SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
ข#อสอบวัดพฤติกรรมการเรียนรู#ด#าน Cognitive ระดับมัธยมศึกษาปEที่ ๒
เรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดาร (พระสุริโยทัยขาดคอช#าง)
คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต#องที่สุดเพียงข#อเดียว
๑. โคลงพระสุริโยทัยขาดคอช#างคัดมาจากหนังสือเลYมใด (ความรู#ความจำ)
ก. ประชุมพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ข. นารีเรืองนาม
ค. โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ง. คำเริงสดุดีสตรีไทยนักรบ
๒. ผู#แตYงโคลงภาพพระราชพงศาวดารคือใคร (ความรู#ความจำ)
ก. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล#าเจ#าอยูYหัว
ข. พระเจ#าบรมวงศ_เธอ กรมพระนราธิปพระพันธ_พงศ_
ค. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล#าเจ#าอยูYหัว ง. พระยาอุปกิตศิลปะสาร
๓. เรื่องพระสุริโยทัยขาดคอช#างแตYงด#วยคำประพันธ_ชนิดใด (ความเข#าใจ)
ก. กาพย_ยานี ข. กลอนเสภา
ค. กลอนสุภาพ ง. โคลงสี่สุภาพ
๔. เรื่องพระสุริโยทัยขาดคอช#างเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลใด (ความเข#าใจ)
ก. สมเด็จพระชัยราชาธิราช ข. สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
ค. สมเด็จพระมหินทร_ ง. สมเด็จพระมหาธรรมราชา
๕. ข#อใดแสดงการเคลื่อนไหวรวดเร็วที่สุด (การประเมินผล)
ก. เถลิงคชาธารคว#าง ควบเขาขบวนไคล ข. สารทรงซวดเซผัน หลังแลYน เตลิด
แฮ
ค. ตะเลงขับคชไลYใกล# หวิดท#ายคชาธาร ง. ขุนมอญรYอนง#าวฟาด ฉาดฉะ
๔
๖. ข#อใดใช#คำและสัมผัสที่ให#ความหมายเสียงดีเดYนที่สุด (การประเมินผล)
ก. สารทรงซวดเซผัน หลังแลYน เตลิดแฮ ข. ขับคเชนทร_เขYนค้ำ สะอึกสู#ดัสกร
ค. ขุนมอญรYอนง#าวฟาด ฉาดฉะ ง. สูญชีพไปkสูญสิ้น พจน_ผู#สรรเสริญ
๗. วีรกรรมของสมเด็จพระสุริโยทัยที่แสดงถึงคุณธรรมคือข#อใด (ความเข#าใจ/การนำไปใช#)
ก. ความเสียสละเพื่อพระสวามี ข. ความรักพระสวามี
ค. ความรักชาติ ก. ความกล#าหาญ
๘. นักเรียนคิดวYาคำประพันธ_บทสุดท#ายมีกลวิธีการแตYงอยYางไร (การวิเคราะห_)
ก. เปpนตอนสำคัญของเรื่อง ข. พรรณนาเห็นภาพสะเทือนใจ
ค. บทสดุดีเกียรติคุณ ง. ถูกทุกข#อที่กลYาวมา
๙. มอญม*านประมวลมา สามสิบ หมื่นแฮ คำที่พิมพ_ตัวหนามีความหมายวYาอยYางไร(ความเข#าใจ)
ก. มอญ ข. พมYา
ค. ญวน ง. เขมร
๑๐. ให#เลือกเติมคำประพันธ_ตYอไปนี้ให#ถูกต#อง (ความจำ/การนำไปใช#)
.................................... พิสมัย ทYานนา
ก. นงคราญองค_เอกแก#ว ข. ขาดแลYงตราบอุระ
ค. บุเรงนองนามราชเจ#า ง. บังอรอัคเรศผู#
แบบทดสอบก*อนเรียน-หลังเรียน
เรื่อง พระสุริโยทัยขาดคอชCาง
คำสั่ง ให#นักเรียนวงกลมคำตอบที่ถูกต#องที่สุดเพียงคำตอบเดียว
๑.ใครแตYงบทร#อยกรองนี้
ก.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล#าเจ#าอยูYหัว ข.พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ
เกล#าเจ#าอยูYหัว
ค.พระเจ#าบรมวงศ_เธอ กรมพระนราธิปประพันธ_พงศ_ ง.พระยาอุปกิตศิลปสาร
๒.เหตุการณ_ในเรื่องนี้เกิดขึ้นในรัชกาลใด
ก.สมเด็จพระชัยราชาธิราช ข.สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ
ค.สมเด็จพระมหินทร_ ง.สมเด็จพระมหาธรรมราชา
๓.ใครเปpนจอมทัพข#าศึกตามบทร#อยกรองนี้
ก.พระเจ#าตะเบงชะเวตี้ ข.พระเจ#าบุเรงนอง
ค.พระเจ#าแปร ง.พระเจ#านันทบุเรง
๔.เรื่องนี้แตYงด#วยคำประพันธ_ชนิดใด
ก.กาพย_ยานี ข.กลอนเสภา
ค.กลอนสุภาพ ง.โคลงสี่สุภาพ
๕.เรื่องนี้ใช#โวหารชนิดใดเดYนชัดที่สุด
ก.พรรณา ข.บรรยาย
ค.อุปมาหรือเปรียบเทียบ ง.เทศนา
๖.เกิดเหตุการณ_อะไรกับสมเด็จพระสุริโยทัย
ก.ถูกอาวุธข#าศึกบาดเจ็บสิ้นพระชนม_ในตYอมา
ข.ถูกอาวุธข#าศึกสิ้นพระชนม_ทันทีและชิงศพกลับมาได#ภายหลัง
ค.ถูกอาวุธข#าศึกบาดเจ็บข#าศึกกุมพระองค_ไปเปpนตัวประกันและสิ้นพระชนม_ในตYอมา
ง.ถูกอาวุธข#าศึกสิ้นพระชนม_ทันที และกันพระศพเอาไว#
แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน
เรื3อง พันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต
คําชี?แจง ให้นักเรียนวงกลมหน้าข้อที3ถูกต้องที3สุดเพียงคําตอบเดียว
๑.เรื่องนี้แต.งด0วยคำประพันธ:ชนิดใด
ก.กาพย:ยานี ข.กลอนเสภา
ค.กลอนสุภาพ ง.โคลงสี่สุภาพ
๒.พระเจ0าแผ.นดินเสด็จไปที่ไหน
ก.ปากน้ำเจ0าพระยา ข.ปากน้ำท.าจีน
ค.ปากน้ำแม.กลอง ง.ปากน้ำบางปะกง
๓.โคกขาม ซึ่งเปSนสถานที่เกิดเหตุการณ:ในเรื่องนี้อยู.ที่ไหนในปWจจุบัน
ก.จังหวัดสมุทรปราการ ข.จังหวัดสมุทรสาคร
ค.จังหวัดสมุทรปราการ ง.จงหวัดฉะเชิงเทรา
๔.กฎหมายเกี่ยวกับคนถือท0ายเรือทำให0โขนเรือพระที่นั่งหักมีว.าอย.างไร
ก.ถูกจำคุกตลอดซีวิตและริบทรัพย:
ข.ถูกประหารชีวิต
ค.ถูกประหารชีวิตและนำศีรษะบวงสรวงบนศาลเพียงตา
ง.ถูกประหารชีวิตและนำศีรษะกับโขนเรือพระที่นั่งบวงสรวงบนศาลเพียงตา
๕.เหตุการณ:ในเรื่องนี้เกิดขึ้นในรัชกาลใด
ก.สมเด็จพระเพทราชา ข.สมเด็จพระเสือ
ค.สมเด็จพระเจ0าท0ายสระ ง.สมเด็จพระบรมโกศ
๖.เรื่องนี้เกิดตอนพระเจ0าแผ.นดินเสด็จไปทำอะไร
ก.ไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี
ข.ยกทัพไปสู0รบพม.า
ค.ดูแลทุกข:สุขของราษฎร
ง.หาปลา
แบบทดสอบ
เรื*อง “โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์”
คําชี&แจง ให้นักเรียนเลือกคําตอบที4ถูกต้องที4สุดหรือเหมาะสมที4สุดเพียงคําตอบเดียว
๑. ใครคือผู้ทรงพระราชนิพนธ์โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์และโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ก. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ข. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ค. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ง. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
๒. โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์และโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการแต่งด้วยโคลงชนิดใด
ก. โคลงสองสุภาพ ข. โคลงสามสุภาพ
ค. โคลงสี4สุภาพ ง. โคลงดัIนบาทกุญชร
๓. โสฬสไตรยางค์มีความหมายตรงตามข้อใด
ก. ๓ หมวด หมวดละ ๑๖ ข้อ ข. ๑๖ หมวด หมวดละ ๓ ข้อ
ค. ๘ หมวด หมวดละ ๓ ข้อ ง. ๓ หมวด หมวดละ ๕ ข้อ
๔. “เป็นมาติกาทาง บัณฑิต แสวงเอย
หวังสวัสดิUขจัดทุกข์สร้าง สืบสร้องศุภผล”
มาติกา มีความหมายตามรูปศัพท์ว่าอะไร และในคําประพันธ์ข้างต้นนี&กล่าวถึงอะไรว่าเป็นมาติกา
ก. แม่บท, สุภาษิตนฤทุมนาการ ข. กุศล, สุภาษิตนฤทุมนาการ
ค. แม่บท, สุภาษิตโสฬสไตรยางค์ ง. กุศล, สุภาษิตโสฬสไตรยางค์
๕. คําศัพท์ใดมีความหมายว่า ความสุขเกษม ความเจริญ โชคลาภ
ก. เป็นมาติกาทาง บัณฑิต แสวงเอย ข. ทุจริตมารยาปน ปกไว้
ค. สรรพางค์โสภาคย์พร้อม ธัญลักษณ์ ง. เป็นสุขโสดตนรัก การชอบ ธรรมนา
๖. ข้อใดกล่าวถึงความสุจริตในไตรทวาร
ก. ควรกล้ากล้ากล่าวถ้อย ทัIงหทัย แท้เฮย
สุวภาพพจน์ภายใน จิตพร้อม
ข. สรรพางค์โสภาคย์พร้อม ธัญลักษณ์
ภาษิตจิตประจักษ์ ชื4อพร้อม
ค. สุจริตจิตโอบอ้อม อารี
ใจโปร่งปราศราศี ขุ่นข้อง
ง. ใจซึ4งรีบเร็วไว ห่อนรู้
วาจาจักพูดใน กิจสบ สรรพแฮ
๗. “สิ]งใดในโลกล้วน เปลี]ยนแปลง
หนึ]งชราหย่อนแรง เร่งร้น
ความตายติดตามแสวง ทําชีพ ประลัยเฮย
………………………………………………………”
ควรเติมข้อใดจึงจะได้เนื&อความและฉันทลักษณ์ถูกต้อง
ก. สามสิ4งควรทิIงเว้น ขาดสิIนสันดาน ข. สามส่วนควรคิดค้น คติรู้เตรียมคอย
ค. สามส่วนควรเกลียดใกล้ เกลียดซ้องสมาคม ง. สามสิ4งควรเกลียดท้อ จิตแท้อย่าสมาน
๘. สุภาษิตข้อใดที]สอนเกี]ยวกับบุคลิกการวางตัวในสังคม
ก. ควรกล้ากล้ากล่าวถ้อย ทัIงหทัย แท้เฮย
ข. สรรพางค์โสภาคย์พร้อม ธัญลักษณ์
ค. มารยาทเรียบเสี4ยมสาน เสงี4ยมเงื4อน งามนอ
ง. สุจริตจิตโอบอ้อม อารี
๙. ข้อใดเป็นสามสิ]งควรเกลียด
ก. ชั4วเลวทราม มารยา ริษยา ข. เกียจคร้าน วาจาฟั4นเฝือ หยอกหยาบแลแสลง
ค. ยอ หน้าเนืIอใจเสือ กลับกลอก ง. ความดุร้าย ความหยิ4งกําเริบ อกตัญ_ู
๑๐. ข้อใดกล่าวถึงการไม่ประมาณตน
ก. กําเริบเอิบเกินสกุล หยิ4งก้อ ข. หึงจิตคิดเกลียดคน ดีกว่า ตัวแฮ
ค. พักตร์จิตผิดกันประมาณ ยากรู้ ง. พูดมากเปล่าเปลืองปน ปดเหล้น
๑๑. ข้อใดเป็นสามสิ]งควรจะหวงแทน หรือต่อสู้เพื]อรักษา
ก. ความสุขสบาย มิตรดี ใจสบาย ข. ศาสนา ยุติธรรม บําเพ็ญประโยชน์
ค. หนังสือดี เพื4อนดี ใจเย็นดี ง. ชื4อเสียงยศศักดิa บ้านเมืองของตน มิตรสหาย
๑๒. คําใดมีความหมายว่าริษยา
ก. มารษา ข. หึงจิต ค. เสี4ยมสาน ง. โทสาคติ
๑๓. ข้อใดมีความหมายต่างจากข้ออื]น
ก. มากเพื4อนผู้วานการ ชีพได้ ข. เว้นบาปเสาะกัลยาณ์ มิตรไว้
ค. เป็นสุขโสดตนรัก การชอบ ธรรมนา ง. คนรักร่วมอัธยา ศัยสุข ทุกข์แฮ
๑๔. “พักตร์จิตผิดกันประมาณ ยากรู้” มีความหมายตรงกับสํานวนในข้อใด
ก. ใจดีสู้เสือ ข. หน้าเนืIอใจเสือ
ค. ปากว่าตาขยิบ ง. ปากหวานก้นเปรีIยว
๑๕. ข้อใดสอนตรงกับ “ภาษิตจิตประจักษ์ ซื]อพร้อม”
ก. ควรกล้ากล้ากล่าวถ้อย ทัIงหทัย แท้แฮ ข. สุวภาพพจน์ภายใน จิตพร้อม
ค. วาจาจักพูดใน กิจสบ สรรพแฮ ง. พาทีมีสติรัIง รอคิด
๑๖. “สิ]งใดในโลกล้วน เปลี]ยนแปลง
หนึ]งชราหย่อนแรง เร่งร้น
ความตายติดตามแสวง ทําชีพ ประลัยเฮย
สามส่วนควรคิดค้น คติรู้เตรียมคอย”
คําประพันธ์ข้างต้นนี& กล่าวถึงเรื]องใด
ก. ไตรทวาร ข. สังสารวัฏ ค. อริยสัจ ง. ไตรลักษณ์
๑๗. “ คํายอยกย่องเพี&ยน ทุกประการ
พักตร์จิตผิดกันประมาณ ยากรู้
เร็วรัดผลัดพลันขาน คํากลับ พลันฤๅ
….......................................................................”
ควรใช้ข้อความใดเติมในช่องว่างข้างต้นนี&จึงจะถูกต้อง
ก. สามสิ4งควรกอบกู้ กับผู้นับถือ ข. ควรระงับดับสู้ สงบบ้างยังดี
ค. สามสิ4งจําทั4วผู้ พิทักษ์หมัIนครองระวัง ง. สามส่วนควรแล้วผู้ พะพ้องพึงแคลง
๑๘. สุภาษิตข้อใดที]สอนเกี]ยวกับเรื]องการวางตัวในสังคม
ก. มารยาทเรียบเสี4ยมสาร เสงี4ยมเงื4อน งามนอ
ข. สุจริตจิตโอบอ้อม อารี
ค. เว้นบาปเสาะกัลยาณ์ มิตรไว้
ง. ควรกล้ากล้ากล่าวถ้อย ทัIงหทัย แท้แฮ
๑๙. สุภาษิตข้อใดที]สอนเกี]ยวกับไตรลักษณ์
ก. ปัญญาสติลํIา เลิศญาณ ข. ขันติมีมากหมัIน สันดาน
