SlideShare a Scribd company logo
1 of 100
Download to read offline
แผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย
ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙)
ฝายวางแผนและวิชาการ วิทยาลัยสงฆเลย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
คํานํา
วิทยาลัยสงฆเลยเปนหนวยงานหนึ่งของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยที่จัดการศึกษา
ใหแกพระภิกษุสามเณรทั่วไป ไดดําเนินงานจัดการศึกษาตามพันธกิจในฐานะมหาวิทยาลัยแหงคณะสงฆไทย
โดยไดรับความรวมมือจากคณะสงฆในเขตการปกครองคณะสงฆภาค ๘ และพุทธศาสนิกชนทั่วไป วิทยาลัย
สงฆเลยผลิตบัณฑิตที่มีความรูทางพระพุทธศาสนา การบริการวิชาการแกชุมชน และงานทํานุบํารุง
ศิลปวัฒนธรรมเพื่อสนองงานคณะสงฆ และสังคมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๓๘ จนถึง
ปจจุบัน
เพื่อใหมีความสอดคลองและตอบสนองทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) และแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา รวมถึงเพื่อกําหนด
ทิศทางการพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ใหมีคุณภาพ สมดุล และยั่งยืน ในพระพุทธศาสนา สอดคลองกับทิศ
ทางการเปลี่ยนแปลงของสังคมและการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศและของโลกในอนาคต จึงไดจัดทํา
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙)
ขึ้น โดยเนนการพัฒนาดานการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแกสังคม และทํานุบํารุง
ศิลปวัฒนธรรม ใหมีคุณภาพ และใหความสําคัญกับการมีสวนรวมในกระบวนการจัดทําแผนอยางเปน
ขั้นตอน ทั้งผูมีสวนไดสวนเสียจากภายในและภายนอก ซึ่งเปนภาคสวนที่จะรวมกําหนดทิศทางการพัฒนา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ใหกาวสูมหาวิทยาลัยสงฆแหงคุณภาพในการสืบ
ทอดพระพุทธศาสนาและพัฒนาประเทศภายใตการบริหารจัดการที่ดี
ความคิดสรางสรรคอันเปนพื้นฐานที่จําเปนตอการสรางภูมิคุมกันใหเกิดขึ้นในทุกมิติเพื่อหลีกเลี่ยง
ปจจัยเสี่ยงดานตางๆ และรวมวางรากฐานจิตใจมวลมนุษยชาติใหเขมแข็ง โดยการพึ่งพิงพระพุทธศาสนาและ
พึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืนตอไป
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาลัยสงฆเลย
สารบัญ
หนา
คํานํา
บทสรุปผูบริหาร ๑
สวนที่ ๑ บทนํา ๔
๑.๑ ประวัติความเปนมาของวิทยาลัยสงฆเลย ๔
๑.๒ สรุปผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ในชวง
แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔) ๙
๑.๓ สรุปภาพรวมของวิทยาลัยสงฆเลยจากผลการประเมินคุณภาพ
การศึกษาภายในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราวิทยาลัย
ประจําปการศึกษา ๒๕๕๓
๑๘
สวนที่ ๒ การวิเคราะหสภาวะแวดลอม (SWOT) วิทยาลัยสงฆเลย ๒๑
สวนที่ ๓ ความเชื่อมโยงและทิศทางดานนโยบายตอการพัฒนา ๒๕
๓.๑ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ๒๕
๓.๒ กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ป ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๖๕) ๒๙
๓.๓ แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๕- ๒๕๕๘ ๓๑
๓.๔ แผนยุทธศาสตร กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๓๒
๓.๕ นโยบายการบริหารมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พุทธศักราช ๒๕๕๕- ๒๕๕๙ ๓๒
สวนที่ ๔ แผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ในชวงแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) ๓๔
๔.๑ ปรัชญา ๓๔
๔.๒ ปณิธาน ๓๔
๔.๓ อัตลักษณและเอกลักษณ ๓๔
๔.๔ อัตลักษณบัณฑิต ๓๔
๔.๕ วัฒนธรรมองคกร ๓๔
๔.๖ วิสัยทัศน ๓๔
๔.๗ พันธกิจ ๓๔
๔.๘ วัตถุประสงคการจัดทําแผนพัฒนาวิทยาลัยฯ ระยะที่ ๑๑ ๓๕
๔.๙ สรุปยุทธศาสตรในแผนพัฒนาวิทยาลัยฯ ระยะที่ ๑๑ ๓๕
ยุทธศาสตร เปาประสงค และกลยุทธในแผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลยในชวง
แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะที่ ๑๑ (๒๕๕๕ -๒๕๕๙) ๓๖
สวนที่ ๕ ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ มาตรการ โครงการ/กิจกรรม และตัวชี้วัด ๔๐
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑ การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ๔๐
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองคความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพ
การวิจัยทางพระพุทธศาสนาระดับภูมิภาคและระดับชาติ ๔๔
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๓ การบริการวิชาการแกสังคมและชุมชนทุกระดับ ๔๗
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๔ การทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
และวิถีชีวิตชุมชนอยางยั่งยืน ๕๐
ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๕ พัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตาม
หลักธรรมาภิบาล ๕๓
เปาหมายตัวชี้วัด ในแผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑
(พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) ๕๗
เปาประสงคที่ ๑ ๕๗
เปาประสงคที่ ๒ ๖๑
เปาประสงคที่ ๓ ๖๓
เปาประสงคที่ ๔ ๖๗
เปาประสงคที่ ๕ ๗๐
เปาประสงคที่ ๖ ๗๓
สวนที่ ๖ การบริหารจัดการแผนพัฒนาวิทยาลัยสูการปฏิบัติ ๗๙
ภาคผนวก ๘๑
- คําสั่งวิทยาลัยสงฆเลย ที่ ๑๐/๒๕๕๕ เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการจัดทําแผนกล
ยุทธ วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ ๘๒
- คําสั่งวิทยาลัยสงฆเลย ที่ ๒๔/๒๕๕๕ เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการจัดทําแผน
จัดการเรียนรู (PDCA) ๘๓
- คําสั่งวิทยาลัยสงฆเลย ที่ ๐๑๗/๒๕๕๖ เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการจัดทําแผน
กลยุทธ วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ ๘๔
- คําสั่งวิทยาลัยสงฆเลย ที่ /๒๕๕๕ เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการจัดทํา
แผนพัฒนา วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ ๘๕
- มติคณะกรรมการผูบริหาร คณาจารย และเจาหนาที่วิทยาลัยสงฆเลยครั้งที่ ๙/
๒๕๕๕ ๘๖
- มติคณะกรรมการประจําวิทยาลัยสงฆเลย ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ ๘๗
- แผนที่ยุทธศาสตร (Strategic Map) วิทยาลัยสงฆเลย
(พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙)
- ความเชื่อมโยงระหวางปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร
เปาประสงค และกลยุทธของแผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ.
๒๕๕๕-๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
หนา | ๑
บทสรุปผูบริหาร
การจัดทําแผนพัฒนาวิทยาลัยไดมีพัฒนาการอยางตอเนื่องนับจากอดีตเปนตนมา โดยใหความสําคัญ
กับกระบวนการมีสวนรวมของประชาคม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย และผูมี
สวนไดสวนเสีย ผานกลไกการระดมสมอง มีการวิเคราะหสถานการณแวดลอมและเงื่อนไขตางๆ ที่
เปลี่ยนแปลงไปในมิติตางๆ ที่คาดวาจะสงผลตอทิศทางการพัฒนาวิทยาลัย และสถานการณที่เปลี่ยนแปลงใน
กระแสโลกาภิวัตน รวมทั้งแนวโนมหรือทิศทางการพัฒนาอุดมศึกษาในอนาคต
วิทยาลัยสงฆเลยไดตระหนักถึงการวางแผน การนําแผนไปสูการปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล
แผนฯ ขององคกรอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงไดจัดทําแผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑
(พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) ขึ้น ภายใตกรอบทิศทางของแผนพัฒนามหาวิทยาลัยระยะยาว ๑๕ ป และกรอบแผน
หรือนโยบายดานอุดมศึกษาของประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ รวมทั้งนโยบายของรัฐบาล
และยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อใหการดําเนินงานเชื่อมโยงสัมพันธกันทุกระดับ อันนําไปสูการบรรลุ
เปาหมายเดียวกันคือเพื่อพัฒนาอุดมศึกษาของประเทศ โดยทิศทางการพัฒนาของวิทยาลัยในแผนฯ ระยะที่
๑๑ นี้ จะมุงเนนการพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ใหเปนศูนยกลางการศึกษาพระพุทธศาสนาในเขตภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเนนฐานความรูทางพระพุทธศาสนาบูรณาการกับศาสตสมัยใหมเพื่อนําชุมชน และ
สังคมไปสูสันติสุขอยางยั่งยืน มุงสรางบัณฑิตใหมีภูมิคุมกัน มีคุณธรรม จริยธรรม ทักษะทางปญญา มีทักษะ
ความสัมพันธระหวางบุคคล มีความรับผิดชอบ มีทักษะการวิเคราะหเชิงคณิตศาสตร และการสื่อสารและการ
ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดทุกแหงทั่วโลก มุงสงเสริมการศึกษา คนควาวิจัยใหกาว
ไปสูความเปนเลิศทางวิชาการดานพระพุทธศาสนา เพื่อสรางองคความรูใหมในการพัฒนามนุษย สังคมและ
สิ่งแวดลอม ใหอยูรวมกันไดอยางสมดุลและสันติสุข รวมทั้งการสรางเครือขายกับสถาบันที่มีชื่อเสียงทั้งใน
ประเทศและตางประเทศ เพื่อพัฒนาคุณภาพของนักวิจัยใหนําไปสูความเปนสากล มุงใหบริการทางวิชาการใน
รูปแบบที่หลากหลาย มีการบริหารเพื่อใหพัฒนาพระพุทธศาสนา พัฒนาคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของ
ประชาชน มีความมุงมั่นในการใหบริการวิชาการทางพระพุทธศาสนาแกคณะสงฆและสังคม รวมทั้งสงเสริม
การเรียนรู และความรวมมืออันดีระหวางพุทธศาสนิกชนในระดับชาติและนานาชาติ มุงสงเสริมการศึกษา
ผสมผสานทางวัฒนธรรมและการมีสวนรวมในประชาคมโลกดานพระพุทธศาสนา โดยการทํานุบํารุง
ศิลปวัฒนธรรมของสังคมไทย เปนรากฐานของการพัฒนาอยางมีคุณภาพ เพื่อนําไปสูการรักษาความแตกตาง
ทางวัฒนธรรมและการอยูรวมกันในประชาคมโลกอยางมีเอกลักษณและศักดิ์ศรี เพื่อเปนการสรางวัฒนธรรม
และคานิยมที่พึงประสงคใหเกิดขึ้นกับบุคคล องคกรและสังคม และปรับปรุงโครงสรางองคกร ปรับปรุง
กฎระเบียบ การบริหาร และพัฒนาบุคลากร ใหเกิดการบริหารการเปลี่ยนแปลง โดยยึดหลักการบริหารจัดการ
อยางมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล
โดยในชวงแผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) วิทยาลัยไดกําหนด
เปาประสงคหลักในการพัฒนาวิทยาลัย ๖ ขอ ยุทธศาสตรการพัฒนา ๕ ขอ ซึ่งแตละดานมีกลยุทธหลักที่ใชใน
การขับเคลื่อนแผนฯ ใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาประสงค ดังนี้
ยุทธศาสตรที่ ๑ การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและมาตรฐาน มี
เปาประสงค ๒ ขอ และมีกลยุทธ ๕ ขอ คือ
เปาประสงคที่ ๑ บัณฑิตที่ไดรับการศึกษาเปนผูมีภูมิคุมกัน มีคุณธรรม จริยธรรม ทักษะทาง
ปญญา มีทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล มีความรับผิดชอบ มีทักษะวิเคราะหเชิงคณิตศาสตร และการ
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
หนา | ๒
สื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดทุกแหงทั่วโลก มีกลยุทธการดําเนินงาน ๓
ขอ ไดแก
กลยุทธที่ ๑พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรใหมีคุณภาพทันสมัยและสอดคลองกับความ
ตองการของผูเรียนและสังคม
กลยุทธที่ ๒ พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพของอาจารยใหมีความรูความสามารถในการ
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพ
กลยุทธที่ ๓ พัฒนานิสิตและขยายโอกาสการศึกษาทางดานพระพุทธศาสนา (พุทธ
ศาสตร ครุศาสตร และสังคมศาสตร)
เปาประสงคที่ ๒ วิทยาลัยมุงพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและได
มาตรฐานสากล สามารถตอบสนองตอความตองการของสังคม มีกลยุทธการดําเนินงาน ๒ ขอ ไดแก
กลยุทธที่ ๔ สงเสริมและพัฒนาสื่อการเรียนรู และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
การศึกษาใหมีคุณภาพและทันสมัย
กลยุทธที่ ๕สงเสริมและพัฒนาวิทยาลัยใหเปนที่ยอมรับในการเปนศูนยกลางการศึกษา
พระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ
ยุทธศาสตรที่ ๒ สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองคความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัยทาง
พระพุทธศาสนาระดับภูมิภาคและระดับชาติ มีเปาประสงค ๑ ขอ คือ
เปาประสงคที่ ๓ วิทยาลัยมีผลงานวิจัยทางพระพุทธศาสนาที่ไดรับการเผยแพร นําไปใช
ประโยชนและเปนที่ยอมรับในระดับภูมิภาคและระดับชาติ มีกลยุทธการดําเนินงาน ๕ ขอ ไดแก
กลยุทธที่ ๖พัฒนานักวิจัย ผลิตผลงานวิจัยดานพระพุทธศาสนาที่ครอบคลุมทุกกลุม
ความรูและสรางเครือขายความรวมมือนักวิจัยและการวิจัยระดับภูมิภาคและระดับชาติ
กลยุทธที่ ๗สงเสริมใหมีการเผยแพรผลงานวิจัยในระดับภูมิภาคและระดับชาติ
กลยุทธที่ ๘สงเสริมและสนับสนุนการนําองคความรูจากการวิจัยไปใชในการเรียนการ
สอน พัฒนาตน พัฒนางาน พัฒนาสังคมและกิจการคณะสงฆทั้งในระดับภูมิภาคและระดับชาติ
กลยุทธที่ ๙สงเสริมใหผลการวิจัยไดรับการอางอิง การนําเสนอ การนําไปใช การตีพิมพ
และไดรับรางวัลระดับภูมิภาคและระดับชาติ
กลยุทธที่ ๑๐ พัฒนาระบบการบริหารการจัดการงานวิจัยระดับภูมิภาคและระดับชาติ
ยุทธศาสตรที่ ๓ การบริการวิชาการแกสังคมและชุมชนทุกระดับ มีเปาประสงค ๑ ขอ คือ
เปาประสงคที่ ๔ วิทยาลัยเปนแหลงเรียนรูและใหบริการวิชาการทางดานพระพุทธศาสนาแก
สังคมและชุมชนทุกระดับ มีกลยุทธการดําเนินงาน ๕ ขอ ไดแก
กลยุทธที่ ๑๑ พัฒนาทรัพยากรบุคคล ใหสามารถบริการวิชาการดานพระพุทธศาสนาแก
สังคมทุกระดับ ทุกกลุมเปาหมาย
กลยุทธที่ ๑๒ จัดระบบขอมูลและระบบการจัดการทรัพยากรองคความรูเพื่อถายทอด
วิชาการทั้งทรัพยากรบุคคล ทักษะชํานาญการ สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ใหสามารถสนองตอความตองการได
ตามเฉพาะกรณี
กลยุทธที่ ๑๓ พัฒนาและเปดหลักสูตรการอบรม หรือสัมมนา ใหสามารถดําเนินกิจกรรม
ไดอยางคุมคา และยกระดับมาตรฐานการคณะสงฆ หรือสังคมคุณธรรม
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
หนา | ๓
กลยุทธที่ ๑๕ สงเสริมและสนับสนุนใหคณะสงฆ ภาครัฐ เอกชน ชุมชน และองคกร
ปกครองสวนทองถิ่น มีสวนรวมในกระบวนการจัดทําโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการเพื่อความมั่นคงและ
ความเขมแข็งของสังคม
กลยุทธที่ ๑๖ สงเสริมใหมีความรวมมือในการบริการวิชาการอยางยั่งยืน ระหวางวิทยาลัย
กับทุกภาคสวน และแสวงหาโจทยวิจัยเพื่อบูรณาการกับการเรียนการสอน/ชี้นํา และแกปญหาใหเกิดสันติสุข
ในสังคม
ยุทธศาสตรที่ ๔ การทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชนอยางยั่งยืน มี
เปาประสงค ๑ ขอ คือ
เปาประสงคที่ ๕ วิทยาลัยเปนแหลงเรียนรูทางดานพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญา
ทองถิ่นอยางยั่งยืน มีกลยุทธการดําเนินงาน ๔ ขอ ไดแก
กลยุทธที่ ๑๗ รณรงคใหนิสิตและบุคลากรมีความตระหนักในเรื่องการทํานุบํารุง
ศิลปวัฒนธรรม และมีบทบาทในการสงเสริม ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคมรวมกับภาคประชาชน
กลยุทธที่ ๑๘ วิทยาลัยเปนแหลงเรียนรูดานพระพุทธศาสนา มรดกทางประเพณี
วัฒนธรรมไทย ในระดับทองถิ่น ระดับภูมิภาค และระดับชาติ
กลยุทธที่ ๑๙ พัฒนาพิพิธภัณฑ หอศิลปและผลงานบุรพาจารยใหเปนแหลงการเรียนรู
กลยุทธที่ ๒๐ สงเสริมใหนิสิตบุคลากรและชุมชนใหดํารงวิถีชีวิตตามแนวทางปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียง
ยุทธศาสตรที่ ๕ พัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล มีเปาประสงค
๑ ขอ คือ
เปาประสงคที่ ๖ วิทยาลัยมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล มีกล
ยุทธการดําเนินงาน ๖ ขอ ไดแก
กลยุทธที่ ๒๑ พัฒนานโยบายและแผนการบริหารจัดการใหมีภาพลักษณ และอัตลักษณ
ของวิทยาลัย
กลยุทธที่ ๒๒ พัฒนาระบบและกลไกการติดตามการประเมินผลวิชาการและการบริหาร
อยางมีประสิทธิภาพ
กลยุทธที่ ๒๓ พัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยใหมี
ประสิทธิภาพ
