชีวิตดํารงอยูได้เพือให้ร่างกายดํารงอยู่ เพือบรรเทาทุกข์เก่าอันเกิดจาก
                                          ่
ความหิ ว และไม่ทาให้เกิ ด ทุ กข์ใหม่จ ากความอิมเกิ นไปจนอึด อัด และเมือฉัน อาหารแล้ว ชี วิ ต
                    ํ
จะต้องดําเนินต่อไปได้อย่างสะดวก ไม่ติดขัดอึดอัดขัดเคือง อาหารทีฉันแล้วไม่มีโทษทังในปัจจุบน       ั
และอนาคต ไม่เป็ นอาหารทีมีโทษใดๆ ต่อสุขภาพ และสุขภาพจิต
             พระพุทธเจ้าจึงได้ตรัสห้ามพระภิกษุดืมฉันสุ รา และของหมักดองทีทําให้เกิดความมึน
เมาทุกชนิด ข้อนีก็เป็ นการสอดคล้องกับการห้ามฉันของทีมีโทษต่อร่ างกายจริ งๆ การห้ามดืมฉัน
ของมึนเมาจึงเป็ นข้อปฏิบติทีรักษาสุขภาพกายสุขภาพจิตได้เป็ นอย่างดี และมีขอพิจารณาว่า เมือฉัน
                          ั                                                  ้
อาหารแล้วจะต้องมีความผาสุก คือไม่มีโรคภัยใดๆ ติดตามมาหรื ออยูในสภาพทีจะเป็ นโรค แต่ตอง
                                                                     ่                         ้
อยูอย่างผาสุก ก็คือสุขภาพกายดีอย่างสมบูรณ์ สุขภาพจิตดีไม่มีวิตกกังวล เมือพระองค์ทรงสอนให้
    ่
มีสติ วางเป้ าหมายการฉันอย่างถูกต้องเช่นนี เมือพระภิกษุ ได้พิจารณาไปตามอย่างเข้าใจ จิตใจก็
สบาย ไม่ฉนอย่างคนมีโรคใจ แต่ฉนด้วยจิตบริ สุทธิจึงอิมทังกายอิมทังใจ๓
           ั                        ั
             ๑.๘ การเดินจงกรมเพือสุ ขภาพกายสุ ขภาพจิต การเดินจงกรม คือการทีพระภิกษุเดิน
ด้วยการกําหนดสติอยูทีการเดิน ในทุกย่างก้าว จะเดินเร็ วหรื อช้าไม่เป็ นประมาณ แต่สิงทีสําคัญอยูที
                       ่                                                                           ่
การเดินอย่างมีสติ การเดินจงกรมจะเดินไปเดินมาในทีไม่ไกลนัก โดยจัดสถานทีเดินให้เรี ยบร้อย
เดินสะดวกเป็ นการออกกําลังกายแบบค่อยเป็ นค่อยไปตามธรรมชาติ ความอบอุ่นหรื อความร้อนที
ได้จากการเดินจงกรมจึงเป็ นความร้อนทีออกมาอย่างสมดุล
             พระพุทธเจ้าได้ตรัสประโยชน์ของการเดินจงกรมไว้ว่า “ดูกรภิกษุทงหลาย อานิ สงส์ใน
                                                                               ั
การเดินจงกรม ๕ ประการนี คือ๔
                 ๑) ภิกษุผเู้ ดินจงกรมย่อมเป็ นผูอดทนต่อการเดินทางไกล
                                                 ้
                 ๒) เป็ นผูอดทนต่อการบําเพ็ญเพียร
                              ้
                 ๓) ย่อมเป็ นผูมีอาพาธน้อย
                                 ้
                 ๔) อาหารทีฉัน ดืม เคียว ลิม แล้วย่อยไปโดยดี
                 ๕) สมาธิทีได้จากการเดินจงกรมย่อมตังอยูได้นาน
                                                           ่
         เมือพิจารณาถึงประโยชน์ของการเดินจงกรม ก็จะเห็นได้ว่า การเดินจงกรมเป็ นการดูแล
และรักษาสุ ขภาพอีกวิธีหนึ ง เมือปฏิบติแล้วจะได้ประโยชน์ทงทางกายและทางจิตอย่างมหาศาล
                                       ั                      ั
เป็ นการดูแลสุขภาพทีไม่ตองลงทุนอะไรเลย เพียงแต่นาเอาร่ างกายทีมีอยู่แล้วมาปฏิบติเท่านันเอง
                            ้                          ํ                             ั

        ๓
            เรืองเดียวกัน, หน้า ๒๗๓.
        ๔
            เรืองเดียวกัน,หน้า ๒๗๖-๒๗๗.
๕

         การออกกําลังกายโดยการเดิ น จงกรมนี ทําได้ทุก เพศทุ ก วัย ทุ ก สาขาอาชี พ แล้ว ได้รั บ
ประโยชน์ คื อร่ างกายแข็ งแรง เดิน ทางไกลๆ ได้สบาย การเดิน ทางไกลได้สบายต้องมีร่ างกาย
แข็ ง แรงจริ งๆ การทํา ความเพี ย รได้น านๆ เป็ นเรื องที แสดงความเข้ม แข็ ง ทังกายและใจมา
ประสานกัน กล่า วคื อใจนัน ได้ม าจากสมาธิ ใ นการเดิ น จงกรมตังอยู่ไ ด้น าน นี เป็ นเรื องของ
สุขภาพจิตโดยตรง เพราะเมือจิตเป็ นสมาธิได้นานเท่าใด จิตใจก็ปลอดจากโรคมากเท่านัน คือกิเลส
ไม่รบกวนนันเอง

            ๒. สะอาดขันบริสุทธิ
            ความสะอาดชันนี เป็ นความสะอาดบริ สุทธิทีพิเศษกว่าความสะอาดขันธรรมดา เพราะเป็ น
เรื องของการชําระกาย และวาจา ให้สะอาดด้วยการรักษาศีล
            คําว่า “ศีล” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ให้ความหมายไว้ว่า
การรักษากายและวาจาให้เรี ยบร้อย,ข้อปฏิบติทางพระพุทธศาสนา เช่น ศีล ๕ ศีล ๘๕ เป็ นต้น แต่ผรู้
                                                    ั                                              ู้
ทางศาสนา หรื อพระผูบรรยายธรรมทัวไป ได้ให้ค วามหมายของคําว่ าศีลไว้ต่ างๆ กัน เช่น ศีล
                           ้
แปลว่า ปรกติ แปลว่า เย็น แปลว่า หนักแน่ น แปลว่า มันคง ไม่หวันไหว แปลว่า ดีงาม เบาสบาย
โล่ง ว่าง แปลว่า เรี ยบร้อย แปลว่า ระงับ เป็ นต้น ในทีนี จะขอยกมากล่าวเฉพาะศีล ๕ อันเป็ นหลัก
ปฏิบติพนฐานสําหรับคนทัวไป และศีล ๘ โดยสังเขป
      ั ื
            ในเรื องของศี ลห้า อัน เรี ย กว่ า เป็ นนิ จ ศีล ของชาวพุทธ โดยทัวไปศีลทุ ก ข้อจะมีค วาม
เกียวข้องกับเรื องสุ ขภาพทังสิ น เพราะศีลห้าจะเกียวข้องกับชี วิตทรั พย์สิน ครอบครัว และสังคม
อย่างเช่น การไม่ฆ่าสัตว์หรื อมนุษย์ ก็เกียวข้องกับชีวิตโดยตรง เมือไหร่ มีการฆ่าเกิดขึ น ทังผูถูกฆ่า
                                                                                               ้
และผูฆ่าจะต้องเผชิญกับความเสือมทรามทางสุขภาพทังกายและจิต หรื อถึงสูญเสี ยชีวิตกันไปอย่าง
       ้
ไม่หมดสิ น และยังเป็ นการทําลายความสงบสุขของสังคมอีกด้วย แม้เมือมาสมาทานงดเว้นจากการ
ฆ่า หรื อทําลายมนุษย์หรื อสรรพสัตว์ได้อย่างแท้จริ ง ก็เป็ นเหตุให้อายุยนอีกทางหนึง
                                                                          ื
            เรื องของการลักทรัพย์ ทําให้ผลกทรัพย์วิตกกังวลหวาดกลัว ผูถูกลักรู้สึกหวาดหวันพรั น
                                             ู้ ั                             ้
พรึ ง รู้สึกไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ความหวาดกลัวเหล่านี หากมีมากๆ ย่อมบันทอนความ
เชือมันทําให้กินไม่ได้นอนไม่หลับเกิดความไม่สมดุลแก่ร่างกาย เมือร่ างกายไม่สมดุลก็เป็ นเหตุให้
เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ง่าย แต่สิงทีนับว่า มีผลกระทบต่อสุ ขภาพโดยตรงก็คือ บางครั งทังโจรทังเจ้า
ทรัพย์ตองมาบาดเจ็บล้มตายด้วยกัน แต่ถามาปฏิบติศีลข้อไม่ลกทรัพย์ดวยกัน ต่างฝ่ ายต่างพอใจใน
          ้                                       ้       ั        ั        ้
ทรัพย์สินทีแสวงหามาได้จากหยาดเหงือแรงงาน เมือออกกําลังกายทํางานก็ได้กาลังกาย และทรัพย์
                                                                                 ํ
นํามาใช้จ่ายซือสิงของจําเป็ นเลียงชีวิต เลียงครอบครัว ทําให้มีความสุข

        ๕
           ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ (กรุ งเทพ ฯ : นานมีบุ๊คส์
พับลิเคชันส์,๒๕๔๖), หน้า ๑๑๐๓.
๖

              การประพฤติผดในกามก็เป็ นสาเหตุสาคัญให้สุขภาพกายสุ ขภาพจิตเสื อม หากไม่สารวม
                               ิ                    ํ                                                ํ
ระวังย่อมก่อให้เกิดโรคร้ายได้ง่าย เมือเกิดแล้วยากแก่การรักษา การประพฤติผิดในกามก่อให้เกิด
การทะเลาะวิ ว าทบาดหมางกัน ในครอบครั ว อัน ก่ อให้เกิ ด การทําร้ า ยชี วิ ต กัน และกัน ได้ การ
ประพฤติผดในกามทําให้เกิดความกระทบกระเทือนใจอย่างร้ายแรงแก่ผทีถูกล่วงละเมิด สุ ดท้ายกิน
                 ิ                                                            ู้
ไม่ได้นอนไม่หลับ จึงทําให้เกิดโรคต่างๆ ขึนมากมาย หรื อไม่ก็เป็ นทุกข์จนขาดสติถึงกับฆ่าตัวตาย
ก็มีปีละหลาย ๆ ราย
              การพูด เท็จหรื อการให้ข ้อมูลที ไม่ถูก ต้อง เป็ นอัน ตรายต่อสุ ข ภาพ ดังที เป็ นอยู่ทุก วัน นี
ส่วนมากผูถกโกหกก็ตองรับเคราะห์ก่อน เช่น โกหกว่ายาบางชนิ ดรักษาโรคบํารุ งสุ ขภาพ แต่พอ
                 ู้          ้
รับประทานเข้าไปแล้วไม่เห็นผลหรื อบางทีเวลาป่ วยไข้แทนทีจะได้รับการวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้อง
กลับมีผอางตัวเป็ นผูวิเศษรับอาสารักษาโรค สุดท้ายอาจจะทําอันตรายให้อาการหนักถึงแก่ชีวิตได้
            ู้ ้           ้
ง่ายๆ
              ส่วนผูทีชอบโกหกผูอืน เมือประพฤติมาก ๆ เข้าก็ตองเดือดร้อนอยูไม่มีความสุ ข แม้ว่าจะมี
                         ้        ้                              ้                   ่
อยูมีกินมีอานาจวาสนา แต่เมือถูกขนานนามว่า เป็ นคนลวงโลกก็ทาให้เป็ นทุกข์ใจ แล้วต่อไปก็ลาม
    ่              ํ                                                      ํ
ไปเป็ นทุกข์กาย และเมือร่ างกายอ่อนแอโรคภัยไข้เจ็บก็มารุ ม บางคนเป็ นคนลวงโลกพอเขาจับได้
ไล่ทนก็ถึงกับกระอักเลือด และแน่นอนทีสุดเมือถึงระดับกระอักเลือด ภูมิคุมกันก็เหลือน้อย อาจจะ
       ั                                                                           ้
ล้มป่ วยได้ง่าย ล้มแล้วรักษายาก
              ส่วนศีลข้อห้าก็มีมาเพือช่วยให้สุขภาพดีโดยตรง เพราะสุ ราหรื อสิ งมึนเมาต่างๆ ล้วนเป็ น
สิ งทําอันตรายต่อร่ างกาย จึงควรงดเว้นเสี ยให้ห่างไกล หากไม่งดเว้นจะพบกับความสุ ญเสี ยทันตา
เห็นจากการสูญเสียเงิน การเสียเวลา เสียสติ มีปัญญาเสือม อันเป็ นจุดเริ มต้นของการเสี ยสุ ขภาพจิต
ทังหมด การเสียสุขภาพกายก็จะตามมาไม่ว่าระยะสัน อันได้แก่อุบติเหตุอุบติภย หรื อโรคภัยไข้เจ็บ
                                                                        ั              ั ั
อันมีสาเหตุมาจากสุราและสิงมึนเมาทังหลายทีมน◌ุ ษย์ไปเข้าใจผิดคิดว่าดี ทีแท้คือเครื องมือทําลาย
สุขภาพและคุณภาพชีวิตนันเอง และ เมืองดเว้นจากการดืมสุราเมรัยได้เด็ดขาด สุ ขภาพร่ างกายก็จะ
ดีอยูเ่ ป็ นสุข ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันเนืองมาจากสุราเมรัย๖
              หากพิจ ารณาดู ศีลห้าแต่ ละข้อ ถ้ามีผูใคร่ ละเมิดเป็ นอาจิ ณ จะเป็ นเหตุ ให้เกิ ด ความทุ ก ข์
                                                      ้
ทรมานไม่หมดไม่สิน ในทางตรงกันข้ามหากเข้าใจถึงคุณและโทษของการมีและการไม่มีศีลห้า
แล้วตังใจปฏิบติศีลห้าด้วยความตังใจนําเอาคุณค่าของศีลแต่ละข้อทีปฏิบติได้แล้วมารวมกัน ก็จะอยู่
                       ั                                                         ั
ในสังคมอย่างคนไม่มีเวรไม่มีภย ครอบครัวสงบร่ มเย็น มีสติสัมปชัญ ญะในการดํารงชีวิต ความ
                                      ั
ผิดพลาดก็มีนอย ความภาคภูมิใจและปี ติมีเพิมมากขึน เมือชีวิตอยูดวยความสะดวกสบายใจ สุขภาพ
                     ้                                                ่ ้
กายก็ดีตามมา แม้มีโรคภัย บางชนิ ด มาเบียดเบียนก็จ ะหายในไม่ชา กายทีใช้ไปอย่างมีประโยชน์
                                                                            ้
ก่อให้เกิดบุญกุศล ย่อมส่งผลให้ใจเป็ นสุขอยูตลอดเวลา
                                                 ่