ค. สิ4งใดในโลกล้วน เปลี4ยนแปลง ง. เหินห่างโมหะร้อน ริษยา
๒๐. ภาษิตในข้อใดที]ควรจะ “พะพ้องพึงแคลง”
ก. สิ4งใดในโลกล้วน เปลี4ยนแปลง ข. เกียจคร้านการท่านทัIง การตน ก็ดี
หนึ4งชราหย่อนแรง เร่งร้น พูดมากเปล่าเปลืองปน ปดเหล้น
ค. ใจชั4วชาติตํ4าช้า ทรชน ง. คํายอยกย่องเพีIยน ทุกประการ
ทุจริตมารยาปน ปกไว้ พักตร์จิตผิดกันประมาณ ยากรู้
๒๑. จากโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ข้อใดเป็นสิ]งที] “ควรใฝ่ เฝ้า แต่ตั&งอธิษฐาน”
ก. สงบระงับดับประสงค์ สิ4งเศร้า ข. ประพฤติเพื4อประโยชน์ศรี สวัสดิaทั4ว กันแฮ
ค. ปัญญาตรองตริลํIา ลึกหลาย ง. สิ4งเกษมสุขเปรมปรีดิa ดาพรั4ง พร้อมแฮ
๒๒. ความประพฤติในข้อใดที]ควรละเว้น
ก. หนึ4งยุติธรรมไป่มี เลือกผู้ ข. มากเพื4อนผู้วานการ ชีพได้
ค. หนึ4งขาดปราศโทษา คติห่อ ใจเฮย ง. อีกหนึ4งห่อนรู้คุณ ใครปลูกฝังแฮ
๒๓. ข้อใดไม่อยู่ใน “สามสิ]งควรคิดค้น คติรู้เตรียมคอย”
ก. เว้นบาปเสาะกัลยาณ์ มิตรไว้ ข. ความตายติดตามแสวง ทําชีพ ประลัยเอย
ค. หนึ4งชราหย่อนแรง เร่งร้น ง. สิ4งใดในโลกล้วน เปลี4ยนแปลง
๒๔. สามสิ]งที]เป็นสิ]งเที]ยงแท้ของมนุษย์คือ ข้อใด
ก. ปัญญา ฉลาด มั4นคง ข. อนิจจัง ชรา มรณะ
ค. หนังสือดี เพื4อนดี ใจเย็นดี ง. ความดุร้าย ความหยิ4งกําเริบ อกตัญ_ู
๒๕. โคลงบาทสุดท้าย “สามส่วนควรใฝ่ เฝ้า” หมายถึงอะไร
ก. ปัญญา ฉลาด มั4นคง
ข. อํานาจปัญญา เกียรติยศ มีมารยาทดี
ค. ความเชื4อถือ ความสงบ ใจบริสุทธิa
ง. ความสุขสบาย มิตรสหายที4ดีดี ใจสบายปรุโปร่ง
แบบทดสอบ
เรื*อง “โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ”
คําชี&แจง ให้นักเรียนเลือกคําตอบที4ถูกต้องที4สุดหรือเหมาะสมที4สุดเพียงคําตอบเดียว
๑. นฤทุมนาการ มีความหมายตามรูปศัพท์ตรงตามข้อใด
ก. สภาพที4ไม่เคยเสียใจ ข. สภาพที4ผู้ประพฤติตามไม่เคยเสียใจ
ค. ผู้ประพฤติตามกิจไม่เคยเสียใจ ง. กิจที4ผู้ประพฤติยังไม่เคยเสียใจ
๒. ž พาทีมีสติรั&ง รอคิด
รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง
คําพูดพ่างลิขิต เขียนร่าง เรียงแฮ
ฟังเพราะเสนาะต้อง โสตทั&งห่างภัย
สาระสําคัญของคําประพันธ์ข้างต้นคือข้อใด
ก. สอนเรื4องการคิด ข. สอนเรื4องการพูด
ค. สอนเรื4องการเขียน ง. สอนเรื4องการฟัง
๓. “อย่าทําเป็นกระต่ายตื]นตูม” มีความหมายตรงกับความในข้อใดมากที]สุด
ก. พาทีมีสติรัIง รอคิด ข. หยุดคิดพิจารณา แพ้ชนะ ก่อนนา
รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง ชอบผิดคิดเห็นแม้น ไม่ยัIงเสียความ
ค. ไป่ฟังคนพูดฟุ้ง ฟั4นเฝือ ง. อีกหนึ4งไป่เชื4อถ้อย คําคน ลือแฮ
เท็จและจริงจานเจือ คละเคล้า บอกเล่าข่าวเหตุผล เรื4องร้าย
๔. การพูดเพศนิทาน ในโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการนั&นเป็นการพูดเช่นไร
ก. คําพูดพ่างลิขิต เขียนร่าง เรียงแฮ ข. เท็จและจริงจานเจือ คละเคล้า
ค. บอกข่าวเล่าเหตุผล เรื4องร้าย ง. ...............คนพูดฟุ้ง ฟั4นเฝือ
๕. โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ ข้อใดที]เป็นการแสดงออกทั&งทางกาย วาจา และใจ
ก. เพราะความอดกลัIนต่อผู้อื4น, เพราะคิดเสียก่อนจึงพูด, เพราะไม่ได้พูดร้ายต่อใคร
ข. เพราะไม่ได้พูดร้ายต่อใคร, เพราะถามฟังความก่อนตัดสินใจ, เพราะความอดกลัIนต่อผู้อื4น
ค. เพราะความอดกลัIนต่อผู้อื4น, เพราะไม่ฟังคําคนพูดเพศนิทาน, เพราะทําความดีทั4วไป
ง. เพราะทําความดีทั4วไป, เพราะขอโทษบรรดาที4ได้ทําผิด, เพราะไม่หลงเชื4อข่าวร้าย
๖. โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ ข้อใดสอนต่างกับข้ออื]น
ก. รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง ข. ไป่หมิ4นนินทาบ้าย โทษให้ผู้ใด
ค. สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย ง. ฟังตอบสอบคําไข คิดใคร่ ครวญนา
๗. การกระทําในข้อใดจะได้รับผลตอบแทนดังนี&
“ไร้ศัตรูปองมล้าง กลับซ้องสรรเสริญ”
ก. เหินห่างโมหะร้อน ริษยา ข. ทําดีไป่เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย
สละส่อเสียดมารษา ใส่ร้าย แต่ผูกไมตรีไป รอบข้าง
ค. สามารถอาจห้ามอด วาจา ตนเฮย ง. ยินดีมีเรื4องน้อย ใหญ่ไฉน ก็ดี
ปางเมื4อยังโกรธา ขุ่นแค้น ยังบ่ลงเห็นไป เด็ดด้วน
๘. “ทําดีไป่ เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย
แต่ผูกไมตรีไป รอบข้าง
ทําคุณอุดหนุนใน การชอบ ธรรมนา
ไร้ศัตรูปองมล้าง กลับซ้องสรรเสริญ”
ใจความสําคัญของโคลงสุภาษิตบทนี& ต้องการให้ผู้อ่านประพฤติอย่างไร
ก. ให้เลิกสร้างศัตรู ข. สนับสนุนให้คนผูกมิตรกันไว้
ค. สนับสนุนให้คนทําความดี ง. สนับสนุนให้ยกย่องคนที4ไม่สร้างศัตรู
๙. ข้อใดสอนให้คนใช้วิจารณญาณในการฟัง
ก. ไป่ฟังคนพูดฟุ้ง ฟั4นเฝือ ข. พาทีมีสติรัIง รอคิด
เท็จและจริงจานเจือ คละเคล้า รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง
ค. ยินคดีมีเรื4องน้อย ใหญ่ไฉน ก็ดี ง. สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย
ยังบ่ลงเห็นไป เด็ดด้วน ปางเมื4อยังโกรธา ขุ่นแค้น
๑๐. “ผู้ประพฤติดั]งนั&น จักได้ใจเย็น” หมายถึงผู้ประพฤติตามข้อใด
ก. ทําดีไป่เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย
ข. เหินห่างโมหะร้อน ริษยา
ค. สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย
ง. ขันตีมีมากหมัIน สันดาน
๑๑. “ใดกิจผิดพลาดแล้ว ไป่ ละ ลืมเลย
หย่อนทิฐิมานะ อ่อนน้อม
ขอโทษเพื]อคารวะ วายบาด หมางแฮ
ดีกว่าปดอ้อมค้อม คิดแก้โดยโกง”
การปฏิบัติตนดังคําประพันธ์นี&จะก่อให้เกิดผลอย่างไรแก่ผู้ปฏิบัติ
ก. ได้รับความนิยม ข. ได้รับความศรัทธา
ค. ได้รับความเห็นใจ ง. ได้รับความยกย่อง
๑๒. นิทานเรื]องกระต่ายตื]นตูมสอนตรงกับข้อใด
ก. อาการอันเกิดด้วย นํIาใจ แปรฤๅ ข. ยินคดีมีเรื4องน้อย ใหญ่ไฉน ก็ดี
ใจซึ4งรีบเร็วไว ก่อนรู้ ยังบ่ลงเห็นไป เด็ดด้วน
ค. ไป่ฟังคนพูดฟุ้ง ฟั4นเฝือ ง. อีกหนึ4งไป่เชื4อถ้อย คําคน ลือแฮ
เท็จและจริงจานเจือ คละเคล้า บอกเล่าข่าวเหตุผล เรื4องร้าย
๑๓. “การบริจาคให้แก่ผู้ที]เคราะห์ร้ายเป็นสิ]งที]เรียกว่าทําบุญ และการทําบุญนั&นเพื]ออะไร คือทําบุญเพื]อให้จิตใจ
เราสบาย นอกจากนี&จะเป็นทางที]จะได้บุญ ได้บุญนั&น คือได้ความสบาย ความสุข ความสุขเรามีอยู่แล้ว
ตั&งแต่ตอนช่วยเหลือเราได้แน่นอน ฉะนั&นการทําบุญย่อมจะได้ผลมาในวันหนึ]งแน่นอน”
พระบรมราโชวาทข้างต้นนี&สอนตรงกับสุภาษิตข้อใด
ก. ทําดีไป่เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย ข. กรุณานรชาติผู้ พ้องภัย พิบัติเฮย
แต่ผู้ไมตรีไป รอบข้าง ช่วยรอดปลอดความกษัย สว่างร้อน
ค. หนึ4งยุติธรรมไป่มี เลือกผู้ ง. ทําคุณอุดหนุนใน การชอบ ธรรมนา
ประพฤติเพื4อประโยชน์ศรี สวัสดิaทั4วกันแฮ ไร้ศัตรูปองมล้าง กลับซ้องสรรเสริญ
๑๔. “ผลจักเพิ]มพูนใน อนาคต กาลแฮ
ชนจักชูชื]อช้อน ป่ างเบื&องปัจจุบัน”
เป็นผลของการประพฤติในข้อใด
ก. เหินห่างโมหะร้อน ริษยา ข. ยินดีมีเรื4องน้อย ใหญ่ไฉน ก็ดี
สละส่อเสียดมารษา ใส่ร้าย ยังบ่ลงเห็นไป เด็ดด้วน
ค. สามารถอาจห้ามอด วาจา ตนเฮย ง. กรุณานรชาติผู้ พ้องภัย พิบัติเฮย
ปางเมื4อยังโกรธา ขุ่นแค้น ช่วยรอดปลอดความกษัย สว่างร้อน
๑๕. “ใดกิจผิดพลาดแล้ว ไป่ ละ ลืมเลย
หย่อนทิฐิมานะ อ่อนน้อม
ขอโทษเพื]อคารวะ ...........................
ดีกว่าปดอ้อมค้อม คิดแก้โดยโกง”
ควรเติมข้อความใดลงในช่องว่างจึงจะถูกต้อง
ก. คิดใคร่ ครวญนา ข. การชอบ ธรรมนา
ค. วายบาด หมางแฮ ง. ท่านทั4ว ไปนา
๑๖. ข้อใดสอนตรงกับหัวใจนักปราชญ์มากที]สุด
ก. คําพูดพ่างลิขิต เขียนร่าง เรียงแฮ ข. ฟังตอบสอบคําไข คิดใคร่ ครวญนา
ค. สืบสวนประกอบจน แจ่มเท็จ จริงนา ง. ไป่ฟังคนพูดฟุ้ง ฟั4นเฝือ
๑๗. “วาจาจักพูดใน กิจสบ สรรพแฮ
สามสิ]งจําทั]วผู้ พิทักษ์หมั&นครองระวัง”
คําประพันธ์ข้างต้นสอนตรงกับข้อใด
ก. สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย ข. เหินห่างโมหะร้อน ริษยา
ปางเมื4อยังโกรธา ขุ่นแค้น สละส่อเสียดมารษา ใส่ร้าย
ค. พาทีมีสติรัIง รอคิด ง. คําหยาบจาบจ้วงอา ฆาตขู่ เข็ญเฮย
รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง ไป่หมิ4นนินทาบ้าย โทษให้ผู้ใด
๑๘. “ไร้ศัตรูปองมล้าง กลับซ้องสรรเสริญ”
เป็นผลของการประพฤติในข้อใด
ก. ทําดีไป่เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย ข. กรุณานรชาติผู้ พ้องภัย พิบัติเฮย
แต่ผู้ไมตรีไป รอบข้าง ช่วยรอดปลอดความกษัย สว่างร้อน
ค. ขันตีมีมากหมัIน สันดาน ง. อีกหนึ4งไป่เชื4อถ้อย คําคน ลือแฮ
ใครเกะกะระราน อดกลัIน บอกเล่าข่าวเหตุผล เรื4องร้าย
๑๙. ข้อใดเป็นการสอนสุภาษิตต่างจากข้ออื]น
ก. ฟังตอบขอบคําไข คิดใคร่ ครวญนา
ห่อนตัดสินห้วนห้วน เหตุด้วยเบาความ
ข. ขอโทษเพื4อคารวะ วายบาด หมางแฮ
ดีกว่าปดอ้อมค้อม คิดแก้โดยโกง
ค. คําพูดพ่างลิขิต เขียนร่าง เรียงแฮ
ฟังเพราะเสนาะต้อง โสตทัIงห่างภัย
ง. สืบสอบประกอบจน แจ่มเท็จ จริงนา
ยังบ่ด่วนยักย้าย ตื4นเต้นก่อนกาล
๒๐. ข้อใดเป็นผลการฟังคําคนพูดเพศนิทาน
ก. ไร้ศัตรูปองมล้าง กลับซ้องสรรเสริญ ข. ฟังเพราะเสนาะต้อง โสตทัIงห่างภัย
ค. ฟังจะพาพลอยเข้า พวกเพ้อรังควาน ง. ชนจักชูชื4อช้อน ป่างเบืIองปัจจุบัน
! ! ! ! !
แบบทดสอบ
เรื*อง “โคลงสุภาษิตอิศปปกรณํา”
คําชี&แจง ให้นักเรียนเลือกคําตอบที4ถูกต้องที4สุดหรือเหมาะสมที4สุดเพียงคําตอบเดียว
๑. นิทานอีสปเป็นเรื]องที]แปลมาจากนิทานของชาติใด
ก. กรีก ข. โรมัน ค. อังกฤษ ง. ฝรั4งเศส
๒. “อีสปปกรณัม” คําว่า “ปกรณัม” ในที]นี&แปลว่าอะไร
ก. ตอน ข. เรื4อง ค. นิทาน ง. ตํานาน
๓. “ดุจไก่พบแก้วลํ&า หลีกแล้วเลยจร”
โคลงบาทนี&ให้ข้อคิดตรงกับข้อใด
ก. คนโง่ย่อมเป็นเหยื4อของคนฉลาด ข. ของดีของมีค่าอยู่ที4ไหนก็ยังคงมีคุณค่า
ค. ผู้ที4ฉลาดย่อมรู้ว่าสิ4งใดมีประโยชน์แก่ตน ง. ของดีของมีค่าย่อมมีประโยชน์แก่ผู้รู้จักใช้เท่านัIน
๔. “อย่าควรประมาทผู้ ทุรพล”
คําว่า “ทุรพล” มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. ศัตรู ข. ผู้พิการ ค. ผู้มีกําลังน้อย ง. ผู้ตกทุกข์ได้ยาก
๕. ข้อใดมีความหมายต่างกับคําว่า “ปรปักษ์”
