SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
วิเคราะห์คณุค่าของวรรณคดี 
เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ด้านเนอื้หา
รปูแบบคาประพันธ์ 
แต่งด้วย "ลิลิตสุภาพ" ซึ่งประกอบด้วยร่ายสุภาพ โคลง 
สองสุภาพ โคลงสามสุภาพ และโคลงสี่สุภาพ แต่งสลับกัน 
ไป จา นวน ๔๓๙ บท โดยได้แบบอย่างการแต่งมาจากลิลิต 
ยวนพ่าย
โครงเรื่อง 
▪ สมเด็จพระมหาธรรมราชาได้ทรงสวรรคตจึงมีการผลัดเปลี่ยนแผ่นดิน 
ซึ่งผูที้่ได้สืบครองราชย์ต่อคือสมเด็จพระนเรศวร ซึ่งอาจมีการรบเพื่อแย่ง 
ราชบัลลังก์ระหว่างสมเด็จพระนเรศวรกับสมเด็จพระเอกาทศรศถ พระเจ้า 
หงสาวดีนันทบุเรงจึงได้มีรับสัง่ให้พระมหาอุปราชาผูซึ้่งเป็นโอรสและพระ 
มหาราชเจ้านครเชียงใหม่ไปเตรียมกองทัพร่วมกัน แต่โหรได้ทา นายว่าพระ 
มหาอุปราชานนั้จะมีดวงถึงฆาต แต่ด้วยความเกรงในพระบิดาพระองค์จึงไม่ 
ทรงขัดพระทัย ในระหว่างช่วงนนั้สมเด็จพระนเรศวรได้เตรียมกองทัพในการ 
ไปทา ศึกกับกัมพูชา แต่เมอื่ทรงทราบว่าพม่าได้ยกทัพมาพระองค์จึงนา กา ลัง 
ส่วนนไี้ปตงั้ทัพรอรับศึกพม่าแทน
▪ ที่ค่ายตา บลตระพังตรุจังหวัดสุพรรณบุรี ช้างทรงทงั้ของสมเด็จพระ 
นเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถนนั้ตกมัน จึงหลงเขา้ไปอยู่ตรงใจกลางของทัพ 
ขา้ศึกทา ให้แม่ทัพต่างๆเสด็จตามไม่ทัน สมเด็จพระนเรศวรจึงไดก้ล่าวท้าให้พระ 
มหาอุปราชออกมาทา ยุทธหัตถีกัน ท้ายที่สุดสมเด็จพระนเศวรทรงมีชัยเหนือพระ 
มหาอุปราชา เช่นเดียวกับที่สมเด็จพระเอกาทศรถมีชัยเหนือมังจาชโร หลังจากที่ 
กองทัพพม่าแตกพ่ายไป สมเด็จพระนเรศวรไดมี้พระบัญชาให้สร้างสถูปเจดีย์ขนึ้ 
ที่นี่แล้วยกทัพกลับกรงุศรีอยุธยา
แก่นของเรื่อง 
▪ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราชที่ 
ทรงกระทา ยุทธหัตถีชนะพระมหาอุปราชา ดังคา 
ประพันธ์ 
"เฉลิมพระเกียรติผ่านเผ้า เจ้าจักรพรรดิแผ่นสยาม"
ตัวละคร 
▪ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช 
ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงพระปรีชาสามารถมากที่สุดคือ ความ 
รอบคอบ ไม่ประมาท เป็นคนร้จูักการวางแผน มีวาทศิลป์ในการพูด ดัง่ 
โคลงสี่สุภาพตอนหนงึ่กล่าวว่า 
พระพึงพิเคราะห์ผู้ ภักดี ท่านนา 
คือพระยาจักรีกาจแกล้ว 
พระตรัสแด่มนตรี มอบมิ่ง เมืองเฮย 
กจูักไกลกรงุแก้ว เกลือกชา้คลาคืน
พระมหาอปุราชา (มังสามเกียด หรือมังกะยอชวา) 
▪ เป็นคน ที่ความกตัญญู ความจงรัก ภักดี ต่อชาติบ้านเมือง ทรงมี 
ความห่วงใย อาทร ถึงพระราชบิดาในระหว่างที่ทรงออกรบ ดัง่ 
โคลงสี่สุภาพที่กล่าวไว้ว่า 
ณรงค์นเรศด้าว ดัสกร 
ใครจักอาจออกรอน รบสู้ 
