SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
เรื่องน่ารู้ในพระไตรปิฎก
พุทธศาสนสุภาษิต
และคาศัพท์ทางพุทธศาสนา
นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
พระไตรปิฎก
พระไตรปิ ฎก เป็ นคัมภีร์หลักของพระพุทธศาสนา
ที่รวบรวมคาสอนของพระพุทธเจ้า
คาว่าไตร แปลว่า สาม และคาว่าปิ ฎก
แปลว่า ตระกร้า
พระไตรปิ ฎก หมายถึง คัมภีร์ที่บรรจุหลักคา
สอนของพระพุทธศาสนา แบ่งเป็ น ๓ ส่วน คือ พระ
วินัยปิ ฎก พระสุตตันตปิ ฎก และพระอภิธรรมปิ ฎก
ความหมายของพระไตรปิ ฎก
นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ความสาคัญของพระไตรปิ ฎก
ความสาคัญของ พระไตรปิ ฎก คือ
เป็ นมาตรฐานในการตัดสินความรู้ที่ถูกต้อง
ทางพระพุทธศาสนา
จึงถือว่าคัมภีร์พระไตรปิ ฎกเป็ น“ธรรมเจดีย์”
เป็ นปูชนียวัตถุบรรจุธรรมของชาวพุทธ
จึงทาให้พระพุทธศาสนามีหลักและมาตรฐาน
ในการศึกษาและปฏิบัติอย่างเป็ นระบบและมี
เอกภาพมาจนถึงปัจจุบัน
นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
คัมภีร์และโครงสร้างพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
คัมภีร์และโครงสร้างพระไตรปิฎก
• วิภังค์ คือ คัมภีร์ที่จาแนกศีลของภิกษุ-ภิกษุณีที่
มีโทษหนัก-โทษเบา มารยาทอันดีงาม และวิธี
ระงับปัญหาความยุ่งยากในหมู่ภิกษุ แบ่งเป็ น
มหาวิภังค์(ภิกขุวิภังค์) และภิกขุนีวิภังค์
• ขันธกะ คือ คัมภีร์ที่รวบรวมวินัยบัญญัติและ
สิกขาบทที่ปรากฏนอกปาฎิโมกข์ แบ่งเป็ น
มหาวรรคและจูฬวรรค
• ปริวาร คือ ส่วนที่สรุปข้อความ หรือคู่มือที่
ซักซ้อมความรู้ความเข้าใจในพระวินัยปิ ฎก
พระไตรปิ ฎก แบ่งเป็ น ๓ หมวด ดังนี้
๑. พระวินัยปิ ฎก คือ ส่วนที่ว่าด้วย
ศีลของภิกษุ ภิกษุณี รวบรวมขนบธรรมเนียม
ประเพณีและข้อปฏิบัติที่ดีงามในการอยู่ร่วมกัน
เป็ นหมู่คณะ แบ่งเป็ น ๓ หมวดย่อย ดังนี้
นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๒. พระสุตตันตปิฎก คือ ส่วน
ที่ ว่าด้วยพระธรรมเทศนาของ
พระพุทธเจ้า ที่ทรงแสดงแก่บุคคลต่างๆ
แบ่งเป็น ๕ นิกาย ดังนี้
• ทีฆนิกาย คือ หมวดที่ประมูลสูตรขนาด
ยาว
• มัชฌิมนิกาย คือ หมวดที่ประมูลสูตร
ขนาดปานกลาง
• สังยุตตนิกาย คือ หมวดที่ประมูลสูตรโดย
จัดกลุ่มตามเนื้อหา
• อังคุตตรนิกาย คือ หมวดที่ประมวลหมวด
ธรรมจากน้อยไปหามาก
• ขุททกนิกาย คือ หมวดที่ประมวลเรื่อง
เบ็ดเตล็ดต่างๆ ที่มิได้รวบรวมไว้ใน ๔
นิกายข้างต้น
นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๓. พระอภิธรรมปิ ฎก คือ ส่วนที่
ว่าด้วยการอธิบายหลักธรรมในรูปวิชาการ
ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลและเหตุการณ์ แบ่งเป็น ๗
๗ คัมภีร์ ดังนี้
• ธัมมสังคณี คือ คัมภีร์ที่รวมข้อธรรมเป็น
หมวดๆ แล้วแยกอธิบายเป็นประเภทๆ
• วิภังค์ คือ คัมภีร์ที่แยกข้อธรรมในสังคณี
• ธาตุกถา คือ คัมภีร์ที่จัดข้อธรรมลงในขันธ์
ธาตุ อายตนะ
• ปุคคลบัญญัติ คือ คัมภีร์บัญญัติเรียก
บุคคล
• กถาวัตถุ คือ คัมภีร์ที่อธิบายทรรศนะที่
ขัดแย้งกัน โดยเน้นทรรศนะของเถรวาทที่
ถูกต้อง
• ยมก คือ คัมภีร์ที่ยกธรรมเป็นคู่ๆ
• ปัฏฐาน คือ คัมภีร์ที่อธิบายปัจจัยหรือเงื่อนไข
ทางธรรม ๒๔ ประการ
นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๒. เรื่องน่ารู้ในพระไตรปิฎก : จูฬกัมมวิภังคสูตร