ก. ริปู ข. นิกร ค. อมิตร ง. ดัสกร
๖. เรื]องบิดากับบุตรทั&งหลาย ให้ข้อคิดแก่ผู้อ่านตามข้อใด
ก. ให้พี4น้องมีความซื4อสัตย์ต่อกัน
ข. ให้บุตรมีความกตัญ_ูรู้คุณบิดา
ค. ให้บิดามีความรักใคร่ในตัวบุตรทุกคนเท่า ๆ กัน
ง. ให้พี4น้องมีความรักใคร่สามัคคีปรองดองเป็นนํIาหนึ4งใจเดียวกัน
๗. นิทานอีสปเรื]องสุนัขป่ ากับลูกแกะ ให้ข้อคิดแก่ผู้อ่านตามข้อใด
ก. คบสองหนองแหลก ข. คบคนจรหมอนหมิ4น
ค. คบคนพาลพาลพาไปหาผิด ง. คบคนให้ดูหน้า ซืIอผ้าให้ดูเนืIอ
๘. “ชาติกักขฬะดุร้ายสันดาน”
คําว่า “กักขฬะ” มีความหมายตรงกับข้อใด
ก. ดุร้ายมาก ข. โหดร้ายมาก
ค. เหีIยมโหดมาก ง. หยาบคายมาก
๙. นิทานอีสปเรื]องกระต่ายกับเต่า ให้ข้อคิดแก่ผู้อ่านในเรื]องใด
ก. อย่าลืมตัว
ข. อย่าไว้ใจทาง
ค. อย่าวางใจคน
ง. อย่าประมาทกําลังของคู่ต่อสู้
๑๐. ข้อใดให้ความหมายของคําศัพท์ไว้ไม่ถูกต้อง
ก. มละ = ความมัวหมอง
ข. เชืIอวงศ์ = ญาติพี4น้อง
ค. เชาวน์ชาญ = ปัญญาหรือความฉับไวที4ชัดเจน
ง. เบียนบีฑา = เบียดเบียน
! ! ! ! !
ตอนที่ ๑
คำชี้แจง : ให3นักเรียนเขียน “บ” หน3าข3อความที่เปAนภาษาบาลี และ “ส”
หน3าข3อความที่เปAนภาษาสันสกฤต
………. ๑. สามี ………. ๒. สวามี
………. ๓. ดัชนี ………. ๔. ฤดู
………. ๕. ดรรชนี ………. ๖. ฤษี
………. ๗. นฤคหิต ………. ๘. นิคหิต
………. ๙. เขต ………. ๑๐. เกษตร
………. ๑๑. ไทยทาน ………. ๑๒. เกียรติ
………. ๑๓. เขม ………. ๑๔. เกษม
………. ๑๕. เกษียร ………. ๑๖. ปราณี
………. ๑๗. นารายณX ………. ๑๘. อาสาฬห
………. ๑๙. บริเวณ ………. ๒๐. อริยะ
………. ๒๑. จรรยา ………. ๒๒. จักรี
………. ๒๓. บุตรี ………. ๒๔. ปรีดา
………. ๒๕. ชิวหา ………. ๒๖. มัลลิกา
………. ๒๗. วัลลียX ………. ๒๘. อัสสาสะ
………. ๒๙. อุณหภูมิ ………. ๓๐. กัญญา
………. ๓๑. นรินทรX ………. ๓๒. นิพพาน
………. ๓๓. อธิปไตย ………. ๓๔. มโหฬาร
………. ๓๕. สิริ ………. ๓๖. องคX
………. ๓๗. อิทธิ ………. ๓๘. ฤทธิ์
………. ๓๙. อัคคี ………. ๔๐. อัคนี
………. ๔๑. อักขร ………. ๔๒. อักษร
………. ๔๓. การณX ………. ๔๔. ป`จจุบัน
………. ๔๕. กัป ………. ๔๖. กัลปa
………. ๔๗. แพทยX ………. ๔๘. รังสี
………. ๔๙. รัศมี ………. ๕๐. พฤกษX
ตอนที่ ๒
คำชี้แจง : คำบาลีในข3อตcอไปนี้ตรงกับรูปคำสันสกฤต จงจับคูcให3สัมพันธXกัน
………. ๑. หทัย ก. หัสดิน
………. ๒. มน ข. ขัย
………. ๓. หัตถี ค. อัตถX
………. ๔. ดาวดึงสX ง. ทิฐิ
………. ๕. สาลิกา ฉ. ป`ทมา
………. ๖. กษัย ช. หฤทัย
………. ๗. สิเนcหา ซ. ศรี
………. ๘. อัตตา ฌ. มัชฌิม
………. ๙. มัธยม ญ. มนัส
………. ๑๐. อรรถ ฎ. พิสดาร
………. ๑๑. วิตถาร ฏ. สาริกา
………. ๑๒. กัณหา ฐ. รตน
………. ๑๓. สุริยะ ฑ. ไตรตรึงสX
………. ๑๔. รัตนะ ฒ. จรรยา
………. ๑๕. ปทุม ณ. อาตมา
………. ๑๖. จริยา ด. สูรยX
………. ๑๗. ทฤษฎี ต. พฤกษX
………. ๑๘. ฤทธิ์ ถ. เมาลี
………. ๑๙. รุกขX ท. เสนcหX
………. ๒๐. โอรส ธ. อิทธิฤทธิ์
น. คุรุ
บ. กฤษณา
ป. เอารส
แบบฝึกหัด เรื,องคํา สมาส คํา สนธิ
1. “ เขาตั'งสัจจาธิษฐานต่อพระพุทธรูปใสโบสถ์ว่า ขออย่าให้ธัญญาหารเสียหายจากภัยธรรมชาติ
เขาจะดํารง
ชีวิตอยู่ในธรรมตลอดไป” ข้อความข้างต้นมีคํา สมาสกีNคํา
1. 2 คํา 2. 3 คํา
3. 4 คํา 4. 5 คํา
2. คํา ในข้อใดมีโครงสร้างเหมือนกับคํา สมาสแต่ไม่ใช่คํา สมาส
1. พลเมือง 2. กายกรรม
3. ธุรกิจ 4. สันติภาพ
3. คํา ทุกคํา ในข้อใดมีคํา สมาสทีNประกอบจากคํา 3 คํา
1. สหราชอาณาจักร ทรัพยากรศาสตร์ จุลชีววิทยา 2. พุทธศตวรรษ สรีรวิทยา
พฤติกรรมศาสตร์
3. นิรโทษกรรม กิตติกรรมประกาศ ไตรโลกนาถ 4. สารานุกรม พันธุกรรมศาสตร์
ประชาทัณฑ์
4. “ทรัพย์สินทางปัญญาเป็นสิNงมีค่ายิNง จึงมีลิขสิทธิWการคิดค้นประดิษฐกรรมใหม่”
ข้อความข้างต้นมีคํา สมาสและคํา ประสมอย่างละกีNคํา
1. คํา สมาส 1 คํา คํา ประสม 2 คํา 2. คํา สมาส 2 คํา คํา ประสม 1 คํา
3. คํา สมาส 3 คํา คํา ประสม 2 คํา 4. คํา สมาส 2 คํา คํา ประสม 2 คํา
5 ข้อใดมีลักษณะเหมือนคํา ว่า “ราโชวาท”
1. วัฒนธรรม พลศึกษา ภารกิจ 2. ธุรการ พุทธคุณ อักษรศาสตร์
3. ธนาลัย มโหฬาร สุโขทัย 4. ครุภัณฑ์สุนทรทาน สัณหจุฑา
6. ข้อใดเป็นคํา สมาสทีNใช้วิธีการสนธิเพียง 1 คํา
1. ขีปนาวุธ ยุทโธปกรณ์ 2. สรรพากร สรรพสามิต
3. ปฏิชีวนะ ปฏิกิริยา 4. กัมมันตภาพ อุณหภูมิ
7. ข้อใดมีคํา สมาสทีNกลมกลืนเสียง
1. ธรรมบท บุญฤทธิW มงคลวาร 2. เยาวลักษณ์ วิทยาเขต ทศวรรษ
3. โลกนาถ ภัณฑารักษ์กรรมฐาน 4. ศุภนิมิต สหกรณ์ นิติกรรม
8. มีโฆษณาวารสารฉบับหนึNงเขียนว่า “กล่องกระดาษชนิดเติมเป็นบรรจุภัณฑ์สํา หรับใส่ของเหลว
ทีNใช้กันแพร่หลายในประเทศซึNงพัฒนาแล้ว เพราะกล่องชนิดนี'จะช่วยให้มีขยะน้อย ปัญหา
สิNงแวดล้อมก็จะลดลงด้วย กล่องเหล่านี'ขนส่งไปได้คราวละมากๆ จึงช่วยประหยัดพลังงานทีNจะต้อง
สูญเสียไปในแต่ละเทีNยว”ข้อความข้างต้นมีคํา สมาสกีNคํา
1. 2 คํา 2. 3 คํา
3. 4 คํา 4. 5 คํา
9. ข้อใดเป็นคํา สมาสซึNงไม่มีการสนธิ
1. สุขาภิบาล ราโชบาย ภูมินทร์ เทศาภิบาล 2. ราชาธิปไตย กาญจนาภรณ์ มหานิ
สงส์ มหรรณพ
3. มหัศจรรย์นรินทร์ มเหสี คเชนทร์ 4. ศิลปวิทยา พลโลก มนุษยธรรม
จันทรคติ
10. “ขอพระมหากรุณาธิคุณบุญญาธิการจงชักนํา ให้เกิดสามัคคีธรรมในหมู่ไทย อย่าได้รู้ร้าวราน
ให้ทุกฝ่าย
มีใจสมัครสมานเป็นอันหนึNงอันเดียวเกลียวกลม เป็นพลังอันอุดมยิNงใหญ่ ทีNจะประกอบกิจกรณีย์นํา
ไทย
ให้วัฒนายืนยิNง ประสบแต่สิNงศุภสวัสดิWตลอดจิรัฏฐิติกาล” ข้อความข้างต้นมีคํา สมาสกีNคํา
1. 2 คํา 2. 3 คํา
3. 4 คํา 4. 5 คํา
11. ข้อใดทีNทุกคํา มีการสร้างคํา เช่นเดียวกับคํา ว่า พลานามัย
1. อัธยาศัย นิโลบล นภาลัย 2. ทัศนาจร ภูมิปัญญา เพชฌฆาต
3. ฐานันดร กมลาสน์ จินตนาการ 4. จิตวิทยา ปฐมยาม มรณภาพ
12. ข้อใดทีNทุกคํา มีการสร้างคํา เช่นเดียวกับคํา ว่า สุขภาพ
1. จตุบท ธนบดี นภาลัย 2. จุลกฐิน บุพบท รัชกาล
3. จิตนิยม ชิโนรส ธัญญาหาร 4. ภูมิภาค โภชนาการ มิจฉาชีพ
13. “สารมีพิษต่างๆ อันเนืNองมาจากการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม ล้วนเป็นสิNงทีNทํา ให้เกิดมลพิษ
ทั'งสิ'นนอกจากนั'นอุณหภูมิของนํ'าทีNสูงขึ'นจากการระบายถ่ายเทความร้อนจากโรงงานต่างๆ ทํา ให้
ออกซิเจนทีNละลายนํ'าได้ลดน้อยลง ซึNงมีผลกระทบต่อปลาและสัตว์นํ'าเป็นอันมาก” ข้อความข้างต้น
มีคํา สมาสกีNคํา
1. 2 คํา 2. 3 คํา
3. 4 คํา 4. 5 คํา
14. คํา ในข้อใดเป็นคํา สมาสทุกคํา
1. คุณสมบัติ คุณากร คุณค่า 2. ราชการ ราชวัง ราชรถ
3. มโหฬาร มหาวิทยาลัย มหาภัย 4. พลานามัย พลศึกษาพลความ
15. “เมืNอก่อนชาวนาในบางภาคประสบปัญหาเพาะปลูกไม่ได้ผล เพราะผืนดินแห้งแล้ง แม้จะทํา
งานหนัก
อย่างไม่ย่อท้อ แต่ก็มีชีวิตอยู่อย่างอดอยาก มีหนี'สิน แต่ในปัจจุบันยุคโลกาภิวัตน์ พวกเขารู้เกีNยวกับ
วิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ๆ ทํา ให้ได้ผลผลิตมากขึ'น ชีวิตจึงดีขึ'นทุกด้าน บางคนรํNารวยจน
สามารถใช้
โทรศัพท์มือถือและโทรสารได้ด้วย” ข้อความข้างต้นมีคํา สมาสกีNคํา
1. 3 คํา 2. 4 คํา
3. 5 คํา 4. 6 คํา
16. ข้อใดมีคํา สมาสทีNมีการสนธิทั'งหมด
1. มโนมัย สัมมาทิฐิ โยธาธิการ 2. คุณูปการ นามาภิไธย ชราภาพ
3. ทัศนูปกรณ์ ชโลทร นิทรารมณ์ 4. มหาวิทยาลัย ธนาณัติ รัชนีกร
17. “การตัดไม้ทํา ลายป่า การใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย ล้วนเป็นมูลเหตุในการทํา ลาย
สภาพแวดล้อม
แล้วพรุ่งนี'จะยังมีอากาศหลงเหลืออยู่อีกหรือ เรามาช่วยกันปกป้องชีวิตและรักษาสภาพแวดล้อมให้
ปราศจากมลพิษเสียตั'งแต่วันนี' พรุ่งนี'จะได้มีอากาศบริสุทธิWไว้หายใจ”
ข้อความข้างต้น ไม่มี การใช้คํา ชนิดใด
1. คํา ประสม 2. คํา ซ้อนเพืNอเสียง
3. คํา ซ้อนเพืNอความหมาย 4. คํา สมาสทีNมีการสนธิ
18. ข้อใดไม่เป็นคํา สมาสทุกคํา
1. วีรบุรุษ ทุนทรัพย์นาฏศิลป์ 2. เอกชน ปาฐกถา วาตภัย
3. ภาพยนตร์ บุตรทาน วิศวกรรม 4. โจรภัย ปิยมหาราช มยุรฉัตร
19. ข้อความต่อไปนี'มีคํา ประสมและคํา สมาสกีNคํา (ไม่นับคํา ซํ'า)
“ในบรรดาเครืNองปรุงรส สิNงหนึNงทีNไม่สามารถขาดได้เลยในครัวของเราก็คือ “นํ'าปลา” เรารู้จักนํ'า
ปลากัน
ดี แต่คงมีไม่กีNคนนักทีNจะทราบว่า นํ'าปลาดีมีคุณภาพและมีคุณค่าทางโภชนาการเป็นอย่างไร ส่วน
กรรม
วิธีในการผลิตก็มีส่วนทํา ให้รสของนํ'าปลาแตกต่างกันด้วย”
1. คํา ประสม 2 คํา คํา สมาส 4 คํา 2. คํา ประสม 3 คํา คํา สมาส 3 คํา
3. คํา ประสม 4 คํา คํา สมาส 3 คํา 4. คํา ประสม 5 คํา คํา สมาส 2 คํา
20. ข้อใดเรียงลํา ดับประเภทของคํา ดังนี' : คํา ประสม คํา ซ้อน คํา สมาส
1. แสวงหา สนใจ สุตกวี 2. พิษภัย บทบาท บริโภค
3. จุดหมาย เบิกบาน อรรถคดี 4. อ้างอิง ตกตํNา เสรีภาพ
แบบฝEกหัด เรื่อง คำสมาส
๑) จงแยกคำสนธิต*อไปนี้ใหCถูก
ตัวอย*าง สามัคยาจารย = สามัคคี + อาจารย_
๑. สิรยากร = ……………..
๒. พลิสร = ……………..
๓. ธาตวากร = ……………..
๔. มตยาธิบาย = ……………..
๕. จักขุนทรีย_ = ……………..
๖. ภยูปvทวันตราย = ……………..
๗. สิทธัตถะ = ……………..
๘. หัตถาจารย_ = ……………..
๙. นิโลบล = ……………..
๑๐. ราชินูปถัมภ_ = ……………..
๑๑. มหัศจรรย_ = ……………..
๑๒. มหรรณพ = ……………..
๑๓. อัคโยภาส = ……………..
๑๔. มโนภาพ = ……………..
๑๕. รโหฐาน = ……………..
๑๖. ยโสธร = ……………..
๑๗. สมมุติ = ……………..
๑๘. สันนิษฐาน = ……………..
๑๙. สนเทศ = ……………..
๒๐. สัมผัส = ……………..
๒) ต*อไปนี้มีทั้งคำสมาส สนธิ และคำประสม จงขีดเสCนใตCคำสมาส
๑. พเนจร ธนาณัติ มฤคมาศ ๒. เมฆนาท สนธยากาล มโหระทึก
๓. วิทยาทาน วิทยาลัย ประวัติชีวิต ๔. สังฆาธิการ รุกขมูล สมจร
๕. สัญเจตนา วิบากกรรม ทรัพย_สมบัติ ๖. เคมีภัณฑ_ จรรยาบรรณ มัณฑณศิลป
๗. สันโดษ สหประชาชาติ ยานพาหนะ ๘. มูลผลา บาดทะยัก สนเทศ
๙. คุรุกรรม คุรโวปกรณ_ ซากศพ ๑๐. บรรณศาลา บรรณาคาร บรรณารักษ_
๑๑. แพทย_สัตว_ สังสาร ชาติวุฒิ ๑๒. คเชนทร_ กุญชรชาติ วิเชียรโชติ
๑๓. มังสวิรัติ พลเมือง ศาลทหาร ๑๔. กรณีพิพาท วัยวุฒิ ไพรอนันต_
๑๕. เจตนากรรม เจตนารมณ_ เจตนากร ๑๖. อิทธิบาท นรากร เทพนม
๑๗. กรรมวิธี คดีแพYง ธนาลัย ๑๘. เทพประทาน ญาณวิถี พิธีพราหมณ_
๑๙. วิชชุบดี บาทหลวง สมาทาน ๒๐. จามเทวี เตโชธาตุ นครภัณฑ_
ติวก่อนสอบ ม.2