         ๖
             พระเทพปัญญาเมธี, อ้ างแล้ ว, หน้า ๒๘๓-๒๘๔.
๗

          การจะรักษาศีลทัง ๕ ข้อนีได้ดี บุคคลนันต้องมีเบญจธรรมประจําตัวคือ
          ๑) เมตตา บุคคลใดทีมีเมตตาย่อมไม่ฆ่าหรื อเบียดเบียนสัตว์ดวยรู้ดีว่าทุกชีวิตย่อมมีความรัก
                                                                        ้
ตัวกลัวตายเช่นเดียวกับเรา ทําให้ไม่ผดศีลในข้อปาณาติบาต
                                         ิ
          ๒) สัมมาอาชีพ คือประกอบอาชีพทีสุดจริ ต มีรายได้ รู้จกการใช้จ่าย และทีสําคัญรู้จกคําว่า
                                                                     ั                      ั
พอดี และมีหิริโอตตัปปะ ทําให้ไม่ผดศีลในข้ออทินนาทาน
                                       ิ
          ๓) ความสํารวมอินทรีย์ คือสํารวมตา หู จมูก ลิน กาย และใจ ทําให้ความใคร่ กามคุณ คือ
การติดในรู ป รส กลิน เสียง สัมผัส ลดน้อยลง เมือความสํารวมเกิดขึน ความระมัดระวังตัวย่อมมี จะ
เป็ นเหตุให้ไม่ล่วงเกินผูอืน มีสมมาคารวะและมีความเป็ นผูนาทีดีในสังคม
                            ้    ั                            ้ ํ
          ๔) สัจจะ การพูดความจริ ง เป็ นสิ งทีทําให้ไม่เกิดการมุสาวาท การเจรจาพาทีมีคนเชือถือ
และเชือฟัง
          ๕) สติ การรู้สึกตัว ซึงเป็ นหัวหน้าฝ่ ายกุศล ทําให้ชีวิตไม่ประมาท เพราะรู้ว่าอะไรดี อะไร
ชัว ทําให้ไม่เกลือกกลัวกับสิ งทีจะทําให้ชีวิตตกตํา เพราะมีสติสมปชัญญะและมีสติปัญญา
                                                                   ั
          เบญจศีลและเบญจธรรมนี เอง เป็ นธรรมทีนําเกิดเป็ นมนุษย์ ดังนันความเป็ นมนุษย์จึงวัดกัน
ด้วยความมีศีล นันคือ๗
          ผูใดมีศีลครบ ๕ ข้อ จัดว่าเป็ นมนุษย์ทีสมบูรณ์ ๑๐๐ %
            ้
          ผูใดมีศีลครบ ๔ ข้อ จัดว่าเป็ นมนุษย์ทีสมบูรณ์ ๘๐ %
              ้
          ผูใดมีศีลครบ ๓ ข้อ จัดว่าเป็ นมนุษย์ทีสมบูรณ์ ๖๐ %
                ้
          ผูใดมีศีลครบ ๓ ข้อ จัดว่าเป็ นมนุษย์ทีสมบูรณ์ ๔๐ %
                  ้
          ผูใดมีศีลครบ ๑ ข้อ จัดว่าเป็ นมนุษย์ทีสมบูรณ์ ๒๐ %
                    ้
          ผูใดทีไม่มีศีลก็ไม่จดว่าเป็ นมนุ ษย์ การรักษาศีลคือการควบคุมกายวาจาไม่ให้ผิดปกติ คือ
                      ้       ั
ไม่ให้ทาบาป ฉะนันขณะใดเป็ นผูอยูในศีลควบคุมความปกติไว้ได้ ขณะนันบุญก็เกิดขึ น บาปก็เกิด
        ํ                            ้ ่
ไม่ได้ เช่น ขณะทีเรานังฟังธรรมะ ขณะนันเราเป็ นผูมีศีลครบ เป็ นมนุ ษย์ทีสมบูรณ์ แต่เพราะความ
                                                       ้
ไม่เข้าใจ บางครังจึงทําให้ชีวิตขาดทุน เช่น การอาราธนาศีล และรับศีลจากพระ บางคนไม่กล้ารับ
ในศีลบางข้อ เช่น ผูชายทีดืมเหล้า จะไม่กล้ารับในศีลข้อ ๕ ทังๆ ทีขณะนันเขาไม่ได้ดืม แสดงว่า
                          ้
ขณะนันเขาไม่ได้ทาผิดในศีลข้อนัน ชีวิตของเขาจึงขาดทุน เพราะขณะนันแทนทีจะเกิดบุญกลับเกิด
                        ํ
บาปก็เพราะความคิดทีว่าเราไม่สามารถทําได้ในข้อนี เท่ากับขณะนันระลึกว่าเราบาป
          การทีเราทําอะไรผิดศีล ก็เพราะขาดการควบคุมความประพฤติทางกายและวาจา เช่นว่า การ
กระทําทุจริ ตทางกายทีเกิดขึนได้เป็ นเพราะผูนนขาดเมตตา และมีกิเลส เช่น แม่คาทีฆ่าปลาฆ่าไก่ ก็
                                                ้ ั                             ้
เพราะต้องการเงิน ย่อมทําให้เกิดทุจริ ต (บาป) ทีเกิดจากการฆ่าสัตว์ หรื อการประทุษร้ายคนอืนเพือ
ต้องการทรัพย์ ย่อมทําให้เกิดบาปทีเกิดจากการลักทรัพย์ เป็ นต้น ฉะนันเมตตาเมือมีอยูตราบใด การ
                                                                                       ่

        ๗
            วยุรี สุวรรณอินทร์ , กําไรชีวิต (นครปฐม : อภิธรรมมูลนิธิ,๒๕๔๕), หน้า ๒๗.
๘

ทีจะทํากายทุจริ ต และวาจาสุจริ ต อันจะเป็ นเหตุให้คนอืนเดือดร้อนย่อมไม่มีเลย พระผูมีพระภาคเจ้า
                                                                                      ้
ทรงแสดงว่า ศีลคื อการเว้น ปาณาติ บาต การเว้นอทิ นนาทาน การเว้นกาเมสุ มิจฉาจาร การเว้น
มุสาวาท และการเว้นการเสพของมึนเมาซึงเป็ นทีตังของความประมาทนัน เป็ น มหาทาน คือทาน
อันเลิศ เพราะ ความไม่ มีเวร ความไม่ มีภัย และการไม่ เบียดเบียนสัตว์ ทังหลาย ย่ อมเป็ นทานที หา
ประมาณไม่ได้ เลย
         สําหรับอัฏฐศีล คือศีลแปดนัน คฤหัสถ์ทีมีเจตนารักษาศีลในข้อนี มักจะไม่อยู่ประจําหรื อ
นอนค้างทีวัด บางครั งจึงเรี ยกศีลแปดนี ว่า “อุโ บสถศีล” ซึงการรักษาศีลในข้อนี ไม่เพียงควบคุ ม
ความปกติทางกายและวาจาเท่านัน แต่มีการควบคุมทางใจด้วย โดยเฉพาะความยึดมันว่าเป็ นของเรา
ของเราๆ จะต้องเอาออก จึงต้องมีเนกขัมมะ เป็ นการออกจากความยึดติดทีคิดว่าเป็ นบ้านของเรา
ด้วยการไปค้างทีวัด และแม้ตวเราซึงเคยดูแล ตกแต่งร่ างกายให้ดูสวยงามด้วยเครื องประดับ และ
                              ั
ของหอม ก็ตองละออก ศีลชนิดนี จึงมีขอวิรัติมากขึน และอานิสงส์ของการรักษาศีลก็ย่อมมีมากขึน
               ้                        ้
ด้วย
         นอกจากนี ยังมีปาริ สุทธิศีล คือความประพฤติบริ สุทธิทีจัดเป็ นศีล มี ๔ อย่าง คือ๘
         ๑) ปาฏิโมกขสังวรศีล คือความสํารวมในพระปาฏิโมกข์ เว้นจากข้อห้าม ทําตามข้ออนุญาต
ประพฤติเคร่ งครัดในสิ กขาบททังหลาย ข้อนี เน้นในเรื องของความประพฤติ ซึงอยู่ในกรอบของ
วัฒนธรรม ประเพณี เคารพกติกาของกฎหมายบ้านเมือง มีขอวัตรปฏิบติทีดี มีระเบียบวินยในตนเอง
                                                            ้          ั                ั
         ๒) อินทรียสงวรศีล คือความสํารวมอินทรี ย ์ ระวังไม่ให้บาปอกุศลธรรมครอบงําเมือรับรู้
อารมณ์ดวยอินทรี ยทง ๖ คือการสํารวมระมัดระวังตาในการดู ระวังหูในการฟัง ระวังจมูกในการดม
          ้         ์ ั
กลิน ระวังลินในการลิมรส ระวังกายในการถูกต้องสัมผัส เพือความสะอาดบริ สุทธิและป้ องกันมิให้
บาปอกุศลเกิดขึนในชีวิต
         ๓) อาชีวปาริสุทธิ ศีล คือความบริ สุทธิแห่ งอาชีวะ เลียงชีวิต โดยทางทีชอบ ไม่ประกอบ
อเนสนา มีหลอกลวงเขาเลียงชีพ คือไม่คิดคดโกงใคร มีอาชีพทีสุจริ ตไม่ทาให้ใครเดือดร้อน
                                                                         ํ
         ๔) ปัจจัยสันนิสิตศีล คือการพิจารณาใช้สอยปั จจัย ๔ กล่าวคือ อาหาร เครื องนุ่ งห่ ม ทีอยู่
อาศัย และยารั ก ษาโรค ให้ถูก ประเภท ถูก สุ ข ลัก ษณะหรื อถูก หลัก อนามัย โดยให้เป็ นไปตาม
ความหมายและประโยชน์ของสิ งนันอย่างคุมค่าพอเพียงตามความจําเป็ นของร่ างกาย ไม่ให้เป็ นไป
                                           ้
เพือตัณหาและอุปาทาน
         จะเห็นว่า ความสะอาดในชันนี จะเน้นหนักในเรื องของศีล ชอบในเรื องของความประพฤติ
โดยการรักษาศีล ๕ ศีล ๘ หรื อศีลอุโบสถ เป็ นต้น ทําให้เคร่ งครัด หรื ออาจตลอดจนเลยจากศีลไปก็
ถือวัตรปฏิบติต่างๆ ศีลกับวัตรนี ก็เป็ นคนละอย่าง แต่ว่าก็เกาะกันอยูดวยกัน เป็ นพวกเดียวกัน ถือทัง
             ั                                                     ่ ้

        ๘
          พระธรรมปิ ฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (กรุ งเทพ ฯ :
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๖), หน้า ๑๒๓-๑๒๔.
๙

ศีลทังวัตร หรื อข้อปฏิบติต่างๆ ก็มีมากมาย สามารถเลือกถือปฏิบติได้ อย่างเช่นพระก็ไปถือธุดงค
                           ั                                            ั
วัตร เป็ นต้น นี ก็เป็ นวัตรหรื อเป็ นข้อปฏิบติพิเศษในเรื องของการถือศีลเพือชําระกายและวาจาให้
                                               ั
สะอาดบริ สุทธิ
          การรักษาศีลมีอานิสงส์เป็ นอันมาก เช่น ทําให้เป็ นทีรักเป็ นทีเคารพของคนทังหลาย อยู่ใน
สังคมอย่างมีความสุ ข ไม่ก่อเวรก่อภัยต่อผูใด ทําให้เป็ นคนสง่างามมีผิวพรรณผ่องใส ถ้าจะกล่าว
                                                 ้
โดยสรุ ปอานิสงส์ของการรักษาศีลก็มีดงนี คือ  ั
          ๑) สีเลน สุ คตึ ยนฺติ บุคคลจะไปสุคติได้ก็เพราะศีล
          ๒) สีเลน โภคสมฺปทา บุคคลจะได้โภคทรัพย์สมบัติได้ก็เพราะศีล
          ๓) สีเลน นิพฺพุตึ ยนฺติ บุคคลจะดับทุกข์ความเดือดร้อนจนเข้าถึงพระนิพพานได้ก็เพราะศีล
          เพราะฉะนัน ทุ กคนควรรักษาศีลให้บริ สุทธิสะอาด เพราะศีลเป็ นมหาทานอันเลิศ ดังคํา
ทีว่า ศีลส่ งทําให้ สูง ศีลปรุงทําให้ สวย ศีลนําทําให้ รวย ศีลช่ วยทําให้ รอด ฉะนัน

         ๓. สะอาดขันหมดจด
         คําว่า “สะอาดหมดจด” ในทีนี หมายถึงใจที เอิบอิมด้วยปั ญ ญาทีมีแต่ความสะอาด สว่าง
สงบ ปราศจากกิเลสตัณหาและความทะยานอยากใดๆ ทังสิน ในทางพระพุทธศาสนาเรี ยกว่า “บรม
ธรรม” หรื อ “นิพพาน” แปลว่าสิ งสูงสุด ดังมีพุทธภาษิตบทหนึงรับรองไว้ว่า “นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺ ติ
พุทฺธา” ซึงแปลว่า พระพุทธเจ้าทังหลายกล่าวว่านิ พพานเป็ นบรมธรรม ท่ านพุทธทาสได้แสดง
อรรถาธิบายไว้ว่า
         “นิพพาน แปลว่า เย็น เย็นอย่างถูกต้ องก็คือ ไม่ มีกิเลส กิเลสนันสรุปอยู่ทีความเห็นแก่ ตัว
คือ ตัวกู – ของกู ความเห็นแก่ ตัว หรือตัวกู – ของกูนี อยู่ในรูปต่ างๆ กัน คือเป็ นความโลภ ความ
อยากได้ นีก็ร้อน เป็ นความโกรธ ความไม่ พอใจ นีก็ร้อน เป็ นความโง่ ความหลง เป็ นโมหะ นีก็ร้อน
นีคือความร้ อน ไม่ เย็น ถ้าหมดกิเลสเหล่ านีเสียได้ ก็เป็ นความเย็นทีถูกต้ อง นีคือว่า “นิพพาน” ๙
         บรมธรรมหรื อนิพพานนี บางทีก็ใช้คาว่า “อิสรภาพ” แทน ซึงหมายถึงอิสรภาพทางใจ อัน
                                                ํ
ได้แก่ความหลุดพ้นจากโลภะ โทสะ โมหะ นันเอง ผูทีหลุดพ้นจากโลภะ โทสะ โมหะ ย่อมเป็ นผูมี
                                                       ้                                          ้
ปัญญาเป็ นเครื องนําทางชีวิต หรื อเป็ นผูมีชีวิตอยู่ดวยปั ญญา เป็ นสภาวะของการมีชีวิตอยู่ทีดีทีสุ ด
                                         ้           ้
ดังทีพระราชวรมุนี (ป.อ.ปยุตฺโต) กล่าวไว้ว่า
         “การศึกษาคือกระบวนการทีทําให้ ชีวตหลุดพ้นจากอํานาจครอบงําของสิงแวดล้ อม และมี
                                                  ิ
ความเป็ นใหญ่ ในตัว ในการทีจะดํารงอยู่ และเสวยประโยชน์ จากการดํารงอยู่นัน ภาวะเช่ นนีเรียก


        ๙
            พุทธทาสภิกขุ, บรมธรรม ภาคต้ น อ้างใน จิตรกร ตังเกษมสุ ข, พุทธปรัชญากับปรัชญาการศึกษาไทย
(กรุ งเทพ ฯ : สํานักพิมพ์เคล็ดไทย,๒๕๒๕), หน้า ๙๒-๙๓.
๑๐