จูฬกัมมวิภังคสูตร เป็นพระสูตรที่ว่า
ด้วย กฎแห่งกรรม คนเรามีความแตกต่าง
แตกต่างกัน เพราะกรรม คือผลของการ
กระทาของตนนั่นเอง เป็นเครื่องจาแนก
ไม่ว่าจะเป็นกรรมในอดีตหรือปัจจุบันก็ดี
ดี ทางกาย ทางวาจา ทางใจ ก็ดี กรรม
ย่อมจาแนกให้แตกต่างกันไป
ที่มา: จูฬกัมมวิภังคสูตร ๑๔[๕๗๙-๕๘๐]๒๘๗
นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สุภมาณพ โตเทยยบุตร ได้กราบทูลถาม
พระพุทธเจ้า ซึ่งประะทับอยู่ ณ พระวิหารเชตะวัน ว่า
ว่า เหตุใด มนุษย์ที่เกิดมาจึงแตกต่างกันไป คือ มี
อายุสั้น มีอายุยืน มีโรคมาก มีโรคน้อย มี
ผิวพรรณทราม มีผิวพรรณงาม มีศักดาน้อย มี
ศักดามาก มีโภคะน้อย มีโภคะมาก เกิดในสกุลต่า
ต่า เกิดในสกุลสูง มีปัญญาทราม มีปัญญามาก
มาก ดังนี้
พระพุทธเจ้าได้ตรัสตอบว่า
สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาท
แห่งกรรม ฯ กรรมย่อมจาแนกสัตว์ให้แตกต่างกันไป
ไป ทรงอธิบายในรายละเอียดดังนี้
นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม
พระพุทธเจ้าได้ทรงอธิบายเพื่อตอบปัญหา 7 คู่ดังนี้
ผู้ฆ่าสัตว์
ผู้ไม่ฆ่าสัตว์
ผู้เบียดเบียนสัตว์
ผู้ไม่เบียดเบียนสัตว์
ผู้มักโกรธ
ผู้ไม่มักโกรธ
ผู้มักริษยา
ผู้ไม่มักริษยา
ผู้ไม่ทาบุญให้ทาน
ผู้ทาบุญให้ทาน
ผู้ไม่สุภาพอ่อนน้อม
ผู้สุภาพอ่อนน้อม
ผู้ไม่แสวงธรรมจากพระ
ผู้แสวงธรรมจากพระ
ตายแล้วตกนรก หรือชาตินี้มีอายุสั้น
ตายแล้วขี้นสวรรค์ หรือชาตินี้มีอายุยืน
ตายแล้วตกนรก หรือชาตินี้มีโรคมาก
ตายแล้วขี้นสวรรค์ หรือชาตินี้มีโรคน้อย
ตายแล้วตกนรก หรือชาตินี้มีผิวพรรณทราม
ตายแล้วขี้นสวรรค์ หรือชาตินี้เป็นคนน่าเลื่อมใส(มีผิวงาม)
ตายแล้วตกนรก หรือชาตินี้มีศักดาน้อย
ตายแล้วขี้นสวรรค์ หรือชาตินี้มีศักดามาก
ตายแล้วตกนรก หรือชาตินี้มีโภคะ(โภคทรัพย์)น้อย
ตายแล้วขี้นสวรรค์ หรือชาตินี้มีโภคะ(โภคทรัพย์)มาก
ตายแล้วตกนรก หรือชาตินี้เกิดในสกุลต่า
ตายแล้วขี้นสวรรค์ หรือชาตินี้เกิดในสกุลสูง
ตายแล้วตกนรก หรือชาตินี้มีปัญญาน้อย
ตายแล้วขี้นสวรรค์ หรือชาตินี้มีปัญญามาก
นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๓. พุทธศาสนสุภาษิต
• กมฺมุนา วตฺตตี โลโก : สัตวโลกย่อมเป็นไปตามกรรม
กรรม แปลว่า การกระทา และมักหมายรวมถึง
ผลแห่งการกระทา พระพุทธศาสนาสอนว่า คนเราจะมีชีวิต
เป็นไปอย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับกรรมหรือการกระทาของเรา ดัง
พุทธดารัสที่ว่า
“ ควรพิจารณาโดยเนืองๆ ว่า เรามีกรรมเป็นของ
ตน เป็นผู้รับผลแห่งกรรม มีกรรมเป็นกาเนิด มีกรรม
เป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย เราทากรรมอันใดไว้ดีก็
ตาม ชั่วก็ตาม เราจักเป็นผู้รับผลแห่งกรรมนั้น”
นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
• กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ : ทําดีได้ดี ทําชั่วได้ชั่ว
พระพุทธศาสนามีหลักคาสอนที่สาคัญยิ่งข้อหนึ่งเรียกว่า “กฎแห่งกรรม”
มีความหมายว่า ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว
กรรม แปลว่า การกระทา และวิบาก แปลว่า ผล กรรมวิบาก จึงแปลว่า ผลแห่ง
กรรม มี ๓ ระดับ ดังนี้
๑. ระดับภายในจิตใจหรือคุณภาพของจิต