More Related Content

What's hot

แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖baicha1006
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนTong Thitiphong
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดNam M'fonn
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาแนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาP'kob Nong'kob
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕อร ครูสวย
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1Sivagon Soontong
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานpacharawalee
 

What's hot (20)

แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
บทเรียนสำเร็จรูปกาพย์ฉบัง๑๖
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียนเฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
เฉลย แบบทดสอบหลังเรียน
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาแนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
ข้อสอบปลายภาค ๑ ๒๕๕๕
 
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ 2 (ม.4).1
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
แบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงานแบบประเมินผลชิ้นงาน
แบบประเมินผลชิ้นงาน
 

Similar to ติวก่อนสอบ ม.2

ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาKwandjit Boonmak
 
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาKwandjit Boonmak
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netvanichar
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธniralai
 
Power point คำราชาศัพท์
Power  point  คำราชาศัพท์Power  point  คำราชาศัพท์
Power point คำราชาศัพท์Jazz Kanok-orn Busaparerk
 
แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1
แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1
แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1vanichar
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1Mameaw Pawa
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddhaTongsamut vorasan
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34Kittisak Chumnumset
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทยอร ครูสวย
 

Similar to ติวก่อนสอบ ม.2 (20)

แนวข้อสอบอภิธรรมปิฎก (เวิร์ด)
แนวข้อสอบอภิธรรมปิฎก (เวิร์ด)แนวข้อสอบอภิธรรมปิฎก (เวิร์ด)
แนวข้อสอบอภิธรรมปิฎก (เวิร์ด)
 
ถาม ตอบอภิธรรมปิฎก
ถาม ตอบอภิธรรมปิฎกถาม ตอบอภิธรรมปิฎก
ถาม ตอบอภิธรรมปิฎก
 
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
 
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษาติวสอบ O net สังคมศึกษา
ติวสอบ O net สังคมศึกษา
 
ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6ส 43101 ม.6
ส 43101 ม.6
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
ติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O netติวเตรียมสอบ O net
ติวเตรียมสอบ O net
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
Lion
LionLion
Lion
 
Tripoom
TripoomTripoom
Tripoom
 
Power point คำราชาศัพท์
Power  point  คำราชาศัพท์Power  point  คำราชาศัพท์
Power point คำราชาศัพท์
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1
แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1
แบบทดสอบภาษาไทย ชุดที่ 1
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
 
เนเน่
เนเน่เนเน่
เนเน่
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
2011 thai
2011 thai2011 thai
2011 thai
 
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทยใบความรู้ เรื่อง  สำนวนไทย
ใบความรู้ เรื่อง สำนวนไทย
 

More from ssuser456899

ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยssuser456899
 
เห็นแก่ลูก
เห็นแก่ลูกเห็นแก่ลูก
เห็นแก่ลูกssuser456899
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียนssuser456899
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำssuser456899
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศssuser456899
 
ประโยคความซ้อน ม.๒
ประโยคความซ้อน ม.๒ประโยคความซ้อน ม.๒
ประโยคความซ้อน ม.๒ssuser456899
 

More from ssuser456899 (6)

ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
เห็นแก่ลูก
เห็นแก่ลูกเห็นแก่ลูก
เห็นแก่ลูก
 
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียนแบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒  นักเรียน
แบบฝึกหัดคำภาษาต่างประเทศ ม.๒ นักเรียน
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
ประโยคความซ้อน ม.๒
ประโยคความซ้อน ม.๒ประโยคความซ้อน ม.๒
ประโยคความซ้อน ม.๒
 

