SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
1. หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า อาณาจักรทวารวดี เป็นอาณาจักรเริ่มแรกในประเทศไทย คือ จารึกบน เหรียญเงิน 
2. การจารึกอักษร เย ธมฺมา ในวัฒนธรรมทวารวดี แสดงให้ถึงการยึดมั่นในหลักธรรมคาสอนของ พระพุทธศาสนา คือ หลักอริยสัจ 4 
3. ข้อสันนิษฐานเชื่อว่าศูนย์กลางของอาณาจักรทวารวดี คือ เมืองนครชัยศรีหรือเมืองนครปฐมโบราณ 
4. เมืองโบราณในภาคเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน ที่ปรากฎร่องรอยหลักฐานว่าได้รับอิทธิพลจากการ แพร่กระจายทางวัฒนธรรมอาณาจักรทวารวดี คือ เมืองหริภุญชัย จังหวัดลาพูน 
5. วัฒนธรรมทวารวดี เป็นการผสมผสานทางวัฒนธรรมระหว่าง อินเดีย กับ วัฒนธรรมท้องถิ่น 
6. พื้นฐานทางเศรษฐกิจของอาณาจักรทวารวดี คือ การเกษตรกรรม 
7. ศิลปกรรมของอาณาจักรทวารวดี ได้รับอิทธิพลจากชนชาติ อินเดีย 
8. การสร้าง ธรรมจักร และกวางหมอบ แสดงถึงความศรัทธาของพระพุทธศาสนานิกาย เถรวาท 
9. เมืองโบราณในสมัยทวารวดีที่ปรากฏใบเสมาหินเป็นจานวนมาก คือ เมืองฟ้าแดดสงยาง จังหวัดกาฬสินธุ์ 
10. รูปแบบของศิลปะอินเดียที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ศิลปกรรมสมัยทวารวดี คือ ศิลปะอินเดียสมัยคุปตะ สมัยหลังคุปตะ และสมัยปาละ-เสนะ 
11. เมืองโบราณในสมัยทวารวดีที่สาคัญของจังหวัดเพชรบูรณ์ในปัจจุบัน คือ เมืองโบราณศรีเทพ 
12. เมืองโบราณในสมัยทวารวดีที่สาคัญของจังหวัดปัตตานีในปัจจุบัน คือ เมืองโบราณยะรัง 
13. เมืองโบราณในสมัยทวารวดีที่สาคัญของจังหวัดปราจีนบุรีในปัจจุบัน คือ เมืองศรีมโหสถ 
14. พระพุทธรูปที่เป็นเอกลักษณ์เด่นของประติมากรรมสมัยทวารวดี คือ พระพุทธรูปปางวิตรรกะ และปางประทับนั่งห้อยพระบาท 
15. สาเหตุสาคัญที่ทาให้อาณาจักรทวารวดีเริ่มเสื่อมลง คือ การแผ่ขยายอิทธิพลของชนชาติเขมร 
อาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย 
2 
กิจกรรมที่ 1 ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วเติมคาหรือตอบคาถามที่กาหนดให้ 
อาณาจักรทวารวดี
ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 
1. หลักฐานสาคัญใดบ้าง ที่แสดงให้เห็นความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรทวารวดีที่เมืองนครปฐม โบราณ หรือเมืองนครชัยศรี ให้นักเรียนอธิบาย (4 คะแนน) 
หลักฐานสาคัญที่แสดงให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองของเมืองนครปฐมโบราณได้แก่ การสร้าง ศาสน สถานขนาดใหญ่ เช่น เจดีย์จุลประโทน พระปฐมเจดีย์องค์เดิม ที่มีอิทธิพลของศิลปะอินเดีย คือ สถูปที่เมืองสาญจี แสดงถึงความเชื่อมโยงทางศิลปกรรมของอินเดียที่มีต่ออาณาจักรทวารวดี นอกจากนี้ยังพบ ชิ้นส่วนศาสนสถาน ปูนปั้นประดับสถาปัตยกรรม ปูนปั้นบุคคลที่แสดงให้เห็นว่า มีชนชาติต่างๆ เข้ามาติดต่อค้าขาย รวมทั้งการค้นพบตราประทับดินเผา รูปคนเดินเรือทางทะเล แสดงให้เห็นความรุ่งเรืองทางการค้าในดินแดนทวารวดี และเกิดการแลกเปลี่ยน ถ่ายทอดทาง วัฒนธรรมของผู้คนในดินแดนสุวรรณภูมิอีกด้วย 
2. เพราะเหตุใดจึงมีการสันนิษฐานว่า ศูนย์กลางของอาณาจักรทวารวดีน่าจะอยู่ที่เมืองนครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง และเมืองคูบัว ให้นักเรียนอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ (3 คะแนน) 
สาเหตุที่มีการสันนิษฐานว่าเมืองนครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง และเมืองคูบัว น่าจะเป็นศูนย์กลางของ อาณาจักรทวารวดี เนื่องจากพบหลักฐาน คือ ศาสนสถานขนาดใหญ่ ประติมากรรม และ โบราณสถานมากมาย เช่น สถูป เจดีย์ พระพุทธรูป ปูนปั้นประดับอาคาร ธรรมจักรศิลา และการ ค้นพบเหรียญเงินที่มีจารึกอักษร “ศรีทวารวดี ศวรปุญยะ” แสดงให้เห็นว่าเมืองทั้ง 3 เมืองดังกล่าวมี ความเจริญรุ่งเรืองอย่างมากในอาณาจักรทวารวดี 
3. ให้นักเรียนยกตัวอย่างหลักฐานสมัยทวารวดีที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนา ในอาณาจักรทวารวดีมาให้เข้าใจ (3 คะแนน) 
หลักฐานสาคัญที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาในอาณาจักรทวารวดี ได้แก่ ธรรมจักรศิลา สถูปจาลอง ที่มีจารึกอักษรคาถา เย ธมฺมา ซึ่งเป็นอักษรปัลลวะในอินเดียตอนใต้ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 รวมทั้งจารึกภาษามอญโบราณ แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของชนชาติ มอญในดินแดนสุวรรณภูมิ และความรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท 
1. อาณาจักรละโว้ สถาปนาโดย พระยากาฬวรรณดิศราช 
2. อาณาจักรละโว้ มีที่ตั้งบริเวณลุ่มแม่น้า 3 สาย ได้แก่ แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าป่าสัก แม่น้าลพบุรี 
3. อาณาจักรละโว้ ก่อนการได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรเขมรโบราณ เคยได้รับอิทธิพลจาก อาณาจักร ทวารวดี 
4. ตานานชินกาลมาลีปกรณ์กล่าวถึงเมืองลพบุรี โดยเรียกว่าเมือง “ลวปุระ” 
5. อาณาจักรละโว้ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคกลางมีศูนย์กลางอยู่ที่เมือง เมืองละโว้ 
6. ศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ เมืองพิมาย จังหวัดนครราชสีมา 
อาณาจักรละโว้ หรือลวปุระ หรือลพบุรี
7. ปราสาทหิน ศาสนสถานในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย ที่ใหญ่โตและสวยงามที่สุดใน ประเทศไทย คือ ปราสาทหินพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ 
8. พระมหากษัตริย์คือเทพเจ้าผู้อวตารมายังโลกมนุษย์ เป็นคติความเชื่อของศาสนา พราหมณ์-ฮินดู 
9. ขอมมีอิทธิพลต่ออาณาจักรละโว้ในด้าน ศิลปกรรม ศาสนา ภาษา อักษร ความเชื่อ 
10. อาณาจักรโบราณที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์รูปแบบศิลปกรรมและวัฒนธรรมของอาณาจักร ละโว้ คือ เขมรโบราณหรือขอม 
11. พระปรางค์สามยอด เมืองลพบุรี คือศาสนสถานที่สะท้อนความเชื่อเกี่ยวกับ ศาสนาพุทธและฮินดู 
12. การสร้างประติมากรรมรูปเคารพ เช่น พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร แสดงถึงอิทธิพลทาง พระพุทธศาสนา นิกาย มหายาน 
13. เครื่องมือ เครื่องใช้ส่วนใหญ่ในศิลปกรรมลพบุรี มักสร้างขึ้นด้วยวัสดุสาคัญ คือ เครื่องมือสาริด 
14. เมืองโบราณในภาคเหนือที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับอาณาจักรละโว้ คือ เมืองหริภุญชัย 
15. หลังปลายพุทธศตวรรษที่ 18 อาณาจักรลพบุรี มีส่วนสาคัญในการสถาปนาอาณาจักรใด อาณาจักรอยุธยา 
ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 
1. ปราสาทหินพิมาย มีความสาคัญต่ออาณาจักรลพบุรี อย่างไร ให้นักเรียนวิเคราะห์และอธิบาย (3 คะแนน) 
ปราสาทหินพิมาย เป็นศาสนสถานที่สาคัญที่สุดแห่งหนึ่งของอาณาจักรละโว้ สร้างขึ้นตั้งแต่พุทธ ศตวรรษที่ 16 ด้วยศิลาทราย ในสมัยพระเจ้าสุริยะวรมันที่ 1 ศิลปะแบบปาปวนต่อเนื่องศิลปะนคร วัดของเขมร เป็นศาสนสถานในพระพุทธศาสนานิกายมหายาน แบบวัชรยาน และสร้างเพิ่มเติมใน สมัยพระเจ้าสุริยะวรมันที่ 7 จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ สันนิษฐานว่าเมืองพิมาย หรือวิมายปุ ระ มีความสาคัญในฐานะศูนย์กลางของอาณาจักรลพบุรีทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
2. ให้นักเรียนยกตัวอย่างสถาปัตยกรรมของวัฒนธรรมลพบุรี อย่างน้อย 4 ตัวอย่าง (2 คะแนน) 
พระปรางค์สามยอด ปรางค์แขก ศาลพระกาฬ หรือศาลสูง จังหวัดลพบุรี ปราสาทหินพิมาย จังหวัด นครราชสีมา ปราสาทหินพนมรุ้ง ปราสาทบ้านปุ จังหวัดบุรีรัมย์ ปราสาทเมืองสิงห์ จังหวัด กาญจนบุรี ปราสาทตาเมือน ปราสาทภูมิโปน ปราสาทตาเมือนโต๊ด จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทเขาน้อย อาเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ปราสาทศรีขรภูมิ จังหวัดศรีสะเกษ ปราสาทกู่แก้ว อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ปราสาทสระกาแพงน้อย จังหวัดศรีสะเกษ
1. เอกสารบันทึกของจีนเรียกอาณาจักรตามพรลิงค์ว่า โปลิง, โฮลิง หรือ ตามมาลิง 
2. หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าอาณาจักรตามพรลิงค์ เป็นอาณาจักรสาคัญในดินแดนทะเลใต้ คือ จดหมายเหตุจากจีน 
3. ปัจจัยที่ทาให้อาณาจักรตามพรลิงค์ เจริญรุ่งเรืองคือ การเป็นเมืองท่าการค้าชายฝั่งทะเล 
4. อารยธรรมที่มีอิทธิพลต่ออาณาจักรตามพรลิงค์คือ อารยธรรมอินเดีย และอารยธรรมจีน 
5. ระยะแรกของอาณาจักรตามพรลิงค์ ได้รับอิทธิพลจากศาสนา พราหมณ์-ฮินดู 
6. เมืองสาคัญรองจากเมืองนครศรีธรรมราช คือ เมืองไชยา และเมืองสทิงพระ 
7. เมืองท่าการค้าที่สาคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ คือ เมืองตักโกลา หรือเมืองตะกั่วป่า 
8. การปกครองของอาณาจักรตามพรลิงค์ ที่เรียกว่า เมือง 12 นักษัตร์ เป็นไปตามคติทาง พระพุทธศาสนา คือคติจักรพรรดิราช 
9. หลักฐานประเภทจารึกที่สาคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์เมืองนครศรีธรรมราช คือ จารึกหลักที่ 24 จารึกเสมาเมือง หรือจารึกพระเจ้าจันทรภาณุ 
10. อาณาจักรตามพรลิงค์มีความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาช่วงใด พุทธศตวรรษที่ 18 
11. มรดกทางด้านประติมากรรมที่สาคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ คือ พระพุทธสิหิงค์ 
12. มรดทางด้านสถาปัตยกรรมที่สาคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ คือ พระบรมธาตุ 
13. วัตถุมงคลสาคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ คือ เงินหัวนะโม 
14. อาณาจักรตามพรลิงค์ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับสุโขทัย คือ เผยแผ่พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ที่ 
กรุงสุโขทัย 
15. ความสาคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ในทางพระพุทธศาสนา คือ การเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่ 
พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ 
ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 
1. เพราะเหตุใดจึงกล่าวว่าอาณาจักรตามพรลิงค์ เป็นเมืองท่าการค้าที่สาคัญ ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ (5 คะแนน) 
ปัจจัยที่ทาให้อาณาจักรตามพรลิงค์ เป็นเมืองท่าการค้าที่สาคัญ ได้แก่ สภาพภูมิศาสตร์ที่ตั้งที่ เหมาะสมคือตั้งอยู่สันทรายบริเวณปากอ่าวนครศรีธรรมราช ทาให้มีพ่อค้าต่างชาติ ต่างภาษา เช่น จีน อินเดีย อาหรับ เข้ามาติดต่อค้าขายเป็นจานวนมาก ตลอดจนได้นาศิลปวัฒนธรรม เข้ามา เผยแพร่ในดินแดนอาณาจักรตามพรลงค์ จนเจริญรุ่งเรือง จึงกล่าวได้ว่า เมืองนครศรีธรรมราช และ เมืองบริวารในอาณาจักรตามพรลิงค์ เป็นเมืองท่าการค้าที่สาคัญแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ 
อาณาจักรตามพรลิงค์ (นครศรีธรรมราช)
2. หลักฐานใดที่แสดงให้เห็นว่า อาณาจักรตามพรลิงค์ มีความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนา 
(5 คะแนน) 
หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าอาณาจักรตามพรลิงค์ มีความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนา คือ พระ พุทธสิหิงค์ และพระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราช จากศิลาจารึกสุโขทัยที่กล่าวถึงการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์จากนครศรีธรรมราช ในดินแดนสุโขทัย รวมทั้งการอัญเชิญพระพุทธ สิหิงค์ พระพุทธรูปที่สาคัญของไทยมาประดิษฐาน ยังเมืองนครศรีธรรมราช และจารึกหลักที่ 24 จารึกพระเจ้าจันทรภาณุหรือพระเจ้าศรีธรรมาโศราช ที่กล่าวถึงการสร้างพระบรมธาตุ เมือง นครศรีธรรมราช ที่มีความใหญ่โต สวยงามตามอิทธิพลจากลังกา แสดงถึงความศรัทธาใน พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท ในอาณาจักรตามพรลิงค์ได้เป็นอย่างดี 
1. อาณาจักรศรีวิชัย มีอานาจและรุ่งเรืองในช่วงเวลาใด พุทธศตวรรษที่ 13-18 
2. ความสาคัญของอาณาจักรศรีวิชัยในทางเศรษฐกิจคือ เป็นเมืองท่าการค้า 
3. อาณาจักรศรีวิชัย มีพ่อค้าต่างชาติเข้ามาติดต่อค้าขาย ที่สาคัญ คือ ชาวจีน อินเดีย และอาหรับ 
4. มหาสถูปทางพระพุทธศาสนาแบบมหายานที่ใหญ่ที่สุด ตั้งอยู่บนเกาะชวา คือ มหาสถูปบุโรพุทโธ 
5. บันทึกของพระภิกษุอี้จิง เรียกชื่ออาณาจักรศรีวิชัย ว่า ซิ โล โฟ ซิ 
6. สถาปัตยกรรมสาคัญของอาณาจักรศรีวิชัยในประเทศไทยคือ พระบรมธาตุไชยา วัดแก้ว วัดหลง 
7. ประติมากรรมสาคัญของอาณาจักรศรีวิชัยในประเทศไทยคือ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ปัทมปาณี 
8. ศูนย์กลางของอาณาจักรศรีวิชัยบนเกาะสุมาตรา คือ เมืองปาเล็มบัง 
9. ศูนย์กลางของอาณาจักรศรีวิชัยในประเทศไทย คือ เมืองไชยา 
10. นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าอาณาจักรศรีวิชัยมีรูปแบบการปกครองแบบ สมาพันธรัฐ 
11. อาณาจักรศรีวิชัยมีความเจริญรุ่งเรืองศาสนา คือ พระพุทธศาสนาแบบมหายาน และศาสนา พราหมณ์-ฮินดู 
12. สินค้าสาคัญที่ผลิตในอาณาจักรศรีวิชัย นอกจากเครื่องเทศแล้วคือ ลูกปัดหิน ลูกปัดแก้ว 
13. เงินตราที่ใช้ในอาณาจักรศรีวิชัย เรียกว่า เงินดอกจัน หรือเงินนะโม 
14. เมืองท่าสาคัญของอาณาจักรศรีวิชัยที่ตั้งอยู่บริเวณรอบอ่าวบ้านดอนคือ เมืองพัน - พัน 
15. อาณาจักรศรีวิชัยหมดอานาจลงในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 18 โดยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร 
ตามพรลิงค์ 
อาณาจักรศรีวิชัย
ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 
1. แหล่งโบราณคดีแหลมโพธิ์พุมเรียง มีความสาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อาณาจักรศรีวิชัย อย่างไร ให้นักเรียนอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ (2 คะแนน) 
แหล่งโบราณคดีแหลมโพธิ์ อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นเมืองโบราณลุ่มแม่น้าพุมเรียง มีพัฒนาการที่ต่อเนื่องยาวนานตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ จนถึงยุคประวัติศาสตร์อาณาจักรศรีวิชัย และพบหลักฐาน โบราณวัตถุจากจีน อินเดีย และอาหรับ เช่น ลูกปัดหิน เครื่องถ้วยสมัยราชวงศ์ถัง เหรียญเงินจีนโบราณ เครื่องถ้วยแก้วแบบเปอร์เซีย หลักฐานเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าแหล่งโบราณคดี แหลมโพธิ์มีความสาคัญในฐานะเมืองโบราณที่มีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้าทางทะเลเป็นอย่างมาก 
2. ปัจจัยใดที่ทาให้อาณาจักรศรีวิชัยมีความเจริญรุ่งเรืองทางด้านการค้า ให้นักเรียนอธิบายและ ยกตัวอย่างประกอบ (4 คะแนน) 
อาณาจักรศรีวิชัย มีความเจริญรุ่งเรืองด้านการค้า เนื่องจากมีทาเลที่ตั้งเป็นเมืองท่าการค้าชายฝั่ง ทะเลในคาบสมุทรภาคใต้ บริเวณลุ่มแม่น้าตาปี และแม่น้าสายอื่น ๆ รวมทั้งชายฝั่งทะเลบริเวณเกาะ สุมาตรา และเกาะชวา เป็นจุดพักของพ่อค้าเดินเรือทะเล ติดต่อค้าขายซึ่งกันและกันระหว่าง มหาสมุทรฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก ทาให้มีพ่อค้าต่างชาติ ทั้งจีน อินเดีย อาหรับ และชนชาติ อื่นๆ เข้าติดต่อค้าขาย ทาให้เกิดความรุ่งเรืองทางการค้า ประกอบกับอาณาจักรศรีวิชัยมีฐานะเป็น พ่อค้าคนกลางที่มีสินค้าที่หลากหลาย เป็นที่ต้องการของพ่อค้าทางทะเล เช่น ที่แหล่งโบราณคดี แหลมโพธิ์ ที่ปรากฏหลักฐานตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และหลักฐานที่ของชาวต่างชาติ เช่น จีน อาหรับ รวมทั้งลูกปัดชนิดต่างๆ เป็นจานวนมาก 
3. พระบรมธาตุไชยา และพระโพธิสัตว์ปัทมปาณี แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาของ อาณาจักรศรีวิชัยอย่างไร (4 คะแนน) 
พระบรมธาตุไชยาสร้างขึ้นช่วงพุทธศตวรรษที่ 14-15 มีรูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นแบบศรีวิชัย ซึ่ง แสดงถึงความรุ่งเรืองทางด้านพระพุทธศาสนาและสถาปัตยกรรมเจดีย์แบบศรีวิชัยที่นิยมสร้างเป็น แผนผังรูปกากบาท 
ส่วนพระโพธิสัตว์ปัทมปาณี เป็นพระโพธิสัตว์ที่มีความงดงามตามแบบศิลปะศรีวิชัย สร้างด้วย สาริด ชิ้นส่วนหลายไปจนเหลือแต่ท่อนบน แสดงถึงการยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาแบบมหายาน ในอาณาจักรศรีวิชัย 
หลักฐานทั้ง 2 อย่างแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาในดินแดนอาณาจักรศรี วิชัย ที่เจริญรุ่งเรืองจากการเป็นเมืองท่าการค้าในดินแดนคาบสมุทรภาคใต้เป็นอย่างดี
1. อาณาจักรหริภุญชัย เจริญุรุ่งเรืองอยู่ในช่วงอายุทางประวัติศาสตร์เท่าใด พุทธศตวรรษที่ 13-19 
2. กษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรหริภุญชัย คือ พระนางจามเทวี 
3. อาณาจักรหริภุญชัยมีลักษณะทางภูมิศาสตร์การตั้งถิ่นฐานที่สาคัญคือตั้งอยู่ที่ราบลุ่มแม่น้า 
ที่ราบลุ่มแม่น้าปิงและที่ราบลุ่มแม่น้าวัง 
4. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เชื่อว่าฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้สร้างอาณาจักรหริภุญชัย คือ 
ตานานจามเทวีวงศ์ 
5. เมืองสาคัญรองลงมาจากหริภุญชัย คือเมือง เขลางค์นคร (ลาปาง) 
6. ศิลาจารึกของอาณาจักรหริภุญชัยในยุคแรกส่วนใหญ่ จารึกเป็นภาษา มอญโบราณ 
7. อาณาจักรหริภุญชัย มีความเกี่ยวข้องกับการขยายอิทธิพลของอาณาจักรโบราณ คือ 
อาณาจักรทวารวดี และอาณาจักรละโว้ 
8. เมืองโบราณในสมัยอาณาจักรหริภุญชัยในเขตจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ 
เวียงมโน เวียงเถาะ และเวียงท่ากาน 
9. โบราณสถานสาคัญของอาณาจักรหริภุญชัย คือ พระธาตุหริภุญไชย 
10. พระธาตุหริภุญชัยสร้างขึ้นโดย พญาอาทิตยราช 
11. พระพุทธศาสนาในอาณาจักรหริภุญชัย คือนิกาย เถรวาท 
12. กษัตริย์องค์สุดท้ายของอาณาจักรหริภุญชัย คือ พระยายี่บา 
13. พระมหากษัตริย์ที่ผนวกหริภุญไชยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนา คือ พญามังราย 
14.ศิลปกรรมในยุคแรกของอาณาจักรหริภุญชัย ได้รับอิทธิพลจาก ศิลปะทวารวดีแบบลพบุรี 
15. เมืองในลุ่มแม่น้าภาคกลางที่มีความเกี่ยวข้องกับอาณาจักรหริภุญชัย คือ เมืองละโว้ หรือลพบุรี 
ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 
1. เพราะเหตุใดอาณาจักรหริภุญชัย จึงมีความเจริญทางพระพุทธศาสนา ให้อธิบาย (4 คะแนน) 
อาณาจักรหริภุญชัยมีความเจริญทางพระพุทธศาสนา เพราะเมื่อพระนางจามเทวี ปฐมกษัตริย์แห่ง แคว้นหริภุญชัย ทรงนิมนต์พระมหาเถระจานวน 500 รูป จากเมืองละโว้มาด้วย เพื่อประดิษฐาน พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในแคว้นหริภุญชัย ถือได้ว่าเป็นความเปลี่ยนแปลงที่สาคัญซึ่งเกิดจาก การขยายตัวทางวัฒนธรรมทวารวดี จากเมืองละโว้ และเป็นการวางรากฐานพุทธศาสนาในดินแดน แอ่งที่ราบเชียงใหม่-ลาพูน ดังที่ตานานมูลศาสนากล่าวว่า “พระนางทรงสร้างกุฎีวิหารทั้งหลายให้ เป็นที่อยู่แก่ชาวเจ้าทั้งหลาย 500 องค์ ที่มาด้วยกับพระนางแต่เมืองละโว้โพ้น พระนางก็ทรง อุปัฏฐากเจ้าไททั้งหลาย ด้วยจตุปัจจัยสักกาคารวะทุกวันมิได้ขาด” 
2. ปัจจัยใดบ้างที่ทาให้อาณาจักรหริภุญชัยมีความเจริญรุ่งเรือง ให้นักเรียนอธิบายและยกตัวอย่าง 
ประกอบให้ชัดเจน (3 คะแนน) 
ปัจจัยที่ทาให้อาณาจักรหริภุญชัยมีความเจริญรุ่งเรือง ได้แก่ การมีที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะแก่การ ทาการเกษตรและการค้า เนื่องจากอาณาจักรหริภุญชัยตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้าปิง แม่น้ากวง และที่ 
อาณาจักรหริภุญชัยหรือ ลาพูน
ราบลุ่มแม่น้าวัง ทาให้มีแหล่งน้าอุดมสมบูรณ์ และใช้เป็นเส้นทางการค้าระหว่างเมืองต่าง ๆ ทั้งทาง บก และทางน้า ทางด้านศิลปวัฒนธรรม ได้รับอิทธิพลทางศิลปกรรมแบบทวาวรวดีจากอาณาจักร ลพบุรี ทาให้เกิดการสร้างสรรค์ศิลปกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของอาณาจักรหริภุญชัย และการมี สัมพันธ์อันดีกับชนชาติมอญแห่งอาณาจักรพุกาม จึงมีความรุ่งเรืองทางด้านอักษรศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม และการค้า เป็นอย่างยิ่ง 
3. ให้นักเรียนระบุหลักฐานที่สาคัญในการศึกษาเกี่ยวกับอาณาจักรหริภุญชัย อย่างน้อย 6 หลักฐาน 
(3 คะแนน) 
หลักฐานที่ใช้ในการศึกษาเกี่ยวกับอาณาจักรหริภุญชัย มีหลากหลายประเภท ที่สาคัญได้แก่ 
หลักฐานประเภทตานาน เช่น ตานานมูลศาสนา ตานานจามเทวีวงศ์ หนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ 
หลักฐานประเภทสถาปัตยกรรม เช่น พระธาตุหริภุญชัย เจดีย์กู่กุด สุวรรณเจดีย์ รัตนเจดีย์ 
หลักฐานประเภทประติมากรรม เช่น พระพิมพ์ พระพุทธรูปดินเผา พระพุทธรูปหินทราย 
หลักฐานประเภทเครื่องปั้นดินเผา เช่น หม้อ คนโท ดินเผา 
หลักฐานประเภทจารึก เช่น จารึกภาษามอญโบราณ เป็นต้น 
1. เพราะเหตุใดพื้นที่ภาคกลางจึงมีการตั้งเมืองและขยายเป็นแคว้น เป็นอาณาจักรมากกว่าพื้นที่อื่น ๆ 
สาเหตุที่ทาให้พื้นที่บริเวณภาคกลางของประเทศไทย มีการก่อตั้งบ้านเมืองและขยายตัวเป็นแคว้นที่ เจริญรุ่งเรืองมากกว่าพื้นที่อื่นๆ ของประเทศไทย เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของภาคกลางเป็นที่ราบ ลุ่มแม่น้ากว้างใหญ่ มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก มีแม่น้าหลายสายไหลผ่านเหมาะ แก่การคมนาคม และเป็นเส้นทางการค้าออกสู่ทะเล ประกอบกับเมืองโบราณบางแห่งมีพื้นที่ติดต่อ กับชายทะเล ทาให้พัฒนาให้กลายเป็นเมืองท่าการค้า ติดต่อค้าขายกับดินแดนอื่นๆ ปัจจัยเหล่านี้ทา ให้ที่ราบลุ่มแม่น้าภาคกลาง มีความเหมาะสมต่อการตั้งถิ่นฐาน การทาการเพาะปลูกและการค้ากับ ดินแดนอื่นๆ อย่างกว้างขวาง และกลายเป็นศูนย์กลางทางการเมืองการปกครองที่สาคัญของ อาณาจักร 
2. เพราะเหตุใดการก่อตั้งรัฐโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ จึงนิยมรับวัฒนธรรมอินเดียมาใช้มากกว่า อารยธรรมจีน 
เนื่องจากรัฐโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ มีพื้นที่ติดต่อกับชายทะเลทางด้านใต้ ทาให้ง่ายต่อการ ติดต่อค้าขายกับอินเดีย โดยมีเส้นทางการติดต่อสัมพันธไมตรีและการค้าทั้งทางบกและทางทะเล ทา ให้เกิดการรับเอาอารยธรรมอินเดียมาปรับใช้เป็นของตนเองมากกว่าอารยธรรมจีน ปรากฏเป็น หลักฐานทางด้านโบราณวัตถุ โบราณสถาน วรรณกรรม วัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อของผู้คน ในดินแดนสุวรรณภูมิอย่างกว้างขวาง และต่อเนื่องตั้งแต่ยุคสุวรรณภูมิ จนถึงยุคที่ดินแดนสุวรรณภูมิ พัฒนาเป็นอาณาจักรของชนชาติต่างๆ เช่น สุโขทัย อยุธยา กัมพูชา ลาว พม่า เป็นต้น 
กิจกรรมที่ 2 ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
3. จงอธิบายความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และการค้าขายให้ถูกต้อง พร้อม ยกตัวอย่างประกอบ 
ความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านศาสนา ศิลปะวัฒนธรรม ได้แก่การนับถือพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท จากหลักฐานที่ปรากฏ คือใบเสมาเมืองฟ้าแดดสูงยางและในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระพุทธรูปศิลาองค์ใหญ่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพรยา และที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ จ.พระนครศรีอยุธยา องค์พระปฐมเจดีย์ เจดีย์จุลประโทน พระพุทธรูปศิลา จ.นครปฐม แสดงให้เห็น ถึงความเจริญทางด้านศาสนา ซึ่งมีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมในสมัยทวารวดีใน ดินแดนประเทศไทย 
ความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านการค้าขาย ได้แก่หลักฐานจากเครื่องประดับ ลูกปัดที่พบ ตามเมืองท่าการค้า เช่น กระบี่ พังงาน และเหรียญกษาปณ์ ที่ปรากฏในแหล่งโบราณคดีต่างๆ ใน ประเทศไทยแสดงให้เห็นว่าทวารวดี มีการติดต่อค้าขายกับดินแดนอื่น 
4. อาณาจักรละโว้ได้รับอิทธิพลความเจริญทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมจากเขมรอย่างไร ให้ นักเรียนยกตัวอย่างและอธิบายประกอบ 
อาณาจักรละโว้ได้รับอิทธิพลความเจริญทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมจากเขมรทางศาสนา พราหมณ์-ฮินดู ซึ่งได้เข้ามามีอิทธิพลทางด้านศาสนาและความเชื่อ จะเห็นได้จากสร้างพระปรางค์ สามยอด ปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินเข้าพนมรุ้ง ปราสาทเมืองสิงห์ การสร้างเทวรูปประจาศาสน สถานต่างๆ และศิวลึงค์ นอกจากนี้ยังได้รับอิทธิพลของพระพุทธศาสนาเข้ามาในภายหลัง จะเห็นได้ จากการมีพระพุทธรูปที่มีลักษณะผสมผสานอยู่ในศาสนสถานต่างๆ ในประเทศไทย
กิจกรรมที่ 3 ให้นักเรียนวิเคราะห์ที่มาของศิลปกรรมแล้วนาตัวอักษรด้านขวามือมาใส่ลงใน ช่องว่างหน้ารูปภาพให้ถูกต้อง 
ก.เจดีย์กู่กุด ลาพูน 
ข.พระบรมธาตุไชยา สุราษฎร์ธานี 
ค.พระพิมพ์ดินดิบ ศิลปะศรีวิชัย 
ง.พระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราช 
จ.ประติมากรรมสาริด ศิลปะลพบุรี 
ฉ.ปราสาทหินพิมาย นครราชสีมา 
ช.เครื่องประดับทองคา ศิลปะทวารวดี 
ซ.พระปฐมเจดีย์ นครปฐม 
ฌ.พระพุทธรูปนาคปรกศิลปะลพบุรี 
ญ.ประติมากรรมพระนารายณ์ ศิลปะลพบุรี 
ฎ.ประติมากรรมปูนปั้น ศิลปะทวารวดี 
ฏ.พระโพธิสัตว์สาริด ศิลปะศรีวิชัย 
ฐ.กู่คาวัดเจดีย์เหลี่ยม ลาพูน 
ฑ.พระพุทธรูปหินทราย ศิลปะลพบุรี 
ฒ.วัดพระธาตุหริภุญชัย ลาพูน 
ณ.พระพิมพ์จากเมืองโบราณคูบัว ราชบุรี 
ด.พระพุทธรูปศิลปะทวาราวดี นครปฐม 
ต.ประติมากรรมนูนต่าศิลปะทวารวดี 
ถ.หินทรายแกะสลักศิลปะร่วมแบบเขมรฯ 
ท. 
ศิลปกรรมอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย 
ธ.เจดีย์กู่กุด ลาพูน 
น.พระบรมธาตุไชยา สุราษฎร์ธานี 
บ.พระพิมพ์ดินดิบ ศิลปะศรีวิชัย 
ป.พระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราช 
ผ.ประติมากรรมสาริด ศิลปะลพบุรี 
ฝ.ปราสาทหินพิมาย นครราชสีมา 
พ.เครื่องประดับทองคา ศิลปะทวารวดี 
ฟ.พระปฐมเจดีย์ นครปฐม 
ภ.พระพุทธรูปนาคปรกศิลปะลพบุรี 
ม.ประติมากรรมพระนารายณ์ ศิลปะลพบุรี 
ย.ประติมากรรมปูนปั้น ศิลปะทวารวดี 
ร.พระโพธิสัตว์สาริด ศิลปะศรีวิชัย 
ล.กู่คาวัดเจดีย์เหลี่ยม ลาพูน 
ว.พระพุทธรูปหินทราย ศิลปะลพบุรี 
ศ.วัดพระธาตุหริภุญชัย ลาพูน 
ษ.พระพิมพ์จากเมืองโบราณคูบัว ราชบุรี 
ส.พระพุทธรูปศิลปะทวาราวดี นครปฐม 
ห.ประติมากรรมนูนต่าศิลปะทวารวดี 
ฬ.หินทรายแกะสลักศิลปะร่วมแบบเขมรฯ 
อ. 
1……ฐ…….. 
2……ข…….. 
3……ด……..
4……ฒ…….. 
5……ฎ…….. 
8……ฉ…….. 
9……ก…….. 
10……ต…….. 
11……ค…….. 
12……จ……..
13……ฏ…….. 
14……ฑ…….. 
15……ฌ…….. 
16……ฎ…….. 
17……ญ…….. 
18……ถ…….. 
19……ง…….. 
20……ช…….. 
21……ซ……..
1. จุดเริ่มต้นความเจริญของอาณาจักรทวารวดี จัดได้ว่าเป็นวัฒนธรรมที่มีการผสมผสานระหว่าง วัฒนธรรมใดต่อไปนี้ 
1. อินเดีย – ละโว้ 2. ลพบุรี – ศรีวิชัย 
3. อินเดีย - วัฒนธรรมท้องถิ่น 4. ศรีวิชัย - วัฒนธรรมท้องถิ่น 
2. อาณาจักรใดต่อไปนี้ ที่ปรากฏความเจริญด้านพระพุทธศาสนาทางภาคใต้ของไทย 
1. อาณาจักรทวารวดี 2. อาณาจักรลังกาสุกะ 
3. อาณาจักรตามพรลิงค์ 4. อาณาจักรฟูนัน 
3. จังหวัดใดต่อไปนี้ มีความสัมพันธ์กับที่ตั้งของอาณาจักรโบราณในอดีต 
1. นครพนม : อาณาจักรอิศานปุระ 2. สุราษฎร์ธานี : อาณาจักรศรีวิชัย 
3. ลาปาง : อาณาจักรหริภุญชัย 4. นครศรีธรรมราช : อาณาจักรลังกาสุกะ 
4. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่สัมพันธ์กัน เกี่ยวกับอาณาจักรโบราณ และโบราณสถานที่พบ 
1. พระปฐมเจดีย์ : อาณาจักรทวารวดี 2. พระธาตุพนม : อาณาจักรศรีโคตรบูรณ์ 
3. พระธาตุหริภุญชัย : โยนกเชียงแสน 4. พระบรมธาตุเจดีย์ : อาณาจักรตามพรลิงค์ 
5. เหตุผลข้อใดที่แสดงถึงการแพร่กระจายของวัฒนธรรมทวารวดีอย่างกว้างขวางในประเทศไทย 
1. ถือเป็นวัฒนธรรมยุคเริ่มต้นของดินแดนต่าง ๆ ในประเทศไทย 
2. มีความต่อเนื่องทางประวัติศาสตร์ที่ชัดเจนตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน 
3. มีตานาน พงศาวดาร ที่สนับสนุนการเกิดขึ้นและความเจริญรุ่งเรืองของทวารวดีอย่างชัดเจน 
4. มีการค้นพบหลักฐานที่แสดงถึงวัฒนธรนรมทวารวดี ครอบคลุมเกือบทุกภาคของประเทศไทย 
6. ข้อใดต่อไปนี้สรุปเกี่ยวกับอาณาจักรทวารวดีได้ชัดเจนที่สุด 
1. เป็นอาณาจักรแห่งแรกในดินแดนไทย 2. ช่วยถ่ายทอดวัฒนธรรมไปสู่ดินแดนอื่น 
3. นาดินแดนไทยเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ 4. รวมดินแดนของคนไทยให้เป็นปึกแผ่น 
7. สิ่งใดต่อไปนี้ แสดงถึงมรดกสาคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ที่มีต่อดินแดนไทย 
1. เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดอารยธรรมอินเดียสู่ดินแดนสุวรรณภูมิ 
2. มีส่วนช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในดินแดนต่าง ๆ ของไทย 
3. เป็นจุดเริ่มต้นในการสร้างสรรค์รูปแบบศิลปกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เด่นของไทย 
4. เป็นศูนย์กลางในการศึกษาและเผยแพร่ศิลปะ วิทยาการ จากการติดต่อค้าขาย 
8. ข้อใดเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า อาณาจักรละโว้เคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของขอมมาก่อน 
1. ข้อความในศิลาจารึกส่วนใหญ่ที่บันทึกด้วยอักษรขอม 
2. รูปแบบการปกครองที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข 
3. ภาพแกะสลักที่แสดงลักษณะการแต่งกายของชนชั้นสูงแบบขอม 
4. ศาสนสถานและเทวรูปที่มีอิทธิพลของศิลปะแบบขอมหลายแห่ง 
9. จากการศึกษาประวัติศาสตร์ของอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย พบว่าการตั้งราชานีของ อาณาจักรโบราณส่วนใหญ่ มักจะเลือกทาเลที่ตั้งของอาณาจักร ตามข้อใด 
1. พื้นที่ราบระหว่างหุบเขาที่มีแม่น้าไหลผ่าน 2. พื้นที่ราบลุ่มแม่น้าที่มีความอุดมสมบูรณ์ 
3. พื้นที่ดอนกว้างขวาง น้าไม่ท่วมถึง 4. พื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเล 
กิจกรรมที่ 4 ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้อง
10. ปัจจัยใดที่เป็นสาเหตุให้อาณาจักรศรีวิชัยเสื่อมอานาจและล่มสลายจากคาบสมุทรมลายู 
1. การถูกรุกรานจากกษัตริย์ของอาณาจักรลังกาสุกะที่ยกทัพมาโจมตีศรีวิชัย 
2. การเกิดภัยธรรมชาติจนภูมิประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลง มีผลต่อการค้าขายของอาณาจักร 
3. การล่มสลายของเมืองท่าการค้าที่สาคัญของอาณาจักร เนื่องจากจีนขยายการค้าทางทะเล 
4. ไม่สามารถรักษาความเข้มแข็งและการคัดคานอานาจของอาณาจักรใหม่ที่รุ่งเรืองขึ้นภายหลังได้ 
11. เพราะเหตุใด การศึกษาเรื่องของอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย จึงยังไม่มีความชัดเจน และไม่สามารถสรุปถึงความเป็นมาของดินแดนต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจน 
1. การขาดนักประวัติศาสตร์และโบราณคดีในการศึกษาค้นคว้าอย่างจริงจัง 
2. การขาดแคลนทางด้านบุคลากรผู้เชี่ยวชาญและงบประมาณที่มีอย่างจากัด 
3. การค้นพบจารึกส่วนใหญ่ เป็นจารึกอักษรอื่น ซึ่งเป็นภาษาที่ยังแปลความหมายไม่ได้ 
4. ร่องรอย หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ในการสืบค้นข้อมูลหลงเหลืออยู่น้อย และขาดความชัดเจน 
15. อาณาจักรตามพรลิงค์ รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากไหนมากที่สุด 
1. อินเดีย-จีน 2. มอญ-พม่า 3. อินเดีย-ลังกา 4. ล้านนา-สุโขทัย 
12.ภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏ เกี่ยวข้องกับอาณาจักรใด 
1. อาณาจักรศรีวิชัย 
2. อาณาจักรลังกาสุกะ 
3. อาณาจักรหริภุญชัย 
4. อาณาจักรทวารวดี 
13.ภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏ เกี่ยวข้องกับอาณาจักรใด 
1. อาณาจักรศรีวิชัย 
2. อาณาจักรลังกาสุกะ 
3. อาณาจักรหริภุญชัย 
4. อาณาจักรทวารวดี 
14.ภาพโบราณสถานดังกล่าว ได้รับอิทธิพลของอารยธรรมใดและ เกี่ยวข้องกับอาณาจักรใดต่อไปนี้ 
1. อิทธิพลอารยธรรมทวราวดี : อาณาจักรศรีวิชัย 
2. อิทธิพลอารยธรรมขอม : อาณาจักรละโว้ 
3. อิทธิพลอารยธรรมมอญ: อาณาจักรหริภุญชัย 
4. อิทธิพลอารยธรรมศรีวิชัย : อาณาจักรทวารวดี
16. ข้อใดกล่าวถึงอาณาจักรตามพรลิงค์ ไม่ถูกต้อง 
1. เคยอยู่ในอานาจของอาณาจักรล้านนา 
2. พระภิกษุสงฆ์นาพระพุทธศาสนาไปเผยแพร่สุโขทัย 
3. เคยมีการติดต่อสัมพันธ์กับลังกาเรื่องพระพุทธศาสนา 
4. พุทธศตวรรษที่ 18 ตามพรลิงค์ได้เปลี่ยนชื่อเป็นนครศรีธรรมราช 
17. จากจารึกที่ลพบุรี แสดงให้เห็นว่าเขมรได้ขยายอาณาเขตลงไปถึงอาณาจักรใดทางภาคใต้ 
1. ไชยา 2. ศรีวิชัย 3. มะละกา 4. นครศรีธรรมราช 
18. ตานานสิงหนวัติเกี่ยวข้องกับแคว้นใด 
1. พะเยา 2. สุพรรณภูมิ 3. โยนกเชียงแสน 4. หิรัญนครเงินยาง 
19. การค้นพบเสมาหินที่เมืองฟ้าแดดสูงยางจานวนมาก สะท้อนหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในเรื่องใด 
1. วัฒนธรรมขอมได้เจริญรุ่งเรืองอย่างกว้างขวางในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
2. ศิลปะทวารวดีได้เจริญรุ่งเรืองและขยายอิทธิพลของศิลปะสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
3. แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาจากวัฒนธรรมขอมสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 
4. ชุมชนโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเริ่มมีการนับถือศาสนาฮินดูจากอิทธิพลขอม 
20. ศูนย์กลางของอาณาจักรทวารวดีในดินแดนประเทศไทยที่ปรากฏหลักฐานในระยะแรกคือข้อใด 
1. เมืองอู่ทอง สุพรรณบุรี 2. เมืองนครชัยศรี นครปฐม 
3. เมืองอู่ทองและเมืองนครชัยศรี 4. เมืองคูบัว ราชบุรี 
21. ธรรมจักรกับกวางหมอบ จารึกคาถาเยธัมมา แสดงถึงความศรัทธาของศาสนาใด 
1. พระพุทธศาสนานิกายมหายาน 2. พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท 
3. การนับถือผี บูชาพญานาค 4. ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู 
22. ชาวละโว้มีพัฒนาการฝีมือการทาเครื่องมือเครื่องใช้มากกว่าเรื่องอื่นๆ คือข้อใด (mwit 54) 
1. เครื่องถ้วยกระเบื้อง 2. เครื่องแก้ว 3. เครื่องสาริด 4. เครื่องปั้นดินเผา 
23. ส่วนมากนักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์อาณาจักรละโว้จากหลักฐานใด 
1. จารึกเขมร 2. สถาปัตยกรรม 3. เครื่องสาริด 4. ประติมากรรม 
24. ข้อใดที่ไม่ใช่หลักฐานทางโบราณคดีของอาณาจักรละโว้ที่แสดงให้เห็นว่าได้รับอิทธิพลจากขอม 
1. ภาพสลักนาฏกรรม 2. สถาปัตยกรรม 3. ประติมากรรม 4. พิธีกรรม 
25. หลักฐานชิ้นใด ไม่เกี่ยวข้อง กับการศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของอาณาจักรซิโลโฟซิ 
1. หนังสือจูฟานฉี 2. บันทึกของพระภิกษุอี้จิง 
3. ศิลาจารึก 8 หลักบนเกาะสุมาตรา 4. จารึกหลักที่ 24 ของพระเจ้าจันทรภาณุ 
26. ถ้านักเรียนเป็นนักประวัติศาสตร์ต้องการศึกษาศิลปะสมัยศรีวิชัย นักเรียนจะเดินทางไปศึกษาที่ใด 
1. สวนโมกขพลาราม 2. จตุคามรามเทพ 3. พระธาตุไชยา 4. พระธาตุเมืองนคร 
27. ข้อใดแสดงถึงอิทธิพลของอาณาจักรศรีวิชัยบนเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย (mwit 54) 
1. มหาสถูปบุโรพุทโธ 2. รูปปั้นพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 
3. กลองมโหระทึกสาริด 4. พระพุทธรูปปางนาคปรก 
28. การศึกษาความเป็นมาของอาณาจักรหริภุญชัย ควรจะศึกษาจากหลักฐานในข้อใด(mwit 54) 
1. ตานานเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์ 2. ตานานจามเทวีวงศ์ 
3. ตานานชินกาลมาลีปกรณ์ 4. ตานานมูลศาสนา

More Related Content

What's hot

ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยYim Wiphawan
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงWan Wan
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnflimgold
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีBlackrab Chiba
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 

What's hot (20)

ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
ไทย
ไทยไทย
ไทย
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 

Viewers also liked

รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์kulrisa777_999
 
เมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชยเมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชย4lifesecret
 
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)พัน พัน
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยchakaew4524
 
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์พัน พัน
 

Viewers also liked (8)

รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
รัฐโบราณในดินแดนไทย : ตามพรลิงค์
 
เมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชยเมืองโบราณหริภุญไชย
เมืองโบราณหริภุญไชย
 
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
 
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัยหัวข้อที่ ๕  ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
หัวข้อที่ ๕ ประวัติศาสตร์ไทยก่อนสมัยสุโขทัย
 
รัฐโบราณ
รัฐโบราณรัฐโบราณ
รัฐโบราณ
 
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์สรุปวิชาประวัติศาสตร์
สรุปวิชาประวัติศาสตร์
 

Similar to Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57

ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์sangworn
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
วัดโบราณในไทย
วัดโบราณในไทยวัดโบราณในไทย
วัดโบราณในไทยchanaporn sornnuwat
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..sandzii
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัยsangworn
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัยsangworn
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 

Similar to Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57 (20)

ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4ความสัมพั...Pptx  กลุ่ม 4
ความสัมพั...Pptx กลุ่ม 4
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1พระมหาธรรมราชาที่ 1
พระมหาธรรมราชาที่ 1
 
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt  กลุม 4
เธ„เธงเธฒเธกเธชเธฑเธกเธžเธฑ...Ppt กลุม 4
 
Ppt16 (1)
Ppt16 (1)Ppt16 (1)
Ppt16 (1)
 
วัดโบราณในไทย
วัดโบราณในไทยวัดโบราณในไทย
วัดโบราณในไทย
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..
 
สุโขทัย
สุโขทัยสุโขทัย
สุโขทัย
 
357
357357
357
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
ผลงานนักเรียนชั้น ม.6/1
 

More from Pracha Wongsrida

Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Pracha Wongsrida
 
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยKey of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยPracha Wongsrida
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีPracha Wongsrida
 
พิมพ์Respond sheet195
พิมพ์Respond sheet195พิมพ์Respond sheet195
พิมพ์Respond sheet195Pracha Wongsrida
 
พิมพ์Answer respond-195
พิมพ์Answer respond-195พิมพ์Answer respond-195
พิมพ์Answer respond-195Pracha Wongsrida
 
พิมพ์ Wrap up-884
พิมพ์ Wrap up-884พิมพ์ Wrap up-884
พิมพ์ Wrap up-884Pracha Wongsrida
 
พิมพ์ Movi note 884
พิมพ์ Movi note 884พิมพ์ Movi note 884
พิมพ์ Movi note 884Pracha Wongsrida
 
Social studies1241 printabledocuments
Social studies1241 printabledocumentsSocial studies1241 printabledocuments
Social studies1241 printabledocumentsPracha Wongsrida
 
Social studies1240 printabledocuments
Social studies1240 printabledocumentsSocial studies1240 printabledocuments
Social studies1240 printabledocumentsPracha Wongsrida
 
Social studies1239 printabledocuments
Social studies1239 printabledocumentsSocial studies1239 printabledocuments
Social studies1239 printabledocumentsPracha Wongsrida
 
Social studies933 printabledocuments
Social studies933 printabledocumentsSocial studies933 printabledocuments
Social studies933 printabledocumentsPracha Wongsrida
 
Social studies885 printabledocuments
Social studies885 printabledocumentsSocial studies885 printabledocuments
Social studies885 printabledocumentsPracha Wongsrida
 

More from Pracha Wongsrida (20)

Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัยKey of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
Key of 8 พระมหากษัตริย์สมัยสุโขทัย
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
Key pr11 30109
Key pr11 30109Key pr11 30109
Key pr11 30109
 
Key pr3 30109
Key pr3 30109Key pr3 30109
Key pr3 30109
 
Key pr2 30109
Key pr2 30109Key pr2 30109
Key pr2 30109
 
Key pr1 30109
Key pr1 30109Key pr1 30109
Key pr1 30109
 
พิมพ์Respond sheet195
พิมพ์Respond sheet195พิมพ์Respond sheet195
พิมพ์Respond sheet195
 
พิมพ์Answer respond-195
พิมพ์Answer respond-195พิมพ์Answer respond-195
พิมพ์Answer respond-195
 
พิมพ์Ans195
พิมพ์Ans195พิมพ์Ans195
พิมพ์Ans195
 
พิมพ์1239
พิมพ์1239พิมพ์1239
พิมพ์1239
 
พิมพ์#195
พิมพ์#195พิมพ์#195
พิมพ์#195
 
พิมพ์ Wrap up-884
พิมพ์ Wrap up-884พิมพ์ Wrap up-884
พิมพ์ Wrap up-884
 
พิมพ์ Movi note 884
พิมพ์ Movi note 884พิมพ์ Movi note 884
พิมพ์ Movi note 884
 
Social studies1241 printabledocuments
Social studies1241 printabledocumentsSocial studies1241 printabledocuments
Social studies1241 printabledocuments
 
Social studies1240 printabledocuments
Social studies1240 printabledocumentsSocial studies1240 printabledocuments
Social studies1240 printabledocuments
 
Social studies1239 printabledocuments
Social studies1239 printabledocumentsSocial studies1239 printabledocuments
Social studies1239 printabledocuments
 
Social studies933 printabledocuments
Social studies933 printabledocumentsSocial studies933 printabledocuments
Social studies933 printabledocuments
 
Social studies885 printabledocuments
Social studies885 printabledocumentsSocial studies885 printabledocuments
Social studies885 printabledocuments
 

Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57

  • 1. 1. หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า อาณาจักรทวารวดี เป็นอาณาจักรเริ่มแรกในประเทศไทย คือ จารึกบน เหรียญเงิน 2. การจารึกอักษร เย ธมฺมา ในวัฒนธรรมทวารวดี แสดงให้ถึงการยึดมั่นในหลักธรรมคาสอนของ พระพุทธศาสนา คือ หลักอริยสัจ 4 3. ข้อสันนิษฐานเชื่อว่าศูนย์กลางของอาณาจักรทวารวดี คือ เมืองนครชัยศรีหรือเมืองนครปฐมโบราณ 4. เมืองโบราณในภาคเหนือของประเทศไทยปัจจุบัน ที่ปรากฎร่องรอยหลักฐานว่าได้รับอิทธิพลจากการ แพร่กระจายทางวัฒนธรรมอาณาจักรทวารวดี คือ เมืองหริภุญชัย จังหวัดลาพูน 5. วัฒนธรรมทวารวดี เป็นการผสมผสานทางวัฒนธรรมระหว่าง อินเดีย กับ วัฒนธรรมท้องถิ่น 6. พื้นฐานทางเศรษฐกิจของอาณาจักรทวารวดี คือ การเกษตรกรรม 7. ศิลปกรรมของอาณาจักรทวารวดี ได้รับอิทธิพลจากชนชาติ อินเดีย 8. การสร้าง ธรรมจักร และกวางหมอบ แสดงถึงความศรัทธาของพระพุทธศาสนานิกาย เถรวาท 9. เมืองโบราณในสมัยทวารวดีที่ปรากฏใบเสมาหินเป็นจานวนมาก คือ เมืองฟ้าแดดสงยาง จังหวัดกาฬสินธุ์ 10. รูปแบบของศิลปะอินเดียที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ศิลปกรรมสมัยทวารวดี คือ ศิลปะอินเดียสมัยคุปตะ สมัยหลังคุปตะ และสมัยปาละ-เสนะ 11. เมืองโบราณในสมัยทวารวดีที่สาคัญของจังหวัดเพชรบูรณ์ในปัจจุบัน คือ เมืองโบราณศรีเทพ 12. เมืองโบราณในสมัยทวารวดีที่สาคัญของจังหวัดปัตตานีในปัจจุบัน คือ เมืองโบราณยะรัง 13. เมืองโบราณในสมัยทวารวดีที่สาคัญของจังหวัดปราจีนบุรีในปัจจุบัน คือ เมืองศรีมโหสถ 14. พระพุทธรูปที่เป็นเอกลักษณ์เด่นของประติมากรรมสมัยทวารวดี คือ พระพุทธรูปปางวิตรรกะ และปางประทับนั่งห้อยพระบาท 15. สาเหตุสาคัญที่ทาให้อาณาจักรทวารวดีเริ่มเสื่อมลง คือ การแผ่ขยายอิทธิพลของชนชาติเขมร อาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย 2 กิจกรรมที่ 1 ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ แล้วเติมคาหรือตอบคาถามที่กาหนดให้ อาณาจักรทวารวดี
  • 2. ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. หลักฐานสาคัญใดบ้าง ที่แสดงให้เห็นความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรทวารวดีที่เมืองนครปฐม โบราณ หรือเมืองนครชัยศรี ให้นักเรียนอธิบาย (4 คะแนน) หลักฐานสาคัญที่แสดงให้เห็นถึงความเจริญรุ่งเรืองของเมืองนครปฐมโบราณได้แก่ การสร้าง ศาสน สถานขนาดใหญ่ เช่น เจดีย์จุลประโทน พระปฐมเจดีย์องค์เดิม ที่มีอิทธิพลของศิลปะอินเดีย คือ สถูปที่เมืองสาญจี แสดงถึงความเชื่อมโยงทางศิลปกรรมของอินเดียที่มีต่ออาณาจักรทวารวดี นอกจากนี้ยังพบ ชิ้นส่วนศาสนสถาน ปูนปั้นประดับสถาปัตยกรรม ปูนปั้นบุคคลที่แสดงให้เห็นว่า มีชนชาติต่างๆ เข้ามาติดต่อค้าขาย รวมทั้งการค้นพบตราประทับดินเผา รูปคนเดินเรือทางทะเล แสดงให้เห็นความรุ่งเรืองทางการค้าในดินแดนทวารวดี และเกิดการแลกเปลี่ยน ถ่ายทอดทาง วัฒนธรรมของผู้คนในดินแดนสุวรรณภูมิอีกด้วย 2. เพราะเหตุใดจึงมีการสันนิษฐานว่า ศูนย์กลางของอาณาจักรทวารวดีน่าจะอยู่ที่เมืองนครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง และเมืองคูบัว ให้นักเรียนอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ (3 คะแนน) สาเหตุที่มีการสันนิษฐานว่าเมืองนครปฐมโบราณ เมืองอู่ทอง และเมืองคูบัว น่าจะเป็นศูนย์กลางของ อาณาจักรทวารวดี เนื่องจากพบหลักฐาน คือ ศาสนสถานขนาดใหญ่ ประติมากรรม และ โบราณสถานมากมาย เช่น สถูป เจดีย์ พระพุทธรูป ปูนปั้นประดับอาคาร ธรรมจักรศิลา และการ ค้นพบเหรียญเงินที่มีจารึกอักษร “ศรีทวารวดี ศวรปุญยะ” แสดงให้เห็นว่าเมืองทั้ง 3 เมืองดังกล่าวมี ความเจริญรุ่งเรืองอย่างมากในอาณาจักรทวารวดี 3. ให้นักเรียนยกตัวอย่างหลักฐานสมัยทวารวดีที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนา ในอาณาจักรทวารวดีมาให้เข้าใจ (3 คะแนน) หลักฐานสาคัญที่แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาในอาณาจักรทวารวดี ได้แก่ ธรรมจักรศิลา สถูปจาลอง ที่มีจารึกอักษรคาถา เย ธมฺมา ซึ่งเป็นอักษรปัลลวะในอินเดียตอนใต้ ประมาณพุทธศตวรรษที่ 12 รวมทั้งจารึกภาษามอญโบราณ แสดงให้เห็นความเชื่อมโยงของชนชาติ มอญในดินแดนสุวรรณภูมิ และความรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท 1. อาณาจักรละโว้ สถาปนาโดย พระยากาฬวรรณดิศราช 2. อาณาจักรละโว้ มีที่ตั้งบริเวณลุ่มแม่น้า 3 สาย ได้แก่ แม่น้าเจ้าพระยา แม่น้าป่าสัก แม่น้าลพบุรี 3. อาณาจักรละโว้ ก่อนการได้รับอิทธิพลจากอาณาจักรเขมรโบราณ เคยได้รับอิทธิพลจาก อาณาจักร ทวารวดี 4. ตานานชินกาลมาลีปกรณ์กล่าวถึงเมืองลพบุรี โดยเรียกว่าเมือง “ลวปุระ” 5. อาณาจักรละโว้ตั้งอยู่ในพื้นที่ภาคกลางมีศูนย์กลางอยู่ที่เมือง เมืองละโว้ 6. ศูนย์กลางของอาณาจักรละโว้ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ คือ เมืองพิมาย จังหวัดนครราชสีมา อาณาจักรละโว้ หรือลวปุระ หรือลพบุรี
  • 3. 7. ปราสาทหิน ศาสนสถานในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ลัทธิไศวนิกาย ที่ใหญ่โตและสวยงามที่สุดใน ประเทศไทย คือ ปราสาทหินพนมรุ้ง จังหวัดบุรีรัมย์ 8. พระมหากษัตริย์คือเทพเจ้าผู้อวตารมายังโลกมนุษย์ เป็นคติความเชื่อของศาสนา พราหมณ์-ฮินดู 9. ขอมมีอิทธิพลต่ออาณาจักรละโว้ในด้าน ศิลปกรรม ศาสนา ภาษา อักษร ความเชื่อ 10. อาณาจักรโบราณที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์รูปแบบศิลปกรรมและวัฒนธรรมของอาณาจักร ละโว้ คือ เขมรโบราณหรือขอม 11. พระปรางค์สามยอด เมืองลพบุรี คือศาสนสถานที่สะท้อนความเชื่อเกี่ยวกับ ศาสนาพุทธและฮินดู 12. การสร้างประติมากรรมรูปเคารพ เช่น พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร แสดงถึงอิทธิพลทาง พระพุทธศาสนา นิกาย มหายาน 13. เครื่องมือ เครื่องใช้ส่วนใหญ่ในศิลปกรรมลพบุรี มักสร้างขึ้นด้วยวัสดุสาคัญ คือ เครื่องมือสาริด 14. เมืองโบราณในภาคเหนือที่มีความสัมพันธ์เกี่ยวข้องกับอาณาจักรละโว้ คือ เมืองหริภุญชัย 15. หลังปลายพุทธศตวรรษที่ 18 อาณาจักรลพบุรี มีส่วนสาคัญในการสถาปนาอาณาจักรใด อาณาจักรอยุธยา ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. ปราสาทหินพิมาย มีความสาคัญต่ออาณาจักรลพบุรี อย่างไร ให้นักเรียนวิเคราะห์และอธิบาย (3 คะแนน) ปราสาทหินพิมาย เป็นศาสนสถานที่สาคัญที่สุดแห่งหนึ่งของอาณาจักรละโว้ สร้างขึ้นตั้งแต่พุทธ ศตวรรษที่ 16 ด้วยศิลาทราย ในสมัยพระเจ้าสุริยะวรมันที่ 1 ศิลปะแบบปาปวนต่อเนื่องศิลปะนคร วัดของเขมร เป็นศาสนสถานในพระพุทธศาสนานิกายมหายาน แบบวัชรยาน และสร้างเพิ่มเติมใน สมัยพระเจ้าสุริยะวรมันที่ 7 จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ สันนิษฐานว่าเมืองพิมาย หรือวิมายปุ ระ มีความสาคัญในฐานะศูนย์กลางของอาณาจักรลพบุรีทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2. ให้นักเรียนยกตัวอย่างสถาปัตยกรรมของวัฒนธรรมลพบุรี อย่างน้อย 4 ตัวอย่าง (2 คะแนน) พระปรางค์สามยอด ปรางค์แขก ศาลพระกาฬ หรือศาลสูง จังหวัดลพบุรี ปราสาทหินพิมาย จังหวัด นครราชสีมา ปราสาทหินพนมรุ้ง ปราสาทบ้านปุ จังหวัดบุรีรัมย์ ปราสาทเมืองสิงห์ จังหวัด กาญจนบุรี ปราสาทตาเมือน ปราสาทภูมิโปน ปราสาทตาเมือนโต๊ด จังหวัดสุรินทร์ ปราสาทเขาน้อย อาเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว ปราสาทศรีขรภูมิ จังหวัดศรีสะเกษ ปราสาทกู่แก้ว อาเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น ปราสาทสระกาแพงน้อย จังหวัดศรีสะเกษ
  • 4. 1. เอกสารบันทึกของจีนเรียกอาณาจักรตามพรลิงค์ว่า โปลิง, โฮลิง หรือ ตามมาลิง 2. หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าอาณาจักรตามพรลิงค์ เป็นอาณาจักรสาคัญในดินแดนทะเลใต้ คือ จดหมายเหตุจากจีน 3. ปัจจัยที่ทาให้อาณาจักรตามพรลิงค์ เจริญรุ่งเรืองคือ การเป็นเมืองท่าการค้าชายฝั่งทะเล 4. อารยธรรมที่มีอิทธิพลต่ออาณาจักรตามพรลิงค์คือ อารยธรรมอินเดีย และอารยธรรมจีน 5. ระยะแรกของอาณาจักรตามพรลิงค์ ได้รับอิทธิพลจากศาสนา พราหมณ์-ฮินดู 6. เมืองสาคัญรองจากเมืองนครศรีธรรมราช คือ เมืองไชยา และเมืองสทิงพระ 7. เมืองท่าการค้าที่สาคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ คือ เมืองตักโกลา หรือเมืองตะกั่วป่า 8. การปกครองของอาณาจักรตามพรลิงค์ ที่เรียกว่า เมือง 12 นักษัตร์ เป็นไปตามคติทาง พระพุทธศาสนา คือคติจักรพรรดิราช 9. หลักฐานประเภทจารึกที่สาคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์เมืองนครศรีธรรมราช คือ จารึกหลักที่ 24 จารึกเสมาเมือง หรือจารึกพระเจ้าจันทรภาณุ 10. อาณาจักรตามพรลิงค์มีความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาช่วงใด พุทธศตวรรษที่ 18 11. มรดกทางด้านประติมากรรมที่สาคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ คือ พระพุทธสิหิงค์ 12. มรดทางด้านสถาปัตยกรรมที่สาคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ คือ พระบรมธาตุ 13. วัตถุมงคลสาคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ คือ เงินหัวนะโม 14. อาณาจักรตามพรลิงค์ มีความสัมพันธ์ที่ดีกับสุโขทัย คือ เผยแผ่พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ที่ กรุงสุโขทัย 15. ความสาคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ในทางพระพุทธศาสนา คือ การเป็นศูนย์กลางการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. เพราะเหตุใดจึงกล่าวว่าอาณาจักรตามพรลิงค์ เป็นเมืองท่าการค้าที่สาคัญ ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ (5 คะแนน) ปัจจัยที่ทาให้อาณาจักรตามพรลิงค์ เป็นเมืองท่าการค้าที่สาคัญ ได้แก่ สภาพภูมิศาสตร์ที่ตั้งที่ เหมาะสมคือตั้งอยู่สันทรายบริเวณปากอ่าวนครศรีธรรมราช ทาให้มีพ่อค้าต่างชาติ ต่างภาษา เช่น จีน อินเดีย อาหรับ เข้ามาติดต่อค้าขายเป็นจานวนมาก ตลอดจนได้นาศิลปวัฒนธรรม เข้ามา เผยแพร่ในดินแดนอาณาจักรตามพรลงค์ จนเจริญรุ่งเรือง จึงกล่าวได้ว่า เมืองนครศรีธรรมราช และ เมืองบริวารในอาณาจักรตามพรลิงค์ เป็นเมืองท่าการค้าที่สาคัญแห่งหนึ่งในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ อาณาจักรตามพรลิงค์ (นครศรีธรรมราช)
  • 5. 2. หลักฐานใดที่แสดงให้เห็นว่า อาณาจักรตามพรลิงค์ มีความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนา (5 คะแนน) หลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าอาณาจักรตามพรลิงค์ มีความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนา คือ พระ พุทธสิหิงค์ และพระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราช จากศิลาจารึกสุโขทัยที่กล่าวถึงการเผยแผ่ พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์จากนครศรีธรรมราช ในดินแดนสุโขทัย รวมทั้งการอัญเชิญพระพุทธ สิหิงค์ พระพุทธรูปที่สาคัญของไทยมาประดิษฐาน ยังเมืองนครศรีธรรมราช และจารึกหลักที่ 24 จารึกพระเจ้าจันทรภาณุหรือพระเจ้าศรีธรรมาโศราช ที่กล่าวถึงการสร้างพระบรมธาตุ เมือง นครศรีธรรมราช ที่มีความใหญ่โต สวยงามตามอิทธิพลจากลังกา แสดงถึงความศรัทธาใน พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท ในอาณาจักรตามพรลิงค์ได้เป็นอย่างดี 1. อาณาจักรศรีวิชัย มีอานาจและรุ่งเรืองในช่วงเวลาใด พุทธศตวรรษที่ 13-18 2. ความสาคัญของอาณาจักรศรีวิชัยในทางเศรษฐกิจคือ เป็นเมืองท่าการค้า 3. อาณาจักรศรีวิชัย มีพ่อค้าต่างชาติเข้ามาติดต่อค้าขาย ที่สาคัญ คือ ชาวจีน อินเดีย และอาหรับ 4. มหาสถูปทางพระพุทธศาสนาแบบมหายานที่ใหญ่ที่สุด ตั้งอยู่บนเกาะชวา คือ มหาสถูปบุโรพุทโธ 5. บันทึกของพระภิกษุอี้จิง เรียกชื่ออาณาจักรศรีวิชัย ว่า ซิ โล โฟ ซิ 6. สถาปัตยกรรมสาคัญของอาณาจักรศรีวิชัยในประเทศไทยคือ พระบรมธาตุไชยา วัดแก้ว วัดหลง 7. ประติมากรรมสาคัญของอาณาจักรศรีวิชัยในประเทศไทยคือ พระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร ปัทมปาณี 8. ศูนย์กลางของอาณาจักรศรีวิชัยบนเกาะสุมาตรา คือ เมืองปาเล็มบัง 9. ศูนย์กลางของอาณาจักรศรีวิชัยในประเทศไทย คือ เมืองไชยา 10. นักประวัติศาสตร์สันนิษฐานว่าอาณาจักรศรีวิชัยมีรูปแบบการปกครองแบบ สมาพันธรัฐ 11. อาณาจักรศรีวิชัยมีความเจริญรุ่งเรืองศาสนา คือ พระพุทธศาสนาแบบมหายาน และศาสนา พราหมณ์-ฮินดู 12. สินค้าสาคัญที่ผลิตในอาณาจักรศรีวิชัย นอกจากเครื่องเทศแล้วคือ ลูกปัดหิน ลูกปัดแก้ว 13. เงินตราที่ใช้ในอาณาจักรศรีวิชัย เรียกว่า เงินดอกจัน หรือเงินนะโม 14. เมืองท่าสาคัญของอาณาจักรศรีวิชัยที่ตั้งอยู่บริเวณรอบอ่าวบ้านดอนคือ เมืองพัน - พัน 15. อาณาจักรศรีวิชัยหมดอานาจลงในช่วงปลายพุทธศตวรรษที่ 18 โดยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักร ตามพรลิงค์ อาณาจักรศรีวิชัย
  • 6. ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. แหล่งโบราณคดีแหลมโพธิ์พุมเรียง มีความสาคัญต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อาณาจักรศรีวิชัย อย่างไร ให้นักเรียนอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ (2 คะแนน) แหล่งโบราณคดีแหลมโพธิ์ อาเภอไชยา จังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นเมืองโบราณลุ่มแม่น้าพุมเรียง มีพัฒนาการที่ต่อเนื่องยาวนานตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ จนถึงยุคประวัติศาสตร์อาณาจักรศรีวิชัย และพบหลักฐาน โบราณวัตถุจากจีน อินเดีย และอาหรับ เช่น ลูกปัดหิน เครื่องถ้วยสมัยราชวงศ์ถัง เหรียญเงินจีนโบราณ เครื่องถ้วยแก้วแบบเปอร์เซีย หลักฐานเหล่านี้แสดงให้เห็นว่าแหล่งโบราณคดี แหลมโพธิ์มีความสาคัญในฐานะเมืองโบราณที่มีความเจริญรุ่งเรืองทางการค้าทางทะเลเป็นอย่างมาก 2. ปัจจัยใดที่ทาให้อาณาจักรศรีวิชัยมีความเจริญรุ่งเรืองทางด้านการค้า ให้นักเรียนอธิบายและ ยกตัวอย่างประกอบ (4 คะแนน) อาณาจักรศรีวิชัย มีความเจริญรุ่งเรืองด้านการค้า เนื่องจากมีทาเลที่ตั้งเป็นเมืองท่าการค้าชายฝั่ง ทะเลในคาบสมุทรภาคใต้ บริเวณลุ่มแม่น้าตาปี และแม่น้าสายอื่น ๆ รวมทั้งชายฝั่งทะเลบริเวณเกาะ สุมาตรา และเกาะชวา เป็นจุดพักของพ่อค้าเดินเรือทะเล ติดต่อค้าขายซึ่งกันและกันระหว่าง มหาสมุทรฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตก ทาให้มีพ่อค้าต่างชาติ ทั้งจีน อินเดีย อาหรับ และชนชาติ อื่นๆ เข้าติดต่อค้าขาย ทาให้เกิดความรุ่งเรืองทางการค้า ประกอบกับอาณาจักรศรีวิชัยมีฐานะเป็น พ่อค้าคนกลางที่มีสินค้าที่หลากหลาย เป็นที่ต้องการของพ่อค้าทางทะเล เช่น ที่แหล่งโบราณคดี แหลมโพธิ์ ที่ปรากฏหลักฐานตั้งแต่ยุคก่อนประวัติศาสตร์ และหลักฐานที่ของชาวต่างชาติ เช่น จีน อาหรับ รวมทั้งลูกปัดชนิดต่างๆ เป็นจานวนมาก 3. พระบรมธาตุไชยา และพระโพธิสัตว์ปัทมปาณี แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาของ อาณาจักรศรีวิชัยอย่างไร (4 คะแนน) พระบรมธาตุไชยาสร้างขึ้นช่วงพุทธศตวรรษที่ 14-15 มีรูปแบบสถาปัตยกรรมเป็นแบบศรีวิชัย ซึ่ง แสดงถึงความรุ่งเรืองทางด้านพระพุทธศาสนาและสถาปัตยกรรมเจดีย์แบบศรีวิชัยที่นิยมสร้างเป็น แผนผังรูปกากบาท ส่วนพระโพธิสัตว์ปัทมปาณี เป็นพระโพธิสัตว์ที่มีความงดงามตามแบบศิลปะศรีวิชัย สร้างด้วย สาริด ชิ้นส่วนหลายไปจนเหลือแต่ท่อนบน แสดงถึงการยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาแบบมหายาน ในอาณาจักรศรีวิชัย หลักฐานทั้ง 2 อย่างแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาในดินแดนอาณาจักรศรี วิชัย ที่เจริญรุ่งเรืองจากการเป็นเมืองท่าการค้าในดินแดนคาบสมุทรภาคใต้เป็นอย่างดี
  • 7. 1. อาณาจักรหริภุญชัย เจริญุรุ่งเรืองอยู่ในช่วงอายุทางประวัติศาสตร์เท่าใด พุทธศตวรรษที่ 13-19 2. กษัตริย์พระองค์แรกของอาณาจักรหริภุญชัย คือ พระนางจามเทวี 3. อาณาจักรหริภุญชัยมีลักษณะทางภูมิศาสตร์การตั้งถิ่นฐานที่สาคัญคือตั้งอยู่ที่ราบลุ่มแม่น้า ที่ราบลุ่มแม่น้าปิงและที่ราบลุ่มแม่น้าวัง 4. หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เชื่อว่าฤๅษีวาสุเทพ เป็นผู้สร้างอาณาจักรหริภุญชัย คือ ตานานจามเทวีวงศ์ 5. เมืองสาคัญรองลงมาจากหริภุญชัย คือเมือง เขลางค์นคร (ลาปาง) 6. ศิลาจารึกของอาณาจักรหริภุญชัยในยุคแรกส่วนใหญ่ จารึกเป็นภาษา มอญโบราณ 7. อาณาจักรหริภุญชัย มีความเกี่ยวข้องกับการขยายอิทธิพลของอาณาจักรโบราณ คือ อาณาจักรทวารวดี และอาณาจักรละโว้ 8. เมืองโบราณในสมัยอาณาจักรหริภุญชัยในเขตจังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ เวียงมโน เวียงเถาะ และเวียงท่ากาน 9. โบราณสถานสาคัญของอาณาจักรหริภุญชัย คือ พระธาตุหริภุญไชย 10. พระธาตุหริภุญชัยสร้างขึ้นโดย พญาอาทิตยราช 11. พระพุทธศาสนาในอาณาจักรหริภุญชัย คือนิกาย เถรวาท 12. กษัตริย์องค์สุดท้ายของอาณาจักรหริภุญชัย คือ พระยายี่บา 13. พระมหากษัตริย์ที่ผนวกหริภุญไชยเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านนา คือ พญามังราย 14.ศิลปกรรมในยุคแรกของอาณาจักรหริภุญชัย ได้รับอิทธิพลจาก ศิลปะทวารวดีแบบลพบุรี 15. เมืองในลุ่มแม่น้าภาคกลางที่มีความเกี่ยวข้องกับอาณาจักรหริภุญชัย คือ เมืองละโว้ หรือลพบุรี ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ 1. เพราะเหตุใดอาณาจักรหริภุญชัย จึงมีความเจริญทางพระพุทธศาสนา ให้อธิบาย (4 คะแนน) อาณาจักรหริภุญชัยมีความเจริญทางพระพุทธศาสนา เพราะเมื่อพระนางจามเทวี ปฐมกษัตริย์แห่ง แคว้นหริภุญชัย ทรงนิมนต์พระมหาเถระจานวน 500 รูป จากเมืองละโว้มาด้วย เพื่อประดิษฐาน พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในแคว้นหริภุญชัย ถือได้ว่าเป็นความเปลี่ยนแปลงที่สาคัญซึ่งเกิดจาก การขยายตัวทางวัฒนธรรมทวารวดี จากเมืองละโว้ และเป็นการวางรากฐานพุทธศาสนาในดินแดน แอ่งที่ราบเชียงใหม่-ลาพูน ดังที่ตานานมูลศาสนากล่าวว่า “พระนางทรงสร้างกุฎีวิหารทั้งหลายให้ เป็นที่อยู่แก่ชาวเจ้าทั้งหลาย 500 องค์ ที่มาด้วยกับพระนางแต่เมืองละโว้โพ้น พระนางก็ทรง อุปัฏฐากเจ้าไททั้งหลาย ด้วยจตุปัจจัยสักกาคารวะทุกวันมิได้ขาด” 2. ปัจจัยใดบ้างที่ทาให้อาณาจักรหริภุญชัยมีความเจริญรุ่งเรือง ให้นักเรียนอธิบายและยกตัวอย่าง ประกอบให้ชัดเจน (3 คะแนน) ปัจจัยที่ทาให้อาณาจักรหริภุญชัยมีความเจริญรุ่งเรือง ได้แก่ การมีที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ที่เหมาะแก่การ ทาการเกษตรและการค้า เนื่องจากอาณาจักรหริภุญชัยตั้งอยู่บนที่ราบลุ่มแม่น้าปิง แม่น้ากวง และที่ อาณาจักรหริภุญชัยหรือ ลาพูน
  • 8. ราบลุ่มแม่น้าวัง ทาให้มีแหล่งน้าอุดมสมบูรณ์ และใช้เป็นเส้นทางการค้าระหว่างเมืองต่าง ๆ ทั้งทาง บก และทางน้า ทางด้านศิลปวัฒนธรรม ได้รับอิทธิพลทางศิลปกรรมแบบทวาวรวดีจากอาณาจักร ลพบุรี ทาให้เกิดการสร้างสรรค์ศิลปกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะของอาณาจักรหริภุญชัย และการมี สัมพันธ์อันดีกับชนชาติมอญแห่งอาณาจักรพุกาม จึงมีความรุ่งเรืองทางด้านอักษรศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม และการค้า เป็นอย่างยิ่ง 3. ให้นักเรียนระบุหลักฐานที่สาคัญในการศึกษาเกี่ยวกับอาณาจักรหริภุญชัย อย่างน้อย 6 หลักฐาน (3 คะแนน) หลักฐานที่ใช้ในการศึกษาเกี่ยวกับอาณาจักรหริภุญชัย มีหลากหลายประเภท ที่สาคัญได้แก่ หลักฐานประเภทตานาน เช่น ตานานมูลศาสนา ตานานจามเทวีวงศ์ หนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ หลักฐานประเภทสถาปัตยกรรม เช่น พระธาตุหริภุญชัย เจดีย์กู่กุด สุวรรณเจดีย์ รัตนเจดีย์ หลักฐานประเภทประติมากรรม เช่น พระพิมพ์ พระพุทธรูปดินเผา พระพุทธรูปหินทราย หลักฐานประเภทเครื่องปั้นดินเผา เช่น หม้อ คนโท ดินเผา หลักฐานประเภทจารึก เช่น จารึกภาษามอญโบราณ เป็นต้น 1. เพราะเหตุใดพื้นที่ภาคกลางจึงมีการตั้งเมืองและขยายเป็นแคว้น เป็นอาณาจักรมากกว่าพื้นที่อื่น ๆ สาเหตุที่ทาให้พื้นที่บริเวณภาคกลางของประเทศไทย มีการก่อตั้งบ้านเมืองและขยายตัวเป็นแคว้นที่ เจริญรุ่งเรืองมากกว่าพื้นที่อื่นๆ ของประเทศไทย เนื่องจากสภาพภูมิประเทศของภาคกลางเป็นที่ราบ ลุ่มแม่น้ากว้างใหญ่ มีความอุดมสมบูรณ์ เหมาะแก่การเพาะปลูก มีแม่น้าหลายสายไหลผ่านเหมาะ แก่การคมนาคม และเป็นเส้นทางการค้าออกสู่ทะเล ประกอบกับเมืองโบราณบางแห่งมีพื้นที่ติดต่อ กับชายทะเล ทาให้พัฒนาให้กลายเป็นเมืองท่าการค้า ติดต่อค้าขายกับดินแดนอื่นๆ ปัจจัยเหล่านี้ทา ให้ที่ราบลุ่มแม่น้าภาคกลาง มีความเหมาะสมต่อการตั้งถิ่นฐาน การทาการเพาะปลูกและการค้ากับ ดินแดนอื่นๆ อย่างกว้างขวาง และกลายเป็นศูนย์กลางทางการเมืองการปกครองที่สาคัญของ อาณาจักร 2. เพราะเหตุใดการก่อตั้งรัฐโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ จึงนิยมรับวัฒนธรรมอินเดียมาใช้มากกว่า อารยธรรมจีน เนื่องจากรัฐโบราณในดินแดนสุวรรณภูมิ มีพื้นที่ติดต่อกับชายทะเลทางด้านใต้ ทาให้ง่ายต่อการ ติดต่อค้าขายกับอินเดีย โดยมีเส้นทางการติดต่อสัมพันธไมตรีและการค้าทั้งทางบกและทางทะเล ทา ให้เกิดการรับเอาอารยธรรมอินเดียมาปรับใช้เป็นของตนเองมากกว่าอารยธรรมจีน ปรากฏเป็น หลักฐานทางด้านโบราณวัตถุ โบราณสถาน วรรณกรรม วัฒนธรรม ประเพณี และความเชื่อของผู้คน ในดินแดนสุวรรณภูมิอย่างกว้างขวาง และต่อเนื่องตั้งแต่ยุคสุวรรณภูมิ จนถึงยุคที่ดินแดนสุวรรณภูมิ พัฒนาเป็นอาณาจักรของชนชาติต่างๆ เช่น สุโขทัย อยุธยา กัมพูชา ลาว พม่า เป็นต้น กิจกรรมที่ 2 ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้
  • 9. 3. จงอธิบายความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม และการค้าขายให้ถูกต้อง พร้อม ยกตัวอย่างประกอบ ความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านศาสนา ศิลปะวัฒนธรรม ได้แก่การนับถือพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท จากหลักฐานที่ปรากฏ คือใบเสมาเมืองฟ้าแดดสูงยางและในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พระพุทธรูปศิลาองค์ใหญ่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติเจ้าสามพรยา และที่วิหารน้อยวัดหน้าพระเมรุ จ.พระนครศรีอยุธยา องค์พระปฐมเจดีย์ เจดีย์จุลประโทน พระพุทธรูปศิลา จ.นครปฐม แสดงให้เห็น ถึงความเจริญทางด้านศาสนา ซึ่งมีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมในสมัยทวารวดีใน ดินแดนประเทศไทย ความเจริญสมัยทวารวดีทางด้านการค้าขาย ได้แก่หลักฐานจากเครื่องประดับ ลูกปัดที่พบ ตามเมืองท่าการค้า เช่น กระบี่ พังงาน และเหรียญกษาปณ์ ที่ปรากฏในแหล่งโบราณคดีต่างๆ ใน ประเทศไทยแสดงให้เห็นว่าทวารวดี มีการติดต่อค้าขายกับดินแดนอื่น 4. อาณาจักรละโว้ได้รับอิทธิพลความเจริญทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมจากเขมรอย่างไร ให้ นักเรียนยกตัวอย่างและอธิบายประกอบ อาณาจักรละโว้ได้รับอิทธิพลความเจริญทางด้านศาสนาและศิลปวัฒนธรรมจากเขมรทางศาสนา พราหมณ์-ฮินดู ซึ่งได้เข้ามามีอิทธิพลทางด้านศาสนาและความเชื่อ จะเห็นได้จากสร้างพระปรางค์ สามยอด ปราสาทหินพิมาย ปราสาทหินเข้าพนมรุ้ง ปราสาทเมืองสิงห์ การสร้างเทวรูปประจาศาสน สถานต่างๆ และศิวลึงค์ นอกจากนี้ยังได้รับอิทธิพลของพระพุทธศาสนาเข้ามาในภายหลัง จะเห็นได้ จากการมีพระพุทธรูปที่มีลักษณะผสมผสานอยู่ในศาสนสถานต่างๆ ในประเทศไทย
  • 10. กิจกรรมที่ 3 ให้นักเรียนวิเคราะห์ที่มาของศิลปกรรมแล้วนาตัวอักษรด้านขวามือมาใส่ลงใน ช่องว่างหน้ารูปภาพให้ถูกต้อง ก.เจดีย์กู่กุด ลาพูน ข.พระบรมธาตุไชยา สุราษฎร์ธานี ค.พระพิมพ์ดินดิบ ศิลปะศรีวิชัย ง.พระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราช จ.ประติมากรรมสาริด ศิลปะลพบุรี ฉ.ปราสาทหินพิมาย นครราชสีมา ช.เครื่องประดับทองคา ศิลปะทวารวดี ซ.พระปฐมเจดีย์ นครปฐม ฌ.พระพุทธรูปนาคปรกศิลปะลพบุรี ญ.ประติมากรรมพระนารายณ์ ศิลปะลพบุรี ฎ.ประติมากรรมปูนปั้น ศิลปะทวารวดี ฏ.พระโพธิสัตว์สาริด ศิลปะศรีวิชัย ฐ.กู่คาวัดเจดีย์เหลี่ยม ลาพูน ฑ.พระพุทธรูปหินทราย ศิลปะลพบุรี ฒ.วัดพระธาตุหริภุญชัย ลาพูน ณ.พระพิมพ์จากเมืองโบราณคูบัว ราชบุรี ด.พระพุทธรูปศิลปะทวาราวดี นครปฐม ต.ประติมากรรมนูนต่าศิลปะทวารวดี ถ.หินทรายแกะสลักศิลปะร่วมแบบเขมรฯ ท. ศิลปกรรมอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย ธ.เจดีย์กู่กุด ลาพูน น.พระบรมธาตุไชยา สุราษฎร์ธานี บ.พระพิมพ์ดินดิบ ศิลปะศรีวิชัย ป.พระบรมธาตุเมืองนครศรีธรรมราช ผ.ประติมากรรมสาริด ศิลปะลพบุรี ฝ.ปราสาทหินพิมาย นครราชสีมา พ.เครื่องประดับทองคา ศิลปะทวารวดี ฟ.พระปฐมเจดีย์ นครปฐม ภ.พระพุทธรูปนาคปรกศิลปะลพบุรี ม.ประติมากรรมพระนารายณ์ ศิลปะลพบุรี ย.ประติมากรรมปูนปั้น ศิลปะทวารวดี ร.พระโพธิสัตว์สาริด ศิลปะศรีวิชัย ล.กู่คาวัดเจดีย์เหลี่ยม ลาพูน ว.พระพุทธรูปหินทราย ศิลปะลพบุรี ศ.วัดพระธาตุหริภุญชัย ลาพูน ษ.พระพิมพ์จากเมืองโบราณคูบัว ราชบุรี ส.พระพุทธรูปศิลปะทวาราวดี นครปฐม ห.ประติมากรรมนูนต่าศิลปะทวารวดี ฬ.หินทรายแกะสลักศิลปะร่วมแบบเขมรฯ อ. 1……ฐ…….. 2……ข…….. 3……ด……..
  • 11. 4……ฒ…….. 5……ฎ…….. 8……ฉ…….. 9……ก…….. 10……ต…….. 11……ค…….. 12……จ……..
  • 12. 13……ฏ…….. 14……ฑ…….. 15……ฌ…….. 16……ฎ…….. 17……ญ…….. 18……ถ…….. 19……ง…….. 20……ช…….. 21……ซ……..
  • 13. 1. จุดเริ่มต้นความเจริญของอาณาจักรทวารวดี จัดได้ว่าเป็นวัฒนธรรมที่มีการผสมผสานระหว่าง วัฒนธรรมใดต่อไปนี้ 1. อินเดีย – ละโว้ 2. ลพบุรี – ศรีวิชัย 3. อินเดีย - วัฒนธรรมท้องถิ่น 4. ศรีวิชัย - วัฒนธรรมท้องถิ่น 2. อาณาจักรใดต่อไปนี้ ที่ปรากฏความเจริญด้านพระพุทธศาสนาทางภาคใต้ของไทย 1. อาณาจักรทวารวดี 2. อาณาจักรลังกาสุกะ 3. อาณาจักรตามพรลิงค์ 4. อาณาจักรฟูนัน 3. จังหวัดใดต่อไปนี้ มีความสัมพันธ์กับที่ตั้งของอาณาจักรโบราณในอดีต 1. นครพนม : อาณาจักรอิศานปุระ 2. สุราษฎร์ธานี : อาณาจักรศรีวิชัย 3. ลาปาง : อาณาจักรหริภุญชัย 4. นครศรีธรรมราช : อาณาจักรลังกาสุกะ 4. ข้อใดต่อไปนี้ ไม่สัมพันธ์กัน เกี่ยวกับอาณาจักรโบราณ และโบราณสถานที่พบ 1. พระปฐมเจดีย์ : อาณาจักรทวารวดี 2. พระธาตุพนม : อาณาจักรศรีโคตรบูรณ์ 3. พระธาตุหริภุญชัย : โยนกเชียงแสน 4. พระบรมธาตุเจดีย์ : อาณาจักรตามพรลิงค์ 5. เหตุผลข้อใดที่แสดงถึงการแพร่กระจายของวัฒนธรรมทวารวดีอย่างกว้างขวางในประเทศไทย 1. ถือเป็นวัฒนธรรมยุคเริ่มต้นของดินแดนต่าง ๆ ในประเทศไทย 2. มีความต่อเนื่องทางประวัติศาสตร์ที่ชัดเจนตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน 3. มีตานาน พงศาวดาร ที่สนับสนุนการเกิดขึ้นและความเจริญรุ่งเรืองของทวารวดีอย่างชัดเจน 4. มีการค้นพบหลักฐานที่แสดงถึงวัฒนธรนรมทวารวดี ครอบคลุมเกือบทุกภาคของประเทศไทย 6. ข้อใดต่อไปนี้สรุปเกี่ยวกับอาณาจักรทวารวดีได้ชัดเจนที่สุด 1. เป็นอาณาจักรแห่งแรกในดินแดนไทย 2. ช่วยถ่ายทอดวัฒนธรรมไปสู่ดินแดนอื่น 3. นาดินแดนไทยเข้าสู่สมัยประวัติศาสตร์ 4. รวมดินแดนของคนไทยให้เป็นปึกแผ่น 7. สิ่งใดต่อไปนี้ แสดงถึงมรดกสาคัญของอาณาจักรตามพรลิงค์ที่มีต่อดินแดนไทย 1. เป็นศูนย์กลางการถ่ายทอดอารยธรรมอินเดียสู่ดินแดนสุวรรณภูมิ 2. มีส่วนช่วยเผยแผ่พระพุทธศาสนานิกายเถรวาทในดินแดนต่าง ๆ ของไทย 3. เป็นจุดเริ่มต้นในการสร้างสรรค์รูปแบบศิลปกรรมที่เป็นเอกลักษณ์เด่นของไทย 4. เป็นศูนย์กลางในการศึกษาและเผยแพร่ศิลปะ วิทยาการ จากการติดต่อค้าขาย 8. ข้อใดเป็นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า อาณาจักรละโว้เคยตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของขอมมาก่อน 1. ข้อความในศิลาจารึกส่วนใหญ่ที่บันทึกด้วยอักษรขอม 2. รูปแบบการปกครองที่มีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข 3. ภาพแกะสลักที่แสดงลักษณะการแต่งกายของชนชั้นสูงแบบขอม 4. ศาสนสถานและเทวรูปที่มีอิทธิพลของศิลปะแบบขอมหลายแห่ง 9. จากการศึกษาประวัติศาสตร์ของอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย พบว่าการตั้งราชานีของ อาณาจักรโบราณส่วนใหญ่ มักจะเลือกทาเลที่ตั้งของอาณาจักร ตามข้อใด 1. พื้นที่ราบระหว่างหุบเขาที่มีแม่น้าไหลผ่าน 2. พื้นที่ราบลุ่มแม่น้าที่มีความอุดมสมบูรณ์ 3. พื้นที่ดอนกว้างขวาง น้าไม่ท่วมถึง 4. พื้นที่บริเวณชายฝั่งทะเล กิจกรรมที่ 4 ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้อง
  • 14. 10. ปัจจัยใดที่เป็นสาเหตุให้อาณาจักรศรีวิชัยเสื่อมอานาจและล่มสลายจากคาบสมุทรมลายู 1. การถูกรุกรานจากกษัตริย์ของอาณาจักรลังกาสุกะที่ยกทัพมาโจมตีศรีวิชัย 2. การเกิดภัยธรรมชาติจนภูมิประเทศเกิดการเปลี่ยนแปลง มีผลต่อการค้าขายของอาณาจักร 3. การล่มสลายของเมืองท่าการค้าที่สาคัญของอาณาจักร เนื่องจากจีนขยายการค้าทางทะเล 4. ไม่สามารถรักษาความเข้มแข็งและการคัดคานอานาจของอาณาจักรใหม่ที่รุ่งเรืองขึ้นภายหลังได้ 11. เพราะเหตุใด การศึกษาเรื่องของอาณาจักรโบราณในดินแดนประเทศไทย จึงยังไม่มีความชัดเจน และไม่สามารถสรุปถึงความเป็นมาของดินแดนต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจน 1. การขาดนักประวัติศาสตร์และโบราณคดีในการศึกษาค้นคว้าอย่างจริงจัง 2. การขาดแคลนทางด้านบุคลากรผู้เชี่ยวชาญและงบประมาณที่มีอย่างจากัด 3. การค้นพบจารึกส่วนใหญ่ เป็นจารึกอักษรอื่น ซึ่งเป็นภาษาที่ยังแปลความหมายไม่ได้ 4. ร่องรอย หลักฐานทางประวัติศาสตร์ ในการสืบค้นข้อมูลหลงเหลืออยู่น้อย และขาดความชัดเจน 15. อาณาจักรตามพรลิงค์ รับอิทธิพลทางวัฒนธรรมจากไหนมากที่สุด 1. อินเดีย-จีน 2. มอญ-พม่า 3. อินเดีย-ลังกา 4. ล้านนา-สุโขทัย 12.ภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏ เกี่ยวข้องกับอาณาจักรใด 1. อาณาจักรศรีวิชัย 2. อาณาจักรลังกาสุกะ 3. อาณาจักรหริภุญชัย 4. อาณาจักรทวารวดี 13.ภาพหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ปรากฏ เกี่ยวข้องกับอาณาจักรใด 1. อาณาจักรศรีวิชัย 2. อาณาจักรลังกาสุกะ 3. อาณาจักรหริภุญชัย 4. อาณาจักรทวารวดี 14.ภาพโบราณสถานดังกล่าว ได้รับอิทธิพลของอารยธรรมใดและ เกี่ยวข้องกับอาณาจักรใดต่อไปนี้ 1. อิทธิพลอารยธรรมทวราวดี : อาณาจักรศรีวิชัย 2. อิทธิพลอารยธรรมขอม : อาณาจักรละโว้ 3. อิทธิพลอารยธรรมมอญ: อาณาจักรหริภุญชัย 4. อิทธิพลอารยธรรมศรีวิชัย : อาณาจักรทวารวดี
  • 15. 16. ข้อใดกล่าวถึงอาณาจักรตามพรลิงค์ ไม่ถูกต้อง 1. เคยอยู่ในอานาจของอาณาจักรล้านนา 2. พระภิกษุสงฆ์นาพระพุทธศาสนาไปเผยแพร่สุโขทัย 3. เคยมีการติดต่อสัมพันธ์กับลังกาเรื่องพระพุทธศาสนา 4. พุทธศตวรรษที่ 18 ตามพรลิงค์ได้เปลี่ยนชื่อเป็นนครศรีธรรมราช 17. จากจารึกที่ลพบุรี แสดงให้เห็นว่าเขมรได้ขยายอาณาเขตลงไปถึงอาณาจักรใดทางภาคใต้ 1. ไชยา 2. ศรีวิชัย 3. มะละกา 4. นครศรีธรรมราช 18. ตานานสิงหนวัติเกี่ยวข้องกับแคว้นใด 1. พะเยา 2. สุพรรณภูมิ 3. โยนกเชียงแสน 4. หิรัญนครเงินยาง 19. การค้นพบเสมาหินที่เมืองฟ้าแดดสูงยางจานวนมาก สะท้อนหลักฐานทางประวัติศาสตร์ในเรื่องใด 1. วัฒนธรรมขอมได้เจริญรุ่งเรืองอย่างกว้างขวางในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2. ศิลปะทวารวดีได้เจริญรุ่งเรืองและขยายอิทธิพลของศิลปะสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 3. แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทางพระพุทธศาสนาจากวัฒนธรรมขอมสู่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 4. ชุมชนโบราณในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเริ่มมีการนับถือศาสนาฮินดูจากอิทธิพลขอม 20. ศูนย์กลางของอาณาจักรทวารวดีในดินแดนประเทศไทยที่ปรากฏหลักฐานในระยะแรกคือข้อใด 1. เมืองอู่ทอง สุพรรณบุรี 2. เมืองนครชัยศรี นครปฐม 3. เมืองอู่ทองและเมืองนครชัยศรี 4. เมืองคูบัว ราชบุรี 21. ธรรมจักรกับกวางหมอบ จารึกคาถาเยธัมมา แสดงถึงความศรัทธาของศาสนาใด 1. พระพุทธศาสนานิกายมหายาน 2. พระพุทธศาสนานิกายเถรวาท 3. การนับถือผี บูชาพญานาค 4. ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู 22. ชาวละโว้มีพัฒนาการฝีมือการทาเครื่องมือเครื่องใช้มากกว่าเรื่องอื่นๆ คือข้อใด (mwit 54) 1. เครื่องถ้วยกระเบื้อง 2. เครื่องแก้ว 3. เครื่องสาริด 4. เครื่องปั้นดินเผา 23. ส่วนมากนักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์อาณาจักรละโว้จากหลักฐานใด 1. จารึกเขมร 2. สถาปัตยกรรม 3. เครื่องสาริด 4. ประติมากรรม 24. ข้อใดที่ไม่ใช่หลักฐานทางโบราณคดีของอาณาจักรละโว้ที่แสดงให้เห็นว่าได้รับอิทธิพลจากขอม 1. ภาพสลักนาฏกรรม 2. สถาปัตยกรรม 3. ประติมากรรม 4. พิธีกรรม 25. หลักฐานชิ้นใด ไม่เกี่ยวข้อง กับการศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของอาณาจักรซิโลโฟซิ 1. หนังสือจูฟานฉี 2. บันทึกของพระภิกษุอี้จิง 3. ศิลาจารึก 8 หลักบนเกาะสุมาตรา 4. จารึกหลักที่ 24 ของพระเจ้าจันทรภาณุ 26. ถ้านักเรียนเป็นนักประวัติศาสตร์ต้องการศึกษาศิลปะสมัยศรีวิชัย นักเรียนจะเดินทางไปศึกษาที่ใด 1. สวนโมกขพลาราม 2. จตุคามรามเทพ 3. พระธาตุไชยา 4. พระธาตุเมืองนคร 27. ข้อใดแสดงถึงอิทธิพลของอาณาจักรศรีวิชัยบนเกาะชวา ประเทศอินโดนีเซีย (mwit 54) 1. มหาสถูปบุโรพุทโธ 2. รูปปั้นพระโพธิสัตว์อวโลกิเตศวร 3. กลองมโหระทึกสาริด 4. พระพุทธรูปปางนาคปรก 28. การศึกษาความเป็นมาของอาณาจักรหริภุญชัย ควรจะศึกษาจากหลักฐานในข้อใด(mwit 54) 1. ตานานเมืองนพบุรีศรีนครพิงค์ 2. ตานานจามเทวีวงศ์ 3. ตานานชินกาลมาลีปกรณ์ 4. ตานานมูลศาสนา