๒. ระดับบุคลิกภาพและอุปนิสัย
๓. ระดับภายนอกหรือผลทางสังคม
นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
• สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย : การสั่งสมบุญนาสุขมาให้
บุญ แปลว่า ความดีงาม การทาบุญทาได้๑๐ วิธี เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ มีดังนี้
ดังนี้
โดยทั่วไปคนมักให้ความสาคัญกับ ๓ ข้อแรก คือ การให้ทาน การรักษาศีล และการเจริญ
ภาวนาเรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ ๓
การทาบุญย่อมให้ความสุข การให้ (หรือทาน) เป็นการขัดเกลากิเลส ทาให้จิตผ่องใส การรักษา
รักษา
ศีลทาให้เป็นคนดีมีศีลธรรม มีคนรักใคร่นับถือ และไว้วางใจ การเจริญภาวนาช่วยให้จิตใจแน่วแน่
มีสติ
๑. ทาบุญด้วยการให้ ๖. ทาบุญด้วยการเกลี่ยความดีให้ผู้อื่น
๒. ทาบุญด้วยการรักษาศีล ๗. ทาบุญด้วยการยินดีในความดีของผู้อื่น
๓. ทาบุญด้วยการเจริญภาวนา ๘. ทาบุญด้วยการฟังธรรมหาความรู้
๔. ทาบุญด้วยการอ่อนน้อม ๙. ทาบุญด้วยการสั่งสอนธรรมให้ความรู้
๕. ทาบุญด้วยการรับใช้ ๑๐. ทาบุญด้วยการทาความเห็นให้ตรง
นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
• ปูชโก ลภเต ปูชํ วนฺทโก ปฏิวนฺทนํ : ผู้บูชาย่อมได้รับการบุชาตอบ ผู้ไหว้ย่อมได้รับการ
ไหว้ตอบ
บูชา หมายถึง การแสดงความเคารพบุคคลหรือสิ่งที่นับถือ รวมตลอดไปถึงการยกย่อง
เทิดทูนด้วยความเคารพนับถือ อย่างไรก็ตาม การให้เกียรติ การยอมรับ การนับถือนี้เราควร
เดินสายกลาง ไม่แสดงอาการพินอบพิเทาจนเกินควร ไม่กล่าววาจายกย่องสรรเสริญ
เกินงาม จนกลายเป็นการประจบสอพลอ
การบูชาเป็นการแสดงความรู้สึกออกมาให้เห็นเป็นรูปธรรม
การบูชาด้วยวิธีต่างๆ ถือเป็นการแสดงออกซึ่งไมตรีจิต เป็นการเปิด
โอกาสความรู้สึกที่ดี นาไปสู่ความสาเร็จในหน้าที่การงานได้
นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๔. ศัพท์ทางพระพุทธศาสนา: ฌาน-ญาณ
ฌาน หมายถึง ภาวะจิตที่สงบแน่วแน่เนื่องมาจากการเพ่งอารมณ์ ฌานมี ๒ ประเภท
คือ รูปฌาน(ผู้ปฏิบัติกาหนดจิตเพ่งสิ่งที่มีรูปร่างลักษณะ เช่น ไฟ) และอรูปฌาน(ผู้ปฏิบัติ
กาหนดจิตเพ่งสิ่งที่ไม่มีรูปร่าง เช่น อากาศ)
ฌาน แบ่งย่อยออกเป็นอีก ๔ ระดับ เรียกกันว่า ฌาน ๔ คือ
๑. ปฐมฌาน มีองค์ ๕ คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา
๒. ทุติยฌาน มีองค์ ๓ ปีติ สุข เอกัคคตา
๓. ตติยฌาน มีองค์ ๒ สุข เอกัคคตา
๔. จตุตถฌาน มีองค์ ๒ อุเบกขา เอกัคคตา
นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ญาณ หมายถึง การหยั่งรู้หรือกาหนดรู้ คือ การเห็นแจ้ง รู้ชัดในสิ่งทั้งหลายตรงตามความเป็น
จริง เป็นความรู้ความสามารถพิเศษ ญาณ ๓ ได้แก่
๑. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ หยั่งรู้อดีต (ระลึกชาติได้)
๒. จุตูปปาตญาณ คือ หยั่งรู้ปัจจุบัน (เห็นการเวียนว่ายตายเกิดของสัตว์ทั้งหลาย)
๓. อาสวักขยญาฌ คือ หยั่งรู้อนาคต (รู้สูงสุด เป็นความรู้ที่ทาให้สิ้นไปแห่งอาสวกิเลสทั้งหลาย)
ฌาน เป็ นเพียงสมถะกรรมฐาน คือ ทาจิตให้เป็ นสมาธิ
ญาณ จัดเป็ นวิปัสสนา คือ การเห็นแจ้ง รู้จริงตรงตามสภาวะของสิ่งต่างๆ
นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