กลยุทธที่ ๒๔ พัฒนาและสงเสริมศักยภาพของบุคลากรใหมีความเปนสากล
กลยุทธที่ ๒๕ สงเสริมสวัสดิการบุคลากร
กลยุทธที่ ๒๖ พัฒนาทรัพยากรและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการให
มีประสิทธิภาพระดับสากล
กลยุทธที่ ๒๗ พัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการทางการเงินและงบประมาณของ
วิทยาลัยใหมีภูมิคุมกันอยางมีประสิทธิภาพ
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
หนา ๔
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙)
ในชวงแผนพัฒนาการศึกษาระดับศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙)
บทที่ ๑ บทนํา
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย
ชื่อหนวยงาน : วิทยาลัยสงฆเลย
สังกัด : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน
ที่ตั้ง : เลขที่ ๑๑๙ หมูที่ ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย ๔๒๑๐๐
โทรศัพท : ๐๔๒-๘๐๑๒๐๓ โทรสาร : ๐๔๒-๘๐๑๒๖๘
๑. หลักการและความจําเปนในการจัดทําแผนพัฒนา
๑.๑ ประวัติและความเปนมาของวิทยาลัยสงฆเลย
พระเดชพระคุณพระสุนทรปริยัติเมธี (พระมหาพรหมา จนฺทโสภโณ)๑
เจาคณะจังหวัดเลย ได
ปรารภที่จะดําเนินการพัฒนาขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาสําหรับคณะสงฆจังหวัดเลย โดยมี
ความประสงคที่จะใหภิกษุและสามเณรทั้งในเขตจังหวัดเลย จังหวัดใกลเคียง และมาจากจังหวัดอื่นไดศึกษา
เลาเรียนวิชาการชั้นสูง โดยเนนใหศึกษาเขาใจวิชาการดานพระพุทธศาสนาและศาสตรแขนงอื่นๆ ที่จัด
การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ที่นอกเหนือจากการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม-บาลี ที่จัดการศึกษาอยู
แลวใหกวางขวางยิ่งขึ้น
เมื่อคราวประชุมเมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๓๗ สภาสงฆจังหวัดโดยมีพระเดชพระคุณพระสุนทรปริยัติ
เมธี เจาคณะจังหวัดเลย เปนองคประธาน มีมติเห็นชอบใหดําเนินการขออนุมัติจากวิทยาเขตขอนแกน เพื่อ
ขยายหองเรียน หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน วิชาเอกการสอนภาษาไทย
โดยใหมีการจัดการศึกษาขึ้นที่วัดศรีวิชัยวนาราม อําเภอเมือง จังหวัดเลย การบริหารงานภายใตสังกัดวิทยาเขต
ขอนแกน
เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๓๘ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีมติใหสภาสงฆจังหวัด
เลยจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาได และใหนิสิตรุนแรกจํานวน ๓๘ รูป เดินทางไปเรียนที่คณะครุศาสตร
วิทยาเขตขอนแกน
เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๓๙ สภามหาวิทยาลัยมีมติอนุมัติใหวิทยาเขตขอนแกนจัดตั้งศูนย
การศึกษาขึ้นที่วัดศรีวิชัยวนาราม ตําบลกุดปอง อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีพระเดชพระคุณพระสุนทร
ปริยัติเมธี (สมณศักดิ์ในขณะนั้น) เปนผูชวยอธิการบดีประจําศูนยการศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัยจังหวัดเลยเปนรูปแรก
เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๑ สภามหาวิทยาลัยมีมติใหยกฐานะศูนยการศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัยจังหวัดเลยขึ้นเปน “วิทยาลัยสงฆเลย”
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
หนา ๕
การกอสรางวิทยาลัยสงฆเลยแหงใหม (จากศรีวิชัยสูศรีสองรัก)
เมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๘ พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย พรอมดวยคณะ
ผูบริหารในขณะนั้น ไดดําเนินการจัดหาพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อจัดสรางวิทยาลัยสงฆเลยแหงใหมเพื่อตอบสนอง
ความตองการการขยายตัวของนิสิต/นักศึกษาของวิทยาลัยสงฆเลยซึ่งนับวันจะเพิ่มมากขึ้น โดยคณะผูบริหารได
ดําเนินการติดตอประสานงานขอใชที่ดินบริเวณปาโคกใหญ (โซน-อี) หมูที่ ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง
จังหวัดเลย ตอสํานักงานสํานักงานปฏิรูปที่ดิน (สปก.-๔๐๑) จังหวัดเลย
เมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๙ ที่ประชุมคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัดเลย โดยมีผูวาราชการจังหวัด
เลยเปนประธาน ไดมีมติเห็นชอบใหวิทยาลัยสงฆเลยใชพื้นที่ดินเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งตั้งอยูหมูที่
๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีเนื้อที่ ๕๐ ไร ๓ งาน ๗๖ ตารางวา ระยะหางจาก กม.ศูนย
๑๓ กิโลเมตร โดยมีนายธงชัย สิงอุดม หัวหนาฝายบริหารงานทั่วไป เปนผูเสนอขอใชที่ดินเพื่อกอสรางวิทยาลัย
สงฆเลยแหงใหม และสํานักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัดเลย ไดสงหนังสือเสนอขอใชที่ดินตอสํานักงานปฏิรูปที่ดิน
เพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ
เมื่อวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๑ คราวประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๑ สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
กระทรวงเกษตรและสหกรณ กรุงเทพมหานคร มีมติอนุมัติใหวิทยาลัยสงฆเลยใชที่ดินเพื่อการกอสรางวิทยาลัย
สงฆเลยแหงใหม โดยมีพระมหาลิขิต รตนรํสี รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย และ ผศ.ดร.ประชารัชต โพธิ
ประชา เขารวมประชุมชี้แจงเหตุผลการขอใชที่ดิน
เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๑ สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ ได
ออกหนังสืออนุญาตใหวิทยาลัยสงฆเลยใชที่ดินเพื่อกิจการสาธารณูปโภคและกิจการอื่นๆ ในเขตปฏิรูปที่ดิน ที่
๔๐๗/๒๕๕๑ ซึ่งตั้งอยูเลขที่ ๑๑๙ หมู ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย
เมื่อป ๒๕๕๒ วิทยาลัยสงฆเลยไดรับงบประมาณเพื่อกอสรางอาคารเรียนวิทยาลัยสงฆเลย ณ พื้นที่
แหงใหมนี้ ในวงเงิน ๑๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยไดรับความเมตตาอนุเคราะหจากเจาประคุณสมเด็จพระพุฒา
จารย ประธานคณะผูปฏิบัติหนาที่สมเด็จพระสังฆราช ไดประทานอนุญาตใหใชชื่ออาคารเรียนวา “อาคาร
สมเด็จพระพุฒาจารย (เกี่ยว อุปเสโณ)” การกอสรางอาคารเรียนไดเริ่มตั้งแตวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ –
๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๓
เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๓ วิทยาลัยสงฆเลยไดทําการยายจากวัดศรีวิชัยวนาราม มาตั้ง ณ
สํานักงานใหม เลขที่ ๑๑๙ หมู ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย เปนการถาวร โดยมีวัตถุประสงค
เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษา เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาลและคณะสงฆในการกระจายโอกาสทางการศึกษา
ใหทั่วถึงแกพระภิกษุสามเณรและประชาชนทั่วไปในทองถิ่น
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
หนา ๖
ผูบริหารวิทยาลัยสงฆเลย อดีต-ปจจุบัน
๑. พระสุนทรปริยัติเมธี (พรหมา จนฺทโสภโณ น.ธ.เอก,ป.ธ.๕,พธ.ม. (กิตติมศักดิ์)
ศศ.ด.(กิตติมศักดิ์)ผูชวยอธิการบดีประจําศูนยการศึกษาวัดศรีวิชัยวนาราม(พ.ศ.๒๕๓๙-
๒๕๕๑)
๒. พระรัตนกวี (เสาร อภินนฺโท ป.ธ. ๗,พธ.บ.) รักษาการผู+อํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย
(พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๒)
๓. พระสุวรรณธีราจารย (มูลตรี มหพฺพโล น.ธ.เอก,ป.ธ.๔,พธ.บ.,กศ.ม.)ผูอํานวยวิทยาลัยสงฆเลย
(๒๕๕๒-๒๕๕๐)
๔. พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร (ป.ธ.๖,พธ.บ.,M.A.,Ph.D.) ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย
(๒๕๕๐-๒๕๕๔)
๕. พระมหาภิรัฐกรณ อํสุมาลี (ป.ธ.๙,พธ.บ.,พธ.ม.) ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย (๒๕๕๔ –
ปจจุบัน)
หลักสูตรปจจุบันที่วิทยาลัยสงฆเลยไดเปดดําเนินการเรียนการสอน อยู ๓ สาขาวิชา คือ
๑. สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
๒. สาขาวิชารัฐศาสตร วิชาเอกการปกครอง
๓. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
โครงการหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต ๑ สาขาวิชา คือ
๑. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
โครงการหลักสูตรประกาศนียบัตร มีอยู ๑ โครงการ คือ
๑. โครงการหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ (ป.บส.)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
หนา ๗
- นักวิชาการพัสดุ
- นักวิชาการการเงินและบัญชี
- เจาหนาที่มหาจุฬาบรรณาคาร
- เจาหนาที่พระสอนศีลธรรม
- เจาหนาที่ธุรการ
- พนักงานขับรถ
- นักการภารโรง
- แมบาน
- คนสวน
- นักวิเคราะหนโยบายและแผน
- บรรณารักษ
- นักวิชาการคอมพิวเตอร
- นักวิชาการศึกษา
- นักประชาสัมพันธ
- ทะเบียนและวัดผล
- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
- สาขาวิชารัฐศาสตร
- สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
โครงสรางการบริหารสวนงานวิทยาลัยสงฆเลย
ปรัชญาของมหาวิทยาลัย
"จัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตรสมัยใหม พัฒนาจิตใจและสังคม"
ปณิธานของมหาวิทยาลัย
เปนสถานศึกษาพระไตรปฎกและวิชาชั้นสูงสําหรับพระภิกษุ สามเณรและคฤหัสถ
วิสัยทัศนของมหาวิทยาลัย
มุงพัฒนามหาวิทยาลัยเปนศูนยกลางการศึกษาพระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ โดยจัดการศึกษา
และพัฒนาองคความรูบูรณาการกับศาสตรสมัยใหม ใหนําไปสูการพัฒนาจิตใจและสังคมอยางยั่งยืน
โครงสรางการบริหารสวนงานวิทยาลัยสงฆเลย
ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย
รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลยเลย(ฝายบริหาร)
ฝายบริหารงานทั่วไป ฝายวางแผนและวิชาการ สาขาวิชา
รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลยเลย(ฝายวิชาการ)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
หนา ๘
พันธกิจมหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มุงปฏิบัติพันธกิจสําคัญ ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาที่มี
คุณภาพและไดมาตรฐาน โดยจัดการเรียนการสอนในลักษณะของการนําความรูดานพระพุทธศาสนาบูรณาการ
กับศาสตรสมัยใหม ใหเกิดเปนองคความรูที่นําไปสูการพัฒนาจิตใจและสังคมอยางยั่งยืน ซึ่งมีสาระสําคัญ ๕
ดาน ดังนี้
๑) มุงเนนการสรางบัณฑิตและบุคลากร ที่ผานการศึกษาอบรม เปนผูมีคุณธรรมนําความรู มีปฏิปทา
นาเลื่อมใส ใฝรู ใฝคิด เปนผูนําทางจิตใจและปญญา มีโลกทัศนกวางไกล มีความสามารถและทักษะในการ
แกปญหา มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนาและพัฒนาสังคม
๒) มุงสงเสริมการศึกษา คนควาวิจัยใหกาวไปสูความเปนเลิศทางวิชาการดานพระพุทธศาสนา เพื่อ
สรางองคความรูใหมในการพัฒนามนุษย สังคมและสิ่งแวดลอม ใหอยูรวมกันไดอยางสมดุลและสันติสุข รวมทั้ง
การสรางเครือขายกับสถาบันที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศและตางประเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพของนักวิจัยให
นําไปสูความเปนสากล
๓) มุงเนนการใหบริการทางวิชาการในรูปแบบที่หลากหลาย มีการบริการหรือบริหารเพื่อใหพัฒนา
พระพุทธศาสนา พัฒนาคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของประชาชน มีความมุงมั่นในการใหการบริการวิชาการ
ดานพระพุทธศาสนาแกคณะสงฆและสังคม รวมทั้งสงเสริมการเรียนรู และความรวมมืออันดีระหวางพระ
พุทธศาสนิกชนในระดับชาติและนานาชาติ
๔) มุงสงเสริมการศึกษาผสมผสานทางวัฒนธรรมและการมีสวนรวมในประชาคมโลกดาน
พระพุทธศาสนา โดยการทะนุบํารุงและอนุรักษศิลปวัฒนธรรมของสังคมไทย เปนรากฐานของการพัฒนาอยาง
มีคุณภาพ เพื่อนําไปสูการรักษาความแตกตางทางวัฒนธรรมและคานิยมที่พึงประสงคใหเกิดขึ้นบุคคล องคกร
และสังคม
๕) ปรับปรุงโครงสรางองคกร กฎระเบียบ การบริหาร และพัฒนาบุคลากร ใหเกิดการบริหารการ
เปลี่ยนแปลง โดยยึดหลักการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล
เอกลักษณมหาวิทยาลัย
บริการวิชาการดานพระพุทธศาสนา
อัตลักษณมหาวิทยาลัย
ประยุกตพระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาจิตใจและสังคม
อัตลักษณบัณฑิตของมหาวิทยาลัย
มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
หนา ๙
๑.๒ สรุปผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาวิทยาลัย ในชวงแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาระยะที่ ๑๐
(พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๔) จําแนกตามยุทธศาสตรของวิทยาลัยทั้ง ๖ ยุทธศาสตร ดังนี้
๑.๒.๑ ยุทธศาสตรที่ ๑ การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาบุคลากรที่มีความรูคูคุณธรรม
เปาประสงค บัณฑิตและบุคลากรที่ผานการศึกษาอบรมเปนผูมีคุณธรรมนําความรู มีปฏิปทานา
เลื่อมใส ใฝรู ใฝคิด เปนผูนําทางจิตใจและปญญา มีโลกทัศนกวางไกล มีความสามารถและทักษะในการ
แกปญหา มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนาและพัฒนาสังคม มี ๓ กลยุทธ คือ
กลยุทธที่ ๑ พัฒนาและขยายโอกาสการศึกษาวิชาการดานพระพุทธศาสนาและดานสังคมศาสตร
มี ๒ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนนิสิตที่เขาศึกษา ๒) จํานวนการจัดการศึกษา สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้
๑) จํานวนนิสิตที่เขาศึกษา ระดับปริญญาตรี
ป ๒๕๔๙ มีนิสิตจากฐานขอมูล จํานวน ๒๗๔ รูป/คน
ป ๒๕๕๐ มีนิสิตทั้งหมดจํานวน ๒๗๒ รูป/คน
ป ๒๕๕๑ มีนิสิตทั้งหมดจํานวน ๓๑๓ รูป/คน
ป ๒๕๕๒ มีนิสิตทั้งหมดจํานวน ๔๓๖ รูป/คน
ป ๒๕๕๓ มีนิสิตทั้งหมดจํานวน ๔๖๘ รูป/คน
ป ๒๕๕๔ มีนิสิตทั้งหมดจํานวน ๕๖๗ รูป/คน
กลยุทธที่ ๒ พัฒนาบัณฑิตและบุคลากรผานกิจกรรมการปฏิบัติศาสนกิจและการบริการ
สังคม มี ๒ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนผูสําเร็จการศึกษาดานพระพุทธศาสนาและสังคมศาสตร ๒) จํานวนผูสําเร็จ
การศึกษาไดสนองงานคณะสงฆ มีงานทํา และศึกษาตอ สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้
๑) จํานวนผูสําเร็จการศึกษาดานพระพุทธศาสนาและสังคมศาสตร ระดับปริญญาตรี
สําเร็จการศึกษาป ๒๕๔๙ จํานวน ๖๗ รูป
สําเร็จการศึกษาป ๒๕๕๐ จํานวน ๖๖ รูป
สําเร็จการศึกษาป ๒๕๕๑ จํานวน ๔๗ รูป
สําเร็จการศึกษาป ๒๕๕๒ จํานวน ๔๙ รูป
สําเร็จการศึกษาป ๒๕๕๓ จํานวน ๗๒ รูป
สําเร็จการศึกษาป ๒๕๕๔ จํานวน ๗๗ รูป
๒) จํานวนผูสําเร็จการศึกษาไดสนองงานคณะสงฆ มีงานทํา และศึกษาตอ
ปการศึกษา ๒๕๕๑ มีบัณฑิตจํานวน ๔๗ รูป/คน บัณฑิตตอบแบบสํารวจจํานวน ๓๓ รูป/คน
คิดเปนรอยละ ๖๕.๗๕ ทํางานแลวรอยละ ๖๙.๒๓
ปการศึกษา ๒๕๕๒ มีบัณฑิตจํานวน ๔๙ รูป/คน บัณฑิตตอบแบบสํารวจจํานวน ๔๐ รูป/คน
คิดเปนรอยละ ๖๗.๕๓ ทํางานแลวรอยละ ๙๐
ปการศึกษา ๒๕๕๓ มีบัณฑิตจํานวน ๗๒ รูป/คน บัณฑิตตอบแบบสํารวจจํานวน ๖๒ รูป/คน
คิดเปนรอยละ ๙๐ ทํางานแลวรอยละ ๖๙
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
หนา ๑๐
กลยุทธที่ ๓ พัฒนาวิทยาลัยใหเปนศูนยกลางการศึกษาพระพุทธศาสนาในเขตภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือ มี ๑ ตัวชี้วัด คือ เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๓ วิทยาลัยสงฆเลยไดทําการยายจากวัด
ศรีวิชัยวนาราม มาตั้ง ณ สํานักงานใหม เลขที่ ๑๑๙ หมู ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย เปนการ
ถาวร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อขยายโอกาสทางการศึกษา เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาลและคณะสงฆในการ
กระจายโอกาสทางการศึกษาใหทั่วถึงแกพระภิกษุสามเณรและประชาชนทั่วไปในทองถิ่น
๑.๒.๒ ยุทธศาสตรที่ ๒ พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน
เปาประสงค มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย มีคุณภาพไดมาตรฐานสากล ซึ่ง
ตอบสนองความตองการของสังคม คณาจารยมีความรูความชํานาญวิชาการดานพระพุทธศาสนาและ