ติวก่อนสอบ ม.2

  • 1. ข#อสอบวัดพฤติกรรมการเรียนรู#ด#าน Cognitive ระดับมัธยมศึกษาปEที่ ๒ เรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดาร (พระสุริโยทัยขาดคอช#าง) คำชี้แจง จงเลือกคำตอบที่ถูกต#องที่สุดเพียงข#อเดียว ๑. โคลงพระสุริโยทัยขาดคอช#างคัดมาจากหนังสือเลYมใด (ความรู#ความจำ) ก. ประชุมพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ข. นารีเรืองนาม ค. โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ง. คำเริงสดุดีสตรีไทยนักรบ ๒. ผู#แตYงโคลงภาพพระราชพงศาวดารคือใคร (ความรู#ความจำ) ก. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล#าเจ#าอยูYหัว ข. พระเจ#าบรมวงศ_เธอ กรมพระนราธิปพระพันธ_พงศ_ ค. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล#าเจ#าอยูYหัว ง. พระยาอุปกิตศิลปะสาร ๓. เรื่องพระสุริโยทัยขาดคอช#างแตYงด#วยคำประพันธ_ชนิดใด (ความเข#าใจ) ก. กาพย_ยานี ข. กลอนเสภา ค. กลอนสุภาพ ง. โคลงสี่สุภาพ ๔. เรื่องพระสุริโยทัยขาดคอช#างเกิดขึ้นในสมัยรัชกาลใด (ความเข#าใจ) ก. สมเด็จพระชัยราชาธิราช ข. สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ค. สมเด็จพระมหินทร_ ง. สมเด็จพระมหาธรรมราชา ๕. ข#อใดแสดงการเคลื่อนไหวรวดเร็วที่สุด (การประเมินผล) ก. เถลิงคชาธารคว#าง ควบเขาขบวนไคล ข. สารทรงซวดเซผัน หลังแลYน เตลิด แฮ ค. ตะเลงขับคชไลYใกล# หวิดท#ายคชาธาร ง. ขุนมอญรYอนง#าวฟาด ฉาดฉะ
  • 2. ๔ ๖. ข#อใดใช#คำและสัมผัสที่ให#ความหมายเสียงดีเดYนที่สุด (การประเมินผล) ก. สารทรงซวดเซผัน หลังแลYน เตลิดแฮ ข. ขับคเชนทร_เขYนค้ำ สะอึกสู#ดัสกร ค. ขุนมอญรYอนง#าวฟาด ฉาดฉะ ง. สูญชีพไปkสูญสิ้น พจน_ผู#สรรเสริญ ๗. วีรกรรมของสมเด็จพระสุริโยทัยที่แสดงถึงคุณธรรมคือข#อใด (ความเข#าใจ/การนำไปใช#) ก. ความเสียสละเพื่อพระสวามี ข. ความรักพระสวามี ค. ความรักชาติ ก. ความกล#าหาญ ๘. นักเรียนคิดวYาคำประพันธ_บทสุดท#ายมีกลวิธีการแตYงอยYางไร (การวิเคราะห_) ก. เปpนตอนสำคัญของเรื่อง ข. พรรณนาเห็นภาพสะเทือนใจ ค. บทสดุดีเกียรติคุณ ง. ถูกทุกข#อที่กลYาวมา ๙. มอญม*านประมวลมา สามสิบ หมื่นแฮ คำที่พิมพ_ตัวหนามีความหมายวYาอยYางไร(ความเข#าใจ) ก. มอญ ข. พมYา ค. ญวน ง. เขมร ๑๐. ให#เลือกเติมคำประพันธ_ตYอไปนี้ให#ถูกต#อง (ความจำ/การนำไปใช#) .................................... พิสมัย ทYานนา ก. นงคราญองค_เอกแก#ว ข. ขาดแลYงตราบอุระ ค. บุเรงนองนามราชเจ#า ง. บังอรอัคเรศผู# แบบทดสอบก*อนเรียน-หลังเรียน เรื่อง พระสุริโยทัยขาดคอชCาง คำสั่ง ให#นักเรียนวงกลมคำตอบที่ถูกต#องที่สุดเพียงคำตอบเดียว ๑.ใครแตYงบทร#อยกรองนี้ ก.พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล#าเจ#าอยูYหัว ข.พระบาทสมเด็จพระมงกุฎ
  • 3. เกล#าเจ#าอยูYหัว ค.พระเจ#าบรมวงศ_เธอ กรมพระนราธิปประพันธ_พงศ_ ง.พระยาอุปกิตศิลปสาร ๒.เหตุการณ_ในเรื่องนี้เกิดขึ้นในรัชกาลใด ก.สมเด็จพระชัยราชาธิราช ข.สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ ค.สมเด็จพระมหินทร_ ง.สมเด็จพระมหาธรรมราชา ๓.ใครเปpนจอมทัพข#าศึกตามบทร#อยกรองนี้ ก.พระเจ#าตะเบงชะเวตี้ ข.พระเจ#าบุเรงนอง ค.พระเจ#าแปร ง.พระเจ#านันทบุเรง ๔.เรื่องนี้แตYงด#วยคำประพันธ_ชนิดใด ก.กาพย_ยานี ข.กลอนเสภา ค.กลอนสุภาพ ง.โคลงสี่สุภาพ ๕.เรื่องนี้ใช#โวหารชนิดใดเดYนชัดที่สุด ก.พรรณา ข.บรรยาย ค.อุปมาหรือเปรียบเทียบ ง.เทศนา ๖.เกิดเหตุการณ_อะไรกับสมเด็จพระสุริโยทัย ก.ถูกอาวุธข#าศึกบาดเจ็บสิ้นพระชนม_ในตYอมา ข.ถูกอาวุธข#าศึกสิ้นพระชนม_ทันทีและชิงศพกลับมาได#ภายหลัง ค.ถูกอาวุธข#าศึกบาดเจ็บข#าศึกกุมพระองค_ไปเปpนตัวประกันและสิ้นพระชนม_ในตYอมา ง.ถูกอาวุธข#าศึกสิ้นพระชนม_ทันที และกันพระศพเอาไว# แบบทดสอบก่อนเรียน-หลังเรียน เรื3อง พันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต คําชี?แจง ให้นักเรียนวงกลมหน้าข้อที3ถูกต้องที3สุดเพียงคําตอบเดียว ๑.เรื่องนี้แต.งด0วยคำประพันธ:ชนิดใด ก.กาพย:ยานี ข.กลอนเสภา ค.กลอนสุภาพ ง.โคลงสี่สุภาพ ๒.พระเจ0าแผ.นดินเสด็จไปที่ไหน ก.ปากน้ำเจ0าพระยา ข.ปากน้ำท.าจีน ค.ปากน้ำแม.กลอง ง.ปากน้ำบางปะกง ๓.โคกขาม ซึ่งเปSนสถานที่เกิดเหตุการณ:ในเรื่องนี้อยู.ที่ไหนในปWจจุบัน
  • 4. ก.จังหวัดสมุทรปราการ ข.จังหวัดสมุทรสาคร ค.จังหวัดสมุทรปราการ ง.จงหวัดฉะเชิงเทรา ๔.กฎหมายเกี่ยวกับคนถือท0ายเรือทำให0โขนเรือพระที่นั่งหักมีว.าอย.างไร ก.ถูกจำคุกตลอดซีวิตและริบทรัพย: ข.ถูกประหารชีวิต ค.ถูกประหารชีวิตและนำศีรษะบวงสรวงบนศาลเพียงตา ง.ถูกประหารชีวิตและนำศีรษะกับโขนเรือพระที่นั่งบวงสรวงบนศาลเพียงตา ๕.เหตุการณ:ในเรื่องนี้เกิดขึ้นในรัชกาลใด ก.สมเด็จพระเพทราชา ข.สมเด็จพระเสือ ค.สมเด็จพระเจ0าท0ายสระ ง.สมเด็จพระบรมโกศ ๖.เรื่องนี้เกิดตอนพระเจ0าแผ.นดินเสด็จไปทำอะไร ก.ไปนมัสการพระพุทธบาทสระบุรี ข.ยกทัพไปสู0รบพม.า ค.ดูแลทุกข:สุขของราษฎร ง.หาปลา
  • 5. แบบทดสอบ เรื*อง “โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์” คําชี&แจง ให้นักเรียนเลือกคําตอบที4ถูกต้องที4สุดหรือเหมาะสมที4สุดเพียงคําตอบเดียว ๑. ใครคือผู้ทรงพระราชนิพนธ์โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์และโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ ก. พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ข. พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ค. พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ง. พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ๒. โคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์และโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการแต่งด้วยโคลงชนิดใด ก. โคลงสองสุภาพ ข. โคลงสามสุภาพ ค. โคลงสี4สุภาพ ง. โคลงดัIนบาทกุญชร ๓. โสฬสไตรยางค์มีความหมายตรงตามข้อใด ก. ๓ หมวด หมวดละ ๑๖ ข้อ ข. ๑๖ หมวด หมวดละ ๓ ข้อ ค. ๘ หมวด หมวดละ ๓ ข้อ ง. ๓ หมวด หมวดละ ๕ ข้อ ๔. “เป็นมาติกาทาง บัณฑิต แสวงเอย หวังสวัสดิUขจัดทุกข์สร้าง สืบสร้องศุภผล” มาติกา มีความหมายตามรูปศัพท์ว่าอะไร และในคําประพันธ์ข้างต้นนี&กล่าวถึงอะไรว่าเป็นมาติกา ก. แม่บท, สุภาษิตนฤทุมนาการ ข. กุศล, สุภาษิตนฤทุมนาการ ค. แม่บท, สุภาษิตโสฬสไตรยางค์ ง. กุศล, สุภาษิตโสฬสไตรยางค์ ๕. คําศัพท์ใดมีความหมายว่า ความสุขเกษม ความเจริญ โชคลาภ ก. เป็นมาติกาทาง บัณฑิต แสวงเอย ข. ทุจริตมารยาปน ปกไว้ ค. สรรพางค์โสภาคย์พร้อม ธัญลักษณ์ ง. เป็นสุขโสดตนรัก การชอบ ธรรมนา ๖. ข้อใดกล่าวถึงความสุจริตในไตรทวาร ก. ควรกล้ากล้ากล่าวถ้อย ทัIงหทัย แท้เฮย สุวภาพพจน์ภายใน จิตพร้อม ข. สรรพางค์โสภาคย์พร้อม ธัญลักษณ์ ภาษิตจิตประจักษ์ ชื4อพร้อม ค. สุจริตจิตโอบอ้อม อารี ใจโปร่งปราศราศี ขุ่นข้อง ง. ใจซึ4งรีบเร็วไว ห่อนรู้ วาจาจักพูดใน กิจสบ สรรพแฮ
  • 6. ๗. “สิ]งใดในโลกล้วน เปลี]ยนแปลง หนึ]งชราหย่อนแรง เร่งร้น ความตายติดตามแสวง ทําชีพ ประลัยเฮย ………………………………………………………” ควรเติมข้อใดจึงจะได้เนื&อความและฉันทลักษณ์ถูกต้อง ก. สามสิ4งควรทิIงเว้น ขาดสิIนสันดาน ข. สามส่วนควรคิดค้น คติรู้เตรียมคอย ค. สามส่วนควรเกลียดใกล้ เกลียดซ้องสมาคม ง. สามสิ4งควรเกลียดท้อ จิตแท้อย่าสมาน ๘. สุภาษิตข้อใดที]สอนเกี]ยวกับบุคลิกการวางตัวในสังคม ก. ควรกล้ากล้ากล่าวถ้อย ทัIงหทัย แท้เฮย ข. สรรพางค์โสภาคย์พร้อม ธัญลักษณ์ ค. มารยาทเรียบเสี4ยมสาน เสงี4ยมเงื4อน งามนอ ง. สุจริตจิตโอบอ้อม อารี ๙. ข้อใดเป็นสามสิ]งควรเกลียด ก. ชั4วเลวทราม มารยา ริษยา ข. เกียจคร้าน วาจาฟั4นเฝือ หยอกหยาบแลแสลง ค. ยอ หน้าเนืIอใจเสือ กลับกลอก ง. ความดุร้าย ความหยิ4งกําเริบ อกตัญ_ู ๑๐. ข้อใดกล่าวถึงการไม่ประมาณตน ก. กําเริบเอิบเกินสกุล หยิ4งก้อ ข. หึงจิตคิดเกลียดคน ดีกว่า ตัวแฮ ค. พักตร์จิตผิดกันประมาณ ยากรู้ ง. พูดมากเปล่าเปลืองปน ปดเหล้น ๑๑. ข้อใดเป็นสามสิ]งควรจะหวงแทน หรือต่อสู้เพื]อรักษา ก. ความสุขสบาย มิตรดี ใจสบาย ข. ศาสนา ยุติธรรม บําเพ็ญประโยชน์ ค. หนังสือดี เพื4อนดี ใจเย็นดี ง. ชื4อเสียงยศศักดิa บ้านเมืองของตน มิตรสหาย ๑๒. คําใดมีความหมายว่าริษยา ก. มารษา ข. หึงจิต ค. เสี4ยมสาน ง. โทสาคติ ๑๓. ข้อใดมีความหมายต่างจากข้ออื]น ก. มากเพื4อนผู้วานการ ชีพได้ ข. เว้นบาปเสาะกัลยาณ์ มิตรไว้ ค. เป็นสุขโสดตนรัก การชอบ ธรรมนา ง. คนรักร่วมอัธยา ศัยสุข ทุกข์แฮ ๑๔. “พักตร์จิตผิดกันประมาณ ยากรู้” มีความหมายตรงกับสํานวนในข้อใด ก. ใจดีสู้เสือ ข. หน้าเนืIอใจเสือ ค. ปากว่าตาขยิบ ง. ปากหวานก้นเปรีIยว
  • 7. ๑๕. ข้อใดสอนตรงกับ “ภาษิตจิตประจักษ์ ซื]อพร้อม” ก. ควรกล้ากล้ากล่าวถ้อย ทัIงหทัย แท้แฮ ข. สุวภาพพจน์ภายใน จิตพร้อม ค. วาจาจักพูดใน กิจสบ สรรพแฮ ง. พาทีมีสติรัIง รอคิด ๑๖. “สิ]งใดในโลกล้วน เปลี]ยนแปลง หนึ]งชราหย่อนแรง เร่งร้น ความตายติดตามแสวง ทําชีพ ประลัยเฮย สามส่วนควรคิดค้น คติรู้เตรียมคอย” คําประพันธ์ข้างต้นนี& กล่าวถึงเรื]องใด ก. ไตรทวาร ข. สังสารวัฏ ค. อริยสัจ ง. ไตรลักษณ์ ๑๗. “ คํายอยกย่องเพี&ยน ทุกประการ พักตร์จิตผิดกันประมาณ ยากรู้ เร็วรัดผลัดพลันขาน คํากลับ พลันฤๅ ….......................................................................” ควรใช้ข้อความใดเติมในช่องว่างข้างต้นนี&จึงจะถูกต้อง ก. สามสิ4งควรกอบกู้ กับผู้นับถือ ข. ควรระงับดับสู้ สงบบ้างยังดี ค. สามสิ4งจําทั4วผู้ พิทักษ์หมัIนครองระวัง ง. สามส่วนควรแล้วผู้ พะพ้องพึงแคลง ๑๘. สุภาษิตข้อใดที]สอนเกี]ยวกับเรื]องการวางตัวในสังคม ก. มารยาทเรียบเสี4ยมสาร เสงี4ยมเงื4อน งามนอ ข. สุจริตจิตโอบอ้อม อารี ค. เว้นบาปเสาะกัลยาณ์ มิตรไว้ ง. ควรกล้ากล้ากล่าวถ้อย ทัIงหทัย แท้แฮ ๑๙. สุภาษิตข้อใดที]สอนเกี]ยวกับไตรลักษณ์ ก. ปัญญาสติลํIา เลิศญาณ ข. ขันติมีมากหมัIน สันดาน ค. สิ4งใดในโลกล้วน เปลี4ยนแปลง ง. เหินห่างโมหะร้อน ริษยา ๒๐. ภาษิตในข้อใดที]ควรจะ “พะพ้องพึงแคลง” ก. สิ4งใดในโลกล้วน เปลี4ยนแปลง ข. เกียจคร้านการท่านทัIง การตน ก็ดี หนึ4งชราหย่อนแรง เร่งร้น พูดมากเปล่าเปลืองปน ปดเหล้น ค. ใจชั4วชาติตํ4าช้า ทรชน ง. คํายอยกย่องเพีIยน ทุกประการ ทุจริตมารยาปน ปกไว้ พักตร์จิตผิดกันประมาณ ยากรู้