เป็ นคําศัพท์ สันๆ ว่ า “อิสรภาพ” ชีวิตทีบรรลุถึงภาวะเช่ นนี ย่ อมเป็ นชีวิตทีเป็ นอยู่อย่ างดี หรือ ดี
ทีสุด”๑๐
         จากการให้คาอธิบายของปราชญ์ทงสองท่านนี พอสรุ ปใจความได้ว่า อิสรภาพนันมีอยู่ ๒
                        ํ                  ั
ด้าน คื อ อิสรภาพภายนอก ซึงหมายถึงการหลุด พ้นจากอํานาจครอบงําของปั จ จัยแวดล้อมทาง
ธรรมชาติและทางสังคม กับอิสรภาพภายใน ซึงหมายถึงการหลุดพ้นจากอํานาจครอบงําของกิเลส
ตัณหาทังมวล หรื อทีเรี ยกว่า บรมธรรมหรื อนิพพาน นันเอง
         การทีจิตจะเข้าถึงสภาวะทีเรี ยกว่าบรมธรรมหรื อนิ พพานได้นน จะต้องศึกษาปฏิบติตาม
                                                                        ั                       ั
มรรคมีองค์ ๘ ประการ อันเป็ นอริ ยสัจทีว่าด้วยวิธีปฏิบติทีจะนําไปสู่สภาวะทีปราศจากทุกข์ อัน
                                                       ั
ได้แก่การเห็นแจ้งแทงตลอดในความเป็ นจริ งของสรรพสิ งทังปวง จนเป็ นเหตุให้หมดความยึดมัน
ถือมันและมีดวงจิตทีบริ สุทธิผ่องแผ้วสะอาดหมดจดจากสิงเศร้าหมองทังปวง
         คําว่า “มรรค” แปลว่าทาง ในทีนี หมายถึงทางเดินของใจทีพร้อมจะปฏิบติ เป็ นการเดินจาก
                                                                                  ั
ความทุกข์ไปสู่ความเป็ นอิสระหลุดพ้นจากทุกข์ ซึงเป็ นสิ งทีมนุ ษย์หลงยึดถือและประกอบขึ นใส่
ตนด้วยอํานาจของอวิชชา๑๑ มีองค์ ๘ คือ

          ๓.๑ สัมมาทิฏฐิ : ความเห็นชอบ
          สัมมาทิฏฐิ แปลว่า ความเห็นชอบ หรื อความเห็นถูกต้อง ถ้าให้ความหมายแนวโลกีย ์ ก็ว่า
เห็นถูกต้องตามคลองธรรม เช่น เชือว่าทําดีได้ดี ทําชัวได้ชว เป็ นต้น เพราะเมือเชือหรื อเห็นเช่นนัน
                                                              ั
แล้ว ก็พร้อมทีจะประพฤติปฏิบติดี เข้าสู่การฝึ กอบรมช่วงแรกในระดับของศีลของไตรสิกขา บุคคล
                                 ั
ทีมีสมมาทิฏฐิเพียงชันนี มักจะเน้นหนักอยู่แค่การปฏิบติขนศีล ไม่ค่อยก้าวต่อไปถึงขันสมาธิและ
      ั                                                     ั ั
ปัญญา ถ้าให้ความหมายแนวโลกุตระ ก็ว่าเห็นถูกต้องตามความเป็ นจริ ง คือเห็นตรงตามสภาวะ
หรื อเห็นความเป็ นไปของสิงทังหลายตามธรรมดาแห่งเหตุปัจจัยของมัน๑๒ ในทีนี หมายถึงการเห็น
หรื อการรู้แจ้งอริ ยสัจ ๔ คือ
               ๓.๑.๑ รู้ทุกข์ และรู้วิธีปฏิบติต่อทุกข์ คือการกําหนดรู้ เรี ยกว่า “ปริ ญญากิจ” ผลสําเร็ จ
                                            ั
ของการศึกษาขันนี ก็คือการรู้แจ้งทุกข์ (ปริ ญญาตัง)
               ๓.๑.๒ รู้ทุกขสมุทัย คือเหตุเกิดแห่งทุกข์ และรู้วิธีปฏิบติต่อเหตุเกิดแห่ งทุกข์ คือต้อง
                                                                         ั
ลด ละ เลิก เรี ยกว่า “ปหานกิจ” ผลสําเร็ จของการศึกษาขันนี ก็คือการลด ละ เลิกเหตุเกิดแห่ งทุกข์
(ปหีนง) ั

         ๑๐
              พระราชวรมุนี (ป.อ. ปยุตฺโต), ปรัชญาการศึกษาไทย (กรุ งเทพ ฯ : เคล็ดไทย,๒๕๑๘), หน้า ๑๒ -
๑๓.
         ๑๑
              http : //www.hearntripitaka.com/scruple/muck 8.html. page ๑.
         ๑๒
         พระธรรมปิ ฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พุทธธรรม (กรุ งเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
,๒๕๔๖), หน้า ๖๑๓.
๑๑

               ๓.๑.๓ รู้ ทุก ขนิโรธ คือการดับทุกข์ และวิธีปฏิบติต่ อการดับทุก ข์ คือต้องทําให้แจ้ง
                                                                ั
เรี ยกว่า “สัจฉิกรณกิจ” ผลสําเร็ จของการศึกษาขันนี ก็คือทําให้แจ้งการดับทุกข์ (สัจฉิกตัง)
               ๓.๑.๔ รู้ ทุ กขนิ โรคามินีป ฏิทา คือการปฏิบัติเพือให้บรรลุถึงการดับทุก ข์ และรู้ วิ ธี
ปฏิบติต่อแนวทางทีจะนําไปสู่การดับทุกข์ คือต้องฝึ กฝนอบรม เรี ยกว่า “ภาวนากิจ” ผลสําเร็ จของ
      ั
การศึกษาขันนี ก็คือฝึ กฝนอบรมการปฏิบติเพือบรรลุถึงการดับทุกข์ (ภาวิตง)
                                            ั                             ั

         ๓.๒ สัมมาสังกัปปะ : ความดําริชอบ
         ในการดําเนินชีวิตตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา เมือมีความรู้ทีถูกต้อง มีความเห็นทีถูกต้องแล้ว
ลําดับต่อมา สิงทีต้องมี ก็คือ สัมมาสังกัปปะ ได้แก่ความคิดทีถูกต้อง
         ความคิด คือเข็มทิศนําทางสร้างความชัวและความดีของคน ความคิดเกิดจากสิ งทีได้รู้ได้
เห็ น (ทิฏฐิ) หากรู้ ผิดเห็ นผิด (มิจ ฉาทิ ฏฐิ ) ก็ จะทําให้ค วามคิด ผิดพลาดไปด้วย หากรู้ ถูก เห็น ถูก
(สัมมาทิฏฐิ) ก็จะทําให้เกิดความคิดทีถูกต้องด้วยคุณธรรม
                ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา ได้แบ่งความคิดออกเป็ น ๒ ฝ่ าย คือ๑๓
                ๓.๒.๑ มิจฉาสั ง กัป ปะ ความคิ ด ผิด ได้แก่ กามสังกัปปะ ความคิ ด ติด พัน ในกาม
ความคิดหลงใหล คลังไคล้ ลุ่มหลงมัวเมาในกาม พยาปาทสังกัปปะ ได้แก่ความคิดเคียดแค้นชิงชัง
รังเกียจ ขัดเคืองไม่พอใจในคนอืนและสิ งต่างๆ วิหิงสาสังกัปปะ ได้แก่ความคิดเบียดเบียนทําลาย
ล้างให้เดือดร้อนรุ กรานต่อคนอืนและสิงต่างๆ
                ๓.๒.๒ สัมมาสังกัปปะ ความคิดถูก ได้แก่ เนกขัมมสังกัปปะ ความคิด ลด ละเลิกวาง
กาม อพยาปาทสังกัปปะ ความคิดทีไม่มุ่งร้าย ไม่เคียดแค้น ไม่ชิงชังหรื อรังเกียจมีเมตตา เอืออาทร
คนอืน อวิหิงสาสังกัปปะ ความคิดไม่เบียดเบียน ไม่ทาผูอืนให้เดือดร้อน ช่วยเหลือเกือกูลคนอืน
                                                          ํ ้
         สัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะ คือองค์ความรู้นาในกระบวนการศึกษาจัดเข้าในองค์ธรรม
                                                            ํ
กลุ◌่มปั ญญาทัง ๒ องค์ธรรมนี เป็ น “ธรรมสมังคี” คื อเป็ นองค์ธรรมที ช่ วยเหลือเกื อกูลกัน พร้ อม
หน้าพร้อมตากัน ไปด้วยกัน

        ๓.๓ สัมมาวาจา : วาจาชอบ
        ในการดําเนินชีวิตตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา เมือมีความรู้ทีถูกต้อง ความคิดทีถูกต้องแล้ว
ย่อมทําให้มีการพูดถึงสิ งทีถูกต้อง คือ สัมมาวาจา
              สัมมาวาจา คือการพูดทีงดเว้นจาก วจีทุจริ ต ๔ อย่าง ดังนี




        ๑๓
             สมควร เหล่าลาภะ,พุทธศาสตร์ การศึกษา (พระนครศรี อยุธยา : สถาบันพุทธลีลา,๒๕๔๒), หน้า
๕๒.
๑๒

               ๓.๓.๑ ละมุสาวาจา คื อการเว้น ขาดจากการพูด เท็จ กล่าวแต่ ค าสัต ย์ ดํารงสัจ จะ
                                                                             ํ
ซือตรง เชือถือได้ ไม่ลวงโลก ไม่ว่าเพราะเหตุแห่ งตนเอง เพราะเหตุแห่ งคนอืน หรื อเพราะเห็นแก่
อามิสสินจ้างใดๆ
               ๓.๓.๒ ละปิ สุ ณาวาจา คือการเว้นขาดจากการพูดส่ อเสี ยดยุยงส่ งเสริ มใส่ ร้ายให้คน
เขาแตกกัน ทะเลาะกัน เกลีย ดชังกัน พูด จาสมานสามัค คี ไม่ก่ อการแตกแยก แต่ พูด ประสาน
ประโยชน์
               ๓.๓.๓ ละผรุ สวาจา คือการเว้นขาดจาการพูดคําหยาบไม่สบายหู ไม่มีโทษ สุ ภาพ
อ่อนหวาน น่ารัก จับใจ กินใจ ซึงใจ พอใจของพหูชน
               ๓.๓.๔ ละสัมผัปปลาปวาจา คือเว้นขาดจากการพูดเพ้อเจ้อไร้สาระ ปากพล่อย พูด
ถูก กาล ถูก เวลา พูด คําจริ ง อ้างอิงถูก ต้อง สอดคล้องด้วยหลัก ธรรมวิ นัย มีหลักฐาน มีข อบเขต
ประกอบด้วยคุณประโยชน์ และเอือประโยชน์

           ๓.๔ สัมมากัมมันตะ : การงานชอบ
           ในการดําเนินชีวิตตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา เมือมีความรู้ดี ความคิดดี และคําพูดทีถูกต้อง
แล้ว ต้องมีการกระทําทีถูกต้องด้วย เพราะคนจะดีหรื อจะชัวพิสูจน์ตรวจสอบได้ชดเจนทีสุ ดก็คือ
                                                                                ั
พิสูจน์จากการกระทําของคนนัน
           สัมมากัมมันตะ ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทาก็คือ การเว้นขาดจากกายทุจริ ต ๓ ประการ คือ
เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ เว้นขาดจากการลักทรัพย์ และเว้นขาดจากการประพฤติผดในกาม   ิ
           สัมมากัมมันตะ ยังหมายความถึงการทํางานดี ไม่ทอดทิงงาน ทํางานไม่คงค้าง ขยันขันแข็ง
                                                                            ั
ใฝ่ รู้ และสูงาน พัฒนาตน และพัฒนางานอยู่เสมอซึงเป็ นการกระทําทีเป็ นมงคลสูงสุ ด ซึงหมายถึง
             ้
ครองงาน ครองคน ครองตนนันเอง

         ๓.๕ สัมมาอาชีวะ : เลียงชีพชอบ
         ในการดําเนินชีวิต ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทานัน เมือมีความรู้ดี ความคิดดี คําพูดดี และมีการ
กระทําดีแล้ว ย่อมนําคนไปสู่การเลียงชีวิตทีดีดวย คือสัมมาอาชีวะ
                                             ้
         สัมมาอาชีวะ ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา ได้แก่การเลียงชีพหรื อการประกอบอาชีพทีสุจริ ตไม่
ผิดศีลธรรมเว้นขาดจากการประกอบมิจฉาชีพ ๕ สาขาอาชีพ คือ๑๔
             ๓.๕.๑ สัตถวณิชชา คือการเลียงชีวิตด้วยการค้าขายอาวุธ หมายถึงการประกอบอาชีพ
ทีเบียดเบียน ข่มเหงรังแกทําร้ายตนเองและคนอืน สร้างความเคียดแค้นชิงชัง พยาบาท อาฆาตจอง
เวร ซ่องสุมอาวุธ ตีรันฟันแทงปล้นจี ฉกชิง ยิง เผา เอากันถึงประหัตประหารผลาญชีวิตกันในทีสุด


๑๔
     เรืองเดียวกัน, หน้า ๕๔-๕๕.
๑๓

                ๓.๕.๒ สั ตตวณิชชา คื อการเลียงชีวิ ตด้วยการค้าขายมนุ ษ ย์เยียงสัต ว์ หมายถึงการ
ประกอบอาชีพทีหลอกลวง ต้มตุ๋นมนุษย์ดวยกันเอง เอารัดเอาเปรี ยบ บังคับควบคุม จับกุม กักขังไว้
                                             ้
ใช้แรงงานคนเยียงทาส และเยียงสัตว์ เห็นคนด้วยกันเป็ นสินค้าซือขายได้ เช่น กรณี ตกเขียว ค้ากาม
ขายบริ การทางเพศ ใช้แรงงานเด็ก เป็ นต้น
                ๓.๕.๓ มังสวณิชชา คือการเลียงชีวิตด้วยการค้าขายเนื อสัตว์ หมายถึงการประกอบ
อาชีพด้วยการเลียงสัตว์ไว้ฆ่าเอาเนือ เอาเขา เอาหนัง เอาขน และอวัยวะต่างๆ ไปขาย ตังโรงงานฆ่า
สัตว์ จับสัตว์ต่างๆ ตามสังมาขังไว้ ตังแต่สัตว์เล็กถึงสัตว์ใหญ่ ซึงเป็ นการประกอบอาชีพทีทรมาน
เบียดเบียนสัตว์
                ๓.๕.๔ มัชชวณิชชา คือการเลียงชีวิตด้วยการค้าขายนําเมา หมายถึงค้าขายนําดืมทีทํา
ให้เมามายไร้สติ สัมปชัญญะประเภทต่างๆ เช่น เหล้า เบียร์ ไวน์ รวมทังของทีทําให้มึนเมาอืนๆ
                ๓.๕.๕ วิสวณิชชา คือการเลียงชีวิตด้วยการค้าขายยาพิษ หมายถึงยาทีมีพิษร้ายแรง
และสารเสพติดชนิดต่างๆ ทีออกฤทธิมีพิษร้ายต่อสุ ขภาพร่ างกายและจิตใจ เช่น บุหรี ฝิ น เฮโรอีน
กัญชา ยาบ้า ยาอี ยาเลิฟ เป็ นต้น
          มิจฉาชีพอีกความหมายหนึง คือการทีบุคคลได้รับโภคทรัพย์จากการประกอบอาชีพของตน
แล้วไม่รู้จกเลียงตนเองและเลียงคนอืนให้เป็ นสุ ข ไม่บารุ งเลียงสังคมและประเทศชาติ ไม่รู้จกรัก
            ั                                             ํ                                 ั
เอือเฟื อเผือแผ่แบ่งปันกัน บุคคลเช่นนี ก็เรี ยกว่า “มิจฉาชีพ” เช่นกัน