More Related Content

What's hot

หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
krupeem
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
Anchalee BuddhaBucha
 

What's hot (20)

กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6พุทธประวัติ ส16101 ป.6
พุทธประวัติ ส16101 ป.6
 

Viewers also liked

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
Tongsamut vorasan
 
อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์
Pikcolo Pik
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
Nhui Srr
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
พัน พัน
 

Viewers also liked (9)

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
 
อารยธรรมอินเดียโบราณ
อารยธรรมอินเดียโบราณอารยธรรมอินเดียโบราณ
อารยธรรมอินเดียโบราณ
 
อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์
 
สไลด์ พระไตรปิฎก ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f21-1page
สไลด์  พระไตรปิฎก ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f21-1pageสไลด์  พระไตรปิฎก ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f21-1page
สไลด์ พระไตรปิฎก ป.3+449+dltvp3+55t2soc p03 f21-1page
 
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
พระอภิธรรม ๗ คัมภีร์
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
จิตวิทยาในพระไตรปิฎก
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 

Similar to พระไตรปิฎก

2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
Tongsamut vorasan
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
Tongsamut vorasan
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บรรพต แคไธสง
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
pentanino
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
babyoam
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
sangworn
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
Tongsamut vorasan
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
Kwandjit Boonmak
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
guestf16531
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 

Similar to พระไตรปิฎก (20)

02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจริยธรรม
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
1-tam-roi-tham.pdf
1-tam-roi-tham.pdf1-tam-roi-tham.pdf
1-tam-roi-tham.pdf
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
ภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสารภาษากับการสื่อสาร
ภาษากับการสื่อสาร
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสารหลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
หลวงพ่อทูล วัฏฏะสงสาร
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 