  • 8. ๒๑. จากโคลงสุภาษิตโสฬสไตรยางค์ข้อใดเป็นสิ]งที] “ควรใฝ่ เฝ้า แต่ตั&งอธิษฐาน” ก. สงบระงับดับประสงค์ สิ4งเศร้า ข. ประพฤติเพื4อประโยชน์ศรี สวัสดิaทั4ว กันแฮ ค. ปัญญาตรองตริลํIา ลึกหลาย ง. สิ4งเกษมสุขเปรมปรีดิa ดาพรั4ง พร้อมแฮ ๒๒. ความประพฤติในข้อใดที]ควรละเว้น ก. หนึ4งยุติธรรมไป่มี เลือกผู้ ข. มากเพื4อนผู้วานการ ชีพได้ ค. หนึ4งขาดปราศโทษา คติห่อ ใจเฮย ง. อีกหนึ4งห่อนรู้คุณ ใครปลูกฝังแฮ ๒๓. ข้อใดไม่อยู่ใน “สามสิ]งควรคิดค้น คติรู้เตรียมคอย” ก. เว้นบาปเสาะกัลยาณ์ มิตรไว้ ข. ความตายติดตามแสวง ทําชีพ ประลัยเอย ค. หนึ4งชราหย่อนแรง เร่งร้น ง. สิ4งใดในโลกล้วน เปลี4ยนแปลง ๒๔. สามสิ]งที]เป็นสิ]งเที]ยงแท้ของมนุษย์คือ ข้อใด ก. ปัญญา ฉลาด มั4นคง ข. อนิจจัง ชรา มรณะ ค. หนังสือดี เพื4อนดี ใจเย็นดี ง. ความดุร้าย ความหยิ4งกําเริบ อกตัญ_ู ๒๕. โคลงบาทสุดท้าย “สามส่วนควรใฝ่ เฝ้า” หมายถึงอะไร ก. ปัญญา ฉลาด มั4นคง ข. อํานาจปัญญา เกียรติยศ มีมารยาทดี ค. ความเชื4อถือ ความสงบ ใจบริสุทธิa ง. ความสุขสบาย มิตรสหายที4ดีดี ใจสบายปรุโปร่ง
  • 9. แบบทดสอบ เรื*อง “โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ” คําชี&แจง ให้นักเรียนเลือกคําตอบที4ถูกต้องที4สุดหรือเหมาะสมที4สุดเพียงคําตอบเดียว ๑. นฤทุมนาการ มีความหมายตามรูปศัพท์ตรงตามข้อใด ก. สภาพที4ไม่เคยเสียใจ ข. สภาพที4ผู้ประพฤติตามไม่เคยเสียใจ ค. ผู้ประพฤติตามกิจไม่เคยเสียใจ ง. กิจที4ผู้ประพฤติยังไม่เคยเสียใจ ๒. ž พาทีมีสติรั&ง รอคิด รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง คําพูดพ่างลิขิต เขียนร่าง เรียงแฮ ฟังเพราะเสนาะต้อง โสตทั&งห่างภัย สาระสําคัญของคําประพันธ์ข้างต้นคือข้อใด ก. สอนเรื4องการคิด ข. สอนเรื4องการพูด ค. สอนเรื4องการเขียน ง. สอนเรื4องการฟัง ๓. “อย่าทําเป็นกระต่ายตื]นตูม” มีความหมายตรงกับความในข้อใดมากที]สุด ก. พาทีมีสติรัIง รอคิด ข. หยุดคิดพิจารณา แพ้ชนะ ก่อนนา รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง ชอบผิดคิดเห็นแม้น ไม่ยัIงเสียความ ค. ไป่ฟังคนพูดฟุ้ง ฟั4นเฝือ ง. อีกหนึ4งไป่เชื4อถ้อย คําคน ลือแฮ เท็จและจริงจานเจือ คละเคล้า บอกเล่าข่าวเหตุผล เรื4องร้าย ๔. การพูดเพศนิทาน ในโคลงสุภาษิตนฤทุมนาการนั&นเป็นการพูดเช่นไร ก. คําพูดพ่างลิขิต เขียนร่าง เรียงแฮ ข. เท็จและจริงจานเจือ คละเคล้า ค. บอกข่าวเล่าเหตุผล เรื4องร้าย ง. ...............คนพูดฟุ้ง ฟั4นเฝือ ๕. โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ ข้อใดที]เป็นการแสดงออกทั&งทางกาย วาจา และใจ ก. เพราะความอดกลัIนต่อผู้อื4น, เพราะคิดเสียก่อนจึงพูด, เพราะไม่ได้พูดร้ายต่อใคร ข. เพราะไม่ได้พูดร้ายต่อใคร, เพราะถามฟังความก่อนตัดสินใจ, เพราะความอดกลัIนต่อผู้อื4น ค. เพราะความอดกลัIนต่อผู้อื4น, เพราะไม่ฟังคําคนพูดเพศนิทาน, เพราะทําความดีทั4วไป ง. เพราะทําความดีทั4วไป, เพราะขอโทษบรรดาที4ได้ทําผิด, เพราะไม่หลงเชื4อข่าวร้าย ๖. โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ ข้อใดสอนต่างกับข้ออื]น ก. รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง ข. ไป่หมิ4นนินทาบ้าย โทษให้ผู้ใด ค. สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย ง. ฟังตอบสอบคําไข คิดใคร่ ครวญนา
  • 10. ๗. การกระทําในข้อใดจะได้รับผลตอบแทนดังนี& “ไร้ศัตรูปองมล้าง กลับซ้องสรรเสริญ” ก. เหินห่างโมหะร้อน ริษยา ข. ทําดีไป่เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย สละส่อเสียดมารษา ใส่ร้าย แต่ผูกไมตรีไป รอบข้าง ค. สามารถอาจห้ามอด วาจา ตนเฮย ง. ยินดีมีเรื4องน้อย ใหญ่ไฉน ก็ดี ปางเมื4อยังโกรธา ขุ่นแค้น ยังบ่ลงเห็นไป เด็ดด้วน ๘. “ทําดีไป่ เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย แต่ผูกไมตรีไป รอบข้าง ทําคุณอุดหนุนใน การชอบ ธรรมนา ไร้ศัตรูปองมล้าง กลับซ้องสรรเสริญ” ใจความสําคัญของโคลงสุภาษิตบทนี& ต้องการให้ผู้อ่านประพฤติอย่างไร ก. ให้เลิกสร้างศัตรู ข. สนับสนุนให้คนผูกมิตรกันไว้ ค. สนับสนุนให้คนทําความดี ง. สนับสนุนให้ยกย่องคนที4ไม่สร้างศัตรู ๙. ข้อใดสอนให้คนใช้วิจารณญาณในการฟัง ก. ไป่ฟังคนพูดฟุ้ง ฟั4นเฝือ ข. พาทีมีสติรัIง รอคิด เท็จและจริงจานเจือ คละเคล้า รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง ค. ยินคดีมีเรื4องน้อย ใหญ่ไฉน ก็ดี ง. สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย ยังบ่ลงเห็นไป เด็ดด้วน ปางเมื4อยังโกรธา ขุ่นแค้น ๑๐. “ผู้ประพฤติดั]งนั&น จักได้ใจเย็น” หมายถึงผู้ประพฤติตามข้อใด ก. ทําดีไป่เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย ข. เหินห่างโมหะร้อน ริษยา ค. สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย ง. ขันตีมีมากหมัIน สันดาน ๑๑. “ใดกิจผิดพลาดแล้ว ไป่ ละ ลืมเลย หย่อนทิฐิมานะ อ่อนน้อม ขอโทษเพื]อคารวะ วายบาด หมางแฮ ดีกว่าปดอ้อมค้อม คิดแก้โดยโกง” การปฏิบัติตนดังคําประพันธ์นี&จะก่อให้เกิดผลอย่างไรแก่ผู้ปฏิบัติ ก. ได้รับความนิยม ข. ได้รับความศรัทธา ค. ได้รับความเห็นใจ ง. ได้รับความยกย่อง
  • 11. ๑๒. นิทานเรื]องกระต่ายตื]นตูมสอนตรงกับข้อใด ก. อาการอันเกิดด้วย นํIาใจ แปรฤๅ ข. ยินคดีมีเรื4องน้อย ใหญ่ไฉน ก็ดี ใจซึ4งรีบเร็วไว ก่อนรู้ ยังบ่ลงเห็นไป เด็ดด้วน ค. ไป่ฟังคนพูดฟุ้ง ฟั4นเฝือ ง. อีกหนึ4งไป่เชื4อถ้อย คําคน ลือแฮ เท็จและจริงจานเจือ คละเคล้า บอกเล่าข่าวเหตุผล เรื4องร้าย ๑๓. “การบริจาคให้แก่ผู้ที]เคราะห์ร้ายเป็นสิ]งที]เรียกว่าทําบุญ และการทําบุญนั&นเพื]ออะไร คือทําบุญเพื]อให้จิตใจ เราสบาย นอกจากนี&จะเป็นทางที]จะได้บุญ ได้บุญนั&น คือได้ความสบาย ความสุข ความสุขเรามีอยู่แล้ว ตั&งแต่ตอนช่วยเหลือเราได้แน่นอน ฉะนั&นการทําบุญย่อมจะได้ผลมาในวันหนึ]งแน่นอน” พระบรมราโชวาทข้างต้นนี&สอนตรงกับสุภาษิตข้อใด ก. ทําดีไป่เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย ข. กรุณานรชาติผู้ พ้องภัย พิบัติเฮย แต่ผู้ไมตรีไป รอบข้าง ช่วยรอดปลอดความกษัย สว่างร้อน ค. หนึ4งยุติธรรมไป่มี เลือกผู้ ง. ทําคุณอุดหนุนใน การชอบ ธรรมนา ประพฤติเพื4อประโยชน์ศรี สวัสดิaทั4วกันแฮ ไร้ศัตรูปองมล้าง กลับซ้องสรรเสริญ ๑๔. “ผลจักเพิ]มพูนใน อนาคต กาลแฮ ชนจักชูชื]อช้อน ป่ างเบื&องปัจจุบัน” เป็นผลของการประพฤติในข้อใด ก. เหินห่างโมหะร้อน ริษยา ข. ยินดีมีเรื4องน้อย ใหญ่ไฉน ก็ดี สละส่อเสียดมารษา ใส่ร้าย ยังบ่ลงเห็นไป เด็ดด้วน ค. สามารถอาจห้ามอด วาจา ตนเฮย ง. กรุณานรชาติผู้ พ้องภัย พิบัติเฮย ปางเมื4อยังโกรธา ขุ่นแค้น ช่วยรอดปลอดความกษัย สว่างร้อน ๑๕. “ใดกิจผิดพลาดแล้ว ไป่ ละ ลืมเลย หย่อนทิฐิมานะ อ่อนน้อม ขอโทษเพื]อคารวะ ........................... ดีกว่าปดอ้อมค้อม คิดแก้โดยโกง” ควรเติมข้อความใดลงในช่องว่างจึงจะถูกต้อง ก. คิดใคร่ ครวญนา ข. การชอบ ธรรมนา ค. วายบาด หมางแฮ ง. ท่านทั4ว ไปนา ๑๖. ข้อใดสอนตรงกับหัวใจนักปราชญ์มากที]สุด ก. คําพูดพ่างลิขิต เขียนร่าง เรียงแฮ ข. ฟังตอบสอบคําไข คิดใคร่ ครวญนา ค. สืบสวนประกอบจน แจ่มเท็จ จริงนา ง. ไป่ฟังคนพูดฟุ้ง ฟั4นเฝือ
  • 12. ๑๗. “วาจาจักพูดใน กิจสบ สรรพแฮ สามสิ]งจําทั]วผู้ พิทักษ์หมั&นครองระวัง” คําประพันธ์ข้างต้นสอนตรงกับข้อใด ก. สามารถอาจห้ามงด วาจา ตนเฮย ข. เหินห่างโมหะร้อน ริษยา ปางเมื4อยังโกรธา ขุ่นแค้น สละส่อเสียดมารษา ใส่ร้าย ค. พาทีมีสติรัIง รอคิด ง. คําหยาบจาบจ้วงอา ฆาตขู่ เข็ญเฮย รอบคอบชอบแลผิด ก่อนพร้อง ไป่หมิ4นนินทาบ้าย โทษให้ผู้ใด ๑๘. “ไร้ศัตรูปองมล้าง กลับซ้องสรรเสริญ” เป็นผลของการประพฤติในข้อใด ก. ทําดีไป่เลือกเว้น ผู้ใด ใดเฮย ข. กรุณานรชาติผู้ พ้องภัย พิบัติเฮย แต่ผู้ไมตรีไป รอบข้าง ช่วยรอดปลอดความกษัย สว่างร้อน ค. ขันตีมีมากหมัIน สันดาน ง. อีกหนึ4งไป่เชื4อถ้อย คําคน ลือแฮ ใครเกะกะระราน อดกลัIน บอกเล่าข่าวเหตุผล เรื4องร้าย ๑๙. ข้อใดเป็นการสอนสุภาษิตต่างจากข้ออื]น ก. ฟังตอบขอบคําไข คิดใคร่ ครวญนา ห่อนตัดสินห้วนห้วน เหตุด้วยเบาความ ข. ขอโทษเพื4อคารวะ วายบาด หมางแฮ ดีกว่าปดอ้อมค้อม คิดแก้โดยโกง ค. คําพูดพ่างลิขิต เขียนร่าง เรียงแฮ ฟังเพราะเสนาะต้อง โสตทัIงห่างภัย ง. สืบสอบประกอบจน แจ่มเท็จ จริงนา ยังบ่ด่วนยักย้าย ตื4นเต้นก่อนกาล ๒๐. ข้อใดเป็นผลการฟังคําคนพูดเพศนิทาน ก. ไร้ศัตรูปองมล้าง กลับซ้องสรรเสริญ ข. ฟังเพราะเสนาะต้อง โสตทัIงห่างภัย ค. ฟังจะพาพลอยเข้า พวกเพ้อรังควาน ง. ชนจักชูชื4อช้อน ป่างเบืIองปัจจุบัน ! ! ! ! !
  • 13. แบบทดสอบ เรื*อง “โคลงสุภาษิตอิศปปกรณํา” คําชี&แจง ให้นักเรียนเลือกคําตอบที4ถูกต้องที4สุดหรือเหมาะสมที4สุดเพียงคําตอบเดียว ๑. นิทานอีสปเป็นเรื]องที]แปลมาจากนิทานของชาติใด ก. กรีก ข. โรมัน ค. อังกฤษ ง. ฝรั4งเศส ๒. “อีสปปกรณัม” คําว่า “ปกรณัม” ในที]นี&แปลว่าอะไร ก. ตอน ข. เรื4อง ค. นิทาน ง. ตํานาน ๓. “ดุจไก่พบแก้วลํ&า หลีกแล้วเลยจร” โคลงบาทนี&ให้ข้อคิดตรงกับข้อใด ก. คนโง่ย่อมเป็นเหยื4อของคนฉลาด ข. ของดีของมีค่าอยู่ที4ไหนก็ยังคงมีคุณค่า ค. ผู้ที4ฉลาดย่อมรู้ว่าสิ4งใดมีประโยชน์แก่ตน ง. ของดีของมีค่าย่อมมีประโยชน์แก่ผู้รู้จักใช้เท่านัIน ๔. “อย่าควรประมาทผู้ ทุรพล” คําว่า “ทุรพล” มีความหมายตรงกับข้อใด ก. ศัตรู ข. ผู้พิการ ค. ผู้มีกําลังน้อย ง. ผู้ตกทุกข์ได้ยาก ๕. ข้อใดมีความหมายต่างกับคําว่า “ปรปักษ์” ก. ริปู ข. นิกร ค. อมิตร ง. ดัสกร ๖. เรื]องบิดากับบุตรทั&งหลาย ให้ข้อคิดแก่ผู้อ่านตามข้อใด ก. ให้พี4น้องมีความซื4อสัตย์ต่อกัน ข. ให้บุตรมีความกตัญ_ูรู้คุณบิดา ค. ให้บิดามีความรักใคร่ในตัวบุตรทุกคนเท่า ๆ กัน ง. ให้พี4น้องมีความรักใคร่สามัคคีปรองดองเป็นนํIาหนึ4งใจเดียวกัน ๗. นิทานอีสปเรื]องสุนัขป่ ากับลูกแกะ ให้ข้อคิดแก่ผู้อ่านตามข้อใด ก. คบสองหนองแหลก ข. คบคนจรหมอนหมิ4น ค. คบคนพาลพาลพาไปหาผิด ง. คบคนให้ดูหน้า ซืIอผ้าให้ดูเนืIอ ๘. “ชาติกักขฬะดุร้ายสันดาน” คําว่า “กักขฬะ” มีความหมายตรงกับข้อใด ก. ดุร้ายมาก ข. โหดร้ายมาก ค. เหีIยมโหดมาก ง. หยาบคายมาก