สังคมศาสตรเปนที่ปรากฏ มีทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรูที่มีคุณภาพและเพียงพอ มี ๔ กลยุทธ คือ
กลยุทธที่ ๔ พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาวิชาการดานพระพุทธศาสนาและดานสังคมศาสตรใหมี
ความหลากหลาย มี ๒ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนหลักสูตรเดิมที่ปรับปรุงและพัฒนา ๒) จํานวนหลักสูตรที่มีความ
สอดคลองกับความตองการของสังคม สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้
๑) หลักสูตรเดิมที่ปรับปรุงและพัฒนา จํานวน ๓ หลักสูตร
๒) หลักสูตรที่มีความสอดคลองกับความตองการของสังคม จํานวน ๓ หลักสูตร
กลยุทธที่ ๕ พัฒนากระบวนการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการโดยใชการประกันคุณภาพการศึกษา
เปนกลไกในการดําเนินงาน มี ๔ ตัวชี้วัด คือ ๑) มีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ สงเสริม
กระบวนการเรียนรูที่จะทําใหนิสิตมีคุณลักษณะอันพึงประสงค ๒) มีกระบวนการใหบริการแกนิสิตอยางทั่วถึง
ครอบคลุม ๓) มีการสงเสริมกิจกรรมนิสิตที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะอันพึงประสงค ๔) มีการ
พัฒนาสงเสริมการใชคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนรู สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้
๑) มีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ สงเสริมกระบวนการเรียนรูที่จะทําใหนิสิตมี
คุณลักษณะอันพึงประสงค โดยในปการศึกษา ๒๕๕๓ วิทยาลัยจัดโครงการ/กิจกรรมสนับสนุนกระบวนการ
เรียนรู จํานวน ๑๒ โครงการ
๒) มีกระบวนการใหบริการแกนิสิตอยางทั่วถึงครอบคลุม ไดแก (๑) โครงการจัดทําขอสอบกลาง
(๒) ระบบสารสนเทศทะเบียนนิสิต (๓) ระบบสารสนเทศหองสมุด (๔) ระบบสารสนเทศการเรียนรูออนไลน
๓) มีการสงเสริมกิจกรรมนิสิตที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะอันพึงประสงค ไดแก (๑)
กิจกรรมองคการบริหารนิสิต (๒) กิจกรรมนิสิตอาสาพัฒนาชุมชน (๓) กิจกรรมเจริญจิตภาวนา (๔) กิจกรรม
ตรวจเยี่ยมนิสิตปฏิบัติศาสนกิจ
๔) มีการพัฒนาสงเสริมการใชคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนรู สรุปผลการดําเนินการ ไดแก (๑)
หองปฏิบัติการคอมพิวเตอรไวบริการ (๒) พัฒนาวัสดุ อุปกรณ และสื่อการเรียนรูของหองเรียน (๓) ระบบ
อินเตอรเน็ต แบบเครือขายไรสาย (Wireless LAN) ครอบคลุมทุกพื้นที่
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
หนา ๑๑
กลยุทธที่ ๖ พัฒนาการเรียนการสอน แหลงเรียนรูและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา ใหมี
ความทันสมัย เพียงพอตอการจัดการศึกษา มี ๓ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนคัมภีรทางพระพุทธศาสนา ไดสัดสวน
กับจํานวนนิสิตและอาจารย ๒) มีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศที่ตอบสนองการจัดการ
เรียนการสอนอยางเพียงพอ ๓) มีสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการจัดการเรียนการสอน สรุปผลการดําเนินการ
ดังนี้
๑) คัมภีรทางพระพุทธศาสนา ป ๒๕๕๒ สํารวจจากฐานขอมูลหองสมุด มีหนังสือจํานวน
๑๘,๘๖๘ เลม คิดเปนอัตราสวนตอจํานวนนิสิตรวมเทากับ ๓๖.๘ และป ๒๕๕๓ สํารวจจากฐานขอมูล
หองสมุด มีหนังสือจํานวน ๒๐,๗๕๕ เลม คิดเปนอัตราสวนตอจํานวนนิสิตรวมเทากับ ๔๑.๙
๒) พัฒนาโครงสรางพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศเชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย (สวนกลาง) โดยพัฒนาเครือขายคอมพิวเตอรหลัก เรียกวา Mahachulalongkornrajavidyalaya
University Network: MCUNet
๓) มีสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการจัดการเรียนการสอน ไดแก โครงการจัดทําขอสอบกลาง
รวมกับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ดําเนินการแลว จํานวน ๑๐ รายวิชา
กลยุทธที่ ๗ พัฒนาอาจารยใหมีความรู ความสามารถ และทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการ
สอนอยางมีประสิทธิภาพ มี ๒ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนหลักสูตรในการพัฒนาความสามารถและทักษะในการ
จัดการเรียนการสอน ๒) จํานวนอาจารยที่ผานการอบรมพัฒนาความสามารถและทักษะการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศในการจัดการเรียนการสอน สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้
๑) หลักสูตรในการพัฒนาความสามารถและทักษะในการจัดการเรียนการสอน โดยดําเนิน
โครงการพัฒนาศักยภาพการสอนสําหรับอาจารย ผานการจัดอบรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียน
การสอน
๒) มีอาจารยที่ผานการอบรมพัฒนาความสามารถและทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการ
จัดการเรียนการสอน จํานวน ๑๕ รูป/คน
๑.๒.๓ ยุทธศาสตรที่ ๓ พัฒนาการบริหารจัดการงานวิจัยดานพระพุทธศาสนา
เปาประสงค วิทยาลัยเปนศูนยกลางการวิจัยดานพระพุทธศาสนาในเขตภาคเหนือตอนลางภาคกลาง
ตอนบน มี ๕ กลยุทธ คือ
กลยุทธที่ ๘ พัฒนาการบริหารจัดการงานวิจัย มี ๓ ตัวชี้วัด คือ ๑) มีการจัดระบบการทําวิจัยที่เนน
การวิจัยดานพระพุทธศาสนาและสังคมศาสตร ๒) พัฒนาฐานขอมูลการวิจัยและการบริหารจัดการงานวิจัย ๓)
มีการสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งและพัฒนาศักยภาพและคุณภาพของมหาวิทยาลัยให
เปนองคกรการศึกษาพระพุทธศาสนาระดับภูมิภาค สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้
๑) มีการสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งและพัฒนาศักยภาพโดยผานการ
อบรมใหความรูเกี่ยวกับงานวิจัยและเนนใหมีการทําวิจัยในหองเรียน
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
หนา ๑๒
กลยุทธที่ ๙ สงเสริมและสนับสนุนใหบุคลากรของวิทยาลัยทําวิจัยและใชความรูจากการวิจัย เพื่อ
พัฒนาตน พัฒนางาน และพัฒนาองคกรอยางตอเนื่อง มี ๓ ตัวชี้วัด คือ ๑) มีการพัฒนาศักยภาพขีด
ความสามารถในการทําวิจัย การเขียนตําราทางวิชาการ ๒) มีการสงเสริมการทําวิจัยในชั้นเรียน วิจัยประเมิน
หลักสูตร ๓) บุคลากรนําผลการวิจัยไปปรับปรุงพัฒนา สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้
๑) มีการพัฒนาศักยภาพขีดความสามารถในการทําวิจัย การเขียนตําราทางวิชาการ ผาน
โครงการสัมมนาทางวิชาการ โครงพัฒนาบุคลากรดานการวิจัย โครงการเขารวมสัมมนาผลงานวิจัย
๒) มีการทําวิจัยในชั้นเรียน วิจัยประเมินหลักสูตร ไดแก ปงบประมาณ ๒๕๕๓ มีบุคลากร
ดําเนินการวิจัย จํานวน ๒ หัวเรื่อง แลวเสร็จ ๒ หัวเรื่อง และปงบประมาณ ๒๕๕๔ มีบุคลากรดําเนินการวิจัย
จํานวน ๒ หัวเรื่อง แลวเสร็จ ๒ หัวเรื่อง
กลยุทธที่ ๑๐ สงเสริมและสนับสนุนบุคลากรของวิทยาลัยทําวิจัยรวมกับองคกรภายนอกทั้งภาครัฐ
และเอกชน มี ๑ ตัวชี้วัด คือ ๑) มีการสนับสนุนการวิจัยรวมกับภาคเอกชนและหนวยงานของรัฐอื่นๆ
กลยุทธที่ ๑๑ เผยแพรผลงานวิจัย มี ๕ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงาน
สรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตออาจารยประจํา ๒) รอยละของงานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่
ตีพิมพเผยแพรตออาจารยประจํา
กลยุทธที่ ๑๒ พัฒนากองทุนวิจัย มี ๑ ตัวชี้วัด คือ ๑) มีการระดมทุนเพื่อการบริหารและการสงเสริม
การทําวิจัย สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้
๑) วิทยาลัยไดดําเนินการจัดหาและตั้งงบประมาณสนับสนุนการวิจัย คือ (๑) เงินอุดหนุนจาก
สถาบันวิจัยพุทธศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (๒) เงินที่วิทยาลัยสงฆเลยจัดสรรเพิ่มให
(นอกงบ)
๑.๒.๔ ยุทธศาสตรที่ ๔ การบริการวิชาการดานพระพุทธศาสนาเชิงรุกที่ตอบสนองความตองการของ
สังคม
เปาประสงค วิทยาลัยเปนแหลงบริการวิชาการดานพระพุทธศาสนาที่สามารถตอบสนองความ
ตองการของคณะสงฆและสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ มี ๓ กลยุทธ คือ
กลยุทธที่ ๑๓ พัฒนารูปแบบและวิธีการ การบริการดานพระพุทธศาสนาแกสังคม และการเผยแผ
พระพุทธศาสนา มี ๕ ตัวชี้วัด คือ ๑) มีกระบวนการและระบบการใหการบริการวิชาการดานพระพุทธศาสนา
๒) มีกระบวนการเผยแผธรรมะที่หลากหลาย อาทิ การจัดสถานีวิทยุ การไปเปนวิทยากรในองคกรตางๆ ๓)
จํานวนนิสิตปฏิบัติศาสนกิจอาสาพัฒนาและบริการสังคม ๔) จํานวนเยาวชนที่เขารวมโครงการบรรพชาและ
อบรมเยาวชนภาคฤดูรอน ๕) จํานวนพระสังฆาธิการที่ผานการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรบริหารกิจการ
คณะสงฆ สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้
๑) มีกระบวนการและระบบการใหบริการวิชาการทางดานพระพุทธศาสนาในหลายชองทาง
ไดแก (๑) ทางสถานีวิทยุเพื่อการศึกษาและเผยแผพระพุทธศาสนาวิทยาลัยสงฆเลย FM ๘๙.๒๕ MHz (๒)
รูปแบบบทความทางวิชาการ งานวิจัย (๓) เผยแพรงานวิชาการทางดานพระพุทธศาสนาในรูปสื่อสิ่งพิมพ (๔)
บุคลากรของมหาวิทยาลัยใหบริการแกสังคมในรูปแบบการเปนวิทยากร
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
หนา ๑๓
๒) มีกระบวนการเผยแผธรรมะที่หลากหลาย โดยวิทยาลัยดําเนินการใน ๓ โครงการหลัก ไดแก
(๑) โครงการสงเสริมนิสิตปฏิบัติศาสนกิจอาสาเติมปญญาใหสังคม (๒) โครงการบรรพชาและอบรมเยาวชนภาคฤดู
รอน และ (๓) โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน
๓) วิทยาลัยไดสงเสริมพระบัณฑิตและนิสิตบําเพ็ญประโยชน โดยการจัดสงนิสิตออกปฏิบัติ
ศาสนกิจอาสาพัฒนาและบริการสังคม ป ๒๕๕๑ จํานวน ๓๓ รูป ป ๒๕๕๒ จํานวน ๒๔ รูป และป ๒๕๕๓
จํานวน ๒๙ รูป
๔) มีโครงการบรรพชาและอบรมเยาวชนภาคฤดูรอน ป ๒๕๕๒ มีเยาวชนเขารับการบรรพชา
๕๐๗ รูป และป ๒๕๕๓ มีเยาวชนเขารับการบรรพชา ๓๒๐ รูป
๕) มีพระสังฆาธิการที่ผานการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ
(ป.บส.) ป ๒๕๕๑ จํานวน ๒๐ รูป ป ๒๕๕๒ จํานวน ๔๔ รูป ป ๒๕๕๓ จํานวน ๓๖ รูป ป ๒๕๕๔ จํานวน
๓๐ รูป
กลยุทธที่ ๑๔ พัฒนาวิทยาลัยใหเปนศูนยกลางการบริการวิชาการดานพระพุทธศาสนาระดับ
ทองถิ่นและระดับชาติ มี ๕ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนขอมูลสารสนเทศและสื่อการเผยแพรวิชาการดาน
พระพุทธศาสนาผานสื่อสิ่งพิมพ วิทยุ โทรทัศนและสื่อออนไลน ๒) จํานวนนักเผยแผธรรมที่ผานการอบรม ๓)
จํานวนพระสงฆและประชาชนที่ผานการอบรมวิปสสนากรรมฐาน ๔) จํานวนโรงเรียนที่พระสอนศีลธรรมเขา
ไปใหบริการการสอน การฝกอบรม ๕) จํานวนโครงการประชุม สัมมนา ทางวิชาการทางพระพุทธศาสนา
ระดับทองถิ่น และระดับชาติ สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้
๑) วิทยาลัยจัดทําสื่อสารสนเทศและสื่อการเผยแพรวิชาการ ดังนี้ (๑) ดานสื่อสิ่งพิมพ จํานวน
๑๕,๗๗๖ เลม (๒) สื่อวิทยุ จํานวน ๑ สถานี
๒) พระสงฆและประชาชนที่ผานการอบรมวิปสสนากรรมฐาน ดังนี้ ป ๒๕๕๐ จํานวน ๒๙๗ รูป/
คน ป ๒๕๕๑ จํานวน ๓๒๑ รูป/คน ป ๒๕๕๒ จํานวน ๓๐๐ รูป/คน ป ๒๕๕๓ จํานวน ๔๔๐ รูป/คน
๔) ป ๒๕๕๓ มีจํานวนโรงเรียนที่พระสอนศีลธรรมเขาไปใหบริการสอน จํานวน ๔๐๐ โรงเรียน
๕) โครงการประชุมสัมมนาทางพระพุทธศาสนาระดับทองถิ่น และระดับชาติ จํานวน ๕ ครั้ง
กลยุทธที่ ๑๕ สงเสริม สนับสนุน และสนองงานของคณะสงฆ มี ๔ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนพระ
สังฆาธิการที่ไดรับการสงเสริมความสามารถในการบริหารจัดการงานคณะสงฆ ๒) จํานวนกิจกรรม/โครงการที่
จัดถวายพระสังฆาธิการและประชาชนทั่วไป ๓) จํานวนพระสังฆาธิการที่ไดรับการสงเสริมสนับสนุนดานอื่นๆ ๔)
จํานวนพระนิสิต บุคลากรที่ไปดํารงตําแหนงหรือปฏิบัติงานสนองงานคณะสงฆ สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้
๑) วิทยาลัยสนับสนุนและสงเสริมความสามารถในการบริหารจัดการงานคณะสงฆ โดยบริการ
หลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ (ป.บส.) มีพระสงฆจบหลักสูตร ดังนี้ (ป.บส.) ป ๒๕๕๑
จํานวน ๒๐ รูป ป ๒๕๕๒ จํานวน ๔๔ รูป ป ๒๕๕๓ จํานวน ๓๖ รูป ป ๒๕๕๔ จํานวน ๓๐ รูป
๒) กิจกรรม/โครงการที่จัดถวายพระสังฆาธิการและประชาชนทั่วไป จํานวน ๓ โครงการ คือ
อบรมพระวิปสสนาจารย, อบรมพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน, สัมมนาเชิงวิชาการ
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
หนา ๑๔
๑.๒.๕ ยุทธศาสตรที่ ๕ การทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมอยางยั่งยืน
เปาประสงค วิทยาลัยเปนแหลงเรียนรูดานพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมอยางยั่งยืน มี ๓ กล
ยุทธ คือ
กลยุทธที่ ๑๖ พัฒนารูปแบบและวิธีการในการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม มี ๒
ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนหลักสูตรและโครงการในการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ๒) จํานวน
ผูรับบริการในงานทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้
๑) มีโครงการในการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ดังนี้ ป ๒๕๕๐ จํานวน ๓
โครงการ ป ๒๕๕๑ จํานวน ๓ โครงการ ป ๒๕๕๒ จํานวน ๗ โครงการ ป ๒๕๕๓ จํานวน ๕ โครงการ
๒) ป ๒๕๕๑ มีผูรับบริการในงานทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม จํานวน ๑,๕๐๐
รูป/คน
กลยุทธที่ ๑๗ พัฒนาวิทยาลัยใหเปนแหลงเรียนรูดานพระพุทธศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ทั้ง
ระดับทองถิ่น และระดับชาติ มี ๔ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนแหลงเรียนรูดานพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม
ระดับทองถิ่นและระดับชาติ ๒) รวมมือกับองคกรระดับทองถิ่นในการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา
ศิลปวัฒนธรรม ๓) พัฒนาหลักสูตรทางดานศิลปวัฒนธรรม และสงเสริมใหมีการศึกษาอยางกวางขวาง ๔) มี
การสงเสริมอนุรักษและเปดพื้นที่ในการแสดงศิลปวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา ระดับทองถิ่นและระดับชาติ
สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้
๑) จํานวนแหลงเรียนรูดานพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ระดับทองถิ่น ดังนี้ (๑) หองสมุด
วิทยาลัยสงฆเลย (๒) สถานีวิทยุเพื่อการศึกษาและเผยแผพระพุทธศาสนาวิทยาลัยสงฆเลย
๒) รวมกับผูวาราชการจัดหวัดเลยจัดกิจกรรมปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติเพื่อถวายเปนพระราช
กุศลแกพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว
๓) วิทยาลัยจัดโครงการสงเสริมอนุรักษและเปดพื้นที่ในการแสดงศิลปวัฒนธรรม ดังนี้ (๑)
กิจกรรมเจริญพระพุทธมนตถวายพระพร (๒) กิจกรรมจัดนิทรรศการเนื่องในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา (๓)
โครงการสืบสานประเพณีทองถิ่นไทย (๔) กิจกรรมเทศมหาชาติ
กลยุทธที่ ๑๘ เสริมสรางความรู ความเขาใจ และความสํานึกในคุณคาของพระพุทธศาสนา ศิลปะ
และวัฒนธรรม มี ๒ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนงาน/โครงการเสริมสรางความรู ความเขาใจและความสํานึกใน
คุณคาของพระพุทธศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมระดับทองถิ่น ระดับชาติ ๒) จํานวนงาน/โครงการเสริมสราง
ความรู ความเขาใจและความสํานึกในคุณคาของพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรมไทย สรุปผลการดําเนินการ
ดังนี้
๑) วิทยาลัยจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมสรางความรูความเขาใจและความสํานึกในคุณคาของ
พระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม จํานวน ๗ โครงการ ไดแก (๑) โครงการจัดนิทรรศการเนื่องในวันสําคัญ
ทางพระพุทธศาสนา (๒) กิจกรรมเทิดพระเกียรติวันปยมหาราช (๓) กิจกรรมไหวครูบูชาบูรพาจารย (๔)
กิจกรรมหลอเทียนและถวายเทียนพรรษา (๕) กิจกรรมเทศมหาชาติเวสสันดรชาดก (๖) กิจกรรมเนื่องในวัน
พอแหงชาติและวันแมแหงชาติ
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)