          ๓.๖ สัมมาวายามะ : ความพยายามชอบ
          ในการดําเนินชีวิตตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา เมือมีความรู้ดี ความคิดดี คําพูดดี การกระทําดี
อาชีพดีแล้ว ต้องมี “ความพยายามชอบ” เพือส่งเสริ มความดีและรักษาความดีต่าง ๆ ดังกล่าวมาให้
เจริ ญงอกงามยิงขึน เรี ยกว่า “สัมมาวายามะ”
          สัมมาวายามะ ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา หมายเอา “สัมมัปปธาน ๔” คือความพากเพีย ร
พยายาม ความบากบากบัน ทีมันคงแน่วแน่ ดังต่อไปนี
               ๓.๖.๑ สังวรปธาน คือความบากบันขยันหมันเพียร เพือระมัดระวังป้ องกันความชัว ที
ยังไม่เกิดไม่ให้เกิดขึน เรี ยกว่า “พยายามป้ องกัน”
               ๓.๖.๒ ปหานปธาน คือความบากบันขยันหมันเพียร เพือกําจัดความชัวทีเกิดขึ นแล้ว
ให้หมดสิ นไป เรี ยกว่า “พยายามปราบปราม”
               ๓.๖.๓ ภาวนาปธาน คือความบากบันขยันหมันเพียร เพือสร้างสรรค์ความดีทียังไม่มี
ให้มีขึน ทียังไม่เกิดให้เกิดขึน เรี ยกว่า “พยายามพัฒนา”
               ๓.๖.๔ อนุรักขนาปธาน คือความบากบันขยันหมันเพียรเพือรักษาส่ งเสริ มสนับสนุ น
ความดี ทีมีอยู่แล้ว ที เกิดขึ นแล้ว ให้เจริ ญรุ่ งเรื องยิงขึ นไปและให้อยู่ยงยืนนาน เรี ย กว่า “พยายาม
                                                                            ั
อนุรักษ์”
๑๔

          ๓.๗ สัมมาสติ : ความระลึกชอบ
          ในการดําเนิ นชีวิต ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา เมือมีความรู้ดี ความคิดดี พูดดี ทําดี อาชีพดี
และพยายามดีแล้ว ต้องมี “สติดี” ด้วย เรี ยกว่า “สัมมาสติ”
          สัมมาสติ ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา หมายเอา สติปัฏฐาน ๔ ได้แก่ ทีตัง หรื อฐานทีมันของ
        ๑๕
สติ คือ
                ๓.๗.๑ กายานุ ปั ส สนาสติปั ฏ ฐาน ได้แ ก่ ก ารตังสติ ติ ด ตามดู ก าย เริ มต้น แต่ ก าร
เคลือนไหวอิริยาบถต่าง ๆ ทุกอย่าง เช่น ยืน เดิน นัง นอน กิน ดืม ทํา พูด คิด ซึงเป็ นกิริยาภายนอก
และติดตามดูกายภายในตังแต่ศีรษะจรดปลายเท้าว่าเต็มไปด้วยสิ งปฏิกูลเป็ นรังแห่ งโรคตลอดทัว
ทังตัว ประกอบ ด้วยธาตุทง ๔ และมีการเสือมสลายเกิด แก่ เจ็บ ตาย อยูทุกขณะ สักวันหนึ งก็ถึงวัน
                            ั                                          ่
ตายจริ ง เหลือเพียงกระดูกและกองขีเถ้า
                ๓.๗.๒ เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน ได้แก่การตังสติติดตามดูเวทนา คือความรู้สึก ทัง
เป็ นสุข เป็ นทุกข์ และเฉยๆ ไม่สุขไม่ทุกข์ ความปวดเมือย ความเหนื อยล้า ความร้อน ความหนาว
ความระคายเคือง
                ๓.๗.๓ จิตตานุ ปั สสนาสติปั ฏฐาน ได้แก่ ก ารตังสติ ติ ด ตามดู จิ ต ให้รู้ เท่ าทัน จิ ต ว่ า
ในขณะนันเป็ นเช่นไร เช่น มีราคะหรื อไม่มีราคะ มีโลภะหรื อไม่มีโลภะ มีโทสะหรื อไม่มีโทสะ มี
โมหะหรื อไม่มีโมหะ สงบหรื อหรื อฟุ้ งซ่าน กลัวหรื อกล้า อ่อนโยนหรื อกระด้าง ตรงหรื อคด อึดอัด
หรื อปลอดโปร่ ง พร้อมทํางานหรื อไม่พร้อม ขยันหรื อขีเกียจ ดีใจหรื อเสียใจ เป็ นต้น
                 ๓.๗.๔ ธัมมานุ ปั สสนาสติปัฏฐาน ได้แก่ก ารตังสติ ติ ดตามดู องค์ธรรมต่าง ๆ ทัง
อกุศลธรรม และกุศลธรรมทีเกิดขึน ตังอยู่ ดับไป ในชีวิตของตน ติดตามดูให้รู้ทนทังความชัวและ
                                                                                 ั
ความดีของตน มากขึนหรื อลดลง ยังอยู่หรื อหายไป จะป้ องกันหรื อแก้ไขอะไร อย่างไร จะพัฒนา
หรื ออนุรักษ์อะไร อย่างไร

         ๓.๘ สัมมาสมาธิ : สมาธิชอบ
         ในการดําเนิ นชีวิต ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา เมือมีความรู้ดี ความคิดดี พูดดี ทําดี อาชีพดี
พยายามดี สติดีแล้ว ก็จาเป็ นต้องมี “สมาธิดี” ด้วย เรี ยกว่า “สัมมาสมาธิ”
                       ํ
         สัมมาสมาธิ ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา หมายเอา “ความตังใจมันของจิต” ไม่วอกแวก ไม่
หวันไหว ไม่ฟงซ่าน ไม่สดส่ายไป สงบนิง ไม่ถกกิเลสรบกวน และไม่มีกิเลสรบกวนแบ่งออกเป็ น
              ุ้         ั                      ู
๓ ระดับ คือ ขณิกสมาธิ สงบนิงชัวคราว อุปจารสมาธิ สงบนิ งยาวนาน และ อัปปนาสมาธิ สงบ
นิ งสนิท ซึงหมายถึง เต็มใจ แข็งใจ ตังใจ และเข้าใจ ในการปฏิบติตามคุณธรรมแห่งสมาธิ ด้วยความ
                                                                 ั
พร้อม ความเพียร ต่อจิตทีมีอุดมคติและเข้าใจในหลักแห่งวิจารณญาณอย่างแยบคาย


๑๕
     เรืองเดียวกัน, หน้า ๕๗-๕๘.
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับdevilp Nnop
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรนายเค ครูกาย
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์Duangsuwun Lasadang
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22phornphan1111
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูniralai
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
อักษรไทยสมัยพ่อขุนรามคำแหง การเขียนสระในศิลาจารึก
อักษรไทยสมัยพ่อขุนรามคำแหง การเขียนสระในศิลาจารึกอักษรไทยสมัยพ่อขุนรามคำแหง การเขียนสระในศิลาจารึก
อักษรไทยสมัยพ่อขุนรามคำแหง การเขียนสระในศิลาจารึกKarnpuy051033
 
วิธีการพูด
วิธีการพูดวิธีการพูด
วิธีการพูดareemarketing
 
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดาบทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดาniralai
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้ืnattakamon thongprung
 
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกpeter dontoom
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับ
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครู
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
อักษรไทยสมัยพ่อขุนรามคำแหง การเขียนสระในศิลาจารึก
อักษรไทยสมัยพ่อขุนรามคำแหง การเขียนสระในศิลาจารึกอักษรไทยสมัยพ่อขุนรามคำแหง การเขียนสระในศิลาจารึก
อักษรไทยสมัยพ่อขุนรามคำแหง การเขียนสระในศิลาจารึก
 
วิธีการพูด
วิธีการพูดวิธีการพูด
วิธีการพูด
 
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดาบทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
 

Similar to สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา

หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารguestf16531
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพTongsamut vorasan
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิตTongsamut vorasan
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
ภาษาไทย คัมภีร์ฉันทศาสตร์
ภาษาไทย คัมภีร์ฉันทศาสตร์ภาษาไทย คัมภีร์ฉันทศาสตร์
ภาษาไทย คัมภีร์ฉันทศาสตร์boomlove
 
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สินปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สินSorasak Tongon
 
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สินปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สินSorasak Tongon
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาthanaetch
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิวSineenat Kaewlay
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ชลธิชา เสนอครูนิตยา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์  ชลธิชา   เสนอครูนิตยาคัมภีร์ฉันทศาสตร์  ชลธิชา   เสนอครูนิตยา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ชลธิชา เสนอครูนิตยาJirakit Meroso
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14 วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14 Watpadhammaratana Pittsburgh
 

Similar to สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา (20)

หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพโพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)   โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) โพชฌงค์ พุทธวิธีเสริมสุขภาพ
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิตสุทธิวัสส์ คำภา   นาฬิกาชีวิต
สุทธิวัสส์ คำภา นาฬิกาชีวิต
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
ภาษาไทย คัมภีร์ฉันทศาสตร์
ภาษาไทย คัมภีร์ฉันทศาสตร์ภาษาไทย คัมภีร์ฉันทศาสตร์
ภาษาไทย คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สินปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
 
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สินปลา ศิรินาฏ  ทรัพย์สิน
ปลา ศิรินาฏ ทรัพย์สิน
 
แผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชาแผ่นพับวันมาฆบูชา
แผ่นพับวันมาฆบูชา
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ วิว
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ชลธิชา เสนอครูนิตยา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์  ชลธิชา   เสนอครูนิตยาคัมภีร์ฉันทศาสตร์  ชลธิชา   เสนอครูนิตยา
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ชลธิชา เสนอครูนิตยา
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14 วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
วารสารธรรมรัตน์ ฉบับที่ 14 - Dhammaratana journal Vol.14
 