  • 14. ๙. นิทานอีสปเรื]องกระต่ายกับเต่า ให้ข้อคิดแก่ผู้อ่านในเรื]องใด ก. อย่าลืมตัว ข. อย่าไว้ใจทาง ค. อย่าวางใจคน ง. อย่าประมาทกําลังของคู่ต่อสู้ ๑๐. ข้อใดให้ความหมายของคําศัพท์ไว้ไม่ถูกต้อง ก. มละ = ความมัวหมอง ข. เชืIอวงศ์ = ญาติพี4น้อง ค. เชาวน์ชาญ = ปัญญาหรือความฉับไวที4ชัดเจน ง. เบียนบีฑา = เบียดเบียน ! ! ! ! !
  • 15. ตอนที่ ๑ คำชี้แจง : ให3นักเรียนเขียน “บ” หน3าข3อความที่เปAนภาษาบาลี และ “ส” หน3าข3อความที่เปAนภาษาสันสกฤต ………. ๑. สามี ………. ๒. สวามี ………. ๓. ดัชนี ………. ๔. ฤดู ………. ๕. ดรรชนี ………. ๖. ฤษี ………. ๗. นฤคหิต ………. ๘. นิคหิต ………. ๙. เขต ………. ๑๐. เกษตร ………. ๑๑. ไทยทาน ………. ๑๒. เกียรติ ………. ๑๓. เขม ………. ๑๔. เกษม ………. ๑๕. เกษียร ………. ๑๖. ปราณี ………. ๑๗. นารายณX ………. ๑๘. อาสาฬห ………. ๑๙. บริเวณ ………. ๒๐. อริยะ ………. ๒๑. จรรยา ………. ๒๒. จักรี ………. ๒๓. บุตรี ………. ๒๔. ปรีดา ………. ๒๕. ชิวหา ………. ๒๖. มัลลิกา ………. ๒๗. วัลลียX ………. ๒๘. อัสสาสะ ………. ๒๙. อุณหภูมิ ………. ๓๐. กัญญา ………. ๓๑. นรินทรX ………. ๓๒. นิพพาน ………. ๓๓. อธิปไตย ………. ๓๔. มโหฬาร ………. ๓๕. สิริ ………. ๓๖. องคX ………. ๓๗. อิทธิ ………. ๓๘. ฤทธิ์ ………. ๓๙. อัคคี ………. ๔๐. อัคนี ………. ๔๑. อักขร ………. ๔๒. อักษร ………. ๔๓. การณX ………. ๔๔. ป`จจุบัน ………. ๔๕. กัป ………. ๔๖. กัลปa ………. ๔๗. แพทยX ………. ๔๘. รังสี ………. ๔๙. รัศมี ………. ๕๐. พฤกษX
  • 16. ตอนที่ ๒ คำชี้แจง : คำบาลีในข3อตcอไปนี้ตรงกับรูปคำสันสกฤต จงจับคูcให3สัมพันธXกัน ………. ๑. หทัย ก. หัสดิน ………. ๒. มน ข. ขัย ………. ๓. หัตถี ค. อัตถX ………. ๔. ดาวดึงสX ง. ทิฐิ ………. ๕. สาลิกา ฉ. ป`ทมา ………. ๖. กษัย ช. หฤทัย ………. ๗. สิเนcหา ซ. ศรี ………. ๘. อัตตา ฌ. มัชฌิม ………. ๙. มัธยม ญ. มนัส ………. ๑๐. อรรถ ฎ. พิสดาร ………. ๑๑. วิตถาร ฏ. สาริกา ………. ๑๒. กัณหา ฐ. รตน ………. ๑๓. สุริยะ ฑ. ไตรตรึงสX ………. ๑๔. รัตนะ ฒ. จรรยา ………. ๑๕. ปทุม ณ. อาตมา ………. ๑๖. จริยา ด. สูรยX ………. ๑๗. ทฤษฎี ต. พฤกษX ………. ๑๘. ฤทธิ์ ถ. เมาลี ………. ๑๙. รุกขX ท. เสนcหX ………. ๒๐. โอรส ธ. อิทธิฤทธิ์ น. คุรุ บ. กฤษณา ป. เอารส
  • 17. แบบฝึกหัด เรื,องคํา สมาส คํา สนธิ 1. “ เขาตั'งสัจจาธิษฐานต่อพระพุทธรูปใสโบสถ์ว่า ขออย่าให้ธัญญาหารเสียหายจากภัยธรรมชาติ เขาจะดํารง ชีวิตอยู่ในธรรมตลอดไป” ข้อความข้างต้นมีคํา สมาสกีNคํา 1. 2 คํา 2. 3 คํา 3. 4 คํา 4. 5 คํา 2. คํา ในข้อใดมีโครงสร้างเหมือนกับคํา สมาสแต่ไม่ใช่คํา สมาส 1. พลเมือง 2. กายกรรม 3. ธุรกิจ 4. สันติภาพ 3. คํา ทุกคํา ในข้อใดมีคํา สมาสทีNประกอบจากคํา 3 คํา 1. สหราชอาณาจักร ทรัพยากรศาสตร์ จุลชีววิทยา 2. พุทธศตวรรษ สรีรวิทยา พฤติกรรมศาสตร์ 3. นิรโทษกรรม กิตติกรรมประกาศ ไตรโลกนาถ 4. สารานุกรม พันธุกรรมศาสตร์ ประชาทัณฑ์ 4. “ทรัพย์สินทางปัญญาเป็นสิNงมีค่ายิNง จึงมีลิขสิทธิWการคิดค้นประดิษฐกรรมใหม่” ข้อความข้างต้นมีคํา สมาสและคํา ประสมอย่างละกีNคํา 1. คํา สมาส 1 คํา คํา ประสม 2 คํา 2. คํา สมาส 2 คํา คํา ประสม 1 คํา 3. คํา สมาส 3 คํา คํา ประสม 2 คํา 4. คํา สมาส 2 คํา คํา ประสม 2 คํา 5 ข้อใดมีลักษณะเหมือนคํา ว่า “ราโชวาท” 1. วัฒนธรรม พลศึกษา ภารกิจ 2. ธุรการ พุทธคุณ อักษรศาสตร์ 3. ธนาลัย มโหฬาร สุโขทัย 4. ครุภัณฑ์สุนทรทาน สัณหจุฑา 6. ข้อใดเป็นคํา สมาสทีNใช้วิธีการสนธิเพียง 1 คํา 1. ขีปนาวุธ ยุทโธปกรณ์ 2. สรรพากร สรรพสามิต 3. ปฏิชีวนะ ปฏิกิริยา 4. กัมมันตภาพ อุณหภูมิ 7. ข้อใดมีคํา สมาสทีNกลมกลืนเสียง 1. ธรรมบท บุญฤทธิW มงคลวาร 2. เยาวลักษณ์ วิทยาเขต ทศวรรษ 3. โลกนาถ ภัณฑารักษ์กรรมฐาน 4. ศุภนิมิต สหกรณ์ นิติกรรม
  • 18. 8. มีโฆษณาวารสารฉบับหนึNงเขียนว่า “กล่องกระดาษชนิดเติมเป็นบรรจุภัณฑ์สํา หรับใส่ของเหลว ทีNใช้กันแพร่หลายในประเทศซึNงพัฒนาแล้ว เพราะกล่องชนิดนี'จะช่วยให้มีขยะน้อย ปัญหา สิNงแวดล้อมก็จะลดลงด้วย กล่องเหล่านี'ขนส่งไปได้คราวละมากๆ จึงช่วยประหยัดพลังงานทีNจะต้อง สูญเสียไปในแต่ละเทีNยว”ข้อความข้างต้นมีคํา สมาสกีNคํา 1. 2 คํา 2. 3 คํา 3. 4 คํา 4. 5 คํา 9. ข้อใดเป็นคํา สมาสซึNงไม่มีการสนธิ 1. สุขาภิบาล ราโชบาย ภูมินทร์ เทศาภิบาล 2. ราชาธิปไตย กาญจนาภรณ์ มหานิ สงส์ มหรรณพ 3. มหัศจรรย์นรินทร์ มเหสี คเชนทร์ 4. ศิลปวิทยา พลโลก มนุษยธรรม จันทรคติ 10. “ขอพระมหากรุณาธิคุณบุญญาธิการจงชักนํา ให้เกิดสามัคคีธรรมในหมู่ไทย อย่าได้รู้ร้าวราน ให้ทุกฝ่าย มีใจสมัครสมานเป็นอันหนึNงอันเดียวเกลียวกลม เป็นพลังอันอุดมยิNงใหญ่ ทีNจะประกอบกิจกรณีย์นํา ไทย ให้วัฒนายืนยิNง ประสบแต่สิNงศุภสวัสดิWตลอดจิรัฏฐิติกาล” ข้อความข้างต้นมีคํา สมาสกีNคํา 1. 2 คํา 2. 3 คํา 3. 4 คํา 4. 5 คํา 11. ข้อใดทีNทุกคํา มีการสร้างคํา เช่นเดียวกับคํา ว่า พลานามัย 1. อัธยาศัย นิโลบล นภาลัย 2. ทัศนาจร ภูมิปัญญา เพชฌฆาต 3. ฐานันดร กมลาสน์ จินตนาการ 4. จิตวิทยา ปฐมยาม มรณภาพ 12. ข้อใดทีNทุกคํา มีการสร้างคํา เช่นเดียวกับคํา ว่า สุขภาพ 1. จตุบท ธนบดี นภาลัย 2. จุลกฐิน บุพบท รัชกาล 3. จิตนิยม ชิโนรส ธัญญาหาร 4. ภูมิภาค โภชนาการ มิจฉาชีพ 13. “สารมีพิษต่างๆ อันเนืNองมาจากการพัฒนาด้านอุตสาหกรรม ล้วนเป็นสิNงทีNทํา ให้เกิดมลพิษ ทั'งสิ'นนอกจากนั'นอุณหภูมิของนํ'าทีNสูงขึ'นจากการระบายถ่ายเทความร้อนจากโรงงานต่างๆ ทํา ให้ ออกซิเจนทีNละลายนํ'าได้ลดน้อยลง ซึNงมีผลกระทบต่อปลาและสัตว์นํ'าเป็นอันมาก” ข้อความข้างต้น มีคํา สมาสกีNคํา 1. 2 คํา 2. 3 คํา 3. 4 คํา 4. 5 คํา
  • 19. 14. คํา ในข้อใดเป็นคํา สมาสทุกคํา 1. คุณสมบัติ คุณากร คุณค่า 2. ราชการ ราชวัง ราชรถ 3. มโหฬาร มหาวิทยาลัย มหาภัย 4. พลานามัย พลศึกษาพลความ 15. “เมืNอก่อนชาวนาในบางภาคประสบปัญหาเพาะปลูกไม่ได้ผล เพราะผืนดินแห้งแล้ง แม้จะทํา งานหนัก อย่างไม่ย่อท้อ แต่ก็มีชีวิตอยู่อย่างอดอยาก มีหนี'สิน แต่ในปัจจุบันยุคโลกาภิวัตน์ พวกเขารู้เกีNยวกับ วิทยาการและเทคโนโลยีใหม่ๆ ทํา ให้ได้ผลผลิตมากขึ'น ชีวิตจึงดีขึ'นทุกด้าน บางคนรํNารวยจน สามารถใช้ โทรศัพท์มือถือและโทรสารได้ด้วย” ข้อความข้างต้นมีคํา สมาสกีNคํา 1. 3 คํา 2. 4 คํา 3. 5 คํา 4. 6 คํา 16. ข้อใดมีคํา สมาสทีNมีการสนธิทั'งหมด 1. มโนมัย สัมมาทิฐิ โยธาธิการ 2. คุณูปการ นามาภิไธย ชราภาพ 3. ทัศนูปกรณ์ ชโลทร นิทรารมณ์ 4. มหาวิทยาลัย ธนาณัติ รัชนีกร 17. “การตัดไม้ทํา ลายป่า การใช้พลังงานอย่างฟุ่มเฟือย ล้วนเป็นมูลเหตุในการทํา ลาย สภาพแวดล้อม แล้วพรุ่งนี'จะยังมีอากาศหลงเหลืออยู่อีกหรือ เรามาช่วยกันปกป้องชีวิตและรักษาสภาพแวดล้อมให้ ปราศจากมลพิษเสียตั'งแต่วันนี' พรุ่งนี'จะได้มีอากาศบริสุทธิWไว้หายใจ” ข้อความข้างต้น ไม่มี การใช้คํา ชนิดใด 1. คํา ประสม 2. คํา ซ้อนเพืNอเสียง 3. คํา ซ้อนเพืNอความหมาย 4. คํา สมาสทีNมีการสนธิ 18. ข้อใดไม่เป็นคํา สมาสทุกคํา 1. วีรบุรุษ ทุนทรัพย์นาฏศิลป์ 2. เอกชน ปาฐกถา วาตภัย 3. ภาพยนตร์ บุตรทาน วิศวกรรม 4. โจรภัย ปิยมหาราช มยุรฉัตร 19. ข้อความต่อไปนี'มีคํา ประสมและคํา สมาสกีNคํา (ไม่นับคํา ซํ'า) “ในบรรดาเครืNองปรุงรส สิNงหนึNงทีNไม่สามารถขาดได้เลยในครัวของเราก็คือ “นํ'าปลา” เรารู้จักนํ'า ปลากัน ดี แต่คงมีไม่กีNคนนักทีNจะทราบว่า นํ'าปลาดีมีคุณภาพและมีคุณค่าทางโภชนาการเป็นอย่างไร ส่วน กรรม วิธีในการผลิตก็มีส่วนทํา ให้รสของนํ'าปลาแตกต่างกันด้วย” 1. คํา ประสม 2 คํา คํา สมาส 4 คํา 2. คํา ประสม 3 คํา คํา สมาส 3 คํา 3. คํา ประสม 4 คํา คํา สมาส 3 คํา 4. คํา ประสม 5 คํา คํา สมาส 2 คํา
  • 20. 20. ข้อใดเรียงลํา ดับประเภทของคํา ดังนี' : คํา ประสม คํา ซ้อน คํา สมาส 1. แสวงหา สนใจ สุตกวี 2. พิษภัย บทบาท บริโภค 3. จุดหมาย เบิกบาน อรรถคดี 4. อ้างอิง ตกตํNา เสรีภาพ
  • 21. แบบฝEกหัด เรื่อง คำสมาส ๑) จงแยกคำสนธิต*อไปนี้ใหCถูก ตัวอย*าง สามัคยาจารย = สามัคคี + อาจารย_ ๑. สิรยากร = …………….. ๒. พลิสร = …………….. ๓. ธาตวากร = …………….. ๔. มตยาธิบาย = …………….. ๕. จักขุนทรีย_ = …………….. ๖. ภยูปvทวันตราย = …………….. ๗. สิทธัตถะ = …………….. ๘. หัตถาจารย_ = …………….. ๙. นิโลบล = …………….. ๑๐. ราชินูปถัมภ_ = …………….. ๑๑. มหัศจรรย_ = …………….. ๑๒. มหรรณพ = …………….. ๑๓. อัคโยภาส = …………….. ๑๔. มโนภาพ = …………….. ๑๕. รโหฐาน = …………….. ๑๖. ยโสธร = …………….. ๑๗. สมมุติ = …………….. ๑๘. สันนิษฐาน = …………….. ๑๙. สนเทศ = ……………..
  • 22. ๒๐. สัมผัส = …………….. ๒) ต*อไปนี้มีทั้งคำสมาส สนธิ และคำประสม จงขีดเสCนใตCคำสมาส ๑. พเนจร ธนาณัติ มฤคมาศ ๒. เมฆนาท สนธยากาล มโหระทึก ๓. วิทยาทาน วิทยาลัย ประวัติชีวิต ๔. สังฆาธิการ รุกขมูล สมจร ๕. สัญเจตนา วิบากกรรม ทรัพย_สมบัติ ๖. เคมีภัณฑ_ จรรยาบรรณ มัณฑณศิลป ๗. สันโดษ สหประชาชาติ ยานพาหนะ ๘. มูลผลา บาดทะยัก สนเทศ ๙. คุรุกรรม คุรโวปกรณ_ ซากศพ ๑๐. บรรณศาลา บรรณาคาร บรรณารักษ_ ๑๑. แพทย_สัตว_ สังสาร ชาติวุฒิ ๑๒. คเชนทร_ กุญชรชาติ วิเชียรโชติ ๑๓. มังสวิรัติ พลเมือง ศาลทหาร ๑๔. กรณีพิพาท วัยวุฒิ ไพรอนันต_ ๑๕. เจตนากรรม เจตนารมณ_ เจตนากร ๑๖. อิทธิบาท นรากร เทพนม ๑๗. กรรมวิธี คดีแพYง ธนาลัย ๑๘. เทพประทาน ญาณวิถี พิธีพราหมณ_ ๑๙. วิชชุบดี บาทหลวง สมาทาน ๒๐. จามเทวี เตโชธาตุ นครภัณฑ_