More Related Content

Similar to แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)

โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingWareerut Hunter
 
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.วรัท พฤกษากุลนันท์
 
รายงานประจำปี 2556 สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มทร.ล้านนา
รายงานประจำปี 2556 สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มทร.ล้านนารายงานประจำปี 2556 สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มทร.ล้านนา
รายงานประจำปี 2556 สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มทร.ล้านนาkaewpanya km
 
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....นายจักราวุธ คำทวี
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนmadechada
 
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561solarcell2
 
ยางนาสาร ฉบับที่ 74
ยางนาสาร ฉบับที่  74ยางนาสาร ฉบับที่  74
ยางนาสาร ฉบับที่ 74Mr-Dusit Kreachai
 
หลักสูตรสถานศึกษา-66 แก้ไข.pdf
หลักสูตรสถานศึกษา-66  แก้ไข.pdfหลักสูตรสถานศึกษา-66  แก้ไข.pdf
หลักสูตรสถานศึกษา-66 แก้ไข.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นายจักราวุธ คำทวี
 
แผนพัฒนาการศึกษา2
แผนพัฒนาการศึกษา2แผนพัฒนาการศึกษา2
แผนพัฒนาการศึกษา2Prachyanun Nilsook
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.wasan
 
Webwatpamenpon
WebwatpamenponWebwatpamenpon
Webwatpamenponwut_wss
 
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในMr-Dusit Kreachai
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 

Similar to แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) (20)

โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
 
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
แนวคิดและการพัฒนาสำนักงานศึกษาธิการภาค 1-13 สป.ศธ.
 