More from พัน พัน

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

พระไตรปิฎก

  • 2. พระไตรปิฎก พระไตรปิ ฎก เป็ นคัมภีร์หลักของพระพุทธศาสนา ที่รวบรวมคาสอนของพระพุทธเจ้า คาว่าไตร แปลว่า สาม และคาว่าปิ ฎก แปลว่า ตระกร้า พระไตรปิ ฎก หมายถึง คัมภีร์ที่บรรจุหลักคา สอนของพระพุทธศาสนา แบ่งเป็ น ๓ ส่วน คือ พระ วินัยปิ ฎก พระสุตตันตปิ ฎก และพระอภิธรรมปิ ฎก ความหมายของพระไตรปิ ฎก นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  • 3. ความสาคัญของพระไตรปิ ฎก ความสาคัญของ พระไตรปิ ฎก คือ เป็ นมาตรฐานในการตัดสินความรู้ที่ถูกต้อง ทางพระพุทธศาสนา จึงถือว่าคัมภีร์พระไตรปิ ฎกเป็ น“ธรรมเจดีย์” เป็ นปูชนียวัตถุบรรจุธรรมของชาวพุทธ จึงทาให้พระพุทธศาสนามีหลักและมาตรฐาน ในการศึกษาและปฏิบัติอย่างเป็ นระบบและมี เอกภาพมาจนถึงปัจจุบัน นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  • 5. คัมภีร์และโครงสร้างพระไตรปิฎก • วิภังค์ คือ คัมภีร์ที่จาแนกศีลของภิกษุ-ภิกษุณีที่ มีโทษหนัก-โทษเบา มารยาทอันดีงาม และวิธี ระงับปัญหาความยุ่งยากในหมู่ภิกษุ แบ่งเป็ น มหาวิภังค์(ภิกขุวิภังค์) และภิกขุนีวิภังค์ • ขันธกะ คือ คัมภีร์ที่รวบรวมวินัยบัญญัติและ สิกขาบทที่ปรากฏนอกปาฎิโมกข์ แบ่งเป็ น มหาวรรคและจูฬวรรค • ปริวาร คือ ส่วนที่สรุปข้อความ หรือคู่มือที่ ซักซ้อมความรู้ความเข้าใจในพระวินัยปิ ฎก พระไตรปิ ฎก แบ่งเป็ น ๓ หมวด ดังนี้ ๑. พระวินัยปิ ฎก คือ ส่วนที่ว่าด้วย ศีลของภิกษุ ภิกษุณี รวบรวมขนบธรรมเนียม ประเพณีและข้อปฏิบัติที่ดีงามในการอยู่ร่วมกัน เป็ นหมู่คณะ แบ่งเป็ น ๓ หมวดย่อย ดังนี้ นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  • 6. ๒. พระสุตตันตปิฎก คือ ส่วน ที่ ว่าด้วยพระธรรมเทศนาของ พระพุทธเจ้า ที่ทรงแสดงแก่บุคคลต่างๆ แบ่งเป็น ๕ นิกาย ดังนี้ • ทีฆนิกาย คือ หมวดที่ประมูลสูตรขนาด ยาว • มัชฌิมนิกาย คือ หมวดที่ประมูลสูตร ขนาดปานกลาง • สังยุตตนิกาย คือ หมวดที่ประมูลสูตรโดย จัดกลุ่มตามเนื้อหา • อังคุตตรนิกาย คือ หมวดที่ประมวลหมวด ธรรมจากน้อยไปหามาก • ขุททกนิกาย คือ หมวดที่ประมวลเรื่อง เบ็ดเตล็ดต่างๆ ที่มิได้รวบรวมไว้ใน ๔ นิกายข้างต้น นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  • 7. ๓. พระอภิธรรมปิ ฎก คือ ส่วนที่ ว่าด้วยการอธิบายหลักธรรมในรูปวิชาการ ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลและเหตุการณ์ แบ่งเป็น ๗ ๗ คัมภีร์ ดังนี้ • ธัมมสังคณี คือ คัมภีร์ที่รวมข้อธรรมเป็น หมวดๆ แล้วแยกอธิบายเป็นประเภทๆ • วิภังค์ คือ คัมภีร์ที่แยกข้อธรรมในสังคณี • ธาตุกถา คือ คัมภีร์ที่จัดข้อธรรมลงในขันธ์ ธาตุ อายตนะ • ปุคคลบัญญัติ คือ คัมภีร์บัญญัติเรียก บุคคล • กถาวัตถุ คือ คัมภีร์ที่อธิบายทรรศนะที่ ขัดแย้งกัน โดยเน้นทรรศนะของเถรวาทที่ ถูกต้อง • ยมก คือ คัมภีร์ที่ยกธรรมเป็นคู่ๆ • ปัฏฐาน คือ คัมภีร์ที่อธิบายปัจจัยหรือเงื่อนไข ทางธรรม ๒๔ ประการ นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  • 8. ๒. เรื่องน่ารู้ในพระไตรปิฎก : จูฬกัมมวิภังคสูตร จูฬกัมมวิภังคสูตร เป็นพระสูตรที่ว่า ด้วย กฎแห่งกรรม คนเรามีความแตกต่าง แตกต่างกัน เพราะกรรม คือผลของการ กระทาของตนนั่นเอง เป็นเครื่องจาแนก ไม่ว่าจะเป็นกรรมในอดีตหรือปัจจุบันก็ดี ดี ทางกาย ทางวาจา ทางใจ ก็ดี กรรม ย่อมจาแนกให้แตกต่างกันไป ที่มา: จูฬกัมมวิภังคสูตร ๑๔[๕๗๙-๕๘๐]๒๘๗ นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  • 9. สุภมาณพ โตเทยยบุตร ได้กราบทูลถาม พระพุทธเจ้า ซึ่งประะทับอยู่ ณ พระวิหารเชตะวัน ว่า ว่า เหตุใด มนุษย์ที่เกิดมาจึงแตกต่างกันไป คือ มี อายุสั้น มีอายุยืน มีโรคมาก มีโรคน้อย มี ผิวพรรณทราม มีผิวพรรณงาม มีศักดาน้อย มี ศักดามาก มีโภคะน้อย มีโภคะมาก เกิดในสกุลต่า ต่า เกิดในสกุลสูง มีปัญญาทราม มีปัญญามาก มาก ดังนี้ พระพุทธเจ้าได้ตรัสตอบว่า สัตว์ทั้งหลายมีกรรมเป็นของตน เป็นทายาท แห่งกรรม ฯ กรรมย่อมจาแนกสัตว์ให้แตกต่างกันไป ไป ทรงอธิบายในรายละเอียดดังนี้ นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม
  • 10. พระพุทธเจ้าได้ทรงอธิบายเพื่อตอบปัญหา 7 คู่ดังนี้ ผู้ฆ่าสัตว์ ผู้ไม่ฆ่าสัตว์ ผู้เบียดเบียนสัตว์ ผู้ไม่เบียดเบียนสัตว์ ผู้มักโกรธ ผู้ไม่มักโกรธ ผู้มักริษยา ผู้ไม่มักริษยา ผู้ไม่ทาบุญให้ทาน ผู้ทาบุญให้ทาน ผู้ไม่สุภาพอ่อนน้อม ผู้สุภาพอ่อนน้อม ผู้ไม่แสวงธรรมจากพระ ผู้แสวงธรรมจากพระ ตายแล้วตกนรก หรือชาตินี้มีอายุสั้น ตายแล้วขี้นสวรรค์ หรือชาตินี้มีอายุยืน ตายแล้วตกนรก หรือชาตินี้มีโรคมาก ตายแล้วขี้นสวรรค์ หรือชาตินี้มีโรคน้อย ตายแล้วตกนรก หรือชาตินี้มีผิวพรรณทราม ตายแล้วขี้นสวรรค์ หรือชาตินี้เป็นคนน่าเลื่อมใส(มีผิวงาม) ตายแล้วตกนรก หรือชาตินี้มีศักดาน้อย ตายแล้วขี้นสวรรค์ หรือชาตินี้มีศักดามาก ตายแล้วตกนรก หรือชาตินี้มีโภคะ(โภคทรัพย์)น้อย ตายแล้วขี้นสวรรค์ หรือชาตินี้มีโภคะ(โภคทรัพย์)มาก ตายแล้วตกนรก หรือชาตินี้เกิดในสกุลต่า ตายแล้วขี้นสวรรค์ หรือชาตินี้เกิดในสกุลสูง ตายแล้วตกนรก หรือชาตินี้มีปัญญาน้อย ตายแล้วขี้นสวรรค์ หรือชาตินี้มีปัญญามาก นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  • 11. ๓. พุทธศาสนสุภาษิต • กมฺมุนา วตฺตตี โลโก : สัตวโลกย่อมเป็นไปตามกรรม กรรม แปลว่า การกระทา และมักหมายรวมถึง ผลแห่งการกระทา พระพุทธศาสนาสอนว่า คนเราจะมีชีวิต เป็นไปอย่างไรนั้น ขึ้นอยู่กับกรรมหรือการกระทาของเรา ดัง พุทธดารัสที่ว่า “ ควรพิจารณาโดยเนืองๆ ว่า เรามีกรรมเป็นของ ตน เป็นผู้รับผลแห่งกรรม มีกรรมเป็นกาเนิด มีกรรม เป็นเผ่าพันธุ์ มีกรรมเป็นที่พึ่งอาศัย เราทากรรมอันใดไว้ดีก็ ตาม ชั่วก็ตาม เราจักเป็นผู้รับผลแห่งกรรมนั้น” นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  • 12. • กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ ปาปกํ : ทําดีได้ดี ทําชั่วได้ชั่ว พระพุทธศาสนามีหลักคาสอนที่สาคัญยิ่งข้อหนึ่งเรียกว่า “กฎแห่งกรรม” มีความหมายว่า ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว กรรม แปลว่า การกระทา และวิบาก แปลว่า ผล กรรมวิบาก จึงแปลว่า ผลแห่ง กรรม มี ๓ ระดับ ดังนี้ ๑. ระดับภายในจิตใจหรือคุณภาพของจิต ๒. ระดับบุคลิกภาพและอุปนิสัย ๓. ระดับภายนอกหรือผลทางสังคม นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  • 13. • สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย : การสั่งสมบุญนาสุขมาให้ บุญ แปลว่า ความดีงาม การทาบุญทาได้๑๐ วิธี เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ ๑๐ มีดังนี้ ดังนี้ โดยทั่วไปคนมักให้ความสาคัญกับ ๓ ข้อแรก คือ การให้ทาน การรักษาศีล และการเจริญ ภาวนาเรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ ๓ การทาบุญย่อมให้ความสุข การให้ (หรือทาน) เป็นการขัดเกลากิเลส ทาให้จิตผ่องใส การรักษา รักษา ศีลทาให้เป็นคนดีมีศีลธรรม มีคนรักใคร่นับถือ และไว้วางใจ การเจริญภาวนาช่วยให้จิตใจแน่วแน่ มีสติ ๑. ทาบุญด้วยการให้ ๖. ทาบุญด้วยการเกลี่ยความดีให้ผู้อื่น ๒. ทาบุญด้วยการรักษาศีล ๗. ทาบุญด้วยการยินดีในความดีของผู้อื่น ๓. ทาบุญด้วยการเจริญภาวนา ๘. ทาบุญด้วยการฟังธรรมหาความรู้ ๔. ทาบุญด้วยการอ่อนน้อม ๙. ทาบุญด้วยการสั่งสอนธรรมให้ความรู้ ๕. ทาบุญด้วยการรับใช้ ๑๐. ทาบุญด้วยการทาความเห็นให้ตรง นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  • 14. • ปูชโก ลภเต ปูชํ วนฺทโก ปฏิวนฺทนํ : ผู้บูชาย่อมได้รับการบุชาตอบ ผู้ไหว้ย่อมได้รับการ ไหว้ตอบ บูชา หมายถึง การแสดงความเคารพบุคคลหรือสิ่งที่นับถือ รวมตลอดไปถึงการยกย่อง เทิดทูนด้วยความเคารพนับถือ อย่างไรก็ตาม การให้เกียรติ การยอมรับ การนับถือนี้เราควร เดินสายกลาง ไม่แสดงอาการพินอบพิเทาจนเกินควร ไม่กล่าววาจายกย่องสรรเสริญ เกินงาม จนกลายเป็นการประจบสอพลอ การบูชาเป็นการแสดงความรู้สึกออกมาให้เห็นเป็นรูปธรรม การบูชาด้วยวิธีต่างๆ ถือเป็นการแสดงออกซึ่งไมตรีจิต เป็นการเปิด โอกาสความรู้สึกที่ดี นาไปสู่ความสาเร็จในหน้าที่การงานได้ นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  • 15. ๔. ศัพท์ทางพระพุทธศาสนา: ฌาน-ญาณ ฌาน หมายถึง ภาวะจิตที่สงบแน่วแน่เนื่องมาจากการเพ่งอารมณ์ ฌานมี ๒ ประเภท คือ รูปฌาน(ผู้ปฏิบัติกาหนดจิตเพ่งสิ่งที่มีรูปร่างลักษณะ เช่น ไฟ) และอรูปฌาน(ผู้ปฏิบัติ กาหนดจิตเพ่งสิ่งที่ไม่มีรูปร่าง เช่น อากาศ) ฌาน แบ่งย่อยออกเป็นอีก ๔ ระดับ เรียกกันว่า ฌาน ๔ คือ ๑. ปฐมฌาน มีองค์ ๕ คือ วิตก วิจาร ปีติ สุข เอกัคคตา ๒. ทุติยฌาน มีองค์ ๓ ปีติ สุข เอกัคคตา ๓. ตติยฌาน มีองค์ ๒ สุข เอกัคคตา ๔. จตุตถฌาน มีองค์ ๒ อุเบกขา เอกัคคตา นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  • 16. ญาณ หมายถึง การหยั่งรู้หรือกาหนดรู้ คือ การเห็นแจ้ง รู้ชัดในสิ่งทั้งหลายตรงตามความเป็น จริง เป็นความรู้ความสามารถพิเศษ ญาณ ๓ ได้แก่ ๑. ปุพเพนิวาสานุสติญาณ คือ หยั่งรู้อดีต (ระลึกชาติได้) ๒. จุตูปปาตญาณ คือ หยั่งรู้ปัจจุบัน (เห็นการเวียนว่ายตายเกิดของสัตว์ทั้งหลาย) ๓. อาสวักขยญาฌ คือ หยั่งรู้อนาคต (รู้สูงสุด เป็นความรู้ที่ทาให้สิ้นไปแห่งอาสวกิเลสทั้งหลาย) ฌาน เป็ นเพียงสมถะกรรมฐาน คือ ทาจิตให้เป็ นสมาธิ ญาณ จัดเป็ นวิปัสสนา คือ การเห็นแจ้ง รู้จริงตรงตามสภาวะของสิ่งต่างๆ นางสาวพจีกานต์ หว่านพืช กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม