SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
มหาชาติ เป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ของพระโพธิสัตว์ที่ได้เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดรและ 
เป็นพระชาติสุดท้ายก่อนจะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คนไทยรู้จักและคุ้ยเคยกับ 
มหาชาติมาตัง้แต่สมัยสุโขทัย ดังที่ปรากฏในหลักฐานในจารึกนครชุม และในสมัย 
อยุธยาก็ได้มีการแต่งและสวดมหาชาติคาหลวงในวันธรรมสวนะ ส่วนการเทศน์ 
มหาชาติเป็นประเพณีที่สาคัญในทุกท้องถิ่นและมีความเชื่อกันว่า การฟังเทศน์มหาชาติ 
จบภายในวันเดียวจะได้รับอานิสงส์มาก 
ผู้แต่ง สมเดจ็พระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว 
กวีสานักวัดถนน 
กวีวัดสังขจาย 
พระเทพโมลี (กลิ่น) 
เจ้าพระยาพระคลัง (หน) 
ลักษณะคา ประพันธ์ความเรียงร้อยแก้ว ร่ายยาว กลบท กลอนพืน้บ้าน 
จุดมุ่งหมายในการแต่ง เพื่อใช้ในการสวด เทศนาสงั่สอน
ความเป็นมา 
เวสสันดรชาดกนีเ้ป็นเรื่องใหญ่จัดรวมไว้ในมหานิบาตชาดกรวมเรื่องใหญ่ 10 เรื่องที่ 
เรียกกันว่า ทศชาติแต่อีก 9 เรื่อง ไม่เรียกว่ามหาชาติคงเรียกแต่เวสสันดรชาดกเรื่องเดียว 
ว่า มหาชาติข้อนีส้มเดจ็พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพโปรดประทานอธิบาย 
ว่า พุทธศาสนิกชนชาวไทยตลอดจนประเทศใกล้เคียงนับถือกันมาแต่โบราณว่าเรื่องมหา 
เวสสันดรชาดก สาคัญกว่าชาดกอื่น ๆ ด้วยปรากฏบารมีของพระโพธิสัตว์บริบูรณ์ในเรื่องมหา 
เวสสันดรชาดกทัง้ 10 บารมี 
อานิสงส์การฟังเทศน์มหาชาติการตัง้ใจฟังเทศน์มหาชาติให้จบเพียงวันเดียวครบ 
บริบูรณ์ทัง้ 13 กัณฑ์จะเป็นเหตุให้สาเร็จความปรารถนาทุกประการดังนี้ 
1. เมื่อตายจากโลกนีแ้ล้ว จะมีโอกาสได้พบพระพุทธเจ้า พระนามว่า ศรีอริยเมต 
ไตย ในอนาคต 
2. เมื่อดับขันธ์ไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์ จะเสวยทิพยสมบัติมโหฬาร 
3. เมื่อตายไปแล้วจะไม่ตกนรก 
4. เมื่อถึงยุคพระพุทธเจ้าพระนามว่า ศรีอริยเมตไตย จะได้จุติไปเกิดเป็นมนุษย์ 
5. ได้ฟังธรรมต่อหน้าพระพักตร์ของพระพุทธองค์ จะได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นพระ 
อริยบุคคล ในบวรพุทธศาสนา
มูลเหตุการณ์เล่าเรื่องมหาชาติ 
คัมภีร์ธัมมบทขุททกนิกายกล่าวว่า เรื่องเวสสันดรชาดกเป็นพุทธดารัสที่ 
สมเด็จพระบรมศาสดาตรัสแก่ภิกษุสงฆ์ ขีณาสพสองหมื่นรูป และพระประยูรญาติที่นิ 
โครธารามหาวิหารในนครกบิลพัสด์ุในคราวเสด็จโปรดพระเจ้าสุทโธทนะพุทธ 
บิดา และพระวงศ์ศากยะบรรดาพระประยูรญาติไม่ปรารถนาจะทาความเคารพ 
พระองค์ ด้วยเห็นว่าอายุน้อยกว่า 
พระองค์ทรงทราบความคิดนีจึ้งทรงแสดงยมกปกฏิหาริ ย์โดยเสด็จขึน้เบือ้ง 
นภาอากาศแล้วปล่อยให้ฝุ่นละอองธุลีพระบาทตกลงสู่เศียรของ พระประยูรญาติ 
ทัง้หลาย พระประยูรญาติจึงได้ละทงิ้ทิฐิแล้วถวายบังคมพระพุทธเจ้า ขณะนัน้ได้เกิด 
ฝนโบกขรพรรษ พระภิกษุทัง้หลายเห็นเป็นอัศจรรย์จึงได้ทูลถาม พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า 
ฝนชนิดนีเ้คยตกมาแล้วในอดีต แล้วจึงทรงแสดงธรรมเรื่องมหาเวสสันดรชาดก หรือ 
เรื่องมหาชาติให้แก่พระภิกษุและพระประยูรญาติ 
มหาเวชสันดรชาดก เป็นชาดกที่มีความสาคัญมากกว่าชาดกอื่น ๆ เพราะพระ 
บารมีของพระโพธิสัตว์ได้บาเพ็ญบริบูรณ์ในพระชาตินี้มหาเวสสันดรชาดกทัง้ 10 
บารมี คือ
บารมี = ทรงครองเพศบรรพชิตตลอดเวลาที่ประทับ ณ เขาวงกต 
ปัญญาบารมี = ทรงบาเพ็ญภาวนามัยปัญญาตลอดเวลาที่ทรงผนวช 
วิริยาบารมี = ทรงปฏิบัติมิได้ย่อหย่อน 
สัจจบารมี= ทรงลนั่พระวาจายกกุมารให้ชูชก เมื่อพระกุมารหลบหนีก็ทรงติดตามให้ 
ขันติบารมี= ทรงอดทนต่อความยากลาบากต่าง ๆ ขณะที่เดินทางมายังเขา 
วงกต และตลอดเวลาที่ประทับ ณ ที่นั่น แม้แต่ตอนที่ทอดพระเนตรเห็นชูชกเฆี่ยนตีพระ 
กุมารอย่างทารุณพระองค์ก็ทรงข่ม พระทัยไว้ได้ 
เมตตาบารมี = เมื่อพราหมณ์เมืองกลิงคราษฎร์ มาทูลขอช้างปัจจัยนาค เนื่องจาก 
เมืองกลิงคราษฎร์ฝนแล้ง ก็ทรงพระเมตตตาประทานให้ และเมื่อชูชกมาทูลขอสอง 
กุมาร อ้างว่าตนได้รับความลาบากต่าง ๆ พระองค์ก็มีเมตตาประทานให้ด้วย 
อุเบกขาบารมี = เมื่อทรงเห็นสองกุมารถูกชูชกเฆี่ยนตี วิงวอนให้พระองค์ 
ช่วยเหลือ ทรงบาเพ็ญอุเบกขา คือทรงวางเฉย เพราะทรงเห็นว่าได้ประทานเป็นสิทธิ์ขาดแก่ 
ชูชกไปแล้ว 
อธิษฐานบารมี= คือทรงตัง้มนั่ที่จะบาเพ็ญบารมีเพื่อให้สาเร็จโพธิญาณาเบือ้งหน้าก็ 
มิได้ทรง ย่อท้อ จนพระอินทร์ต้องประทานความช่วยเหลือต่าง ๆ เพราะพระทัยอันแน่วแน่ 
ของพระองค์
เนื้อเรื่อง 
หลังจากสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงยมกปาฏิหารย์ ทาให้ 
พระประยูรญาติละทิฐิยอมถวายบังคม ก็บังเกิดฝนโบกขรพรรษ พระภิกษุ 
ทัง้หลายจึงได้ทูลถามพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ตรัสเล่าว่า ฝนชนิดนีเ้คยตก 
มาแล้วในอดีต พระองค์จึงทรงแสดงธรรมเรื่องมหาเวสสันดรชาดก หรือเรื่อง 
มหาชาติทัง้ 13 กัณฑ์ตามลาดับ ดังนี้
กัณฑ์ที่ 1 ทศพรา พระอินทร์ประสาทพรแก่พระนางผุสดีก่อนที่จะจุติลงมาเป็นพระ 
ราชมารดาของพระเวสสันดร แต่ปางก่อนนัน้ผุสดีเทวีเสวยชาติเป็นอัครมเหสีของพระ 
อินทร์เมื่อจะสิน้พระชนมายุจึงขอกัณฑ์ทศพรจากพระอินทร์ได้ 10 ประการ ทัง้ยังเคย 
โปรยผงจันทร์แดง ถวายพระวิปัสสีพุทธเจ้าและอธิฐานให้ได้เกิดเป็นมารดาพระพุทธเจ้า 
ด้วย พร 10 ประการนัน้มีดังนี้ 
1. ขอให้เกิดในกรุงมัททราช แคว้นสีพี 
2. ขอให้มีดวงเนตรคมงามและดาขลับดงั่ลูกเนือ้ทราย 
3. ขอให้ควิ้คมขาดงั่สร้อยคอนกยูง 
4. ขอให้ได้นาม "ผุสดี" ดังภพเดิม 
5. ขอให้พระโอรสเกริกเกียรติที่สุดในชมพูทวีป 
6. ขอให้พระครรภ์งาม ไม่ป่องนูนดงั่สตรีสามัญ 
7. ขอให้พระถันเปล่งปลงั่งดงามไม่ยานคล้อยลง 
8. ขอให้เส้นพระเกศาดาขลับตลอดชาติ 
9. ขอให้ผิวพรรณละเอียดบริสุทธิ์ดุจทองคาธรรมชาติ 
10. ขอให้ได้ปลดปล่อยนักโทษที่ต้องอาญาประหารได้
กัณฑ์ที่ 2 หิมพานต์พระนางผุสดีจุติลงมาเป็นราชธิดาของพระเจ้ามัททราช เมื่อ 
เจริญชนม์ได้ 16 ชันษา จึงได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้ากรุงสญชัยแห่งสีวิรัฐนคร ต่อมา 
ได้ประสูติพระโอรสนามว่า "เวสสันดร" ในวันที่ประสูตินัน้ได้มีนางช้างฉนัททันต์ตกลูก 
เป็นช้างเผือกขาวบริสุทธิ์ จึงได้นามาไว้ในโรงช้างต้นคู่บารมี ให้นามว่า "ปัจจัย 
นาค" เมื่อพระเวสสันดรเจริญชนม์ 16 พรรษา พระราชบิดาก็ยกราชสมบัติให้ 
ครอบครองและทรงอภิเษกกับนางมัทรี พระราชธิดาราชวงศ์มัททราช มีพระโอรส 
ชื่อ ชาลีพระธิดาชื่อกัณหา พระองค์ได้สร้างโรงทาน บริจาคทานแก่ผู้เข็ญใจ ต่อมา 
พระจ้ากาลิงคะแห่งนครกลิงคราษฎร์ ได้ส่งพราหมณ์มาขอพระราชทานช้างปัจจัยนาค 
เพื่อให้ฝนตกในบ้านเมืองที่แห้ง แล้งกันดาร พระองค์จึงพระราชทานช้างปัจจัยนาค 
ให้แก่พระเจ้ากาลิงคะ ชาวกรุงสัญชัยไม่พอใจที่พระราชทานช้างคู่บ้านคู่เมืองไป จึง 
เนรเทศพระเวสสันดรออกนอกพระนคร
กัณฑ์ที่ 3 ทานกัณฑ์พระเวสสันดรทรงมหาสัตตสดกทาน คือ การแจกทานครัง้ 
ยิ่งใหญ่ก่อนที่พระเวสสันดรพร้อมด้วยพระนางมัทรี ชาลีและกัณหาออกจากพระนคร จึง 
ทูลขอพระราชทานโอกาสบาเพ็ญมหาสัตตสดกทาน คือ การให้ทานครัง้ยิ่งใหญ่อัน 
ได้แก่ช้าง ม้า รถ โคนม นารีทาสีทาสา รวมทัง้สุราบาน อย่างละ 700 
กัณฑ์ที่ 4 วนประเวศน์เป็นกัณฑ์ที่สี่กษัตริย์เดินทางสู่เขาวงกต เมื่อเดินทาง 
ถึงนครเจตราชทัง้สี่กษัตริย์จึงแวะเข้าประทับหน้าศาลาพระนคร กษัตริย์ผู้ครองนครเจต 
ราชจึงทูลเสด็จครองเมือง แต่พระเวสสันดรทรงปฏิบัติ กษัตริย์เจตราชจึงมอบหมายให้ 
พรานเจตบุตรผู้มีความเชี่ยวชาญชานาญป่าเป็นผู้ รักษาประตูป่าไม้กษัตริย์ทัง้ 4 
พระองค์ปลอดภัย และเมื่อเสด็จถึงเขาวงกตได้พบอาศรม ซึ่งท้าววิษณุกรรมเนรมิตตาม 
พระบัญชาของพระอินทร์กษัตริย์ทัง้สี่จึงทรงผนวชเป็นฤาษีพานักในอาศรมสืบมา
กัณฑ์ที่ 5 ชูชก ในแคว้นกาลิงคะมีพราหมณ์แก่ชื่อชูชกพานักในบ้านทุนวิฐะเที่ยว 
ขอทานตามเมือง ต่าง ๆ เมื่อได้เงินถึง 100 กหาปณะ จึงนาไปฝากไว้กับพราหมณ์ผัวเมีย 
แล้วออกเดินทางขอทานต่อไป เมื่อเห็นว่าชูชกหายไปนานจึงได้นาเงินไปใช้เป็นการ 
ส่วนตัว เมื่อชูชกเดินทางมาทวงเงินคืนจึงยกนางอมิตดาลูกสาวให้แก่ชูกชก นางอมิตดา 
เมื่อมาอยู่ร่วมกับชูชกได้ทาหน้าที่ของภรรยาที่ดีทาให้ชายในหมู่บ้านเปรียบเทียบกับ 
ภรรยาของตน หญิงในหมู่บ้านจึงเกลียดชังและรุมทาร้ายทุบตีนางอมิตดา ชชูกจึง 
เดินทางไปทูลขอกัณหาชาลีเพื่อมาเป็นทาสรับใช้ เมื่อเดินทางมาถึงเขาวงกตก็ถูก 
ขัดขวางจากพรานเจตบุตรผู้รักษาประตูป่า 
กัณฑ์ที่ 6 จุลพน พรานเจตบุตรหลงกลชูชก ที่ได้ชูกลักพริกขิงให้พรานดูอ้าง 
ว่าเป็นพระราชสาสน์ของพระเจ้ากรุงสญชัยจะนาไปถวายพระเวสสันดร พรานเจตบุตรจึง 
ต้อนรับและเลีย้งดูชูชกเป็นอย่างดีและได้พาไปยังต้นทางที่จะ ไปอาศรมฤาษี
กัณฑ์ที่ 7 มหาพน เมื่อถึงอาศรมได้พบกับอจตุฤาษีชกูชกใช้คารมหลอกล่อจนอจตุฤาษี 
ให้ที่พักหนงึ่คืนและบอกเส้นทางไปยังอาศรมพระ เวสสันดร พร้อมพรรณนาหมู่สัตว์และ 
พรรณไม้ตามเส้นทางให้ชูชกฟัง 
กัณฑ์ที่ 8 กัณฑ์กุมาร เป็นกัณฑ์ที่พระเวสสันดรทรงให้ทานสองโอรสแก่เฒา่ชู 
ชก พระนางมัทรีฝันร้ายเหมือนบอกเหตุแห่งการพลัดพราก รุ่งเช้าเมื่อพระนางมัทรีเข้าป่า 
หาอาหารแล้ว ชูชกจึงเข้าเฝ้าทูลขอสองกุมาร สองกุมารลงไปซ่อนตัวอยู่ที่สระ พระ 
เวสสันดรจึงเสด็จติดตามหาสองกุมารแล้วมอบให้แก่ชูชก 
กัณฑ์ที่ 9 กัณฑ์มัทรีพระนางมัทรีเดินเข้าไปหาผลไม้ในป่าลึกจนคล้อยเย็นจึง 
เดนทางกลับอาศรม แต่มีเทวดาแปลงกายเป็นเสือนอนขวางทางจนค่า เมื่อกลับถึงอาศรม 
ไม่พบโอรสธิดาและพระเวสสันดรได้กล่าวว่านางนอกใจ พระนางมัทรีจึงออกเที่ยวหาโอรส 
ธิดาและกลับมาสิน้สติต่อเบือ้งพระพักตร์พระองค์ทรงตกพรทัยลืมตนว่าเป็นดาบสจึงทรง 
เข้าอุ้มพระนางมัทรีและทรงกันแสง เมื่อพระนางมัทรีฟื้นจึงถวายบังคมประทานโทษ พระ 
เวสสันดรจึงบอกความจริงว่าได้ประทานโอรสธิดาแก่ชูชกแล้ว หากชีวิตไม่สิน้คงจะได้พบ 
กัน พระนางมัทรีจึงได้ทรงอนุโมทนาในปิยบุตรทานนัน้
กัณฑ์ที่ 10 สักรบรรพ พระอินทร์เกรงว่าพระเวสสันดรจะประทานพระนางมัทรีให้แก่ 
ผู้ที่มาขอ จึงแปลเป็นพราหมณ์เพื่อมาทูลขอพระนางมัทรีพระเวสสันดรจึงประทานให้ 
พระนางมัทรีก็ยินดีอนุโมทนาเพื่อร่วมทานบารมีให้ สาเร็จพระสัมโพธิญาณ เป็นเหตุให้ 
เกิดแผ่นดินไหวสะท้าน พระอินทร์ในร่างพราหมณ์จึงฝากพระนางมัทรีไว้ยังไม่รับ 
ไป แล้วตรัสบอกความจริงและถวายคืนพร้อมถวายพระพร 8 ประการ 
กัณฑ์ที่ 11 มหาราช เมื่อเดินทางผ่านป่าใหญ่ชูชกจะผูกสองกุมารไว้ที่โคน 
ต้นไม้ส่วนตนเองปีนขึน้ไปนอนต้นไม้เหล่าเทพเทวดาจึงแปลงร่างลงมาปกป้องสอง 
กุมารจนเดินทางถึงกรุงสีพีพระเจ้ากรุงสีพีเกิดนิมิตฝันตามคาทานายนัน้นามายัง 
ความปีติปราโมทย์ เมื่อเสด็จลงหน้าลานหลวงตอนรุ่งเช้า ทอดพระเนตรเห็นชูชกและ 
กุมารทัง้สองพระองค์ทรงทราบความจริงจึงพระราชทานค่าไถ่คืน ต่อมาชูชกก็ถึงแก่ 
ความตายเพราะกินอาหารมากเกินขนาดจนไม่ย่อย พระชาลีจึงได้ทูลขอให้ไปรับพระ 
บิดาพระมารดานิวัติพระนคร ในขณะเดียวกันเจ้านครลิงคราษฏร์ได้คืนช้างปัจจัยนาค 
แก่นครสีพี
กัณฑ์ที่ 12 ฉกษัตริย์พระเจ้ากรุงสญชัยใช้เวลา 1 เดือน กับ 23 วัน จงึเดินทางถึงเขา 
วงกต เสียงโห่ร้องของทหารทัง้ 4 เหล่า ทาให้พระเวสสันดรทรงคิดว่าเป็นข้าศึกมาโจมจี 
นครสีพีจึงชวนพระนางมัทรีขึน้ไปแอบดูที่ยอดเขา พระนางมัทรีทรงมองเห็นกองทัพ 
พระราชบิดาจึงได้ตรัสทูลพระเวสสันดร และเมื่อทัง้หกกษัตริย์ได้พบกันทรงกันแสงสุด 
ประมาณ รวมทัง้ทหารเหล่าทัพทาให้ป่าใหญ่สนนั่ครั่นครืน พระอินทร์จึงได้ทรงบันดาล 
ให้ฝนโบกขรพรรษตกลงมาประพรมกษัตริย์ให้หายเศร้าโศก และฟื้นพระองค์ 
กัณฑ์ที่ 13 นครกัณฑ์พระเจ้ากรุงสญชัยตรัสสารภาพผิด พระเวสสันดรจึง 
ทรงลาผนวชพร้อมทัง้พระนางมัทรีและเสด็จกลับสู่สีพีนคร เมื่อเสด็จถงึจึงรับสงั่ให้ 
ชาวเมืองปล่อยสัตว์ที่กักขัง ครัน้ยามราตรีพระเวสสันดรทรงปริวิตกว่า รุ่งเช้าประชาชน 
จะแตกตื่นมารับบริจาคทาน พระองค์จะประทานสิ่งใดให้แก่ประชาชน ท้าวโกสีย์ได้ 
ทราบจึงบันดาลให้มีฝนแก้ว 7 ประการ ตกลงมาในนครสีพีสูงถึงหน้าแข้ง พระเวสสันดร 
จึงทรงประกาศให้ประชาชนมาขนเอาไปตามปรารถนา ที่เหลือให้ขนเข้าพระคลังหลวง 
ในกาลต่อมาพระเวสสันดรเถลิงราชสมบัติปกครองนครสีพีโดย 
ทศพิธราชธรรม บ้านเมืองร่มเย็นเป็นสุขตลอดพระชนมายุ
มหาเวสสันดรชาดก