รายงานประจำปี 2556 สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มทร.ล้านนา
รายงานประจำปี 2556 สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มทร.ล้านนารายงานประจำปี 2556 สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มทร.ล้านนา
รายงานประจำปี 2556 สถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน มทร.ล้านนา
 
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
 
ปก081058
ปก081058ปก081058
ปก081058
 
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียนโครงการ    เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
โครงการ เสริมสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน
 
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
แผนการจัดโครงการและกิจกรรมพัฒนานิสิต ประจำปี 2561
 
ยางนาสาร ฉบับที่ 74
ยางนาสาร ฉบับที่  74ยางนาสาร ฉบับที่  74
ยางนาสาร ฉบับที่ 74
 
หลักสูตรสถานศึกษา-66 แก้ไข.pdf
หลักสูตรสถานศึกษา-66  แก้ไข.pdfหลักสูตรสถานศึกษา-66  แก้ไข.pdf
หลักสูตรสถานศึกษา-66 แก้ไข.pdf
 
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
ยุทธศาสตร์ กศน ปี 2560
 
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
นำเสนอตรวจประเมินสถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน.อำเภอสรรพยา จ.ชัยนาท ๓ ๔ ก.ย. ๕๗
 
แผนพัฒนาการศึกษา2
แผนพัฒนาการศึกษา2แผนพัฒนาการศึกษา2
แผนพัฒนาการศึกษา2
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
 
Paper1
Paper1Paper1
Paper1
 
Webwatpamenpon
WebwatpamenponWebwatpamenpon
Webwatpamenpon
 
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายในผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ผลการดำเนินงานและผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
 
V 262
V 262V 262
V 262
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 

More from pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองpentanino
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยpentanino
 
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนาสาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนาpentanino
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศpentanino
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศpentanino
 

More from pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
 
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนาสาขาวิชาพระพุทธศาสนา
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศจริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
จริยปรัชญาการสร้างอัตลักษณ์ของคนเกาหลีสู่การพัฒนาประเทศ
 

แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)