More from pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 

More from pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 

สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา

  • 1. หลักสุ ขนามัยในพุทธปรั ชญา ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์ พรพวัณ -------------------------------------------------------------- ความเบืองต้น พุทธปรัชญาเป็ นแหล่งกําเนิดภูมิปัญญาตะวันออกอีกแหล่งหนึงทีได้ศึกษาเรื องราวเกียวกับ ชีวิตในแง่มุมต่างๆ มากมาย และหลักพุทธธรรมก็ได้เข้ามามีบทบาทและอิทธิพลต่อการดําเนิ นชีวิต ของคนในสังคมในหลายรู ปแบบ ไม่ว่าจะเป็ นวัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต คติ ความเชือ และอืนๆ อีกมากมาย ในเรื องของการดูแลสุขภาพก็เป็ นวิถีส่วนหนึ งทีหลักพุทธธรรมเข้าไปมีส่วนเกียวข้อง ด้วย เพราะถ้าหากนําเอาหลักพุทธธรรมมาศึกษาในประเด็นสุ ขภาพ ก็จะไม่ศึกษาเพียงแค่ว่า มีโรค หรื อไม่มีโรคเท่านัน เพราะเรื องของสุ ขภาพมีความเชือมโยงกับมนุ ษย์และพฤติกรรมของมนุ ษ ย์ การกระทํา การพูด การคิด การดํารงชีวิต สิ งแวดล้อม ทีอยู่อาศัย สภาพเศรษฐกิจ สังคม การเมือง วัฒนธรรม ประเพณี และวิทยาการต่างๆ ตลอดถึงเรื องของศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ศีลธรรม ค่านิยม ความมีนาใจ ความไร้นาใจ ล้วนเป็ นเหตุปัจจัยทีจะผลักดันให้สุขภาพเป็ นไปในทิศทางทีดี ํ ํ หรื อไม่ดี การใช้หลักพุทธธรรมมาเป็ นพืนฐานในการดูแลสุขภาพจะต้องคํานึ งถึงสองด้าน คือนาม กับรู ป หรื อกายกับจิต ไม่เน้นส่วนใดส่วนหนึงหรื อแยกส่วนออกจากกัน เพราะถ้าทําเช่นนันสุขภาพ ของมนุษย์ก็จะอยูในสภาพทีครึ งๆ กลางๆ ไม่สมบูรณ์แท้ ่ หลักธรรมทีว่าด้ วยสุ ขนามัย (สุ ข + อนามัย) สุ ขลักษณะหรื อหัว ใจของอนามัย(Sanitation) นัน ตามหลักการเรี ยนรู้หมายถึง “ความ สะอาด” ถ้าไม่มีความสะอาด ก็ยากทีจะกล่าวว่า “มีหลักอนามัย” ได้ องค์การอนามัยโลกได้ให้คา ํ จํากัดความของคําว่า “สุ ขภาพ” ไว้ดงนี สุ ขภาพคือ สุ ขภาวะโดยสมบูรณ์ทงทางกาย ทางจิต และ ั ั ทางสังคม๑ เมือพิจ ารณาคําจํากัด ความเรื องสุ ข ภาพหรื อสุ ข นามัย ขององค์ก ารอนามัย โลกแล้ว ค่ อ นข้า งจะมี ค วามสอดคล้อ งกับ หลัก ธรรมทางพระพุ ท ธศาสนา เพราะในคํา สอนทาง พระพุทธศาสนาจะเน้นถึงความสะอาด ซึงเป็ นหัวใจสําคัญของหลักธรรมที ว่าด้วยความหมดจด แห่งจิตใจ พระพุทธศาสนาได้ให้ความสําคัญกับเรื องของความสะอาดมาก ดังจะเห็นได้จากมีการ กล่าวไว้หลายแห่งด้วยกันในพระคัมภีร์ แต่ใช้คาว่า “สุ ทธิ” ซึงแปลว่า “สะอาด” หรื อ “บริสุทธิ” มา ํ  ป.ธ.๖, พธ.บ., M.A.(Phil.), M.A.(Bud.), Ph.D.(Phil.) อาจารย์ประจํา มจร. วิทยาลัยสงฆ์เลย ๑ พระเทพปัญญาเมธี, สารัตถธรรม (กรุ งเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุ ฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๘), หน้า ๒๑๗.
  • 2. ๒ แทนความสะอาด บริ สุทธิ และหมดจด ซึงแบ่งออกเป็ น ๓ ขันด้วยกัน คือ สะอาดขั นธรรมดา สะอาดขันบริสุทธิ และ สะอาดขันหมดจด ดังจะอรรถาธิบายในแต่ละขันดังต่อไปนี ๑. สะอาดขันธรรมดา ความสะอาดชันต้น หรื อทีเรี ยกว่า “สุ ทธิ” นี เป็ นความสะอาดภายนอก หรื อความสะอาด ของร่ างกายของคนเราทัว ๆ ไป ตลอดไปถึงสิงอุปโภคบริ โภคทังหลาย ทีปราศจากความสกปรก ไม่ มีโทษใดๆ ต่อร่ างกายเมือบริ โภคแล้ว มีบางคนเข้าใจผิดต่อหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา โดย เฉพาะทีสอนเรื องเกียวกับเรื อง อสุ ภกรรมฐาน คือสอนให้พิจารณาร่ างกายของคนเรานี ว่าเป็ นของ ไม่สะอาด หรื อไม่ก็มีพุทธบัญญัติให้พระภิกษุใช้ ผ้ าบังสุ กล คือ ผ้ าเปื อนฝุ่ นทีเขาห่ อศพ หรื อ ผ้ าที ุ เขาทิงตามกองขยะ ก็ดี หรื อทรงสอนให้พระภิกษุอยูตาม รุกขมูล คืออยูตามโคนต้นไม้ก็ดี หรื อให้ ่ ่ พระภิ ก ษุ ฉัน ยาดองด้ว ยนํามูต รเน่ าก็ ดี หรื อการที ทรงยกย่อง ลู ข ะปฏิบั ติ คื อการใช้ผาอัน เป็ น ้ เครื องนุ่ งห่ มสี เศร้ าหมองก็ ดี ซึ งก็ ลว นแต่ จ ะเพ่งเล็งหลัก คําสอนว่ าพระพุทธศาสนานิ ย มความ ้ สกปรก และปล่อยตัวไปตามยถากรรม ไม่รู้จกความสะอาด ั การเข้าใจเช่นนันถือว่าเป็ นเรื องเข้าใจผิดหรื อไม่เข้าใจในหลักคําสอนทางพระพุทธศาสนา เป็ นการมองทีขาดวิจารณญาณ แท้จริ ง พระพุทธเจ้าทรงสอนให้พิจารณาเห็นหลักแห่ งความจริ ง ของสัจธรรม ซึงมันมีหรื อเป็ นอยูแล้วอย่างนัน เช่น ทรงสอนให้พิจารณาเกียวกับเรื องเหล่านี :- ่ ๑.๑ การพิจารณาอสุ ภกรรมฐาน เรื องนี พระพุทธองค์ทรงสอนให้พิจารณาว่า ร่ างกาย ของคนเรานีทังหญิงและชาย เยาวัยหรื อว่าแก่ชรา เป็ นรังแห่งโรค เป็ นแหล่งของความสกปรก ฯลฯ มีท่อระบายความสกปรกออก ๙ ท่อ ได้แก่ ตาทังสอง หูทงสอง จมูกทังสอง ปากหนึ ง ทวารหนัก ั หนึง และทวารเบาหนึ ง รวมเป็ น ๙ ท่อ ซึงความจริ งก็เป็ นอย่างนันจริ งๆ ลองพิจารณาดูตงแต่ใน ั ท้องและลําไส้น้อย ลําไส้ใหญ่ ว่าเป็ นอย่างไร เมือพิจารณาแล้ว จะเห็นตรงตามทีตรัสสอนไว้ คือ ทุกชินส่วนของร่ างกายเรา ในคนๆ หนึง จะมีถุงหนังห่อหุมซึงบรรจุของไม่สะอาด สิงทีออกมาจาก ้ ร่ างกาย ไม่ว่ าจะเป็ นนํา เป็ นเนื อ หรื อเป็ นลมที ออกมาจากร่ างกายช่ องใดก็ ต าม ถือว่ าเป็ นของ สกปรกทังนัน อย่าว่าแต่จะให้กินเลย แม้แต่จะให้ดม หรื อเอามือไปแตะต้องก็ตาม ก็ยงเป็ นทีรังเกียจ ั อยูนนเอง ่ ั การทีพระพุทธเจ้าตรัสสอนให้พิจารณาดูตามความจริ งเช่นนี ก็เพือจะบรรเทาความมัวเมา ในความสวยงามหรื อรู ปร่ างหน้าตา ถ้ามองในแง่อนามัยก็เพือให้ทุกคนมีความรู้สึกตัวว่า ร่ างกาย ของเรานี ไม่สะอาด จะได้เอาใจใส่ดูแลคอยระมัดระวังตัวให้สะอาดอย่างสมําเสมอ ด้วยการอาบนํา สระผม แปรงฟัน นอกจากนี ยังทรงสอนให้พระภิกษุไปดูซากศพทีเน่ าเปื อย ด้วยวิธีการทีแยบยล เช่น ให้ไปยืนดูซากศพในระยะทีไม่ใกล้และไม่ไกลจนเกินไป และให้ยืนทางด้านเหนื อลม ดังนี เป็ นต้น
  • 3. ๑.๒ การพิจารณาใช้ ผ้าบังสุ กุล เรื องทีทรงอนุญาตให้พระภิกษุพิจารณาผ้าบังสุ กุลใช้ ก็ เพือให้พระภิกษุในพระพุทธศาสนาเป็ นผูเ้ ลียงง่าย ไม่ตองคิด ยุ่งยากหยุมหยิมในเรื องของการใช้ ้ เครื องนุ่งห่ม ให้มีใช้เพียงเพือห่ อหุ ้มร่ างกายให้คลายจากทุกขเวทนา อันเกิดจากความหนาว ร้อน เหลือบ ยุง ริ น ไร และปกปิ ดส่วนทีจะทําให้เกิดความเหนียมอายเท่านัน ซึงก่อนการพิจารณาใช้ก็มี ขันตอนต่าง ๆ เช่น ขันตอนในการซัก การย้อมสี และการเย็บ เป็ นต้น มิใช่ว่าจะหยิบเอามาใช้สอย ได้เลยทังทียังเปื อนฝุ่ นอยู่ จะต้องนํามาผ่านขันตอนการทําความสะอาดตามแนวพระพุทธศาสนา เสียก่อน จึงจะนํามาเป็ นเครื องนุ่งห่มเย็บเป็ นบริ ขารได้ ๑.๓ การให้ อยู่โคนต้ นไม้ (รุ กขมูล) การทีทรงสอนให้พระภิกษุ อยู่จาพรรษาตามโคน ํ ต้นไม้ ก็เพือให้เห็นความสําคัญของธรรมชาติว่ามีประโยชน์ต่อชีวิต และก่อนจะอยู่จาก็ตองมีการ ํ ้ ปั ดกวาดทําความสะอาดเสี ยก่ อน มิใช่ให้อยู่แบบหลบซุ กซ่อนตน หรื อเร้นกายไม่สนเรื องความ สะอาด ดังจะเห็นได้จากการทรงบัญญัติพระวินยทีว่า ถ้าพระภิกษุไปอยู่ทีใดทีหนึ งแล้วไม่ทาความ ั ํ สะอาด ก็ทรงปรับอาบัติแก่พระภิกษุรูปนัน ๑.๔ การให้ ฉันยาดองด้ วยนํามูตรเน่ า (นําปัสสาวะ) การทีทรงสอนให้พระภิกษุฉันยา ดองด้วยนํามูตรเน่า ก็เพือให้พระภิกษุรู้จกรักษาตนเองเมืออยูป่า นํามูตรเน่ าในทีนี ก็คือนําปั สสาวะ ั ่ และนําปัสสาวะนี ถือว่าเป็ นยาชันยอดทีสามารถสร้างภูมิคุมกันโรคให้กบร่ างกายเป็ นอย่างดี และ ้ ั ประการสําคัญคือเป็ นสิ งทีหาง่ายทีสุดและมีคุณภาพทีสุดสําหรับรักษาโรคทางกาย ไม่ตองรอพึงยา ้ จากหมออย่างเดียว ๑.๕ การใช้ ลูขปฏิบัติ ในเรื องของลูขปฏิบติหรื อลูขปปมาณิ กา มีหลายคนเข้าใจผิดใน ั ั เรื องของความหมาย คิดว่าเป็ นเรื องของความสกปรก ความจริ งพระพุทธองค์ทรงชมเชยการใช้ผาที ้ เรี ยกว่า “ลูขะ” เดิ มแปลว่า “เศร้ าหมอง” ทีนี คนทีนิ ยมความเกี ยจคร้านก็เลยไปตีความเอาเองว่ า หมายถึง ผ้ าสกปรก แล้วฉวยโอกาสไม่ซักผ้าให้สะอาด ปล่อยให้ผาสกปรกและมีก ลินอัน เป็ นที ้ รังเกียจของสังคม แต่ความเป็ นจริ ง คําว่า ลูขะ นัน มิได้หมายถึงความสกปรก หรื อแปลว่า เศร้ า หมอง แต่ ป ระการใด ที จริ ง ต้อ งแปลว่ า “หมอง” ซึ งหมายถึง สี คลํ า ๆ ไม่ ฉู ด ฉาด ซึ งตรงกับ ภาษาไทยว่า สีเรียบ ๆ ไม่ ฉูดฉาดตา เหมาะกับสมณสารู ป ๑.๖ การให้ งดเว้ นอาหารในเวลาเย็น พระพุทธเจ้าได้ทรงสังสอนให้พระภิกษุบริ โภค อาหาร หรื อดืมเฉพาะสิ งทีมีความจําเป็ นต่อชีวิตจริ งๆ เช่น บทบัญญัติทีให้พระภิกษุงดเว้นจากการ ฉันอาหารในเวลาวิกาล การทีพระผูมีพระภาคเจ้าและพระภิกษุสงฆ์ไม่ฉนอาหารในเวลาวิกาลนัน มี ้ ั ประโยชน์ในแง่ของสุขภาพ ดังทีปรากฏในพระไตรปิ ฎกว่า เมือพระผูมีพระภาคและภิกษุสงฆ์ฉัน ้ โภชนะ เว้นการฉันในราตรี รู้จกคุณคือความเป็ นผูมีอาพาธน้อย มีโรคเบาบาง กระปรี กระเปร่ ามี ั ้ กําลังและอยูสาราญ๒ ่ ํ ๒ เรืองเดียวกัน, หน้า ๒๗๒.