เสียดายแผ่นดินมอญ พลันมอด ม้วยแฮ 
เหตบู่มีมือผู้อื่นตา้นทานเข็ญ
ตัวละครอื่นๆ 
▪ ฝั่งไทย : สมเด็จพระเอกาทศรถ สมเด็จพระมหาธรรมราชา (พระบิดา) 
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ(พระอัยกา/ปู่) เจ้าพระยาไชยานุภาพ / ก้าน 
กล้วย (ชา้งทรงสมเด็จพระนเรศวรมหาราช) สมเด็จพระวันรัต และอื่นๆ 
▪ ฝั่งพม่า : นันทบุเรง (พระเจ้าหงสาวดี เป็นพระบิดาของพระมหาอุปราชา) 
พลายพัทธกอ (ชา้งทรงของพระมหาอุปราชา) พลายพัชเนียร (ชา้งของมาง 
จาชโร) พระยาจิตตอง (วิศวกรประจา กองทัพ คนสร้างสะพานไม้ไผ่ขา้ม 
แม่นา้ลา กระเพิน)
ฉาก 
▪ ในกรงุหงสาวดีและกรงุศรีอยุธยา การรบและสงคราม
กลวิธีการดาเนินเรื่อง 
ตามเวลาและเริ่มด้วยบทนา
ด้านวรรณศิลป์
การใช้คา 
▪ การใชค้า ที่เหมาะแก่เนอื้เรื่องและฐานะของบุคคล กวีเลือกใช้ 
คา ที่แสดงฐานะของบุคคล ดังนี้ 
เบื้องนนั้นฤนาถผู้ สยามินทร์ 
เบี่ยงพระมาลาผิน ห่อนพ้อง 
ศัสตราวุธอรินทร์ ฤาถูก องค์เอย 
เพราะพระหัตถ์หากป้อง ปัดด้วยขอทรง
▪ การใช้คา ซา้เพื่อเนน้ความหมาย 
จงจา คา พ่อไซร้ สัง่สอน 
จงประสิทธิ์สมพร พ่อให้ 
จงเรืองพระฤทธิ์รอน อริราช 
จงพ่อลุลาภได้ เผด็จด้าวแดนสยาม
▪ ใช้คา พ้องเสียงเพื่อให้เกิดเสียงไพเราะและความหมาย 
กินใจ 
- สลัดไดใดสลัดนอ้ง แหนงนอน ไพรฤา 
- สละสละสมร เสมอชอื่ ไม้นา 
นึกระกา นามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม 
- สายหยุดหยุดกลิ่นฟุ้ง ยามสาย
การหลากคา 
▪ พระทรงแสงดาบแก้ว กับกร 
โจมประจัญฟันฟอน เฟื่องนา้ 
ต่างฤทธิ์ต่างรบรอน ราญชีพ กันแฮ 
สระท้านทุกถิ่นท่าถา้ ท่งท้องชลธี
โวหารภาพพจน์ 
▪ อุปมา : เปรียบการสรู้บระหว่างสมเด็จพระนเรศวรกับพระมหาอุป 
ราชาว่ายิ่งใหญ่และงดงามเหมือนกับการสรู้บระหว่างพระอินทร์กับ 
ท้าวจิตราสูร ระหว่างพระรามกับทศกัณฑ์ 
งามสองสุริยราชลา้ เลอพิศ นาพ่อ 
พ่างพัชรินทรไพจิตร ศึกกสร้าง 
ฤารามเริ่มรณฤทธิ์ รบราพณ์ แลฤา 
ทุกเทศทุกทิศอ้าง อื่นไท้ไป่เทียม
▪ จักเจ็บอุระระทด ทุกข์ใหญ่ หลวงนา 
ถนัดดัง่พาหาเหี้ยน หั่นกลิ้งไกลองค์ 
▪ พระพลันเห็นเหตไุซร้ เสียวดวง แดเอย 
ถนัดดัง่ภผูาหลวง ตกตอ้ง
▪ อุปลักษณ์ : เปรียบชา้งทรงของพระสมเด็จนเรศวรมหาราช 
เป็นชา้งสมิทธิมาตงค์ ซึ่งเป็นชา้งของพระอินทร์ และเปรียบ 
ชา้งทรงของพระมหาอุปราชาเป็นชา้งคิริเมขล์ ซึ่งเป็นชา้ง 
ของพญาวสวัตดีมาร 
หัสดินปิ่นธเรศไท้ โททรง 
คือสมิทธิมาตงค์ หนงึ่อ้าง 
หนงึ่คือคิริเมขล์มง- คลอาสน์ มารเอย 
เศียรส่ายหงายงาคว้าง ไขว่แคว้งแทงโถม
▪ นามนัย : การใชคุ้ณสมบัติหรือส่วนประกอบสา คัญของสิ่ง 
นนั้กล่าวแทนสิ่งนนั้ทงั้หมด เช่น ตอนที่พระเจ้ากรงุหงสาวดี 