  • 1. แผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) ฝายวางแผนและวิชาการ วิทยาลัยสงฆเลย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • 2. คํานํา วิทยาลัยสงฆเลยเปนหนวยงานหนึ่งของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยที่จัดการศึกษา ใหแกพระภิกษุสามเณรทั่วไป ไดดําเนินงานจัดการศึกษาตามพันธกิจในฐานะมหาวิทยาลัยแหงคณะสงฆไทย โดยไดรับความรวมมือจากคณะสงฆในเขตการปกครองคณะสงฆภาค ๘ และพุทธศาสนิกชนทั่วไป วิทยาลัย สงฆเลยผลิตบัณฑิตที่มีความรูทางพระพุทธศาสนา การบริการวิชาการแกชุมชน และงานทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมเพื่อสนองงานคณะสงฆ และสังคมในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตั้งแตป พ.ศ. ๒๕๓๘ จนถึง ปจจุบัน เพื่อใหมีความสอดคลองและตอบสนองทิศทางการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแหงชาติฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) และแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา รวมถึงเพื่อกําหนด ทิศทางการพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ใหมีคุณภาพ สมดุล และยั่งยืน ในพระพุทธศาสนา สอดคลองกับทิศ ทางการเปลี่ยนแปลงของสังคมและการศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศและของโลกในอนาคต จึงไดจัดทํา แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ขึ้น โดยเนนการพัฒนาดานการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การบริการวิชาการแกสังคม และทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม ใหมีคุณภาพ และใหความสําคัญกับการมีสวนรวมในกระบวนการจัดทําแผนอยางเปน ขั้นตอน ทั้งผูมีสวนไดสวนเสียจากภายในและภายนอก ซึ่งเปนภาคสวนที่จะรวมกําหนดทิศทางการพัฒนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ใหกาวสูมหาวิทยาลัยสงฆแหงคุณภาพในการสืบ ทอดพระพุทธศาสนาและพัฒนาประเทศภายใตการบริหารจัดการที่ดี ความคิดสรางสรรคอันเปนพื้นฐานที่จําเปนตอการสรางภูมิคุมกันใหเกิดขึ้นในทุกมิติเพื่อหลีกเลี่ยง ปจจัยเสี่ยงดานตางๆ และรวมวางรากฐานจิตใจมวลมนุษยชาติใหเขมแข็ง โดยการพึ่งพิงพระพุทธศาสนาและ พึ่งพาตนเองไดอยางยั่งยืนตอไป มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย
  • 3. สารบัญ หนา คํานํา บทสรุปผูบริหาร ๑ สวนที่ ๑ บทนํา ๔ ๑.๑ ประวัติความเปนมาของวิทยาลัยสงฆเลย ๔ ๑.๒ สรุปผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ในชวง แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะที่ ๑๐ (พ.ศ. ๒๕๕๐-๒๕๕๔) ๙ ๑.๓ สรุปภาพรวมของวิทยาลัยสงฆเลยจากผลการประเมินคุณภาพ การศึกษาภายในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราวิทยาลัย ประจําปการศึกษา ๒๕๕๓ ๑๘ สวนที่ ๒ การวิเคราะหสภาวะแวดลอม (SWOT) วิทยาลัยสงฆเลย ๒๑ สวนที่ ๓ ความเชื่อมโยงและทิศทางดานนโยบายตอการพัฒนา ๒๕ ๓.๑ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙) ๒๕ ๓.๒ กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ป ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๖๕) ๒๙ ๓.๓ แผนการบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. ๒๕๕๕- ๒๕๕๘ ๓๑ ๓.๔ แผนยุทธศาสตร กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๓๒ ๓.๕ นโยบายการบริหารมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พุทธศักราช ๒๕๕๕- ๒๕๕๙ ๓๒ สวนที่ ๔ แผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ในชวงแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) ๓๔ ๔.๑ ปรัชญา ๓๔ ๔.๒ ปณิธาน ๓๔ ๔.๓ อัตลักษณและเอกลักษณ ๓๔ ๔.๔ อัตลักษณบัณฑิต ๓๔ ๔.๕ วัฒนธรรมองคกร ๓๔ ๔.๖ วิสัยทัศน ๓๔ ๔.๗ พันธกิจ ๓๔ ๔.๘ วัตถุประสงคการจัดทําแผนพัฒนาวิทยาลัยฯ ระยะที่ ๑๑ ๓๕ ๔.๙ สรุปยุทธศาสตรในแผนพัฒนาวิทยาลัยฯ ระยะที่ ๑๑ ๓๕ ยุทธศาสตร เปาประสงค และกลยุทธในแผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลยในชวง แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะที่ ๑๑ (๒๕๕๕ -๒๕๕๙) ๓๖ สวนที่ ๕ ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค กลยุทธ มาตรการ โครงการ/กิจกรรม และตัวชี้วัด ๔๐ ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๑ การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน ที่มีคุณภาพและมาตรฐาน ๔๐ ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๒ สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองคความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพ การวิจัยทางพระพุทธศาสนาระดับภูมิภาคและระดับชาติ ๔๔
  • 4. ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๓ การบริการวิชาการแกสังคมและชุมชนทุกระดับ ๔๗ ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๔ การทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และวิถีชีวิตชุมชนอยางยั่งยืน ๕๐ ประเด็นยุทธศาสตรที่ ๕ พัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตาม หลักธรรมาภิบาล ๕๓ เปาหมายตัวชี้วัด ในแผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) ๕๗ เปาประสงคที่ ๑ ๕๗ เปาประสงคที่ ๒ ๖๑ เปาประสงคที่ ๓ ๖๓ เปาประสงคที่ ๔ ๖๗ เปาประสงคที่ ๕ ๗๐ เปาประสงคที่ ๖ ๗๓ สวนที่ ๖ การบริหารจัดการแผนพัฒนาวิทยาลัยสูการปฏิบัติ ๗๙ ภาคผนวก ๘๑ - คําสั่งวิทยาลัยสงฆเลย ที่ ๑๐/๒๕๕๕ เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการจัดทําแผนกล ยุทธ วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ ๘๒ - คําสั่งวิทยาลัยสงฆเลย ที่ ๒๔/๒๕๕๕ เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการจัดทําแผน จัดการเรียนรู (PDCA) ๘๓ - คําสั่งวิทยาลัยสงฆเลย ที่ ๐๑๗/๒๕๕๖ เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการจัดทําแผน กลยุทธ วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ ๘๔ - คําสั่งวิทยาลัยสงฆเลย ที่ /๒๕๕๕ เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการจัดทํา แผนพัฒนา วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ ๘๕ - มติคณะกรรมการผูบริหาร คณาจารย และเจาหนาที่วิทยาลัยสงฆเลยครั้งที่ ๙/ ๒๕๕๕ ๘๖ - มติคณะกรรมการประจําวิทยาลัยสงฆเลย ครั้งที่ ๑/๒๕๕๖ ๘๗ - แผนที่ยุทธศาสตร (Strategic Map) วิทยาลัยสงฆเลย (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) - ความเชื่อมโยงระหวางปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ ประเด็นยุทธศาสตร เปาประสงค และกลยุทธของแผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๙)
  • 5. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) หนา | ๑ บทสรุปผูบริหาร การจัดทําแผนพัฒนาวิทยาลัยไดมีพัฒนาการอยางตอเนื่องนับจากอดีตเปนตนมา โดยใหความสําคัญ กับกระบวนการมีสวนรวมของประชาคม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย และผูมี สวนไดสวนเสีย ผานกลไกการระดมสมอง มีการวิเคราะหสถานการณแวดลอมและเงื่อนไขตางๆ ที่ เปลี่ยนแปลงไปในมิติตางๆ ที่คาดวาจะสงผลตอทิศทางการพัฒนาวิทยาลัย และสถานการณที่เปลี่ยนแปลงใน กระแสโลกาภิวัตน รวมทั้งแนวโนมหรือทิศทางการพัฒนาอุดมศึกษาในอนาคต วิทยาลัยสงฆเลยไดตระหนักถึงการวางแผน การนําแผนไปสูการปฏิบัติ และการติดตามประเมินผล แผนฯ ขององคกรอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล จึงไดจัดทําแผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) ขึ้น ภายใตกรอบทิศทางของแผนพัฒนามหาวิทยาลัยระยะยาว ๑๕ ป และกรอบแผน หรือนโยบายดานอุดมศึกษาของประเทศ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ รวมทั้งนโยบายของรัฐบาล และยุทธศาสตรกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อใหการดําเนินงานเชื่อมโยงสัมพันธกันทุกระดับ อันนําไปสูการบรรลุ เปาหมายเดียวกันคือเพื่อพัฒนาอุดมศึกษาของประเทศ โดยทิศทางการพัฒนาของวิทยาลัยในแผนฯ ระยะที่ ๑๑ นี้ จะมุงเนนการพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ใหเปนศูนยกลางการศึกษาพระพุทธศาสนาในเขตภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ โดยเนนฐานความรูทางพระพุทธศาสนาบูรณาการกับศาสตสมัยใหมเพื่อนําชุมชน และ สังคมไปสูสันติสุขอยางยั่งยืน มุงสรางบัณฑิตใหมีภูมิคุมกัน มีคุณธรรม จริยธรรม ทักษะทางปญญา มีทักษะ ความสัมพันธระหวางบุคคล มีความรับผิดชอบ มีทักษะการวิเคราะหเชิงคณิตศาสตร และการสื่อสารและการ ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดทุกแหงทั่วโลก มุงสงเสริมการศึกษา คนควาวิจัยใหกาว ไปสูความเปนเลิศทางวิชาการดานพระพุทธศาสนา เพื่อสรางองคความรูใหมในการพัฒนามนุษย สังคมและ สิ่งแวดลอม ใหอยูรวมกันไดอยางสมดุลและสันติสุข รวมทั้งการสรางเครือขายกับสถาบันที่มีชื่อเสียงทั้งใน ประเทศและตางประเทศ เพื่อพัฒนาคุณภาพของนักวิจัยใหนําไปสูความเปนสากล มุงใหบริการทางวิชาการใน รูปแบบที่หลากหลาย มีการบริหารเพื่อใหพัฒนาพระพุทธศาสนา พัฒนาคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของ ประชาชน มีความมุงมั่นในการใหบริการวิชาการทางพระพุทธศาสนาแกคณะสงฆและสังคม รวมทั้งสงเสริม การเรียนรู และความรวมมืออันดีระหวางพุทธศาสนิกชนในระดับชาติและนานาชาติ มุงสงเสริมการศึกษา ผสมผสานทางวัฒนธรรมและการมีสวนรวมในประชาคมโลกดานพระพุทธศาสนา โดยการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรมของสังคมไทย เปนรากฐานของการพัฒนาอยางมีคุณภาพ เพื่อนําไปสูการรักษาความแตกตาง ทางวัฒนธรรมและการอยูรวมกันในประชาคมโลกอยางมีเอกลักษณและศักดิ์ศรี เพื่อเปนการสรางวัฒนธรรม และคานิยมที่พึงประสงคใหเกิดขึ้นกับบุคคล องคกรและสังคม และปรับปรุงโครงสรางองคกร ปรับปรุง กฎระเบียบ การบริหาร และพัฒนาบุคลากร ใหเกิดการบริหารการเปลี่ยนแปลง โดยยึดหลักการบริหารจัดการ อยางมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล โดยในชวงแผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) วิทยาลัยไดกําหนด เปาประสงคหลักในการพัฒนาวิทยาลัย ๖ ขอ ยุทธศาสตรการพัฒนา ๕ ขอ ซึ่งแตละดานมีกลยุทธหลักที่ใชใน การขับเคลื่อนแผนฯ ใหบรรลุผลสําเร็จตามเปาประสงค ดังนี้ ยุทธศาสตรที่ ๑ การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและมาตรฐาน มี เปาประสงค ๒ ขอ และมีกลยุทธ ๕ ขอ คือ เปาประสงคที่ ๑ บัณฑิตที่ไดรับการศึกษาเปนผูมีภูมิคุมกัน มีคุณธรรม จริยธรรม ทักษะทาง ปญญา มีทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล มีความรับผิดชอบ มีทักษะวิเคราะหเชิงคณิตศาสตร และการ
  • 6. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) หนา | ๒ สื่อสารและการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดทุกแหงทั่วโลก มีกลยุทธการดําเนินงาน ๓ ขอ ไดแก กลยุทธที่ ๑พัฒนาและปรับปรุงหลักสูตรใหมีคุณภาพทันสมัยและสอดคลองกับความ ตองการของผูเรียนและสังคม กลยุทธที่ ๒ พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพของอาจารยใหมีความรูความสามารถในการ จัดกิจกรรมการเรียนการสอนอยางมีประสิทธิภาพ กลยุทธที่ ๓ พัฒนานิสิตและขยายโอกาสการศึกษาทางดานพระพุทธศาสนา (พุทธ ศาสตร ครุศาสตร และสังคมศาสตร) เปาประสงคที่ ๒ วิทยาลัยมุงพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่มีคุณภาพและได มาตรฐานสากล สามารถตอบสนองตอความตองการของสังคม มีกลยุทธการดําเนินงาน ๒ ขอ ไดแก กลยุทธที่ ๔ สงเสริมและพัฒนาสื่อการเรียนรู และระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ การศึกษาใหมีคุณภาพและทันสมัย กลยุทธที่ ๕สงเสริมและพัฒนาวิทยาลัยใหเปนที่ยอมรับในการเปนศูนยกลางการศึกษา พระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ ยุทธศาสตรที่ ๒ สงเสริมการวิจัยและพัฒนาองคความรูเพื่อเพิ่มศักยภาพการวิจัยทาง พระพุทธศาสนาระดับภูมิภาคและระดับชาติ มีเปาประสงค ๑ ขอ คือ เปาประสงคที่ ๓ วิทยาลัยมีผลงานวิจัยทางพระพุทธศาสนาที่ไดรับการเผยแพร นําไปใช ประโยชนและเปนที่ยอมรับในระดับภูมิภาคและระดับชาติ มีกลยุทธการดําเนินงาน ๕ ขอ ไดแก กลยุทธที่ ๖พัฒนานักวิจัย ผลิตผลงานวิจัยดานพระพุทธศาสนาที่ครอบคลุมทุกกลุม ความรูและสรางเครือขายความรวมมือนักวิจัยและการวิจัยระดับภูมิภาคและระดับชาติ กลยุทธที่ ๗สงเสริมใหมีการเผยแพรผลงานวิจัยในระดับภูมิภาคและระดับชาติ กลยุทธที่ ๘สงเสริมและสนับสนุนการนําองคความรูจากการวิจัยไปใชในการเรียนการ สอน พัฒนาตน พัฒนางาน พัฒนาสังคมและกิจการคณะสงฆทั้งในระดับภูมิภาคและระดับชาติ กลยุทธที่ ๙สงเสริมใหผลการวิจัยไดรับการอางอิง การนําเสนอ การนําไปใช การตีพิมพ และไดรับรางวัลระดับภูมิภาคและระดับชาติ กลยุทธที่ ๑๐ พัฒนาระบบการบริหารการจัดการงานวิจัยระดับภูมิภาคและระดับชาติ ยุทธศาสตรที่ ๓ การบริการวิชาการแกสังคมและชุมชนทุกระดับ มีเปาประสงค ๑ ขอ คือ เปาประสงคที่ ๔ วิทยาลัยเปนแหลงเรียนรูและใหบริการวิชาการทางดานพระพุทธศาสนาแก สังคมและชุมชนทุกระดับ มีกลยุทธการดําเนินงาน ๕ ขอ ไดแก กลยุทธที่ ๑๑ พัฒนาทรัพยากรบุคคล ใหสามารถบริการวิชาการดานพระพุทธศาสนาแก สังคมทุกระดับ ทุกกลุมเปาหมาย กลยุทธที่ ๑๒ จัดระบบขอมูลและระบบการจัดการทรัพยากรองคความรูเพื่อถายทอด วิชาการทั้งทรัพยากรบุคคล ทักษะชํานาญการ สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ ใหสามารถสนองตอความตองการได ตามเฉพาะกรณี กลยุทธที่ ๑๓ พัฒนาและเปดหลักสูตรการอบรม หรือสัมมนา ใหสามารถดําเนินกิจกรรม ไดอยางคุมคา และยกระดับมาตรฐานการคณะสงฆ หรือสังคมคุณธรรม
  • 7. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) หนา | ๓ กลยุทธที่ ๑๕ สงเสริมและสนับสนุนใหคณะสงฆ ภาครัฐ เอกชน ชุมชน และองคกร ปกครองสวนทองถิ่น มีสวนรวมในกระบวนการจัดทําโครงการ/กิจกรรมบริการวิชาการเพื่อความมั่นคงและ ความเขมแข็งของสังคม กลยุทธที่ ๑๖ สงเสริมใหมีความรวมมือในการบริการวิชาการอยางยั่งยืน ระหวางวิทยาลัย กับทุกภาคสวน และแสวงหาโจทยวิจัยเพื่อบูรณาการกับการเรียนการสอน/ชี้นํา และแกปญหาใหเกิดสันติสุข ในสังคม ยุทธศาสตรที่ ๔ การทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและวิถีชีวิตชุมชนอยางยั่งยืน มี เปาประสงค ๑ ขอ คือ เปาประสงคที่ ๕ วิทยาลัยเปนแหลงเรียนรูทางดานพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปญญา ทองถิ่นอยางยั่งยืน มีกลยุทธการดําเนินงาน ๔ ขอ ไดแก กลยุทธที่ ๑๗ รณรงคใหนิสิตและบุคลากรมีความตระหนักในเรื่องการทํานุบํารุง ศิลปวัฒนธรรม และมีบทบาทในการสงเสริม ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรมและพัฒนาสังคมรวมกับภาคประชาชน กลยุทธที่ ๑๘ วิทยาลัยเปนแหลงเรียนรูดานพระพุทธศาสนา มรดกทางประเพณี วัฒนธรรมไทย ในระดับทองถิ่น ระดับภูมิภาค และระดับชาติ กลยุทธที่ ๑๙ พัฒนาพิพิธภัณฑ หอศิลปและผลงานบุรพาจารยใหเปนแหลงการเรียนรู กลยุทธที่ ๒๐ สงเสริมใหนิสิตบุคลากรและชุมชนใหดํารงวิถีชีวิตตามแนวทางปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง ยุทธศาสตรที่ ๕ พัฒนาระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล มีเปาประสงค ๑ ขอ คือ เปาประสงคที่ ๖ วิทยาลัยมีระบบบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล มีกล ยุทธการดําเนินงาน ๖ ขอ ไดแก กลยุทธที่ ๒๑ พัฒนานโยบายและแผนการบริหารจัดการใหมีภาพลักษณ และอัตลักษณ ของวิทยาลัย กลยุทธที่ ๒๒ พัฒนาระบบและกลไกการติดตามการประเมินผลวิชาการและการบริหาร อยางมีประสิทธิภาพ กลยุทธที่ ๒๓ พัฒนาระบบและกลไกการประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัยใหมี ประสิทธิภาพ กลยุทธที่ ๒๔ พัฒนาและสงเสริมศักยภาพของบุคลากรใหมีความเปนสากล กลยุทธที่ ๒๕ สงเสริมสวัสดิการบุคลากร กลยุทธที่ ๒๖ พัฒนาทรัพยากรและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการให มีประสิทธิภาพระดับสากล กลยุทธที่ ๒๗ พัฒนาระบบและกลไกการบริหารจัดการทางการเงินและงบประมาณของ วิทยาลัยใหมีภูมิคุมกันอยางมีประสิทธิภาพ