  • 4. ๑.๗ การบริโภคเพือสุ ขภาพ ในเรื องของการบริ โภค พระพุทธเจ้าตรัสให้พระภิกษุฉัน อย่างมีสติ โดยพิจารณาอย่างแยบคายว่า การฉันอาหารนัน มิใช่ฉนเพือความเพลิดเพลินสนุ กสนาน ั มิใช่ฉนเพือความมัวเมามันหรื อเพิมพลังให้มากเกินไป ไม่ใช่ฉันเพือการประดับตกแต่งร่ างกายให้ ั สวยงาม แต่เป็ นการฉันเพือให้ชีวิตดํารงอยูได้เพือให้ร่างกายดํารงอยู่ เพือบรรเทาทุกข์เก่าอันเกิดจาก ่ ความหิ ว และไม่ทาให้เกิ ด ทุ กข์ใหม่จ ากความอิมเกิ นไปจนอึด อัด และเมือฉัน อาหารแล้ว ชี วิ ต ํ จะต้องดําเนินต่อไปได้อย่างสะดวก ไม่ติดขัดอึดอัดขัดเคือง อาหารทีฉันแล้วไม่มีโทษทังในปัจจุบน ั และอนาคต ไม่เป็ นอาหารทีมีโทษใดๆ ต่อสุขภาพ และสุขภาพจิต พระพุทธเจ้าจึงได้ตรัสห้ามพระภิกษุดืมฉันสุ รา และของหมักดองทีทําให้เกิดความมึน เมาทุกชนิด ข้อนีก็เป็ นการสอดคล้องกับการห้ามฉันของทีมีโทษต่อร่ างกายจริ งๆ การห้ามดืมฉัน ของมึนเมาจึงเป็ นข้อปฏิบติทีรักษาสุขภาพกายสุขภาพจิตได้เป็ นอย่างดี และมีขอพิจารณาว่า เมือฉัน ั ้ อาหารแล้วจะต้องมีความผาสุก คือไม่มีโรคภัยใดๆ ติดตามมาหรื ออยูในสภาพทีจะเป็ นโรค แต่ตอง ่ ้ อยูอย่างผาสุก ก็คือสุขภาพกายดีอย่างสมบูรณ์ สุขภาพจิตดีไม่มีวิตกกังวล เมือพระองค์ทรงสอนให้ ่ มีสติ วางเป้ าหมายการฉันอย่างถูกต้องเช่นนี เมือพระภิกษุ ได้พิจารณาไปตามอย่างเข้าใจ จิตใจก็ สบาย ไม่ฉนอย่างคนมีโรคใจ แต่ฉนด้วยจิตบริ สุทธิจึงอิมทังกายอิมทังใจ๓ ั ั ๑.๘ การเดินจงกรมเพือสุ ขภาพกายสุ ขภาพจิต การเดินจงกรม คือการทีพระภิกษุเดิน ด้วยการกําหนดสติอยูทีการเดิน ในทุกย่างก้าว จะเดินเร็ วหรื อช้าไม่เป็ นประมาณ แต่สิงทีสําคัญอยูที ่ ่ การเดินอย่างมีสติ การเดินจงกรมจะเดินไปเดินมาในทีไม่ไกลนัก โดยจัดสถานทีเดินให้เรี ยบร้อย เดินสะดวกเป็ นการออกกําลังกายแบบค่อยเป็ นค่อยไปตามธรรมชาติ ความอบอุ่นหรื อความร้อนที ได้จากการเดินจงกรมจึงเป็ นความร้อนทีออกมาอย่างสมดุล พระพุทธเจ้าได้ตรัสประโยชน์ของการเดินจงกรมไว้ว่า “ดูกรภิกษุทงหลาย อานิ สงส์ใน ั การเดินจงกรม ๕ ประการนี คือ๔ ๑) ภิกษุผเู้ ดินจงกรมย่อมเป็ นผูอดทนต่อการเดินทางไกล ้ ๒) เป็ นผูอดทนต่อการบําเพ็ญเพียร ้ ๓) ย่อมเป็ นผูมีอาพาธน้อย ้ ๔) อาหารทีฉัน ดืม เคียว ลิม แล้วย่อยไปโดยดี ๕) สมาธิทีได้จากการเดินจงกรมย่อมตังอยูได้นาน ่ เมือพิจารณาถึงประโยชน์ของการเดินจงกรม ก็จะเห็นได้ว่า การเดินจงกรมเป็ นการดูแล และรักษาสุ ขภาพอีกวิธีหนึ ง เมือปฏิบติแล้วจะได้ประโยชน์ทงทางกายและทางจิตอย่างมหาศาล ั ั เป็ นการดูแลสุขภาพทีไม่ตองลงทุนอะไรเลย เพียงแต่นาเอาร่ างกายทีมีอยู่แล้วมาปฏิบติเท่านันเอง ้ ํ ั ๓ เรืองเดียวกัน, หน้า ๒๗๓. ๔ เรืองเดียวกัน,หน้า ๒๗๖-๒๗๗.
  • 5. การออกกําลังกายโดยการเดิ น จงกรมนี ทําได้ทุก เพศทุ ก วัย ทุ ก สาขาอาชี พ แล้ว ได้รั บ ประโยชน์ คื อร่ างกายแข็ งแรง เดิน ทางไกลๆ ได้สบาย การเดิน ทางไกลได้สบายต้องมีร่ างกาย แข็ ง แรงจริ งๆ การทํา ความเพี ย รได้น านๆ เป็ นเรื องที แสดงความเข้ม แข็ ง ทังกายและใจมา ประสานกัน กล่า วคื อใจนัน ได้ม าจากสมาธิ ใ นการเดิ น จงกรมตังอยู่ไ ด้น าน นี เป็ นเรื องของ สุขภาพจิตโดยตรง เพราะเมือจิตเป็ นสมาธิได้นานเท่าใด จิตใจก็ปลอดจากโรคมากเท่านัน คือกิเลส ไม่รบกวนนันเอง ๒. สะอาดขันบริสุทธิ ความสะอาดชันนี เป็ นความสะอาดบริ สุทธิทีพิเศษกว่าความสะอาดขันธรรมดา เพราะเป็ น เรื องของการชําระกาย และวาจา ให้สะอาดด้วยการรักษาศีล คําว่า “ศีล” ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ ได้ให้ความหมายไว้ว่า การรักษากายและวาจาให้เรี ยบร้อย,ข้อปฏิบติทางพระพุทธศาสนา เช่น ศีล ๕ ศีล ๘๕ เป็ นต้น แต่ผรู้ ั ู้ ทางศาสนา หรื อพระผูบรรยายธรรมทัวไป ได้ให้ค วามหมายของคําว่ าศีลไว้ต่ างๆ กัน เช่น ศีล ้ แปลว่า ปรกติ แปลว่า เย็น แปลว่า หนักแน่ น แปลว่า มันคง ไม่หวันไหว แปลว่า ดีงาม เบาสบาย โล่ง ว่าง แปลว่า เรี ยบร้อย แปลว่า ระงับ เป็ นต้น ในทีนี จะขอยกมากล่าวเฉพาะศีล ๕ อันเป็ นหลัก ปฏิบติพนฐานสําหรับคนทัวไป และศีล ๘ โดยสังเขป ั ื ในเรื องของศี ลห้า อัน เรี ย กว่ า เป็ นนิ จ ศีล ของชาวพุทธ โดยทัวไปศีลทุ ก ข้อจะมีค วาม เกียวข้องกับเรื องสุ ขภาพทังสิ น เพราะศีลห้าจะเกียวข้องกับชี วิตทรั พย์สิน ครอบครัว และสังคม อย่างเช่น การไม่ฆ่าสัตว์หรื อมนุษย์ ก็เกียวข้องกับชีวิตโดยตรง เมือไหร่ มีการฆ่าเกิดขึ น ทังผูถูกฆ่า ้ และผูฆ่าจะต้องเผชิญกับความเสือมทรามทางสุขภาพทังกายและจิต หรื อถึงสูญเสี ยชีวิตกันไปอย่าง ้ ไม่หมดสิ น และยังเป็ นการทําลายความสงบสุขของสังคมอีกด้วย แม้เมือมาสมาทานงดเว้นจากการ ฆ่า หรื อทําลายมนุษย์หรื อสรรพสัตว์ได้อย่างแท้จริ ง ก็เป็ นเหตุให้อายุยนอีกทางหนึง ื เรื องของการลักทรัพย์ ทําให้ผลกทรัพย์วิตกกังวลหวาดกลัว ผูถูกลักรู้สึกหวาดหวันพรั น ู้ ั ้ พรึ ง รู้สึกไม่ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ความหวาดกลัวเหล่านี หากมีมากๆ ย่อมบันทอนความ เชือมันทําให้กินไม่ได้นอนไม่หลับเกิดความไม่สมดุลแก่ร่างกาย เมือร่ างกายไม่สมดุลก็เป็ นเหตุให้ เกิดโรคภัยไข้เจ็บได้ง่าย แต่สิงทีนับว่า มีผลกระทบต่อสุ ขภาพโดยตรงก็คือ บางครั งทังโจรทังเจ้า ทรัพย์ตองมาบาดเจ็บล้มตายด้วยกัน แต่ถามาปฏิบติศีลข้อไม่ลกทรัพย์ดวยกัน ต่างฝ่ ายต่างพอใจใน ้ ้ ั ั ้ ทรัพย์สินทีแสวงหามาได้จากหยาดเหงือแรงงาน เมือออกกําลังกายทํางานก็ได้กาลังกาย และทรัพย์ ํ นํามาใช้จ่ายซือสิงของจําเป็ นเลียงชีวิต เลียงครอบครัว ทําให้มีความสุข ๕ ราชบัณฑิตยสถาน, พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒ (กรุ งเทพ ฯ : นานมีบุ๊คส์ พับลิเคชันส์,๒๕๔๖), หน้า ๑๑๐๓.
  • 6. การประพฤติผดในกามก็เป็ นสาเหตุสาคัญให้สุขภาพกายสุ ขภาพจิตเสื อม หากไม่สารวม ิ ํ ํ ระวังย่อมก่อให้เกิดโรคร้ายได้ง่าย เมือเกิดแล้วยากแก่การรักษา การประพฤติผิดในกามก่อให้เกิด การทะเลาะวิ ว าทบาดหมางกัน ในครอบครั ว อัน ก่ อให้เกิ ด การทําร้ า ยชี วิ ต กัน และกัน ได้ การ ประพฤติผดในกามทําให้เกิดความกระทบกระเทือนใจอย่างร้ายแรงแก่ผทีถูกล่วงละเมิด สุ ดท้ายกิน ิ ู้ ไม่ได้นอนไม่หลับ จึงทําให้เกิดโรคต่างๆ ขึนมากมาย หรื อไม่ก็เป็ นทุกข์จนขาดสติถึงกับฆ่าตัวตาย ก็มีปีละหลาย ๆ ราย การพูด เท็จหรื อการให้ข ้อมูลที ไม่ถูก ต้อง เป็ นอัน ตรายต่อสุ ข ภาพ ดังที เป็ นอยู่ทุก วัน นี ส่วนมากผูถกโกหกก็ตองรับเคราะห์ก่อน เช่น โกหกว่ายาบางชนิ ดรักษาโรคบํารุ งสุ ขภาพ แต่พอ ู้ ้ รับประทานเข้าไปแล้วไม่เห็นผลหรื อบางทีเวลาป่ วยไข้แทนทีจะได้รับการวินิจฉัยโรคอย่างถูกต้อง กลับมีผอางตัวเป็ นผูวิเศษรับอาสารักษาโรค สุดท้ายอาจจะทําอันตรายให้อาการหนักถึงแก่ชีวิตได้ ู้ ้ ้ ง่ายๆ ส่วนผูทีชอบโกหกผูอืน เมือประพฤติมาก ๆ เข้าก็ตองเดือดร้อนอยูไม่มีความสุ ข แม้ว่าจะมี ้ ้ ้ ่ อยูมีกินมีอานาจวาสนา แต่เมือถูกขนานนามว่า เป็ นคนลวงโลกก็ทาให้เป็ นทุกข์ใจ แล้วต่อไปก็ลาม ่ ํ ํ ไปเป็ นทุกข์กาย และเมือร่ างกายอ่อนแอโรคภัยไข้เจ็บก็มารุ ม บางคนเป็ นคนลวงโลกพอเขาจับได้ ไล่ทนก็ถึงกับกระอักเลือด และแน่นอนทีสุดเมือถึงระดับกระอักเลือด ภูมิคุมกันก็เหลือน้อย อาจจะ ั ้ ล้มป่ วยได้ง่าย ล้มแล้วรักษายาก ส่วนศีลข้อห้าก็มีมาเพือช่วยให้สุขภาพดีโดยตรง เพราะสุ ราหรื อสิ งมึนเมาต่างๆ ล้วนเป็ น สิ งทําอันตรายต่อร่ างกาย จึงควรงดเว้นเสี ยให้ห่างไกล หากไม่งดเว้นจะพบกับความสุ ญเสี ยทันตา เห็นจากการสูญเสียเงิน การเสียเวลา เสียสติ มีปัญญาเสือม อันเป็ นจุดเริ มต้นของการเสี ยสุ ขภาพจิต ทังหมด การเสียสุขภาพกายก็จะตามมาไม่ว่าระยะสัน อันได้แก่อุบติเหตุอุบติภย หรื อโรคภัยไข้เจ็บ ั ั ั อันมีสาเหตุมาจากสุราและสิงมึนเมาทังหลายทีมน◌ุ ษย์ไปเข้าใจผิดคิดว่าดี ทีแท้คือเครื องมือทําลาย สุขภาพและคุณภาพชีวิตนันเอง และ เมืองดเว้นจากการดืมสุราเมรัยได้เด็ดขาด สุ ขภาพร่ างกายก็จะ ดีอยูเ่ ป็ นสุข ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บอันเนืองมาจากสุราเมรัย๖ หากพิจ ารณาดู ศีลห้าแต่ ละข้อ ถ้ามีผูใคร่ ละเมิดเป็ นอาจิ ณ จะเป็ นเหตุ ให้เกิ ด ความทุ ก ข์ ้ ทรมานไม่หมดไม่สิน ในทางตรงกันข้ามหากเข้าใจถึงคุณและโทษของการมีและการไม่มีศีลห้า แล้วตังใจปฏิบติศีลห้าด้วยความตังใจนําเอาคุณค่าของศีลแต่ละข้อทีปฏิบติได้แล้วมารวมกัน ก็จะอยู่ ั ั ในสังคมอย่างคนไม่มีเวรไม่มีภย ครอบครัวสงบร่ มเย็น มีสติสัมปชัญ ญะในการดํารงชีวิต ความ ั ผิดพลาดก็มีนอย ความภาคภูมิใจและปี ติมีเพิมมากขึน เมือชีวิตอยูดวยความสะดวกสบายใจ สุขภาพ ้ ่ ้ กายก็ดีตามมา แม้มีโรคภัย บางชนิ ด มาเบียดเบียนก็จ ะหายในไม่ชา กายทีใช้ไปอย่างมีประโยชน์ ้ ก่อให้เกิดบุญกุศล ย่อมส่งผลให้ใจเป็ นสุขอยูตลอดเวลา ่ ๖ พระเทพปัญญาเมธี, อ้ างแล้ ว, หน้า ๒๘๓-๒๘๔.
  • 7. การจะรักษาศีลทัง ๕ ข้อนีได้ดี บุคคลนันต้องมีเบญจธรรมประจําตัวคือ ๑) เมตตา บุคคลใดทีมีเมตตาย่อมไม่ฆ่าหรื อเบียดเบียนสัตว์ดวยรู้ดีว่าทุกชีวิตย่อมมีความรัก ้ ตัวกลัวตายเช่นเดียวกับเรา ทําให้ไม่ผดศีลในข้อปาณาติบาต ิ ๒) สัมมาอาชีพ คือประกอบอาชีพทีสุดจริ ต มีรายได้ รู้จกการใช้จ่าย และทีสําคัญรู้จกคําว่า ั ั พอดี และมีหิริโอตตัปปะ ทําให้ไม่ผดศีลในข้ออทินนาทาน ิ ๓) ความสํารวมอินทรีย์ คือสํารวมตา หู จมูก ลิน กาย และใจ ทําให้ความใคร่ กามคุณ คือ การติดในรู ป รส กลิน เสียง สัมผัส ลดน้อยลง เมือความสํารวมเกิดขึน ความระมัดระวังตัวย่อมมี จะ เป็ นเหตุให้ไม่ล่วงเกินผูอืน มีสมมาคารวะและมีความเป็ นผูนาทีดีในสังคม ้ ั ้ ํ ๔) สัจจะ การพูดความจริ ง เป็ นสิ งทีทําให้ไม่เกิดการมุสาวาท การเจรจาพาทีมีคนเชือถือ และเชือฟัง ๕) สติ การรู้สึกตัว ซึงเป็ นหัวหน้าฝ่ ายกุศล ทําให้ชีวิตไม่ประมาท เพราะรู้ว่าอะไรดี อะไร ชัว ทําให้ไม่เกลือกกลัวกับสิ งทีจะทําให้ชีวิตตกตํา เพราะมีสติสมปชัญญะและมีสติปัญญา ั เบญจศีลและเบญจธรรมนี เอง เป็ นธรรมทีนําเกิดเป็ นมนุษย์ ดังนันความเป็ นมนุษย์จึงวัดกัน ด้วยความมีศีล นันคือ๗ ผูใดมีศีลครบ ๕ ข้อ จัดว่าเป็ นมนุษย์ทีสมบูรณ์ ๑๐๐ % ้ ผูใดมีศีลครบ ๔ ข้อ จัดว่าเป็ นมนุษย์ทีสมบูรณ์ ๘๐ % ้ ผูใดมีศีลครบ ๓ ข้อ จัดว่าเป็ นมนุษย์ทีสมบูรณ์ ๖๐ % ้ ผูใดมีศีลครบ ๓ ข้อ จัดว่าเป็ นมนุษย์ทีสมบูรณ์ ๔๐ % ้ ผูใดมีศีลครบ ๑ ข้อ จัดว่าเป็ นมนุษย์ทีสมบูรณ์ ๒๐ % ้ ผูใดทีไม่มีศีลก็ไม่จดว่าเป็ นมนุ ษย์ การรักษาศีลคือการควบคุมกายวาจาไม่ให้ผิดปกติ คือ ้ ั ไม่ให้ทาบาป ฉะนันขณะใดเป็ นผูอยูในศีลควบคุมความปกติไว้ได้ ขณะนันบุญก็เกิดขึ น บาปก็เกิด ํ ้ ่ ไม่ได้ เช่น ขณะทีเรานังฟังธรรมะ ขณะนันเราเป็ นผูมีศีลครบ เป็ นมนุ ษย์ทีสมบูรณ์ แต่เพราะความ ้ ไม่เข้าใจ บางครังจึงทําให้ชีวิตขาดทุน เช่น การอาราธนาศีล และรับศีลจากพระ บางคนไม่กล้ารับ ในศีลบางข้อ เช่น ผูชายทีดืมเหล้า จะไม่กล้ารับในศีลข้อ ๕ ทังๆ ทีขณะนันเขาไม่ได้ดืม แสดงว่า ้ ขณะนันเขาไม่ได้ทาผิดในศีลข้อนัน ชีวิตของเขาจึงขาดทุน เพราะขณะนันแทนทีจะเกิดบุญกลับเกิด ํ บาปก็เพราะความคิดทีว่าเราไม่สามารถทําได้ในข้อนี เท่ากับขณะนันระลึกว่าเราบาป การทีเราทําอะไรผิดศีล ก็เพราะขาดการควบคุมความประพฤติทางกายและวาจา เช่นว่า การ กระทําทุจริ ตทางกายทีเกิดขึนได้เป็ นเพราะผูนนขาดเมตตา และมีกิเลส เช่น แม่คาทีฆ่าปลาฆ่าไก่ ก็ ้ ั ้ เพราะต้องการเงิน ย่อมทําให้เกิดทุจริ ต (บาป) ทีเกิดจากการฆ่าสัตว์ หรื อการประทุษร้ายคนอืนเพือ ต้องการทรัพย์ ย่อมทําให้เกิดบาปทีเกิดจากการลักทรัพย์ เป็ นต้น ฉะนันเมตตาเมือมีอยูตราบใด การ ่ ๗ วยุรี สุวรรณอินทร์ , กําไรชีวิต (นครปฐม : อภิธรรมมูลนิธิ,๒๕๔๕), หน้า ๒๗.
  • 8. ๘ ทีจะทํากายทุจริ ต และวาจาสุจริ ต อันจะเป็ นเหตุให้คนอืนเดือดร้อนย่อมไม่มีเลย พระผูมีพระภาคเจ้า ้ ทรงแสดงว่า ศีลคื อการเว้น ปาณาติ บาต การเว้นอทิ นนาทาน การเว้นกาเมสุ มิจฉาจาร การเว้น มุสาวาท และการเว้นการเสพของมึนเมาซึงเป็ นทีตังของความประมาทนัน เป็ น มหาทาน คือทาน อันเลิศ เพราะ ความไม่ มีเวร ความไม่ มีภัย และการไม่ เบียดเบียนสัตว์ ทังหลาย ย่ อมเป็ นทานที หา ประมาณไม่ได้ เลย สําหรับอัฏฐศีล คือศีลแปดนัน คฤหัสถ์ทีมีเจตนารักษาศีลในข้อนี มักจะไม่อยู่ประจําหรื อ นอนค้างทีวัด บางครั งจึงเรี ยกศีลแปดนี ว่า “อุโ บสถศีล” ซึงการรักษาศีลในข้อนี ไม่เพียงควบคุ ม ความปกติทางกายและวาจาเท่านัน แต่มีการควบคุมทางใจด้วย โดยเฉพาะความยึดมันว่าเป็ นของเรา ของเราๆ จะต้องเอาออก จึงต้องมีเนกขัมมะ เป็ นการออกจากความยึดติดทีคิดว่าเป็ นบ้านของเรา ด้วยการไปค้างทีวัด และแม้ตวเราซึงเคยดูแล ตกแต่งร่ างกายให้ดูสวยงามด้วยเครื องประดับ และ ั ของหอม ก็ตองละออก ศีลชนิดนี จึงมีขอวิรัติมากขึน และอานิสงส์ของการรักษาศีลก็ย่อมมีมากขึน ้ ้ ด้วย นอกจากนี ยังมีปาริ สุทธิศีล คือความประพฤติบริ สุทธิทีจัดเป็ นศีล มี ๔ อย่าง คือ๘ ๑) ปาฏิโมกขสังวรศีล คือความสํารวมในพระปาฏิโมกข์ เว้นจากข้อห้าม ทําตามข้ออนุญาต ประพฤติเคร่ งครัดในสิ กขาบททังหลาย ข้อนี เน้นในเรื องของความประพฤติ ซึงอยู่ในกรอบของ วัฒนธรรม ประเพณี เคารพกติกาของกฎหมายบ้านเมือง มีขอวัตรปฏิบติทีดี มีระเบียบวินยในตนเอง ้ ั ั ๒) อินทรียสงวรศีล คือความสํารวมอินทรี ย ์ ระวังไม่ให้บาปอกุศลธรรมครอบงําเมือรับรู้ อารมณ์ดวยอินทรี ยทง ๖ คือการสํารวมระมัดระวังตาในการดู ระวังหูในการฟัง ระวังจมูกในการดม ้ ์ ั กลิน ระวังลินในการลิมรส ระวังกายในการถูกต้องสัมผัส เพือความสะอาดบริ สุทธิและป้ องกันมิให้ บาปอกุศลเกิดขึนในชีวิต ๓) อาชีวปาริสุทธิ ศีล คือความบริ สุทธิแห่ งอาชีวะ เลียงชีวิต โดยทางทีชอบ ไม่ประกอบ อเนสนา มีหลอกลวงเขาเลียงชีพ คือไม่คิดคดโกงใคร มีอาชีพทีสุจริ ตไม่ทาให้ใครเดือดร้อน ํ ๔) ปัจจัยสันนิสิตศีล คือการพิจารณาใช้สอยปั จจัย ๔ กล่าวคือ อาหาร เครื องนุ่ งห่ ม ทีอยู่ อาศัย และยารั ก ษาโรค ให้ถูก ประเภท ถูก สุ ข ลัก ษณะหรื อถูก หลัก อนามัย โดยให้เป็ นไปตาม ความหมายและประโยชน์ของสิ งนันอย่างคุมค่าพอเพียงตามความจําเป็ นของร่ างกาย ไม่ให้เป็ นไป ้ เพือตัณหาและอุปาทาน จะเห็นว่า ความสะอาดในชันนี จะเน้นหนักในเรื องของศีล ชอบในเรื องของความประพฤติ โดยการรักษาศีล ๕ ศีล ๘ หรื อศีลอุโบสถ เป็ นต้น ทําให้เคร่ งครัด หรื ออาจตลอดจนเลยจากศีลไปก็ ถือวัตรปฏิบติต่างๆ ศีลกับวัตรนี ก็เป็ นคนละอย่าง แต่ว่าก็เกาะกันอยูดวยกัน เป็ นพวกเดียวกัน ถือทัง ั ่ ้ ๘ พระธรรมปิ ฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (กรุ งเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๖), หน้า ๑๒๓-๑๒๔.
  • 9. ๙ ศีลทังวัตร หรื อข้อปฏิบติต่างๆ ก็มีมากมาย สามารถเลือกถือปฏิบติได้ อย่างเช่นพระก็ไปถือธุดงค ั ั วัตร เป็ นต้น นี ก็เป็ นวัตรหรื อเป็ นข้อปฏิบติพิเศษในเรื องของการถือศีลเพือชําระกายและวาจาให้ ั สะอาดบริ สุทธิ การรักษาศีลมีอานิสงส์เป็ นอันมาก เช่น ทําให้เป็ นทีรักเป็ นทีเคารพของคนทังหลาย อยู่ใน สังคมอย่างมีความสุ ข ไม่ก่อเวรก่อภัยต่อผูใด ทําให้เป็ นคนสง่างามมีผิวพรรณผ่องใส ถ้าจะกล่าว ้ โดยสรุ ปอานิสงส์ของการรักษาศีลก็มีดงนี คือ ั ๑) สีเลน สุ คตึ ยนฺติ บุคคลจะไปสุคติได้ก็เพราะศีล ๒) สีเลน โภคสมฺปทา บุคคลจะได้โภคทรัพย์สมบัติได้ก็เพราะศีล ๓) สีเลน นิพฺพุตึ ยนฺติ บุคคลจะดับทุกข์ความเดือดร้อนจนเข้าถึงพระนิพพานได้ก็เพราะศีล เพราะฉะนัน ทุ กคนควรรักษาศีลให้บริ สุทธิสะอาด เพราะศีลเป็ นมหาทานอันเลิศ ดังคํา ทีว่า ศีลส่ งทําให้ สูง ศีลปรุงทําให้ สวย ศีลนําทําให้ รวย ศีลช่ วยทําให้ รอด ฉะนัน ๓. สะอาดขันหมดจด คําว่า “สะอาดหมดจด” ในทีนี หมายถึงใจที เอิบอิมด้วยปั ญ ญาทีมีแต่ความสะอาด สว่าง สงบ ปราศจากกิเลสตัณหาและความทะยานอยากใดๆ ทังสิน ในทางพระพุทธศาสนาเรี ยกว่า “บรม ธรรม” หรื อ “นิพพาน” แปลว่าสิ งสูงสุด ดังมีพุทธภาษิตบทหนึงรับรองไว้ว่า “นิพฺพานํ ปรมํ วทนฺ ติ พุทฺธา” ซึงแปลว่า พระพุทธเจ้าทังหลายกล่าวว่านิ พพานเป็ นบรมธรรม ท่ านพุทธทาสได้แสดง อรรถาธิบายไว้ว่า “นิพพาน แปลว่า เย็น เย็นอย่างถูกต้ องก็คือ ไม่ มีกิเลส กิเลสนันสรุปอยู่ทีความเห็นแก่ ตัว คือ ตัวกู – ของกู ความเห็นแก่ ตัว หรือตัวกู – ของกูนี อยู่ในรูปต่ างๆ กัน คือเป็ นความโลภ ความ อยากได้ นีก็ร้อน เป็ นความโกรธ ความไม่ พอใจ นีก็ร้อน เป็ นความโง่ ความหลง เป็ นโมหะ นีก็ร้อน นีคือความร้ อน ไม่ เย็น ถ้าหมดกิเลสเหล่ านีเสียได้ ก็เป็ นความเย็นทีถูกต้ อง นีคือว่า “นิพพาน” ๙ บรมธรรมหรื อนิพพานนี บางทีก็ใช้คาว่า “อิสรภาพ” แทน ซึงหมายถึงอิสรภาพทางใจ อัน ํ ได้แก่ความหลุดพ้นจากโลภะ โทสะ โมหะ นันเอง ผูทีหลุดพ้นจากโลภะ โทสะ โมหะ ย่อมเป็ นผูมี ้ ้ ปัญญาเป็ นเครื องนําทางชีวิต หรื อเป็ นผูมีชีวิตอยู่ดวยปั ญญา เป็ นสภาวะของการมีชีวิตอยู่ทีดีทีสุ ด ้ ้ ดังทีพระราชวรมุนี (ป.อ.ปยุตฺโต) กล่าวไว้ว่า “การศึกษาคือกระบวนการทีทําให้ ชีวตหลุดพ้นจากอํานาจครอบงําของสิงแวดล้ อม และมี ิ ความเป็ นใหญ่ ในตัว ในการทีจะดํารงอยู่ และเสวยประโยชน์ จากการดํารงอยู่นัน ภาวะเช่ นนีเรียก ๙ พุทธทาสภิกขุ, บรมธรรม ภาคต้ น อ้างใน จิตรกร ตังเกษมสุ ข, พุทธปรัชญากับปรัชญาการศึกษาไทย (กรุ งเทพ ฯ : สํานักพิมพ์เคล็ดไทย,๒๕๒๕), หน้า ๙๒-๙๓.
  • 10. ๑๐ เป็ นคําศัพท์ สันๆ ว่ า “อิสรภาพ” ชีวิตทีบรรลุถึงภาวะเช่ นนี ย่ อมเป็ นชีวิตทีเป็ นอยู่อย่ างดี หรือ ดี ทีสุด”๑๐ จากการให้คาอธิบายของปราชญ์ทงสองท่านนี พอสรุ ปใจความได้ว่า อิสรภาพนันมีอยู่ ๒ ํ ั ด้าน คื อ อิสรภาพภายนอก ซึงหมายถึงการหลุด พ้นจากอํานาจครอบงําของปั จ จัยแวดล้อมทาง ธรรมชาติและทางสังคม กับอิสรภาพภายใน ซึงหมายถึงการหลุดพ้นจากอํานาจครอบงําของกิเลส ตัณหาทังมวล หรื อทีเรี ยกว่า บรมธรรมหรื อนิพพาน นันเอง การทีจิตจะเข้าถึงสภาวะทีเรี ยกว่าบรมธรรมหรื อนิ พพานได้นน จะต้องศึกษาปฏิบติตาม ั ั มรรคมีองค์ ๘ ประการ อันเป็ นอริ ยสัจทีว่าด้วยวิธีปฏิบติทีจะนําไปสู่สภาวะทีปราศจากทุกข์ อัน ั ได้แก่การเห็นแจ้งแทงตลอดในความเป็ นจริ งของสรรพสิ งทังปวง จนเป็ นเหตุให้หมดความยึดมัน ถือมันและมีดวงจิตทีบริ สุทธิผ่องแผ้วสะอาดหมดจดจากสิงเศร้าหมองทังปวง คําว่า “มรรค” แปลว่าทาง ในทีนี หมายถึงทางเดินของใจทีพร้อมจะปฏิบติ เป็ นการเดินจาก ั ความทุกข์ไปสู่ความเป็ นอิสระหลุดพ้นจากทุกข์ ซึงเป็ นสิ งทีมนุ ษย์หลงยึดถือและประกอบขึ นใส่ ตนด้วยอํานาจของอวิชชา๑๑ มีองค์ ๘ คือ ๓.๑ สัมมาทิฏฐิ : ความเห็นชอบ สัมมาทิฏฐิ แปลว่า ความเห็นชอบ หรื อความเห็นถูกต้อง ถ้าให้ความหมายแนวโลกีย ์ ก็ว่า เห็นถูกต้องตามคลองธรรม เช่น เชือว่าทําดีได้ดี ทําชัวได้ชว เป็ นต้น เพราะเมือเชือหรื อเห็นเช่นนัน ั แล้ว ก็พร้อมทีจะประพฤติปฏิบติดี เข้าสู่การฝึ กอบรมช่วงแรกในระดับของศีลของไตรสิกขา บุคคล ั ทีมีสมมาทิฏฐิเพียงชันนี มักจะเน้นหนักอยู่แค่การปฏิบติขนศีล ไม่ค่อยก้าวต่อไปถึงขันสมาธิและ ั ั ั ปัญญา ถ้าให้ความหมายแนวโลกุตระ ก็ว่าเห็นถูกต้องตามความเป็ นจริ ง คือเห็นตรงตามสภาวะ หรื อเห็นความเป็ นไปของสิงทังหลายตามธรรมดาแห่งเหตุปัจจัยของมัน๑๒ ในทีนี หมายถึงการเห็น หรื อการรู้แจ้งอริ ยสัจ ๔ คือ ๓.๑.๑ รู้ทุกข์ และรู้วิธีปฏิบติต่อทุกข์ คือการกําหนดรู้ เรี ยกว่า “ปริ ญญากิจ” ผลสําเร็ จ ั ของการศึกษาขันนี ก็คือการรู้แจ้งทุกข์ (ปริ ญญาตัง) ๓.๑.๒ รู้ทุกขสมุทัย คือเหตุเกิดแห่งทุกข์ และรู้วิธีปฏิบติต่อเหตุเกิดแห่ งทุกข์ คือต้อง ั ลด ละ เลิก เรี ยกว่า “ปหานกิจ” ผลสําเร็ จของการศึกษาขันนี ก็คือการลด ละ เลิกเหตุเกิดแห่ งทุกข์ (ปหีนง) ั ๑๐ พระราชวรมุนี (ป.อ. ปยุตฺโต), ปรัชญาการศึกษาไทย (กรุ งเทพ ฯ : เคล็ดไทย,๒๕๑๘), หน้า ๑๒ - ๑๓. ๑๑ http : //www.hearntripitaka.com/scruple/muck 8.html. page ๑. ๑๒ พระธรรมปิ ฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พุทธธรรม (กรุ งเทพ ฯ : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ,๒๕๔๖), หน้า ๖๑๓.