ตรัสถึงกรงุศรีอยุธยาว่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับ 
สมเด็จพระเอกาทศรถอาจจะชิงบัลลังก์กัน 
“..ว่านครรามินทร์ ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราช เยียววิวาทชิงฉัตร" 
(ฉัตร ในที่นี้แทน ราชบัลลังก์)
รสวรรณคดีไทย 
▪ เสาวรจนี : ชมความงามตัวละคร 
งามสองสุริยราชลา้ เลอพิศ นาพ่อ 
พ่างพัชรินทรไพจิตร ศึกกสร้าง 
ฤารามเริ่มรณฤทธิ์ รบราพณ์ แลฤา 
ทุกเทศทุกทิศอ้าง อื่นไท้ไป่เทียม
▪ พิโรธวาทัง คือ บทโกรธ 
…แม้นเจ้าคร้ามเคราะห์กาจ จงอย่ายาตรยุทธนา เอาพัส 
ตราสตรี สวมอินทรีย์สร่างเคราะห์…
▪ สัลลาปังคพิสัย คือ รสแห่งความเศร้าโศก 
- จา ใจจรจากสร้อย อยู่แม่อย่าละห้อย 
ชา้คืนสม แม่แล 
- สระเทินสระทกแท้ ไทถวิล อยู่เชย 
ฤาใคร่คลายใจจินต์ จืดสร้อย 
คา นึงนฤบดินทร์ บิตเุรศ พระแฮ
รสวรรณคดี(สันสกฤต) 
▪ รทุรรส/เราทรรส (รสแห่งความโกรธเคือง) 
…แม้นเจ้าคร้ามเคราะห์กาจ จงอย่ายาตรยุทธนา 
เอาพัสตราสตรี สวมอินทรีย์สร่างเคราะห์…
▪ วีรรส (รสแห่งความกล้าหาญ) 
พระพี่พระผู้ผ่าน ภพอุต- ดมเอย 
ไป่ชอบเชษฐ์ยืนหยุด ร่มไม้ 
เชิญราชร่วมคชยุทธิ์เผยยอเกียรติไว้แฮ 
สืบกว่าสองเราไสร้สุดสิ้นฤๅมี 
ดา เนินพจน์พากย์พร้อง พรรณนา 
องค์อัครอุปราชา ท่านแจ้ง 
กอบเกิดขัตติยมา- นะนึก หาญเฮย 
ขับคชเขา้ยุทธ์แย้ง ด่วนด้วยโดยถวิล
▪ ภยานกรส (รสแห่งความกลัว) 
พระพลันเห็นเหตไุซร้ เสียวดวง แดเอย 
ถนัดดัง่ภผูาหลวง ตกตอ้ง 
กระหม่าหระเหม่นทรวง สัน่ซีด พักตร์นา 
หนักฤทัยท่านร้อง เรียกให้โหรทาย
บทสะเทือนอารมณ์ 
▪ อุรารานร้าวแยก ยลสยบ 
เอนพระองค์ลงทบ ท่าวดิ้น 
เหนือคอคชซอนซบ สังเวช 
วายชิวาตม์สุดสิ้น สฟู้้าเสวยสวรรค์
ด้านสังคม
▪ ความเชื่อเรื่องความฝัน (เทพสังหรณ์) 
"ทันใดดิลกเจ้า จอมถวัลย์ 
สร่างผทมถวิลฝัน ห่อนรู้ 
พระหาพระโหรพลัน พลางบอกฝันนา 
เร็วเร่งทายโดยกระทู้ที่ถ้อยตแูถลง "
▪ ความเชื่อเรื่องโชคลางและการมีเคราะห์ 
"เกิดเป็นหมอกมืดห้อง เวหา หนเฮย 
ลมชอื่เวรัมภา พัดคลมุ้ 
หวนหอบหักฉัตรา คชขาด ลงแฮ 
แลธุลีกลัดกลมุ้เกลื่อนเพี้ยงจักรผัน" 
ลมชื่อเวรัมภา : ลมที่เกิดจากรรม
▪ ความเชื่อเรอื่งสวรรค์และเทวดา 
"ภูวไนยผายโอษฐ์อื้น โชยงการ 
แก่เทพทุกถิ่นสถาน ฉชนั้ 
โสฬสพรหมพิมาน กมลาสน์ แลนา 
เชิญช่วยชุมโสตชนั้ สดับถ้อยตแูถลง"
ด้านการนาไปประยกุต์ใช้ 
- ความรอบคอบไม่ประมาท 
- การเป็นคนร้จูักการวางแผน 
- การเป็นคนร้จูักความกตัญญูกตเวที 
- การเป็นคนช่างสังเกตและมีไหวพริบ 
- ความซื่อสัตย์ 
- การมีวาทศิลป์ในการพูด
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย

More Related Content

What's hot

บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกพัน พัน
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มkkrunuch
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Khwanruthai Kongpol
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 

What's hot (20)

บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
 
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์ปกโครงงานคณิตศาสตร์
ปกโครงงานคณิตศาสตร์
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่มหัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 

Similar to งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย

โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานBenjawan Hengkrathok
 
งานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครงานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครbambookruble
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง มSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยCUPress
 
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติniralai
 
ศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาnanpun54
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยfernbamoilsong
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2Chalermsak Sornchai
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2Chalermsak Sornchai
 

Similar to งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย (20)

โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
งานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละครงานนำเสนอตัวละคร
งานนำเสนอตัวละคร
 
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราชสมเด็จพระนเศวรมหาราช
สมเด็จพระนเศวรมหาราช
 
อิเหนาและโวหาร
อิเหนาและโวหารอิเหนาและโวหาร
อิเหนาและโวหาร
 
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราชสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง มนาย แสนเก่ง  ป้องโพนทอง ม
นาย แสนเก่ง ป้องโพนทอง ม
 
Sss
SssSss
Sss
 
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทยภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
ภาพตัวแทนของสมเด็จพระมหาธรรมราชาในวรรณกรรมไทย
 
มหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดกมหาเวสสันดรชาดก
มหาเวสสันดรชาดก
 
Ppt 1
Ppt 1Ppt 1
Ppt 1
 
สุนทรภู่
สุนทรภู่สุนทรภู่
สุนทรภู่
 
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
ในหลวงดวงใจไทยทั้งชาติ
 
ศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกา
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
 
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
รายงานนิราศนรินทร์คำโคลง กลุ่ม 4 ม.4/2
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 

งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย

  • 1.
  • 2.
  • 3.
  • 6. รปูแบบคาประพันธ์ แต่งด้วย "ลิลิตสุภาพ" ซึ่งประกอบด้วยร่ายสุภาพ โคลง สองสุภาพ โคลงสามสุภาพ และโคลงสี่สุภาพ แต่งสลับกัน ไป จา นวน ๔๓๙ บท โดยได้แบบอย่างการแต่งมาจากลิลิต ยวนพ่าย
  • 7. โครงเรื่อง ▪ สมเด็จพระมหาธรรมราชาได้ทรงสวรรคตจึงมีการผลัดเปลี่ยนแผ่นดิน ซึ่งผูที้่ได้สืบครองราชย์ต่อคือสมเด็จพระนเรศวร ซึ่งอาจมีการรบเพื่อแย่ง ราชบัลลังก์ระหว่างสมเด็จพระนเรศวรกับสมเด็จพระเอกาทศรศถ พระเจ้า หงสาวดีนันทบุเรงจึงได้มีรับสัง่ให้พระมหาอุปราชาผูซึ้่งเป็นโอรสและพระ มหาราชเจ้านครเชียงใหม่ไปเตรียมกองทัพร่วมกัน แต่โหรได้ทา นายว่าพระ มหาอุปราชานนั้จะมีดวงถึงฆาต แต่ด้วยความเกรงในพระบิดาพระองค์จึงไม่ ทรงขัดพระทัย ในระหว่างช่วงนนั้สมเด็จพระนเรศวรได้เตรียมกองทัพในการ ไปทา ศึกกับกัมพูชา แต่เมอื่ทรงทราบว่าพม่าได้ยกทัพมาพระองค์จึงนา กา ลัง ส่วนนไี้ปตงั้ทัพรอรับศึกพม่าแทน
  • 8. ▪ ที่ค่ายตา บลตระพังตรุจังหวัดสุพรรณบุรี ช้างทรงทงั้ของสมเด็จพระ นเรศวรและสมเด็จพระเอกาทศรถนนั้ตกมัน จึงหลงเขา้ไปอยู่ตรงใจกลางของทัพ ขา้ศึกทา ให้แม่ทัพต่างๆเสด็จตามไม่ทัน สมเด็จพระนเรศวรจึงไดก้ล่าวท้าให้พระ มหาอุปราชออกมาทา ยุทธหัตถีกัน ท้ายที่สุดสมเด็จพระนเศวรทรงมีชัยเหนือพระ มหาอุปราชา เช่นเดียวกับที่สมเด็จพระเอกาทศรถมีชัยเหนือมังจาชโร หลังจากที่ กองทัพพม่าแตกพ่ายไป สมเด็จพระนเรศวรไดมี้พระบัญชาให้สร้างสถูปเจดีย์ขนึ้ ที่นี่แล้วยกทัพกลับกรงุศรีอยุธยา
  • 9. แก่นของเรื่อง ▪ เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนเรศวรมหาราชที่ ทรงกระทา ยุทธหัตถีชนะพระมหาอุปราชา ดังคา ประพันธ์ "เฉลิมพระเกียรติผ่านเผ้า เจ้าจักรพรรดิแผ่นสยาม"
  • 10. ตัวละคร ▪ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงพระปรีชาสามารถมากที่สุดคือ ความ รอบคอบ ไม่ประมาท เป็นคนร้จูักการวางแผน มีวาทศิลป์ในการพูด ดัง่ โคลงสี่สุภาพตอนหนงึ่กล่าวว่า พระพึงพิเคราะห์ผู้ ภักดี ท่านนา คือพระยาจักรีกาจแกล้ว พระตรัสแด่มนตรี มอบมิ่ง เมืองเฮย กจูักไกลกรงุแก้ว เกลือกชา้คลาคืน
  • 11. พระมหาอปุราชา (มังสามเกียด หรือมังกะยอชวา) ▪ เป็นคน ที่ความกตัญญู ความจงรัก ภักดี ต่อชาติบ้านเมือง ทรงมี ความห่วงใย อาทร ถึงพระราชบิดาในระหว่างที่ทรงออกรบ ดัง่ โคลงสี่สุภาพที่กล่าวไว้ว่า ณรงค์นเรศด้าว ดัสกร ใครจักอาจออกรอน รบสู้ เสียดายแผ่นดินมอญ พลันมอด ม้วยแฮ เหตบู่มีมือผู้อื่นตา้นทานเข็ญ