More Related Content

What's hot

สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีWatcharapol Wiboolyasarin
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายenksodsoon
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒Manas Panjai
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดTong Thitiphong
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย ssuserd40879
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย Gain Gpk
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาChinnakorn Pawannay
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรYosiri
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 

What's hot (20)

สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
ลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่ายลิลิตตะเลงพ่าย
ลิลิตตะเลงพ่าย
 
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
ข้อสอบ O net ภาษาไทย ม.๓ ชุด ๒
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัดพระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
พระมหาชนกพร้อมแบบฝึกหัด
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
หน่วยที่ 10 โคลงนิราศนรินทร์
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธาใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
ใบความรู้เรื่อมัทนะพาธา
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
กฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎรกฎหมายทะเบียนราษฎร
กฎหมายทะเบียนราษฎร
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 

Similar to มหาเวสสันดรชาดก

แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับnuttawon
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์A'mp Minoz
 
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1ssuserf72d20
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชChoengchai Rattanachai
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิลSirinoot
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิลSirinoot
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติgueste13f2b
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...Tongsamut vorasan
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัยsangworn
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์sangworn
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยRung Kru
 

Similar to มหาเวสสันดรชาดก (20)

แผ่นพับ
แผ่นพับแผ่นพับ
แผ่นพับ
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
 
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
 
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราชสมเด็จพระนาราย์มหาราช
สมเด็จพระนาราย์มหาราช
 
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราชพ่อขุนรามคำแหงมหาราช
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราชเล่มที่ 7  สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
เล่มที่ 7 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติ
 
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช   พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช พระพุทธเจ้าสอนอะไร What did the buddha t...
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
 

More from ณรงค์ศักดิ์ กาหลง

สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557ณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงหน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการหน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายหน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายณรงค์ศักดิ์ กาหลง
 

More from ณรงค์ศักดิ์ กาหลง (20)

คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์คำราชาศัพท์
คำราชาศัพท์
 
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงานเรียบร้อย กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
สรุปรายงาน กตปน 12 มีนาคม 2 2557
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
 
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทยการใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
การใช้คำและกลุ่มคำในภาษาไทย
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลงหน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
หน่วยที่ 8 การแต่งคำประพันธ์ประเภทโคลง
 
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการหน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
หน่วยที่ 7 การเขียนสื่อสารสารในการเขียนโครงการ
 
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบายหน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
หน่วยที่ 6 การเขียนสื่อสารสารในการอธิบาย
 
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่านหน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
หน่วยที่ 5 การรับสารจากการอ่าน
 
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปรายหน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
 
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
หน่วยที่ 3 การฟังและการดูหน่วยที่ 3 การฟังและการดู
หน่วยที่ 3 การฟังและการดู
 
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
หน่วยที่ 2 ใช้คำหน่วยที่ 2 ใช้คำ
หน่วยที่ 2 ใช้คำ
 
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบIS1_สมุนไพรลูกประคบ
IS1_สมุนไพรลูกประคบ
 

มหาเวสสันดรชาดก

  • 1.
  • 2.
  • 3. มหาชาติ เป็นชาติที่ยิ่งใหญ่ของพระโพธิสัตว์ที่ได้เสวยพระชาติเป็นพระเวสสันดรและ เป็นพระชาติสุดท้ายก่อนจะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า คนไทยรู้จักและคุ้ยเคยกับ มหาชาติมาตัง้แต่สมัยสุโขทัย ดังที่ปรากฏในหลักฐานในจารึกนครชุม และในสมัย อยุธยาก็ได้มีการแต่งและสวดมหาชาติคาหลวงในวันธรรมสวนะ ส่วนการเทศน์ มหาชาติเป็นประเพณีที่สาคัญในทุกท้องถิ่นและมีความเชื่อกันว่า การฟังเทศน์มหาชาติ จบภายในวันเดียวจะได้รับอานิสงส์มาก ผู้แต่ง สมเดจ็พระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กวีสานักวัดถนน กวีวัดสังขจาย พระเทพโมลี (กลิ่น) เจ้าพระยาพระคลัง (หน) ลักษณะคา ประพันธ์ความเรียงร้อยแก้ว ร่ายยาว กลบท กลอนพืน้บ้าน จุดมุ่งหมายในการแต่ง เพื่อใช้ในการสวด เทศนาสงั่สอน
  • 4. ความเป็นมา เวสสันดรชาดกนีเ้ป็นเรื่องใหญ่จัดรวมไว้ในมหานิบาตชาดกรวมเรื่องใหญ่ 10 เรื่องที่ เรียกกันว่า ทศชาติแต่อีก 9 เรื่อง ไม่เรียกว่ามหาชาติคงเรียกแต่เวสสันดรชาดกเรื่องเดียว ว่า มหาชาติข้อนีส้มเดจ็พระเจ้าบรมวงศ์เธอกรมพระยาดารงราชานุภาพโปรดประทานอธิบาย ว่า พุทธศาสนิกชนชาวไทยตลอดจนประเทศใกล้เคียงนับถือกันมาแต่โบราณว่าเรื่องมหา เวสสันดรชาดก สาคัญกว่าชาดกอื่น ๆ ด้วยปรากฏบารมีของพระโพธิสัตว์บริบูรณ์ในเรื่องมหา เวสสันดรชาดกทัง้ 10 บารมี อานิสงส์การฟังเทศน์มหาชาติการตัง้ใจฟังเทศน์มหาชาติให้จบเพียงวันเดียวครบ บริบูรณ์ทัง้ 13 กัณฑ์จะเป็นเหตุให้สาเร็จความปรารถนาทุกประการดังนี้ 1. เมื่อตายจากโลกนีแ้ล้ว จะมีโอกาสได้พบพระพุทธเจ้า พระนามว่า ศรีอริยเมต ไตย ในอนาคต 2. เมื่อดับขันธ์ไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์ จะเสวยทิพยสมบัติมโหฬาร 3. เมื่อตายไปแล้วจะไม่ตกนรก 4. เมื่อถึงยุคพระพุทธเจ้าพระนามว่า ศรีอริยเมตไตย จะได้จุติไปเกิดเป็นมนุษย์ 5. ได้ฟังธรรมต่อหน้าพระพักตร์ของพระพุทธองค์ จะได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นพระ อริยบุคคล ในบวรพุทธศาสนา
  • 5. มูลเหตุการณ์เล่าเรื่องมหาชาติ คัมภีร์ธัมมบทขุททกนิกายกล่าวว่า เรื่องเวสสันดรชาดกเป็นพุทธดารัสที่ สมเด็จพระบรมศาสดาตรัสแก่ภิกษุสงฆ์ ขีณาสพสองหมื่นรูป และพระประยูรญาติที่นิ โครธารามหาวิหารในนครกบิลพัสด์ุในคราวเสด็จโปรดพระเจ้าสุทโธทนะพุทธ บิดา และพระวงศ์ศากยะบรรดาพระประยูรญาติไม่ปรารถนาจะทาความเคารพ พระองค์ ด้วยเห็นว่าอายุน้อยกว่า พระองค์ทรงทราบความคิดนีจึ้งทรงแสดงยมกปกฏิหาริ ย์โดยเสด็จขึน้เบือ้ง นภาอากาศแล้วปล่อยให้ฝุ่นละอองธุลีพระบาทตกลงสู่เศียรของ พระประยูรญาติ ทัง้หลาย พระประยูรญาติจึงได้ละทงิ้ทิฐิแล้วถวายบังคมพระพุทธเจ้า ขณะนัน้ได้เกิด ฝนโบกขรพรรษ พระภิกษุทัง้หลายเห็นเป็นอัศจรรย์จึงได้ทูลถาม พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า ฝนชนิดนีเ้คยตกมาแล้วในอดีต แล้วจึงทรงแสดงธรรมเรื่องมหาเวสสันดรชาดก หรือ เรื่องมหาชาติให้แก่พระภิกษุและพระประยูรญาติ มหาเวชสันดรชาดก เป็นชาดกที่มีความสาคัญมากกว่าชาดกอื่น ๆ เพราะพระ บารมีของพระโพธิสัตว์ได้บาเพ็ญบริบูรณ์ในพระชาตินี้มหาเวสสันดรชาดกทัง้ 10 บารมี คือ
  • 6. บารมี = ทรงครองเพศบรรพชิตตลอดเวลาที่ประทับ ณ เขาวงกต ปัญญาบารมี = ทรงบาเพ็ญภาวนามัยปัญญาตลอดเวลาที่ทรงผนวช วิริยาบารมี = ทรงปฏิบัติมิได้ย่อหย่อน สัจจบารมี= ทรงลนั่พระวาจายกกุมารให้ชูชก เมื่อพระกุมารหลบหนีก็ทรงติดตามให้ ขันติบารมี= ทรงอดทนต่อความยากลาบากต่าง ๆ ขณะที่เดินทางมายังเขา วงกต และตลอดเวลาที่ประทับ ณ ที่นั่น แม้แต่ตอนที่ทอดพระเนตรเห็นชูชกเฆี่ยนตีพระ กุมารอย่างทารุณพระองค์ก็ทรงข่ม พระทัยไว้ได้ เมตตาบารมี = เมื่อพราหมณ์เมืองกลิงคราษฎร์ มาทูลขอช้างปัจจัยนาค เนื่องจาก เมืองกลิงคราษฎร์ฝนแล้ง ก็ทรงพระเมตตตาประทานให้ และเมื่อชูชกมาทูลขอสอง กุมาร อ้างว่าตนได้รับความลาบากต่าง ๆ พระองค์ก็มีเมตตาประทานให้ด้วย อุเบกขาบารมี = เมื่อทรงเห็นสองกุมารถูกชูชกเฆี่ยนตี วิงวอนให้พระองค์ ช่วยเหลือ ทรงบาเพ็ญอุเบกขา คือทรงวางเฉย เพราะทรงเห็นว่าได้ประทานเป็นสิทธิ์ขาดแก่ ชูชกไปแล้ว อธิษฐานบารมี= คือทรงตัง้มนั่ที่จะบาเพ็ญบารมีเพื่อให้สาเร็จโพธิญาณาเบือ้งหน้าก็ มิได้ทรง ย่อท้อ จนพระอินทร์ต้องประทานความช่วยเหลือต่าง ๆ เพราะพระทัยอันแน่วแน่ ของพระองค์
  • 7. เนื้อเรื่อง หลังจากสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงยมกปาฏิหารย์ ทาให้ พระประยูรญาติละทิฐิยอมถวายบังคม ก็บังเกิดฝนโบกขรพรรษ พระภิกษุ ทัง้หลายจึงได้ทูลถามพระพุทธเจ้า พระพุทธองค์ตรัสเล่าว่า ฝนชนิดนีเ้คยตก มาแล้วในอดีต พระองค์จึงทรงแสดงธรรมเรื่องมหาเวสสันดรชาดก หรือเรื่อง มหาชาติทัง้ 13 กัณฑ์ตามลาดับ ดังนี้
  • 8. กัณฑ์ที่ 1 ทศพรา พระอินทร์ประสาทพรแก่พระนางผุสดีก่อนที่จะจุติลงมาเป็นพระ ราชมารดาของพระเวสสันดร แต่ปางก่อนนัน้ผุสดีเทวีเสวยชาติเป็นอัครมเหสีของพระ อินทร์เมื่อจะสิน้พระชนมายุจึงขอกัณฑ์ทศพรจากพระอินทร์ได้ 10 ประการ ทัง้ยังเคย โปรยผงจันทร์แดง ถวายพระวิปัสสีพุทธเจ้าและอธิฐานให้ได้เกิดเป็นมารดาพระพุทธเจ้า ด้วย พร 10 ประการนัน้มีดังนี้ 1. ขอให้เกิดในกรุงมัททราช แคว้นสีพี 2. ขอให้มีดวงเนตรคมงามและดาขลับดงั่ลูกเนือ้ทราย 3. ขอให้ควิ้คมขาดงั่สร้อยคอนกยูง 4. ขอให้ได้นาม "ผุสดี" ดังภพเดิม 5. ขอให้พระโอรสเกริกเกียรติที่สุดในชมพูทวีป 6. ขอให้พระครรภ์งาม ไม่ป่องนูนดงั่สตรีสามัญ 7. ขอให้พระถันเปล่งปลงั่งดงามไม่ยานคล้อยลง 8. ขอให้เส้นพระเกศาดาขลับตลอดชาติ 9. ขอให้ผิวพรรณละเอียดบริสุทธิ์ดุจทองคาธรรมชาติ 10. ขอให้ได้ปลดปล่อยนักโทษที่ต้องอาญาประหารได้
  • 9. กัณฑ์ที่ 2 หิมพานต์พระนางผุสดีจุติลงมาเป็นราชธิดาของพระเจ้ามัททราช เมื่อ เจริญชนม์ได้ 16 ชันษา จึงได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้ากรุงสญชัยแห่งสีวิรัฐนคร ต่อมา ได้ประสูติพระโอรสนามว่า "เวสสันดร" ในวันที่ประสูตินัน้ได้มีนางช้างฉนัททันต์ตกลูก เป็นช้างเผือกขาวบริสุทธิ์ จึงได้นามาไว้ในโรงช้างต้นคู่บารมี ให้นามว่า "ปัจจัย นาค" เมื่อพระเวสสันดรเจริญชนม์ 16 พรรษา พระราชบิดาก็ยกราชสมบัติให้ ครอบครองและทรงอภิเษกกับนางมัทรี พระราชธิดาราชวงศ์มัททราช มีพระโอรส ชื่อ ชาลีพระธิดาชื่อกัณหา พระองค์ได้สร้างโรงทาน บริจาคทานแก่ผู้เข็ญใจ ต่อมา พระจ้ากาลิงคะแห่งนครกลิงคราษฎร์ ได้ส่งพราหมณ์มาขอพระราชทานช้างปัจจัยนาค เพื่อให้ฝนตกในบ้านเมืองที่แห้ง แล้งกันดาร พระองค์จึงพระราชทานช้างปัจจัยนาค ให้แก่พระเจ้ากาลิงคะ ชาวกรุงสัญชัยไม่พอใจที่พระราชทานช้างคู่บ้านคู่เมืองไป จึง เนรเทศพระเวสสันดรออกนอกพระนคร
  • 10. กัณฑ์ที่ 3 ทานกัณฑ์พระเวสสันดรทรงมหาสัตตสดกทาน คือ การแจกทานครัง้ ยิ่งใหญ่ก่อนที่พระเวสสันดรพร้อมด้วยพระนางมัทรี ชาลีและกัณหาออกจากพระนคร จึง ทูลขอพระราชทานโอกาสบาเพ็ญมหาสัตตสดกทาน คือ การให้ทานครัง้ยิ่งใหญ่อัน ได้แก่ช้าง ม้า รถ โคนม นารีทาสีทาสา รวมทัง้สุราบาน อย่างละ 700 กัณฑ์ที่ 4 วนประเวศน์เป็นกัณฑ์ที่สี่กษัตริย์เดินทางสู่เขาวงกต เมื่อเดินทาง ถึงนครเจตราชทัง้สี่กษัตริย์จึงแวะเข้าประทับหน้าศาลาพระนคร กษัตริย์ผู้ครองนครเจต ราชจึงทูลเสด็จครองเมือง แต่พระเวสสันดรทรงปฏิบัติ กษัตริย์เจตราชจึงมอบหมายให้ พรานเจตบุตรผู้มีความเชี่ยวชาญชานาญป่าเป็นผู้ รักษาประตูป่าไม้กษัตริย์ทัง้ 4 พระองค์ปลอดภัย และเมื่อเสด็จถึงเขาวงกตได้พบอาศรม ซึ่งท้าววิษณุกรรมเนรมิตตาม พระบัญชาของพระอินทร์กษัตริย์ทัง้สี่จึงทรงผนวชเป็นฤาษีพานักในอาศรมสืบมา
  • 11. กัณฑ์ที่ 5 ชูชก ในแคว้นกาลิงคะมีพราหมณ์แก่ชื่อชูชกพานักในบ้านทุนวิฐะเที่ยว ขอทานตามเมือง ต่าง ๆ เมื่อได้เงินถึง 100 กหาปณะ จึงนาไปฝากไว้กับพราหมณ์ผัวเมีย แล้วออกเดินทางขอทานต่อไป เมื่อเห็นว่าชูชกหายไปนานจึงได้นาเงินไปใช้เป็นการ ส่วนตัว เมื่อชูชกเดินทางมาทวงเงินคืนจึงยกนางอมิตดาลูกสาวให้แก่ชูกชก นางอมิตดา เมื่อมาอยู่ร่วมกับชูชกได้ทาหน้าที่ของภรรยาที่ดีทาให้ชายในหมู่บ้านเปรียบเทียบกับ ภรรยาของตน หญิงในหมู่บ้านจึงเกลียดชังและรุมทาร้ายทุบตีนางอมิตดา ชชูกจึง เดินทางไปทูลขอกัณหาชาลีเพื่อมาเป็นทาสรับใช้ เมื่อเดินทางมาถึงเขาวงกตก็ถูก ขัดขวางจากพรานเจตบุตรผู้รักษาประตูป่า กัณฑ์ที่ 6 จุลพน พรานเจตบุตรหลงกลชูชก ที่ได้ชูกลักพริกขิงให้พรานดูอ้าง ว่าเป็นพระราชสาสน์ของพระเจ้ากรุงสญชัยจะนาไปถวายพระเวสสันดร พรานเจตบุตรจึง ต้อนรับและเลีย้งดูชูชกเป็นอย่างดีและได้พาไปยังต้นทางที่จะ ไปอาศรมฤาษี
  • 12. กัณฑ์ที่ 7 มหาพน เมื่อถึงอาศรมได้พบกับอจตุฤาษีชกูชกใช้คารมหลอกล่อจนอจตุฤาษี ให้ที่พักหนงึ่คืนและบอกเส้นทางไปยังอาศรมพระ เวสสันดร พร้อมพรรณนาหมู่สัตว์และ พรรณไม้ตามเส้นทางให้ชูชกฟัง กัณฑ์ที่ 8 กัณฑ์กุมาร เป็นกัณฑ์ที่พระเวสสันดรทรงให้ทานสองโอรสแก่เฒา่ชู ชก พระนางมัทรีฝันร้ายเหมือนบอกเหตุแห่งการพลัดพราก รุ่งเช้าเมื่อพระนางมัทรีเข้าป่า หาอาหารแล้ว ชูชกจึงเข้าเฝ้าทูลขอสองกุมาร สองกุมารลงไปซ่อนตัวอยู่ที่สระ พระ เวสสันดรจึงเสด็จติดตามหาสองกุมารแล้วมอบให้แก่ชูชก กัณฑ์ที่ 9 กัณฑ์มัทรีพระนางมัทรีเดินเข้าไปหาผลไม้ในป่าลึกจนคล้อยเย็นจึง เดนทางกลับอาศรม แต่มีเทวดาแปลงกายเป็นเสือนอนขวางทางจนค่า เมื่อกลับถึงอาศรม ไม่พบโอรสธิดาและพระเวสสันดรได้กล่าวว่านางนอกใจ พระนางมัทรีจึงออกเที่ยวหาโอรส ธิดาและกลับมาสิน้สติต่อเบือ้งพระพักตร์พระองค์ทรงตกพรทัยลืมตนว่าเป็นดาบสจึงทรง เข้าอุ้มพระนางมัทรีและทรงกันแสง เมื่อพระนางมัทรีฟื้นจึงถวายบังคมประทานโทษ พระ เวสสันดรจึงบอกความจริงว่าได้ประทานโอรสธิดาแก่ชูชกแล้ว หากชีวิตไม่สิน้คงจะได้พบ กัน พระนางมัทรีจึงได้ทรงอนุโมทนาในปิยบุตรทานนัน้
  • 13. กัณฑ์ที่ 10 สักรบรรพ พระอินทร์เกรงว่าพระเวสสันดรจะประทานพระนางมัทรีให้แก่ ผู้ที่มาขอ จึงแปลเป็นพราหมณ์เพื่อมาทูลขอพระนางมัทรีพระเวสสันดรจึงประทานให้ พระนางมัทรีก็ยินดีอนุโมทนาเพื่อร่วมทานบารมีให้ สาเร็จพระสัมโพธิญาณ เป็นเหตุให้ เกิดแผ่นดินไหวสะท้าน พระอินทร์ในร่างพราหมณ์จึงฝากพระนางมัทรีไว้ยังไม่รับ ไป แล้วตรัสบอกความจริงและถวายคืนพร้อมถวายพระพร 8 ประการ กัณฑ์ที่ 11 มหาราช เมื่อเดินทางผ่านป่าใหญ่ชูชกจะผูกสองกุมารไว้ที่โคน ต้นไม้ส่วนตนเองปีนขึน้ไปนอนต้นไม้เหล่าเทพเทวดาจึงแปลงร่างลงมาปกป้องสอง กุมารจนเดินทางถึงกรุงสีพีพระเจ้ากรุงสีพีเกิดนิมิตฝันตามคาทานายนัน้นามายัง ความปีติปราโมทย์ เมื่อเสด็จลงหน้าลานหลวงตอนรุ่งเช้า ทอดพระเนตรเห็นชูชกและ กุมารทัง้สองพระองค์ทรงทราบความจริงจึงพระราชทานค่าไถ่คืน ต่อมาชูชกก็ถึงแก่ ความตายเพราะกินอาหารมากเกินขนาดจนไม่ย่อย พระชาลีจึงได้ทูลขอให้ไปรับพระ บิดาพระมารดานิวัติพระนคร ในขณะเดียวกันเจ้านครลิงคราษฏร์ได้คืนช้างปัจจัยนาค แก่นครสีพี
  • 14. กัณฑ์ที่ 12 ฉกษัตริย์พระเจ้ากรุงสญชัยใช้เวลา 1 เดือน กับ 23 วัน จงึเดินทางถึงเขา วงกต เสียงโห่ร้องของทหารทัง้ 4 เหล่า ทาให้พระเวสสันดรทรงคิดว่าเป็นข้าศึกมาโจมจี นครสีพีจึงชวนพระนางมัทรีขึน้ไปแอบดูที่ยอดเขา พระนางมัทรีทรงมองเห็นกองทัพ พระราชบิดาจึงได้ตรัสทูลพระเวสสันดร และเมื่อทัง้หกกษัตริย์ได้พบกันทรงกันแสงสุด ประมาณ รวมทัง้ทหารเหล่าทัพทาให้ป่าใหญ่สนนั่ครั่นครืน พระอินทร์จึงได้ทรงบันดาล ให้ฝนโบกขรพรรษตกลงมาประพรมกษัตริย์ให้หายเศร้าโศก และฟื้นพระองค์ กัณฑ์ที่ 13 นครกัณฑ์พระเจ้ากรุงสญชัยตรัสสารภาพผิด พระเวสสันดรจึง ทรงลาผนวชพร้อมทัง้พระนางมัทรีและเสด็จกลับสู่สีพีนคร เมื่อเสด็จถงึจึงรับสงั่ให้ ชาวเมืองปล่อยสัตว์ที่กักขัง ครัน้ยามราตรีพระเวสสันดรทรงปริวิตกว่า รุ่งเช้าประชาชน จะแตกตื่นมารับบริจาคทาน พระองค์จะประทานสิ่งใดให้แก่ประชาชน ท้าวโกสีย์ได้ ทราบจึงบันดาลให้มีฝนแก้ว 7 ประการ ตกลงมาในนครสีพีสูงถึงหน้าแข้ง พระเวสสันดร จึงทรงประกาศให้ประชาชนมาขนเอาไปตามปรารถนา ที่เหลือให้ขนเข้าพระคลังหลวง ในกาลต่อมาพระเวสสันดรเถลิงราชสมบัติปกครองนครสีพีโดย ทศพิธราชธรรม บ้านเมืองร่มเย็นเป็นสุขตลอดพระชนมายุ