  • 11. ๑๑ ๓.๑.๓ รู้ ทุก ขนิโรธ คือการดับทุกข์ และวิธีปฏิบติต่ อการดับทุก ข์ คือต้องทําให้แจ้ง ั เรี ยกว่า “สัจฉิกรณกิจ” ผลสําเร็ จของการศึกษาขันนี ก็คือทําให้แจ้งการดับทุกข์ (สัจฉิกตัง) ๓.๑.๔ รู้ ทุ กขนิ โรคามินีป ฏิทา คือการปฏิบัติเพือให้บรรลุถึงการดับทุก ข์ และรู้ วิ ธี ปฏิบติต่อแนวทางทีจะนําไปสู่การดับทุกข์ คือต้องฝึ กฝนอบรม เรี ยกว่า “ภาวนากิจ” ผลสําเร็ จของ ั การศึกษาขันนี ก็คือฝึ กฝนอบรมการปฏิบติเพือบรรลุถึงการดับทุกข์ (ภาวิตง) ั ั ๓.๒ สัมมาสังกัปปะ : ความดําริชอบ ในการดําเนินชีวิตตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา เมือมีความรู้ทีถูกต้อง มีความเห็นทีถูกต้องแล้ว ลําดับต่อมา สิงทีต้องมี ก็คือ สัมมาสังกัปปะ ได้แก่ความคิดทีถูกต้อง ความคิด คือเข็มทิศนําทางสร้างความชัวและความดีของคน ความคิดเกิดจากสิ งทีได้รู้ได้ เห็ น (ทิฏฐิ) หากรู้ ผิดเห็ นผิด (มิจ ฉาทิ ฏฐิ ) ก็ จะทําให้ค วามคิด ผิดพลาดไปด้วย หากรู้ ถูก เห็น ถูก (สัมมาทิฏฐิ) ก็จะทําให้เกิดความคิดทีถูกต้องด้วยคุณธรรม ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา ได้แบ่งความคิดออกเป็ น ๒ ฝ่ าย คือ๑๓ ๓.๒.๑ มิจฉาสั ง กัป ปะ ความคิ ด ผิด ได้แก่ กามสังกัปปะ ความคิ ด ติด พัน ในกาม ความคิดหลงใหล คลังไคล้ ลุ่มหลงมัวเมาในกาม พยาปาทสังกัปปะ ได้แก่ความคิดเคียดแค้นชิงชัง รังเกียจ ขัดเคืองไม่พอใจในคนอืนและสิ งต่างๆ วิหิงสาสังกัปปะ ได้แก่ความคิดเบียดเบียนทําลาย ล้างให้เดือดร้อนรุ กรานต่อคนอืนและสิงต่างๆ ๓.๒.๒ สัมมาสังกัปปะ ความคิดถูก ได้แก่ เนกขัมมสังกัปปะ ความคิด ลด ละเลิกวาง กาม อพยาปาทสังกัปปะ ความคิดทีไม่มุ่งร้าย ไม่เคียดแค้น ไม่ชิงชังหรื อรังเกียจมีเมตตา เอืออาทร คนอืน อวิหิงสาสังกัปปะ ความคิดไม่เบียดเบียน ไม่ทาผูอืนให้เดือดร้อน ช่วยเหลือเกือกูลคนอืน ํ ้ สัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะ คือองค์ความรู้นาในกระบวนการศึกษาจัดเข้าในองค์ธรรม ํ กลุ◌่มปั ญญาทัง ๒ องค์ธรรมนี เป็ น “ธรรมสมังคี” คื อเป็ นองค์ธรรมที ช่ วยเหลือเกื อกูลกัน พร้ อม หน้าพร้อมตากัน ไปด้วยกัน ๓.๓ สัมมาวาจา : วาจาชอบ ในการดําเนินชีวิตตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา เมือมีความรู้ทีถูกต้อง ความคิดทีถูกต้องแล้ว ย่อมทําให้มีการพูดถึงสิ งทีถูกต้อง คือ สัมมาวาจา สัมมาวาจา คือการพูดทีงดเว้นจาก วจีทุจริ ต ๔ อย่าง ดังนี ๑๓ สมควร เหล่าลาภะ,พุทธศาสตร์ การศึกษา (พระนครศรี อยุธยา : สถาบันพุทธลีลา,๒๕๔๒), หน้า ๕๒.
  • 12. ๑๒ ๓.๓.๑ ละมุสาวาจา คื อการเว้น ขาดจากการพูด เท็จ กล่าวแต่ ค าสัต ย์ ดํารงสัจ จะ ํ ซือตรง เชือถือได้ ไม่ลวงโลก ไม่ว่าเพราะเหตุแห่ งตนเอง เพราะเหตุแห่ งคนอืน หรื อเพราะเห็นแก่ อามิสสินจ้างใดๆ ๓.๓.๒ ละปิ สุ ณาวาจา คือการเว้นขาดจากการพูดส่ อเสี ยดยุยงส่ งเสริ มใส่ ร้ายให้คน เขาแตกกัน ทะเลาะกัน เกลีย ดชังกัน พูด จาสมานสามัค คี ไม่ก่ อการแตกแยก แต่ พูด ประสาน ประโยชน์ ๓.๓.๓ ละผรุ สวาจา คือการเว้นขาดจาการพูดคําหยาบไม่สบายหู ไม่มีโทษ สุ ภาพ อ่อนหวาน น่ารัก จับใจ กินใจ ซึงใจ พอใจของพหูชน ๓.๓.๔ ละสัมผัปปลาปวาจา คือเว้นขาดจากการพูดเพ้อเจ้อไร้สาระ ปากพล่อย พูด ถูก กาล ถูก เวลา พูด คําจริ ง อ้างอิงถูก ต้อง สอดคล้องด้วยหลัก ธรรมวิ นัย มีหลักฐาน มีข อบเขต ประกอบด้วยคุณประโยชน์ และเอือประโยชน์ ๓.๔ สัมมากัมมันตะ : การงานชอบ ในการดําเนินชีวิตตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา เมือมีความรู้ดี ความคิดดี และคําพูดทีถูกต้อง แล้ว ต้องมีการกระทําทีถูกต้องด้วย เพราะคนจะดีหรื อจะชัวพิสูจน์ตรวจสอบได้ชดเจนทีสุ ดก็คือ ั พิสูจน์จากการกระทําของคนนัน สัมมากัมมันตะ ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทาก็คือ การเว้นขาดจากกายทุจริ ต ๓ ประการ คือ เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ เว้นขาดจากการลักทรัพย์ และเว้นขาดจากการประพฤติผดในกาม ิ สัมมากัมมันตะ ยังหมายความถึงการทํางานดี ไม่ทอดทิงงาน ทํางานไม่คงค้าง ขยันขันแข็ง ั ใฝ่ รู้ และสูงาน พัฒนาตน และพัฒนางานอยู่เสมอซึงเป็ นการกระทําทีเป็ นมงคลสูงสุ ด ซึงหมายถึง ้ ครองงาน ครองคน ครองตนนันเอง ๓.๕ สัมมาอาชีวะ : เลียงชีพชอบ ในการดําเนินชีวิต ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทานัน เมือมีความรู้ดี ความคิดดี คําพูดดี และมีการ กระทําดีแล้ว ย่อมนําคนไปสู่การเลียงชีวิตทีดีดวย คือสัมมาอาชีวะ ้ สัมมาอาชีวะ ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา ได้แก่การเลียงชีพหรื อการประกอบอาชีพทีสุจริ ตไม่ ผิดศีลธรรมเว้นขาดจากการประกอบมิจฉาชีพ ๕ สาขาอาชีพ คือ๑๔ ๓.๕.๑ สัตถวณิชชา คือการเลียงชีวิตด้วยการค้าขายอาวุธ หมายถึงการประกอบอาชีพ ทีเบียดเบียน ข่มเหงรังแกทําร้ายตนเองและคนอืน สร้างความเคียดแค้นชิงชัง พยาบาท อาฆาตจอง เวร ซ่องสุมอาวุธ ตีรันฟันแทงปล้นจี ฉกชิง ยิง เผา เอากันถึงประหัตประหารผลาญชีวิตกันในทีสุด ๑๔ เรืองเดียวกัน, หน้า ๕๔-๕๕.
  • 13. ๑๓ ๓.๕.๒ สั ตตวณิชชา คื อการเลียงชีวิ ตด้วยการค้าขายมนุ ษ ย์เยียงสัต ว์ หมายถึงการ ประกอบอาชีพทีหลอกลวง ต้มตุ๋นมนุษย์ดวยกันเอง เอารัดเอาเปรี ยบ บังคับควบคุม จับกุม กักขังไว้ ้ ใช้แรงงานคนเยียงทาส และเยียงสัตว์ เห็นคนด้วยกันเป็ นสินค้าซือขายได้ เช่น กรณี ตกเขียว ค้ากาม ขายบริ การทางเพศ ใช้แรงงานเด็ก เป็ นต้น ๓.๕.๓ มังสวณิชชา คือการเลียงชีวิตด้วยการค้าขายเนื อสัตว์ หมายถึงการประกอบ อาชีพด้วยการเลียงสัตว์ไว้ฆ่าเอาเนือ เอาเขา เอาหนัง เอาขน และอวัยวะต่างๆ ไปขาย ตังโรงงานฆ่า สัตว์ จับสัตว์ต่างๆ ตามสังมาขังไว้ ตังแต่สัตว์เล็กถึงสัตว์ใหญ่ ซึงเป็ นการประกอบอาชีพทีทรมาน เบียดเบียนสัตว์ ๓.๕.๔ มัชชวณิชชา คือการเลียงชีวิตด้วยการค้าขายนําเมา หมายถึงค้าขายนําดืมทีทํา ให้เมามายไร้สติ สัมปชัญญะประเภทต่างๆ เช่น เหล้า เบียร์ ไวน์ รวมทังของทีทําให้มึนเมาอืนๆ ๓.๕.๕ วิสวณิชชา คือการเลียงชีวิตด้วยการค้าขายยาพิษ หมายถึงยาทีมีพิษร้ายแรง และสารเสพติดชนิดต่างๆ ทีออกฤทธิมีพิษร้ายต่อสุ ขภาพร่ างกายและจิตใจ เช่น บุหรี ฝิ น เฮโรอีน กัญชา ยาบ้า ยาอี ยาเลิฟ เป็ นต้น มิจฉาชีพอีกความหมายหนึง คือการทีบุคคลได้รับโภคทรัพย์จากการประกอบอาชีพของตน แล้วไม่รู้จกเลียงตนเองและเลียงคนอืนให้เป็ นสุ ข ไม่บารุ งเลียงสังคมและประเทศชาติ ไม่รู้จกรัก ั ํ ั เอือเฟื อเผือแผ่แบ่งปันกัน บุคคลเช่นนี ก็เรี ยกว่า “มิจฉาชีพ” เช่นกัน ๓.๖ สัมมาวายามะ : ความพยายามชอบ ในการดําเนินชีวิตตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา เมือมีความรู้ดี ความคิดดี คําพูดดี การกระทําดี อาชีพดีแล้ว ต้องมี “ความพยายามชอบ” เพือส่งเสริ มความดีและรักษาความดีต่าง ๆ ดังกล่าวมาให้ เจริ ญงอกงามยิงขึน เรี ยกว่า “สัมมาวายามะ” สัมมาวายามะ ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา หมายเอา “สัมมัปปธาน ๔” คือความพากเพีย ร พยายาม ความบากบากบัน ทีมันคงแน่วแน่ ดังต่อไปนี ๓.๖.๑ สังวรปธาน คือความบากบันขยันหมันเพียร เพือระมัดระวังป้ องกันความชัว ที ยังไม่เกิดไม่ให้เกิดขึน เรี ยกว่า “พยายามป้ องกัน” ๓.๖.๒ ปหานปธาน คือความบากบันขยันหมันเพียร เพือกําจัดความชัวทีเกิดขึ นแล้ว ให้หมดสิ นไป เรี ยกว่า “พยายามปราบปราม” ๓.๖.๓ ภาวนาปธาน คือความบากบันขยันหมันเพียร เพือสร้างสรรค์ความดีทียังไม่มี ให้มีขึน ทียังไม่เกิดให้เกิดขึน เรี ยกว่า “พยายามพัฒนา” ๓.๖.๔ อนุรักขนาปธาน คือความบากบันขยันหมันเพียรเพือรักษาส่ งเสริ มสนับสนุ น ความดี ทีมีอยู่แล้ว ที เกิดขึ นแล้ว ให้เจริ ญรุ่ งเรื องยิงขึ นไปและให้อยู่ยงยืนนาน เรี ย กว่า “พยายาม ั อนุรักษ์”
  • 14. ๑๔ ๓.๗ สัมมาสติ : ความระลึกชอบ ในการดําเนิ นชีวิต ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา เมือมีความรู้ดี ความคิดดี พูดดี ทําดี อาชีพดี และพยายามดีแล้ว ต้องมี “สติดี” ด้วย เรี ยกว่า “สัมมาสติ” สัมมาสติ ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา หมายเอา สติปัฏฐาน ๔ ได้แก่ ทีตัง หรื อฐานทีมันของ ๑๕ สติ คือ ๓.๗.๑ กายานุ ปั ส สนาสติปั ฏ ฐาน ได้แ ก่ ก ารตังสติ ติ ด ตามดู ก าย เริ มต้น แต่ ก าร เคลือนไหวอิริยาบถต่าง ๆ ทุกอย่าง เช่น ยืน เดิน นัง นอน กิน ดืม ทํา พูด คิด ซึงเป็ นกิริยาภายนอก และติดตามดูกายภายในตังแต่ศีรษะจรดปลายเท้าว่าเต็มไปด้วยสิ งปฏิกูลเป็ นรังแห่ งโรคตลอดทัว ทังตัว ประกอบ ด้วยธาตุทง ๔ และมีการเสือมสลายเกิด แก่ เจ็บ ตาย อยูทุกขณะ สักวันหนึ งก็ถึงวัน ั ่ ตายจริ ง เหลือเพียงกระดูกและกองขีเถ้า ๓.๗.๒ เวทนานุปัสสนาสติปัฏฐาน ได้แก่การตังสติติดตามดูเวทนา คือความรู้สึก ทัง เป็ นสุข เป็ นทุกข์ และเฉยๆ ไม่สุขไม่ทุกข์ ความปวดเมือย ความเหนื อยล้า ความร้อน ความหนาว ความระคายเคือง ๓.๗.๓ จิตตานุ ปั สสนาสติปั ฏฐาน ได้แก่ ก ารตังสติ ติ ด ตามดู จิ ต ให้รู้ เท่ าทัน จิ ต ว่ า ในขณะนันเป็ นเช่นไร เช่น มีราคะหรื อไม่มีราคะ มีโลภะหรื อไม่มีโลภะ มีโทสะหรื อไม่มีโทสะ มี โมหะหรื อไม่มีโมหะ สงบหรื อหรื อฟุ้ งซ่าน กลัวหรื อกล้า อ่อนโยนหรื อกระด้าง ตรงหรื อคด อึดอัด หรื อปลอดโปร่ ง พร้อมทํางานหรื อไม่พร้อม ขยันหรื อขีเกียจ ดีใจหรื อเสียใจ เป็ นต้น ๓.๗.๔ ธัมมานุ ปั สสนาสติปัฏฐาน ได้แก่ก ารตังสติ ติ ดตามดู องค์ธรรมต่าง ๆ ทัง อกุศลธรรม และกุศลธรรมทีเกิดขึน ตังอยู่ ดับไป ในชีวิตของตน ติดตามดูให้รู้ทนทังความชัวและ ั ความดีของตน มากขึนหรื อลดลง ยังอยู่หรื อหายไป จะป้ องกันหรื อแก้ไขอะไร อย่างไร จะพัฒนา หรื ออนุรักษ์อะไร อย่างไร ๓.๘ สัมมาสมาธิ : สมาธิชอบ ในการดําเนิ นชีวิต ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา เมือมีความรู้ดี ความคิดดี พูดดี ทําดี อาชีพดี พยายามดี สติดีแล้ว ก็จาเป็ นต้องมี “สมาธิดี” ด้วย เรี ยกว่า “สัมมาสมาธิ” ํ สัมมาสมาธิ ตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา หมายเอา “ความตังใจมันของจิต” ไม่วอกแวก ไม่ หวันไหว ไม่ฟงซ่าน ไม่สดส่ายไป สงบนิง ไม่ถกกิเลสรบกวน และไม่มีกิเลสรบกวนแบ่งออกเป็ น ุ้ ั ู ๓ ระดับ คือ ขณิกสมาธิ สงบนิงชัวคราว อุปจารสมาธิ สงบนิ งยาวนาน และ อัปปนาสมาธิ สงบ นิ งสนิท ซึงหมายถึง เต็มใจ แข็งใจ ตังใจ และเข้าใจ ในการปฏิบติตามคุณธรรมแห่งสมาธิ ด้วยความ ั พร้อม ความเพียร ต่อจิตทีมีอุดมคติและเข้าใจในหลักแห่งวิจารณญาณอย่างแยบคาย ๑๕ เรืองเดียวกัน, หน้า ๕๗-๕๘.