  • 8. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) หนา ๔ แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) ในชวงแผนพัฒนาการศึกษาระดับศึกษาระดับอุดมศึกษา ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ.๒๕๕๕-๒๕๕๙) บทที่ ๑ บทนํา แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ชื่อหนวยงาน : วิทยาลัยสงฆเลย สังกัด : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแกน ที่ตั้ง : เลขที่ ๑๑๙ หมูที่ ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย ๔๒๑๐๐ โทรศัพท : ๐๔๒-๘๐๑๒๐๓ โทรสาร : ๐๔๒-๘๐๑๒๖๘ ๑. หลักการและความจําเปนในการจัดทําแผนพัฒนา ๑.๑ ประวัติและความเปนมาของวิทยาลัยสงฆเลย พระเดชพระคุณพระสุนทรปริยัติเมธี (พระมหาพรหมา จนฺทโสภโณ)๑ เจาคณะจังหวัดเลย ได ปรารภที่จะดําเนินการพัฒนาขยายโอกาสทางการศึกษาระดับอุดมศึกษาสําหรับคณะสงฆจังหวัดเลย โดยมี ความประสงคที่จะใหภิกษุและสามเณรทั้งในเขตจังหวัดเลย จังหวัดใกลเคียง และมาจากจังหวัดอื่นไดศึกษา เลาเรียนวิชาการชั้นสูง โดยเนนใหศึกษาเขาใจวิชาการดานพระพุทธศาสนาและศาสตรแขนงอื่นๆ ที่จัด การศึกษาในระดับอุดมศึกษา ที่นอกเหนือจากการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม-บาลี ที่จัดการศึกษาอยู แลวใหกวางขวางยิ่งขึ้น เมื่อคราวประชุมเมื่อวันที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๓๗ สภาสงฆจังหวัดโดยมีพระเดชพระคุณพระสุนทรปริยัติ เมธี เจาคณะจังหวัดเลย เปนองคประธาน มีมติเห็นชอบใหดําเนินการขออนุมัติจากวิทยาเขตขอนแกน เพื่อ ขยายหองเรียน หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน วิชาเอกการสอนภาษาไทย โดยใหมีการจัดการศึกษาขึ้นที่วัดศรีวิชัยวนาราม อําเภอเมือง จังหวัดเลย การบริหารงานภายใตสังกัดวิทยาเขต ขอนแกน เมื่อวันที่ ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๓๘ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีมติใหสภาสงฆจังหวัด เลยจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษาได และใหนิสิตรุนแรกจํานวน ๓๘ รูป เดินทางไปเรียนที่คณะครุศาสตร วิทยาเขตขอนแกน เมื่อวันที่ ๒๒ กุมภาพันธ ๒๕๓๙ สภามหาวิทยาลัยมีมติอนุมัติใหวิทยาเขตขอนแกนจัดตั้งศูนย การศึกษาขึ้นที่วัดศรีวิชัยวนาราม ตําบลกุดปอง อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีพระเดชพระคุณพระสุนทร ปริยัติเมธี (สมณศักดิ์ในขณะนั้น) เปนผูชวยอธิการบดีประจําศูนยการศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัยจังหวัดเลยเปนรูปแรก เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๑ สภามหาวิทยาลัยมีมติใหยกฐานะศูนยการศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬา ลงกรณราชวิทยาลัยจังหวัดเลยขึ้นเปน “วิทยาลัยสงฆเลย”
  • 9. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) หนา ๕ การกอสรางวิทยาลัยสงฆเลยแหงใหม (จากศรีวิชัยสูศรีสองรัก) เมื่อป พ.ศ. ๒๕๔๘ พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย พรอมดวยคณะ ผูบริหารในขณะนั้น ไดดําเนินการจัดหาพื้นที่ที่เหมาะสมเพื่อจัดสรางวิทยาลัยสงฆเลยแหงใหมเพื่อตอบสนอง ความตองการการขยายตัวของนิสิต/นักศึกษาของวิทยาลัยสงฆเลยซึ่งนับวันจะเพิ่มมากขึ้น โดยคณะผูบริหารได ดําเนินการติดตอประสานงานขอใชที่ดินบริเวณปาโคกใหญ (โซน-อี) หมูที่ ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย ตอสํานักงานสํานักงานปฏิรูปที่ดิน (สปก.-๔๐๑) จังหวัดเลย เมื่อวันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๙ ที่ประชุมคณะกรรมการปฏิรูปที่ดินจังหวัดเลย โดยมีผูวาราชการจังหวัด เลยเปนประธาน ไดมีมติเห็นชอบใหวิทยาลัยสงฆเลยใชพื้นที่ดินเขตปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม ซึ่งตั้งอยูหมูที่ ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีเนื้อที่ ๕๐ ไร ๓ งาน ๗๖ ตารางวา ระยะหางจาก กม.ศูนย ๑๓ กิโลเมตร โดยมีนายธงชัย สิงอุดม หัวหนาฝายบริหารงานทั่วไป เปนผูเสนอขอใชที่ดินเพื่อกอสรางวิทยาลัย สงฆเลยแหงใหม และสํานักงานปฏิรูปที่ดินจังหวัดเลย ไดสงหนังสือเสนอขอใชที่ดินตอสํานักงานปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ เมื่อวันที่ ๓ กันยายน ๒๕๕๑ คราวประชุมครั้งที่ ๓/๒๕๕๑ สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ กรุงเทพมหานคร มีมติอนุมัติใหวิทยาลัยสงฆเลยใชที่ดินเพื่อการกอสรางวิทยาลัย สงฆเลยแหงใหม โดยมีพระมหาลิขิต รตนรํสี รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย และ ผศ.ดร.ประชารัชต โพธิ ประชา เขารวมประชุมชี้แจงเหตุผลการขอใชที่ดิน เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๕๑ สํานักงานปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ ได ออกหนังสืออนุญาตใหวิทยาลัยสงฆเลยใชที่ดินเพื่อกิจการสาธารณูปโภคและกิจการอื่นๆ ในเขตปฏิรูปที่ดิน ที่ ๔๐๗/๒๕๕๑ ซึ่งตั้งอยูเลขที่ ๑๑๙ หมู ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย เมื่อป ๒๕๕๒ วิทยาลัยสงฆเลยไดรับงบประมาณเพื่อกอสรางอาคารเรียนวิทยาลัยสงฆเลย ณ พื้นที่ แหงใหมนี้ ในวงเงิน ๑๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยไดรับความเมตตาอนุเคราะหจากเจาประคุณสมเด็จพระพุฒา จารย ประธานคณะผูปฏิบัติหนาที่สมเด็จพระสังฆราช ไดประทานอนุญาตใหใชชื่ออาคารเรียนวา “อาคาร สมเด็จพระพุฒาจารย (เกี่ยว อุปเสโณ)” การกอสรางอาคารเรียนไดเริ่มตั้งแตวันที่ ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ – ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๓ เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๓ วิทยาลัยสงฆเลยไดทําการยายจากวัดศรีวิชัยวนาราม มาตั้ง ณ สํานักงานใหม เลขที่ ๑๑๙ หมู ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย เปนการถาวร โดยมีวัตถุประสงค เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษา เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาลและคณะสงฆในการกระจายโอกาสทางการศึกษา ใหทั่วถึงแกพระภิกษุสามเณรและประชาชนทั่วไปในทองถิ่น
  • 10. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) หนา ๖ ผูบริหารวิทยาลัยสงฆเลย อดีต-ปจจุบัน ๑. พระสุนทรปริยัติเมธี (พรหมา จนฺทโสภโณ น.ธ.เอก,ป.ธ.๕,พธ.ม. (กิตติมศักดิ์) ศศ.ด.(กิตติมศักดิ์)ผูชวยอธิการบดีประจําศูนยการศึกษาวัดศรีวิชัยวนาราม(พ.ศ.๒๕๓๙- ๒๕๕๑) ๒. พระรัตนกวี (เสาร อภินนฺโท ป.ธ. ๗,พธ.บ.) รักษาการผู+อํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย (พ.ศ. ๒๕๕๑-๒๕๕๒) ๓. พระสุวรรณธีราจารย (มูลตรี มหพฺพโล น.ธ.เอก,ป.ธ.๔,พธ.บ.,กศ.ม.)ผูอํานวยวิทยาลัยสงฆเลย (๒๕๕๒-๒๕๕๐) ๔. พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร (ป.ธ.๖,พธ.บ.,M.A.,Ph.D.) ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย (๒๕๕๐-๒๕๕๔) ๕. พระมหาภิรัฐกรณ อํสุมาลี (ป.ธ.๙,พธ.บ.,พธ.ม.) ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย (๒๕๕๔ – ปจจุบัน) หลักสูตรปจจุบันที่วิทยาลัยสงฆเลยไดเปดดําเนินการเรียนการสอน อยู ๓ สาขาวิชา คือ ๑. สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ๒. สาขาวิชารัฐศาสตร วิชาเอกการปกครอง ๓. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา โครงการหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต ๑ สาขาวิชา คือ ๑. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา โครงการหลักสูตรประกาศนียบัตร มีอยู ๑ โครงการ คือ ๑. โครงการหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ (ป.บส.)
  • 11. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) หนา ๗ - นักวิชาการพัสดุ - นักวิชาการการเงินและบัญชี - เจาหนาที่มหาจุฬาบรรณาคาร - เจาหนาที่พระสอนศีลธรรม - เจาหนาที่ธุรการ - พนักงานขับรถ - นักการภารโรง - แมบาน - คนสวน - นักวิเคราะหนโยบายและแผน - บรรณารักษ - นักวิชาการคอมพิวเตอร - นักวิชาการศึกษา - นักประชาสัมพันธ - ทะเบียนและวัดผล - สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน - สาขาวิชารัฐศาสตร - สาขาวิชาพระพุทธศาสนา โครงสรางการบริหารสวนงานวิทยาลัยสงฆเลย ปรัชญาของมหาวิทยาลัย "จัดการศึกษาพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตรสมัยใหม พัฒนาจิตใจและสังคม" ปณิธานของมหาวิทยาลัย เปนสถานศึกษาพระไตรปฎกและวิชาชั้นสูงสําหรับพระภิกษุ สามเณรและคฤหัสถ วิสัยทัศนของมหาวิทยาลัย มุงพัฒนามหาวิทยาลัยเปนศูนยกลางการศึกษาพระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ โดยจัดการศึกษา และพัฒนาองคความรูบูรณาการกับศาสตรสมัยใหม ใหนําไปสูการพัฒนาจิตใจและสังคมอยางยั่งยืน โครงสรางการบริหารสวนงานวิทยาลัยสงฆเลย ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลยเลย(ฝายบริหาร) ฝายบริหารงานทั่วไป ฝายวางแผนและวิชาการ สาขาวิชา รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลยเลย(ฝายวิชาการ)
  • 12. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) หนา ๘ พันธกิจมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มุงปฏิบัติพันธกิจสําคัญ ในฐานะสถาบันอุดมศึกษาที่มี คุณภาพและไดมาตรฐาน โดยจัดการเรียนการสอนในลักษณะของการนําความรูดานพระพุทธศาสนาบูรณาการ กับศาสตรสมัยใหม ใหเกิดเปนองคความรูที่นําไปสูการพัฒนาจิตใจและสังคมอยางยั่งยืน ซึ่งมีสาระสําคัญ ๕ ดาน ดังนี้ ๑) มุงเนนการสรางบัณฑิตและบุคลากร ที่ผานการศึกษาอบรม เปนผูมีคุณธรรมนําความรู มีปฏิปทา นาเลื่อมใส ใฝรู ใฝคิด เปนผูนําทางจิตใจและปญญา มีโลกทัศนกวางไกล มีความสามารถและทักษะในการ แกปญหา มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนาและพัฒนาสังคม ๒) มุงสงเสริมการศึกษา คนควาวิจัยใหกาวไปสูความเปนเลิศทางวิชาการดานพระพุทธศาสนา เพื่อ สรางองคความรูใหมในการพัฒนามนุษย สังคมและสิ่งแวดลอม ใหอยูรวมกันไดอยางสมดุลและสันติสุข รวมทั้ง การสรางเครือขายกับสถาบันที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศและตางประเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพของนักวิจัยให นําไปสูความเปนสากล ๓) มุงเนนการใหบริการทางวิชาการในรูปแบบที่หลากหลาย มีการบริการหรือบริหารเพื่อใหพัฒนา พระพุทธศาสนา พัฒนาคุณภาพชีวิตและความเปนอยูของประชาชน มีความมุงมั่นในการใหการบริการวิชาการ ดานพระพุทธศาสนาแกคณะสงฆและสังคม รวมทั้งสงเสริมการเรียนรู และความรวมมืออันดีระหวางพระ พุทธศาสนิกชนในระดับชาติและนานาชาติ ๔) มุงสงเสริมการศึกษาผสมผสานทางวัฒนธรรมและการมีสวนรวมในประชาคมโลกดาน พระพุทธศาสนา โดยการทะนุบํารุงและอนุรักษศิลปวัฒนธรรมของสังคมไทย เปนรากฐานของการพัฒนาอยาง มีคุณภาพ เพื่อนําไปสูการรักษาความแตกตางทางวัฒนธรรมและคานิยมที่พึงประสงคใหเกิดขึ้นบุคคล องคกร และสังคม ๕) ปรับปรุงโครงสรางองคกร กฎระเบียบ การบริหาร และพัฒนาบุคลากร ใหเกิดการบริหารการ เปลี่ยนแปลง โดยยึดหลักการบริหารจัดการอยางมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล เอกลักษณมหาวิทยาลัย บริการวิชาการดานพระพุทธศาสนา อัตลักษณมหาวิทยาลัย ประยุกตพระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาจิตใจและสังคม อัตลักษณบัณฑิตของมหาวิทยาลัย มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา
  • 13. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) หนา ๙ ๑.๒ สรุปผลการดําเนินงานตามแผนพัฒนาวิทยาลัย ในชวงแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาระยะที่ ๑๐ (พ.ศ.๒๕๕๐-๒๕๕๔) จําแนกตามยุทธศาสตรของวิทยาลัยทั้ง ๖ ยุทธศาสตร ดังนี้ ๑.๒.๑ ยุทธศาสตรที่ ๑ การผลิตบัณฑิตและการพัฒนาบุคลากรที่มีความรูคูคุณธรรม เปาประสงค บัณฑิตและบุคลากรที่ผานการศึกษาอบรมเปนผูมีคุณธรรมนําความรู มีปฏิปทานา เลื่อมใส ใฝรู ใฝคิด เปนผูนําทางจิตใจและปญญา มีโลกทัศนกวางไกล มีความสามารถและทักษะในการ แกปญหา มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนาและพัฒนาสังคม มี ๓ กลยุทธ คือ กลยุทธที่ ๑ พัฒนาและขยายโอกาสการศึกษาวิชาการดานพระพุทธศาสนาและดานสังคมศาสตร มี ๒ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนนิสิตที่เขาศึกษา ๒) จํานวนการจัดการศึกษา สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้ ๑) จํานวนนิสิตที่เขาศึกษา ระดับปริญญาตรี ป ๒๕๔๙ มีนิสิตจากฐานขอมูล จํานวน ๒๗๔ รูป/คน ป ๒๕๕๐ มีนิสิตทั้งหมดจํานวน ๒๗๒ รูป/คน ป ๒๕๕๑ มีนิสิตทั้งหมดจํานวน ๓๑๓ รูป/คน ป ๒๕๕๒ มีนิสิตทั้งหมดจํานวน ๔๓๖ รูป/คน ป ๒๕๕๓ มีนิสิตทั้งหมดจํานวน ๔๖๘ รูป/คน ป ๒๕๕๔ มีนิสิตทั้งหมดจํานวน ๕๖๗ รูป/คน กลยุทธที่ ๒ พัฒนาบัณฑิตและบุคลากรผานกิจกรรมการปฏิบัติศาสนกิจและการบริการ สังคม มี ๒ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนผูสําเร็จการศึกษาดานพระพุทธศาสนาและสังคมศาสตร ๒) จํานวนผูสําเร็จ การศึกษาไดสนองงานคณะสงฆ มีงานทํา และศึกษาตอ สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้ ๑) จํานวนผูสําเร็จการศึกษาดานพระพุทธศาสนาและสังคมศาสตร ระดับปริญญาตรี สําเร็จการศึกษาป ๒๕๔๙ จํานวน ๖๗ รูป สําเร็จการศึกษาป ๒๕๕๐ จํานวน ๖๖ รูป สําเร็จการศึกษาป ๒๕๕๑ จํานวน ๔๗ รูป สําเร็จการศึกษาป ๒๕๕๒ จํานวน ๔๙ รูป สําเร็จการศึกษาป ๒๕๕๓ จํานวน ๗๒ รูป สําเร็จการศึกษาป ๒๕๕๔ จํานวน ๗๗ รูป ๒) จํานวนผูสําเร็จการศึกษาไดสนองงานคณะสงฆ มีงานทํา และศึกษาตอ ปการศึกษา ๒๕๕๑ มีบัณฑิตจํานวน ๔๗ รูป/คน บัณฑิตตอบแบบสํารวจจํานวน ๓๓ รูป/คน คิดเปนรอยละ ๖๕.๗๕ ทํางานแลวรอยละ ๖๙.๒๓ ปการศึกษา ๒๕๕๒ มีบัณฑิตจํานวน ๔๙ รูป/คน บัณฑิตตอบแบบสํารวจจํานวน ๔๐ รูป/คน คิดเปนรอยละ ๖๗.๕๓ ทํางานแลวรอยละ ๙๐ ปการศึกษา ๒๕๕๓ มีบัณฑิตจํานวน ๗๒ รูป/คน บัณฑิตตอบแบบสํารวจจํานวน ๖๒ รูป/คน คิดเปนรอยละ ๙๐ ทํางานแลวรอยละ ๖๙
  • 14. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) หนา ๑๐ กลยุทธที่ ๓ พัฒนาวิทยาลัยใหเปนศูนยกลางการศึกษาพระพุทธศาสนาในเขตภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ มี ๑ ตัวชี้วัด คือ เมื่อวันที่ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๓ วิทยาลัยสงฆเลยไดทําการยายจากวัด ศรีวิชัยวนาราม มาตั้ง ณ สํานักงานใหม เลขที่ ๑๑๙ หมู ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย เปนการ ถาวร โดยมีวัตถุประสงคเพื่อขยายโอกาสทางการศึกษา เพื่อสนองนโยบายของรัฐบาลและคณะสงฆในการ กระจายโอกาสทางการศึกษาใหทั่วถึงแกพระภิกษุสามเณรและประชาชนทั่วไปในทองถิ่น ๑.๒.๒ ยุทธศาสตรที่ ๒ พัฒนากระบวนการจัดการเรียนการสอน เปาประสงค มีรูปแบบการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย มีคุณภาพไดมาตรฐานสากล ซึ่ง ตอบสนองความตองการของสังคม คณาจารยมีความรูความชํานาญวิชาการดานพระพุทธศาสนาและ สังคมศาสตรเปนที่ปรากฏ มีทรัพยากรสนับสนุนการเรียนรูที่มีคุณภาพและเพียงพอ มี ๔ กลยุทธ คือ กลยุทธที่ ๔ พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาวิชาการดานพระพุทธศาสนาและดานสังคมศาสตรใหมี ความหลากหลาย มี ๒ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนหลักสูตรเดิมที่ปรับปรุงและพัฒนา ๒) จํานวนหลักสูตรที่มีความ สอดคลองกับความตองการของสังคม สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้ ๑) หลักสูตรเดิมที่ปรับปรุงและพัฒนา จํานวน ๓ หลักสูตร ๒) หลักสูตรที่มีความสอดคลองกับความตองการของสังคม จํานวน ๓ หลักสูตร กลยุทธที่ ๕ พัฒนากระบวนการจัดการศึกษาเชิงบูรณาการโดยใชการประกันคุณภาพการศึกษา เปนกลไกในการดําเนินงาน มี ๔ ตัวชี้วัด คือ ๑) มีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ สงเสริม กระบวนการเรียนรูที่จะทําใหนิสิตมีคุณลักษณะอันพึงประสงค ๒) มีกระบวนการใหบริการแกนิสิตอยางทั่วถึง ครอบคลุม ๓) มีการสงเสริมกิจกรรมนิสิตที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะอันพึงประสงค ๔) มีการ พัฒนาสงเสริมการใชคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนรู สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้ ๑) มีกระบวนการเรียนรูที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ สงเสริมกระบวนการเรียนรูที่จะทําใหนิสิตมี คุณลักษณะอันพึงประสงค โดยในปการศึกษา ๒๕๕๓ วิทยาลัยจัดโครงการ/กิจกรรมสนับสนุนกระบวนการ เรียนรู จํานวน ๑๒ โครงการ ๒) มีกระบวนการใหบริการแกนิสิตอยางทั่วถึงครอบคลุม ไดแก (๑) โครงการจัดทําขอสอบกลาง (๒) ระบบสารสนเทศทะเบียนนิสิต (๓) ระบบสารสนเทศหองสมุด (๔) ระบบสารสนเทศการเรียนรูออนไลน ๓) มีการสงเสริมกิจกรรมนิสิตที่ครบถวนและสอดคลองกับคุณลักษณะอันพึงประสงค ไดแก (๑) กิจกรรมองคการบริหารนิสิต (๒) กิจกรรมนิสิตอาสาพัฒนาชุมชน (๓) กิจกรรมเจริญจิตภาวนา (๔) กิจกรรม ตรวจเยี่ยมนิสิตปฏิบัติศาสนกิจ ๔) มีการพัฒนาสงเสริมการใชคอมพิวเตอรเพื่อการเรียนรู สรุปผลการดําเนินการ ไดแก (๑) หองปฏิบัติการคอมพิวเตอรไวบริการ (๒) พัฒนาวัสดุ อุปกรณ และสื่อการเรียนรูของหองเรียน (๓) ระบบ อินเตอรเน็ต แบบเครือขายไรสาย (Wireless LAN) ครอบคลุมทุกพื้นที่
  • 15. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) หนา ๑๑ กลยุทธที่ ๖ พัฒนาการเรียนการสอน แหลงเรียนรูและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา ใหมี ความทันสมัย เพียงพอตอการจัดการศึกษา มี ๓ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนคัมภีรทางพระพุทธศาสนา ไดสัดสวน กับจํานวนนิสิตและอาจารย ๒) มีการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศที่ตอบสนองการจัดการ เรียนการสอนอยางเพียงพอ ๓) มีสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการจัดการเรียนการสอน สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้ ๑) คัมภีรทางพระพุทธศาสนา ป ๒๕๕๒ สํารวจจากฐานขอมูลหองสมุด มีหนังสือจํานวน ๑๘,๘๖๘ เลม คิดเปนอัตราสวนตอจํานวนนิสิตรวมเทากับ ๓๖.๘ และป ๒๕๕๓ สํารวจจากฐานขอมูล หองสมุด มีหนังสือจํานวน ๒๐,๗๕๕ เลม คิดเปนอัตราสวนตอจํานวนนิสิตรวมเทากับ ๔๑.๙ ๒) พัฒนาโครงสรางพื้นฐานเทคโนโลยีสารสนเทศเชื่อมโยงกับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย (สวนกลาง) โดยพัฒนาเครือขายคอมพิวเตอรหลัก เรียกวา Mahachulalongkornrajavidyalaya University Network: MCUNet ๓) มีสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศทางการจัดการเรียนการสอน ไดแก โครงการจัดทําขอสอบกลาง รวมกับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ดําเนินการแลว จํานวน ๑๐ รายวิชา กลยุทธที่ ๗ พัฒนาอาจารยใหมีความรู ความสามารถ และทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการ สอนอยางมีประสิทธิภาพ มี ๒ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนหลักสูตรในการพัฒนาความสามารถและทักษะในการ จัดการเรียนการสอน ๒) จํานวนอาจารยที่ผานการอบรมพัฒนาความสามารถและทักษะการใชเทคโนโลยี สารสนเทศในการจัดการเรียนการสอน สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้ ๑) หลักสูตรในการพัฒนาความสามารถและทักษะในการจัดการเรียนการสอน โดยดําเนิน โครงการพัฒนาศักยภาพการสอนสําหรับอาจารย ผานการจัดอบรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อพัฒนาการเรียน การสอน ๒) มีอาจารยที่ผานการอบรมพัฒนาความสามารถและทักษะการใชเทคโนโลยีสารสนเทศในการ จัดการเรียนการสอน จํานวน ๑๕ รูป/คน ๑.๒.๓ ยุทธศาสตรที่ ๓ พัฒนาการบริหารจัดการงานวิจัยดานพระพุทธศาสนา เปาประสงค วิทยาลัยเปนศูนยกลางการวิจัยดานพระพุทธศาสนาในเขตภาคเหนือตอนลางภาคกลาง ตอนบน มี ๕ กลยุทธ คือ กลยุทธที่ ๘ พัฒนาการบริหารจัดการงานวิจัย มี ๓ ตัวชี้วัด คือ ๑) มีการจัดระบบการทําวิจัยที่เนน การวิจัยดานพระพุทธศาสนาและสังคมศาสตร ๒) พัฒนาฐานขอมูลการวิจัยและการบริหารจัดการงานวิจัย ๓) มีการสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งและพัฒนาศักยภาพและคุณภาพของมหาวิทยาลัยให เปนองคกรการศึกษาพระพุทธศาสนาระดับภูมิภาค สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้ ๑) มีการสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยเพื่อสรางความเขมแข็งและพัฒนาศักยภาพโดยผานการ อบรมใหความรูเกี่ยวกับงานวิจัยและเนนใหมีการทําวิจัยในหองเรียน
  • 16. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) หนา ๑๒ กลยุทธที่ ๙ สงเสริมและสนับสนุนใหบุคลากรของวิทยาลัยทําวิจัยและใชความรูจากการวิจัย เพื่อ พัฒนาตน พัฒนางาน และพัฒนาองคกรอยางตอเนื่อง มี ๓ ตัวชี้วัด คือ ๑) มีการพัฒนาศักยภาพขีด ความสามารถในการทําวิจัย การเขียนตําราทางวิชาการ ๒) มีการสงเสริมการทําวิจัยในชั้นเรียน วิจัยประเมิน หลักสูตร ๓) บุคลากรนําผลการวิจัยไปปรับปรุงพัฒนา สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้ ๑) มีการพัฒนาศักยภาพขีดความสามารถในการทําวิจัย การเขียนตําราทางวิชาการ ผาน โครงการสัมมนาทางวิชาการ โครงพัฒนาบุคลากรดานการวิจัย โครงการเขารวมสัมมนาผลงานวิจัย ๒) มีการทําวิจัยในชั้นเรียน วิจัยประเมินหลักสูตร ไดแก ปงบประมาณ ๒๕๕๓ มีบุคลากร ดําเนินการวิจัย จํานวน ๒ หัวเรื่อง แลวเสร็จ ๒ หัวเรื่อง และปงบประมาณ ๒๕๕๔ มีบุคลากรดําเนินการวิจัย จํานวน ๒ หัวเรื่อง แลวเสร็จ ๒ หัวเรื่อง กลยุทธที่ ๑๐ สงเสริมและสนับสนุนบุคลากรของวิทยาลัยทําวิจัยรวมกับองคกรภายนอกทั้งภาครัฐ และเอกชน มี ๑ ตัวชี้วัด คือ ๑) มีการสนับสนุนการวิจัยรวมกับภาคเอกชนและหนวยงานของรัฐอื่นๆ กลยุทธที่ ๑๑ เผยแพรผลงานวิจัย มี ๕ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนเงินสนับสนุนงานวิจัยและงาน สรางสรรคจากภายในและภายนอกสถาบันตออาจารยประจํา ๒) รอยละของงานวิจัยหรืองานสรางสรรคที่ ตีพิมพเผยแพรตออาจารยประจํา กลยุทธที่ ๑๒ พัฒนากองทุนวิจัย มี ๑ ตัวชี้วัด คือ ๑) มีการระดมทุนเพื่อการบริหารและการสงเสริม การทําวิจัย สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้ ๑) วิทยาลัยไดดําเนินการจัดหาและตั้งงบประมาณสนับสนุนการวิจัย คือ (๑) เงินอุดหนุนจาก สถาบันวิจัยพุทธศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (๒) เงินที่วิทยาลัยสงฆเลยจัดสรรเพิ่มให (นอกงบ) ๑.๒.๔ ยุทธศาสตรที่ ๔ การบริการวิชาการดานพระพุทธศาสนาเชิงรุกที่ตอบสนองความตองการของ สังคม เปาประสงค วิทยาลัยเปนแหลงบริการวิชาการดานพระพุทธศาสนาที่สามารถตอบสนองความ ตองการของคณะสงฆและสังคมไดอยางมีประสิทธิภาพ มี ๓ กลยุทธ คือ กลยุทธที่ ๑๓ พัฒนารูปแบบและวิธีการ การบริการดานพระพุทธศาสนาแกสังคม และการเผยแผ พระพุทธศาสนา มี ๕ ตัวชี้วัด คือ ๑) มีกระบวนการและระบบการใหการบริการวิชาการดานพระพุทธศาสนา ๒) มีกระบวนการเผยแผธรรมะที่หลากหลาย อาทิ การจัดสถานีวิทยุ การไปเปนวิทยากรในองคกรตางๆ ๓) จํานวนนิสิตปฏิบัติศาสนกิจอาสาพัฒนาและบริการสังคม ๔) จํานวนเยาวชนที่เขารวมโครงการบรรพชาและ อบรมเยาวชนภาคฤดูรอน ๕) จํานวนพระสังฆาธิการที่ผานการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรบริหารกิจการ คณะสงฆ สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้ ๑) มีกระบวนการและระบบการใหบริการวิชาการทางดานพระพุทธศาสนาในหลายชองทาง ไดแก (๑) ทางสถานีวิทยุเพื่อการศึกษาและเผยแผพระพุทธศาสนาวิทยาลัยสงฆเลย FM ๘๙.๒๕ MHz (๒) รูปแบบบทความทางวิชาการ งานวิจัย (๓) เผยแพรงานวิชาการทางดานพระพุทธศาสนาในรูปสื่อสิ่งพิมพ (๔) บุคลากรของมหาวิทยาลัยใหบริการแกสังคมในรูปแบบการเปนวิทยากร
  • 17. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) หนา ๑๓ ๒) มีกระบวนการเผยแผธรรมะที่หลากหลาย โดยวิทยาลัยดําเนินการใน ๓ โครงการหลัก ไดแก (๑) โครงการสงเสริมนิสิตปฏิบัติศาสนกิจอาสาเติมปญญาใหสังคม (๒) โครงการบรรพชาและอบรมเยาวชนภาคฤดู รอน และ (๓) โครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน ๓) วิทยาลัยไดสงเสริมพระบัณฑิตและนิสิตบําเพ็ญประโยชน โดยการจัดสงนิสิตออกปฏิบัติ ศาสนกิจอาสาพัฒนาและบริการสังคม ป ๒๕๕๑ จํานวน ๓๓ รูป ป ๒๕๕๒ จํานวน ๒๔ รูป และป ๒๕๕๓ จํานวน ๒๙ รูป ๔) มีโครงการบรรพชาและอบรมเยาวชนภาคฤดูรอน ป ๒๕๕๒ มีเยาวชนเขารับการบรรพชา ๕๐๗ รูป และป ๒๕๕๓ มีเยาวชนเขารับการบรรพชา ๓๒๐ รูป ๕) มีพระสังฆาธิการที่ผานการอบรมหลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ (ป.บส.) ป ๒๕๕๑ จํานวน ๒๐ รูป ป ๒๕๕๒ จํานวน ๔๔ รูป ป ๒๕๕๓ จํานวน ๓๖ รูป ป ๒๕๕๔ จํานวน ๓๐ รูป กลยุทธที่ ๑๔ พัฒนาวิทยาลัยใหเปนศูนยกลางการบริการวิชาการดานพระพุทธศาสนาระดับ ทองถิ่นและระดับชาติ มี ๕ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนขอมูลสารสนเทศและสื่อการเผยแพรวิชาการดาน พระพุทธศาสนาผานสื่อสิ่งพิมพ วิทยุ โทรทัศนและสื่อออนไลน ๒) จํานวนนักเผยแผธรรมที่ผานการอบรม ๓) จํานวนพระสงฆและประชาชนที่ผานการอบรมวิปสสนากรรมฐาน ๔) จํานวนโรงเรียนที่พระสอนศีลธรรมเขา ไปใหบริการการสอน การฝกอบรม ๕) จํานวนโครงการประชุม สัมมนา ทางวิชาการทางพระพุทธศาสนา ระดับทองถิ่น และระดับชาติ สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้ ๑) วิทยาลัยจัดทําสื่อสารสนเทศและสื่อการเผยแพรวิชาการ ดังนี้ (๑) ดานสื่อสิ่งพิมพ จํานวน ๑๕,๗๗๖ เลม (๒) สื่อวิทยุ จํานวน ๑ สถานี ๒) พระสงฆและประชาชนที่ผานการอบรมวิปสสนากรรมฐาน ดังนี้ ป ๒๕๕๐ จํานวน ๒๙๗ รูป/ คน ป ๒๕๕๑ จํานวน ๓๒๑ รูป/คน ป ๒๕๕๒ จํานวน ๓๐๐ รูป/คน ป ๒๕๕๓ จํานวน ๔๔๐ รูป/คน ๔) ป ๒๕๕๓ มีจํานวนโรงเรียนที่พระสอนศีลธรรมเขาไปใหบริการสอน จํานวน ๔๐๐ โรงเรียน ๕) โครงการประชุมสัมมนาทางพระพุทธศาสนาระดับทองถิ่น และระดับชาติ จํานวน ๕ ครั้ง กลยุทธที่ ๑๕ สงเสริม สนับสนุน และสนองงานของคณะสงฆ มี ๔ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนพระ สังฆาธิการที่ไดรับการสงเสริมความสามารถในการบริหารจัดการงานคณะสงฆ ๒) จํานวนกิจกรรม/โครงการที่ จัดถวายพระสังฆาธิการและประชาชนทั่วไป ๓) จํานวนพระสังฆาธิการที่ไดรับการสงเสริมสนับสนุนดานอื่นๆ ๔) จํานวนพระนิสิต บุคลากรที่ไปดํารงตําแหนงหรือปฏิบัติงานสนองงานคณะสงฆ สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้ ๑) วิทยาลัยสนับสนุนและสงเสริมความสามารถในการบริหารจัดการงานคณะสงฆ โดยบริการ หลักสูตรประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ (ป.บส.) มีพระสงฆจบหลักสูตร ดังนี้ (ป.บส.) ป ๒๕๕๑ จํานวน ๒๐ รูป ป ๒๕๕๒ จํานวน ๔๔ รูป ป ๒๕๕๓ จํานวน ๓๖ รูป ป ๒๕๕๔ จํานวน ๓๐ รูป ๒) กิจกรรม/โครงการที่จัดถวายพระสังฆาธิการและประชาชนทั่วไป จํานวน ๓ โครงการ คือ อบรมพระวิปสสนาจารย, อบรมพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน, สัมมนาเชิงวิชาการ
  • 18. แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) หนา ๑๔ ๑.๒.๕ ยุทธศาสตรที่ ๕ การทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมอยางยั่งยืน เปาประสงค วิทยาลัยเปนแหลงเรียนรูดานพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมอยางยั่งยืน มี ๓ กล ยุทธ คือ กลยุทธที่ ๑๖ พัฒนารูปแบบและวิธีการในการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม มี ๒ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนหลักสูตรและโครงการในการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ๒) จํานวน ผูรับบริการในงานทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้ ๑) มีโครงการในการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ดังนี้ ป ๒๕๕๐ จํานวน ๓ โครงการ ป ๒๕๕๑ จํานวน ๓ โครงการ ป ๒๕๕๒ จํานวน ๗ โครงการ ป ๒๕๕๓ จํานวน ๕ โครงการ ๒) ป ๒๕๕๑ มีผูรับบริการในงานทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม จํานวน ๑,๕๐๐ รูป/คน กลยุทธที่ ๑๗ พัฒนาวิทยาลัยใหเปนแหลงเรียนรูดานพระพุทธศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ทั้ง ระดับทองถิ่น และระดับชาติ มี ๔ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนแหลงเรียนรูดานพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ระดับทองถิ่นและระดับชาติ ๒) รวมมือกับองคกรระดับทองถิ่นในการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ๓) พัฒนาหลักสูตรทางดานศิลปวัฒนธรรม และสงเสริมใหมีการศึกษาอยางกวางขวาง ๔) มี การสงเสริมอนุรักษและเปดพื้นที่ในการแสดงศิลปวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนา ระดับทองถิ่นและระดับชาติ สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้ ๑) จํานวนแหลงเรียนรูดานพระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ระดับทองถิ่น ดังนี้ (๑) หองสมุด วิทยาลัยสงฆเลย (๒) สถานีวิทยุเพื่อการศึกษาและเผยแผพระพุทธศาสนาวิทยาลัยสงฆเลย ๒) รวมกับผูวาราชการจัดหวัดเลยจัดกิจกรรมปฏิบัติธรรมเฉลิมพระเกียรติเพื่อถวายเปนพระราช กุศลแกพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ๓) วิทยาลัยจัดโครงการสงเสริมอนุรักษและเปดพื้นที่ในการแสดงศิลปวัฒนธรรม ดังนี้ (๑) กิจกรรมเจริญพระพุทธมนตถวายพระพร (๒) กิจกรรมจัดนิทรรศการเนื่องในวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา (๓) โครงการสืบสานประเพณีทองถิ่นไทย (๔) กิจกรรมเทศมหาชาติ กลยุทธที่ ๑๘ เสริมสรางความรู ความเขาใจ และความสํานึกในคุณคาของพระพุทธศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม มี ๒ ตัวชี้วัด คือ ๑) จํานวนงาน/โครงการเสริมสรางความรู ความเขาใจและความสํานึกใน คุณคาของพระพุทธศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมระดับทองถิ่น ระดับชาติ ๒) จํานวนงาน/โครงการเสริมสราง ความรู ความเขาใจและความสํานึกในคุณคาของพระพุทธศาสนา ศิลปวัฒนธรรมไทย สรุปผลการดําเนินการ ดังนี้ ๑) วิทยาลัยจัดโครงการ/กิจกรรมเสริมสรางความรูความเขาใจและความสํานึกในคุณคาของ พระพุทธศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม จํานวน ๗ โครงการ ไดแก (๑) โครงการจัดนิทรรศการเนื่องในวันสําคัญ ทางพระพุทธศาสนา (๒) กิจกรรมเทิดพระเกียรติวันปยมหาราช (๓) กิจกรรมไหวครูบูชาบูรพาจารย (๔) กิจกรรมหลอเทียนและถวายเทียนพรรษา (๕) กิจกรรมเทศมหาชาติเวสสันดรชาดก (๖) กิจกรรมเนื่องในวัน พอแหงชาติและวันแมแหงชาติ