  • 12. ตัวละครอื่นๆ ▪ ฝั่งไทย : สมเด็จพระเอกาทศรถ สมเด็จพระมหาธรรมราชา (พระบิดา) สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ(พระอัยกา/ปู่) เจ้าพระยาไชยานุภาพ / ก้าน กล้วย (ชา้งทรงสมเด็จพระนเรศวรมหาราช) สมเด็จพระวันรัต และอื่นๆ ▪ ฝั่งพม่า : นันทบุเรง (พระเจ้าหงสาวดี เป็นพระบิดาของพระมหาอุปราชา) พลายพัทธกอ (ชา้งทรงของพระมหาอุปราชา) พลายพัชเนียร (ชา้งของมาง จาชโร) พระยาจิตตอง (วิศวกรประจา กองทัพ คนสร้างสะพานไม้ไผ่ขา้ม แม่นา้ลา กระเพิน)
  • 16. การใช้คา ▪ การใชค้า ที่เหมาะแก่เนอื้เรื่องและฐานะของบุคคล กวีเลือกใช้ คา ที่แสดงฐานะของบุคคล ดังนี้ เบื้องนนั้นฤนาถผู้ สยามินทร์ เบี่ยงพระมาลาผิน ห่อนพ้อง ศัสตราวุธอรินทร์ ฤาถูก องค์เอย เพราะพระหัตถ์หากป้อง ปัดด้วยขอทรง
  • 17. ▪ การใช้คา ซา้เพื่อเนน้ความหมาย จงจา คา พ่อไซร้ สัง่สอน จงประสิทธิ์สมพร พ่อให้ จงเรืองพระฤทธิ์รอน อริราช จงพ่อลุลาภได้ เผด็จด้าวแดนสยาม
  • 18. ▪ ใช้คา พ้องเสียงเพื่อให้เกิดเสียงไพเราะและความหมาย กินใจ - สลัดไดใดสลัดนอ้ง แหนงนอน ไพรฤา - สละสละสมร เสมอชอื่ ไม้นา นึกระกา นามไม้ แม่นแม้นทรวงเรียม - สายหยุดหยุดกลิ่นฟุ้ง ยามสาย
  • 19. การหลากคา ▪ พระทรงแสงดาบแก้ว กับกร โจมประจัญฟันฟอน เฟื่องนา้ ต่างฤทธิ์ต่างรบรอน ราญชีพ กันแฮ สระท้านทุกถิ่นท่าถา้ ท่งท้องชลธี
  • 20. โวหารภาพพจน์ ▪ อุปมา : เปรียบการสรู้บระหว่างสมเด็จพระนเรศวรกับพระมหาอุป ราชาว่ายิ่งใหญ่และงดงามเหมือนกับการสรู้บระหว่างพระอินทร์กับ ท้าวจิตราสูร ระหว่างพระรามกับทศกัณฑ์ งามสองสุริยราชลา้ เลอพิศ นาพ่อ พ่างพัชรินทรไพจิตร ศึกกสร้าง ฤารามเริ่มรณฤทธิ์ รบราพณ์ แลฤา ทุกเทศทุกทิศอ้าง อื่นไท้ไป่เทียม
  • 21. ▪ จักเจ็บอุระระทด ทุกข์ใหญ่ หลวงนา ถนัดดัง่พาหาเหี้ยน หั่นกลิ้งไกลองค์ ▪ พระพลันเห็นเหตไุซร้ เสียวดวง แดเอย ถนัดดัง่ภผูาหลวง ตกตอ้ง
  • 22. ▪ อุปลักษณ์ : เปรียบชา้งทรงของพระสมเด็จนเรศวรมหาราช เป็นชา้งสมิทธิมาตงค์ ซึ่งเป็นชา้งของพระอินทร์ และเปรียบ ชา้งทรงของพระมหาอุปราชาเป็นชา้งคิริเมขล์ ซึ่งเป็นชา้ง ของพญาวสวัตดีมาร หัสดินปิ่นธเรศไท้ โททรง คือสมิทธิมาตงค์ หนงึ่อ้าง หนงึ่คือคิริเมขล์มง- คลอาสน์ มารเอย เศียรส่ายหงายงาคว้าง ไขว่แคว้งแทงโถม
  • 23. ▪ นามนัย : การใชคุ้ณสมบัติหรือส่วนประกอบสา คัญของสิ่ง นนั้กล่าวแทนสิ่งนนั้ทงั้หมด เช่น ตอนที่พระเจ้ากรงุหงสาวดี ตรัสถึงกรงุศรีอยุธยาว่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับ สมเด็จพระเอกาทศรถอาจจะชิงบัลลังก์กัน “..ว่านครรามินทร์ ผลัดแผ่นดินเปลี่ยนราช เยียววิวาทชิงฉัตร" (ฉัตร ในที่นี้แทน ราชบัลลังก์)
  • 24. รสวรรณคดีไทย ▪ เสาวรจนี : ชมความงามตัวละคร งามสองสุริยราชลา้ เลอพิศ นาพ่อ พ่างพัชรินทรไพจิตร ศึกกสร้าง ฤารามเริ่มรณฤทธิ์ รบราพณ์ แลฤา ทุกเทศทุกทิศอ้าง อื่นไท้ไป่เทียม
  • 25. ▪ พิโรธวาทัง คือ บทโกรธ …แม้นเจ้าคร้ามเคราะห์กาจ จงอย่ายาตรยุทธนา เอาพัส ตราสตรี สวมอินทรีย์สร่างเคราะห์…
  • 26. ▪ สัลลาปังคพิสัย คือ รสแห่งความเศร้าโศก - จา ใจจรจากสร้อย อยู่แม่อย่าละห้อย ชา้คืนสม แม่แล - สระเทินสระทกแท้ ไทถวิล อยู่เชย ฤาใคร่คลายใจจินต์ จืดสร้อย คา นึงนฤบดินทร์ บิตเุรศ พระแฮ
  • 27. รสวรรณคดี(สันสกฤต) ▪ รทุรรส/เราทรรส (รสแห่งความโกรธเคือง) …แม้นเจ้าคร้ามเคราะห์กาจ จงอย่ายาตรยุทธนา เอาพัสตราสตรี สวมอินทรีย์สร่างเคราะห์…
  • 28. ▪ วีรรส (รสแห่งความกล้าหาญ) พระพี่พระผู้ผ่าน ภพอุต- ดมเอย ไป่ชอบเชษฐ์ยืนหยุด ร่มไม้ เชิญราชร่วมคชยุทธิ์เผยยอเกียรติไว้แฮ สืบกว่าสองเราไสร้สุดสิ้นฤๅมี ดา เนินพจน์พากย์พร้อง พรรณนา องค์อัครอุปราชา ท่านแจ้ง กอบเกิดขัตติยมา- นะนึก หาญเฮย ขับคชเขา้ยุทธ์แย้ง ด่วนด้วยโดยถวิล
  • 29. ▪ ภยานกรส (รสแห่งความกลัว) พระพลันเห็นเหตไุซร้ เสียวดวง แดเอย ถนัดดัง่ภผูาหลวง ตกตอ้ง กระหม่าหระเหม่นทรวง สัน่ซีด พักตร์นา หนักฤทัยท่านร้อง เรียกให้โหรทาย
  • 30. บทสะเทือนอารมณ์ ▪ อุรารานร้าวแยก ยลสยบ เอนพระองค์ลงทบ ท่าวดิ้น เหนือคอคชซอนซบ สังเวช วายชิวาตม์สุดสิ้น สฟู้้าเสวยสวรรค์
  • 32. ▪ ความเชื่อเรื่องความฝัน (เทพสังหรณ์) "ทันใดดิลกเจ้า จอมถวัลย์ สร่างผทมถวิลฝัน ห่อนรู้ พระหาพระโหรพลัน พลางบอกฝันนา เร็วเร่งทายโดยกระทู้ที่ถ้อยตแูถลง "
  • 33. ▪ ความเชื่อเรื่องโชคลางและการมีเคราะห์ "เกิดเป็นหมอกมืดห้อง เวหา หนเฮย ลมชอื่เวรัมภา พัดคลมุ้ หวนหอบหักฉัตรา คชขาด ลงแฮ แลธุลีกลัดกลมุ้เกลื่อนเพี้ยงจักรผัน" ลมชื่อเวรัมภา : ลมที่เกิดจากรรม
  • 34. ▪ ความเชื่อเรอื่งสวรรค์และเทวดา "ภูวไนยผายโอษฐ์อื้น โชยงการ แก่เทพทุกถิ่นสถาน ฉชนั้ โสฬสพรหมพิมาน กมลาสน์ แลนา เชิญช่วยชุมโสตชนั้ สดับถ้อยตแูถลง"
  • 35. ด้านการนาไปประยกุต์ใช้ - ความรอบคอบไม่ประมาท - การเป็นคนร้จูักการวางแผน - การเป็นคนร้จูักความกตัญญูกตเวที - การเป็นคนช่างสังเกตและมีไหวพริบ - ความซื่อสัตย์ - การมีวาทศิลป์ในการพูด