SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
พัฒ นาการความเป็น มาของพระไตรปิฎ ก
การสัง คายนารวบรวมพระไตรปิฎ ก
พระธรรมวินัย คือคำา สั่งสอนของพระพุทธเจ้านั้น พระสาวก
ทั้งหลายทรงจำาสืบต่อกันมาด้วยวิธีมุขปาฐะ คือสั่งสอนกันจากปาก
ของอาจารย์สู่โสตประสาทของศิ ษย์ แล้ว ท่อ งบ่ นสาธยายทบทวน
สืบต่อกันนับพันปี จึงได้จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรลงบนในลาน
เนื่ อ งจากพระพุ ท ธองค์ รั บ สั่ ง ว่ า พระธรรมวิ นั ย คื อ พระ
ไตรปิ ฎ กนั้ น จะอยู่ เ ป็ น องค์ แ ทนพระศาสดา ดั ง นั้ น หลั ง จากที่
พระพุทธองค์ดับขันธปรินิพพานได้ ๓ เดือน พระสาวกทั้งหลายจึง
ได้ ทำา การสั ง คายนา คื อ รวบรวมจั ด หมวดหมู่ พ ระธรรมวิ นั ย
สั ง คายนา แปลว่ า สวดพร้ อ มกั น คื อ รวบรวมจนลงกั น แล้ ว สวด
สาธยายพร้อมกัน
สัง คายนาในชมพูท วีป ๓ ครั้ง
การสังคายนานั้นมีมาตามลำา ดับในเมื่อมีเหตุการณ์ที่ให้ต้อง
สังคายนา นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานไม่นาน พระสาวกทั้ง
หลายทำาสังคายนาในอินเดีย ๓ ครั้ง คือ
ปฐมสังคายนา สังคายนาครั้งที่ ๑ พระสาวก ๕๐๐ รูป กระทำา
ที่ ถำ้า
สั ต ต บ ร ร ณ คู ห า
กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน
ได้ ๓ เดือน พระเจ้าอชาตศัตรู ทรงอุปถัมภ์
ทุ ติ ย สั ง คายนา สั ง คายนาครั้ ง ที่ ๒ พระสาวก ๗๐๐ รู ป
กระทำา ที่ วั ด วาลุ ก าราม กรุ ง เวสาลี แคว้ น วั ช ชี เมื่ อ พระพุ ท ธเจ้ า
เสด็จ ดั บขั น ธปริ นิ พ พานได้ ๑๐๐ ปี พระเจ้ า กาฬาโศกราช ทรง
อุปถัมภ์
ตติ ย สั ง คายนา สั ง คายนาครั้ ง ที่ ๓ พระสาวก ๑,๐๐๐ รู ป
กระทำาที่วัดอโศการาม กรุงปาฏลีบุตร แคว้นมคธ เมื่อพระพุทธเจ้า
เสด็ จ ดั บ ขั น ธปริ น พพานได้ ๒๑๘ ปี (บางแห่ ง ว่ า ๒๓๔ ปี บ้ า ง
๒๘๗ บ้าง) พระเจ้าอโศกมหาราช ทรงอุปถัมภ์
สัง คายนาในศรีล ัง กา ๔ ครั้ง
2

เมื่อ ทำา สังคายนาครั้ ง ที่ ๓ เสร็ จ แล้ ว พระโมคคั ล ลี บุต รติ ส ส
เถระประธานสงฆ์ พิจารณาเห็นว่า พระพุทธศาสนาจะไม่ดำารงมั่น
ในอินเดีย จึงขอความอุป ถัม ภ์จ ากพระเจ้ าอโศกมหาราช เพื่ อส่ ง
สมณทูต ไปเผยแผ่พระพุ ทธศาสนาในนานาประเทศ ๙ สายด้ วย
กัน สายที่สำาคัญมีผลงานปรากฏมาจนถึงปัจจุบัน คือสายของพระ
มหิ น ทเถระกั บ คณะ ท่ า นลงมาเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนาที่ เ กาะศรี
ลังกา ได้มีการสังคายนา ๔ ครั้ง โดยนับต่อจากอินเดีย คือ
จตุ ต ถสั ง คายนา สั ง คายนาครั้ ง ที่ ๔ พระสาวกทั้ ง หลาย
ก ร ะ ทำา
เ มื่ อ พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า เ ส ด็ จ ดั บ ขั น ธ
ปรินพพานได้ ๒๓๘ ปี พระมหินทเถระเป็นประธานสงฆ์ พระเจ้า
เทวานัมปิยติสสะ ทรงอุปถัมภ์
ปั ญ จมสั ง คายนา สั ง คายนาครั้ ง ที่ ๕ พระสาวกทั้ ง หลาย
กระทำา เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินพพานได้ ๔๓๓ ปี พระ
เจ้าวัฏฏคามณีอภัยทรงอุปถัมภ์ เมื่ อ ทำา สั ง คายนาครั้ ง ๕ เสร็ จ
พระสาวกทั้งหลาย ตกลงกันจารึกพระไตรปิฎกและอรรถกถาเป็น
ลายลักษณ์ลงบนใบลาน
ฉัฏฐสังคายนา สังคายนาครั้งที่ ๖ พระพุทธโฆสาจารย์ ลงมา
แปลอรรถกถาภาษาสิ ง หลกลั บ เป็ น ภาษามคธ เมื่ อ พระพุ ท ธเจ้ า
เสด็จดับขันธปรินพพานได้ ๙๕๖ ปี
สัตตมสังคายนา สั งคายนาครั้ งที่ ๗ พ.ศ. ๑๕๘๗ พระเจ้ า
ปรั ก กมพาหุ ได้ นิ ม นต์ พ ระสาวกทั้ ง หลาย รจนาคำา อธิ บ ายพระ
ไตรปิฎกและอรรถกถา เรียกว่า ฎีกา
พระไตรปิฎ กเข้า สู่แ ดนสยาม
ช่วงสมัยสุโขทัย พระสงฆ์ชาวสยาม ได้ไปศึกษาที่ลังกาแล้ว
นำา พระไตรปิ ฎ กอรรถกถาและฎี ก าเข้ า มาจารจารึ ก สื บ ต่ อ กั น มา
จากสมัย ล้านนา สมัยสุ โขทั ย ผ่ านสมั ยกรุ งศรี อ ยุ ธ ยา กรุงธนบุ รี
ถึงกรุงรัตนโกสินทร์ คัดลอกจารจารึกสืบต่อกันเป็นเวลาช้านาน
เนื่ อ งจากเมื่ อ ประมาณช่ ว ง พ.ศ. ๑๕๐๐-๑๗๐๐ พระพุ ท ธ
ศาสนาในศรีลังกา ได้รับการทะนุบำารุงทางด้านการศึกษาจนเจริญ
รุ่งเรืองสืบมา มีกิตติศัพท์แพร่มาถึงสยามประเทศ พระสงฆ์ในดิน
แดนนี้จึงพากั นไปศึก ษาพระพุ ท ธศาสนาที่ ศ รี ลั ง กาแล้ ว นำา คั ม ภี ร์
พระไตรปิฎกอรรถกถาและฎีกาเข้ามา ซึ่งปรากฏตามหลักฐานใน
หนังสือตำานานมูลศาสนาว่า
“พ ร ะ ม ห า สุ ริ น ท เ ถ ร ะ ใ ห้ พ ร ะ ญ า ณ คั ม ภี ร ะ ไ ป โ ร ห ณ
ชนบท(ในศรี ลั ง กา) รั บ พระศาสนา พระพุ ท ธรู ป ต้ น โพธิ์ พระ
3

ไตรปิ ฎ ก พร้ อ มทั้ ง อั ก ษรที่ ใ ช้ เ ขี ย นภาษาบาลี ก ลั บ มาเมื่ อ พ.ศ.
๑๙๗๓”
สัง คายนาในสยามประเทศ
เมื่ อ มี พ ระไตรปิ ฎ กอรรถกถาฎี ก า ที่ นำา เข้ า มาจากศรี ลั ง กา
แล้ว ก็เกิดมีการจารจารึกลงบนใบลาน การจารจารึกในแต่ละฉบับ
ย่อมมีข้อผิดพลาดบกพร่อง จึงเป็นเหตุให้ทำา สังคายนาตรวจสอบ
คัมภีร์พระไตรปิฎกฉบับต่างๆ คือ
อั ฏ ฐมสั ง คายนา สั ง คายนาครั้ ง ที่ ๘ เมื่ อ พ.ศ. ๒๐๒๐
พระเจ้าติโลกราช แห่งล้านนา ได้นิมนต์พระภิกษุสงฆ์ชาวล้านนา
กระทำาสังคายนาพระไตรปิฎกแล้วจารึกลงใบลานด้วยอักษรธรรม
ล้านนา ที่วัดโพธาราม เมืองเชียงใหม่ กระทำาอยู่ ๑ ปี จึงเสร็จ
นวมสั ง คายนา สั ง คายนาครั้ ง ที่ ๙ เมื่ อ พ.ศ. ๒๓๓๑ สมั ย
รั ต น โ ก สิ น ท ร์
พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ
พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกมหาราช ได้ โ ปรดเกล้ า อาราธนาพระ
เถรานุ เ ถระเป็ น พระสั ง คี ติ ก าจารย์ จำา นวน ๒๑๘ รู ป และเชิ ญ
ศาสนบั ณ ฑิ ต ผู้ ท รงความรู้ จำา นวน ๓๒ ท่ า น ทำา การสั ง คายนา
พระไตรปิฎก ชำาระตรวจสอบ
นำา คั ม ภี ร์ พ ระไตรปิ ฎ กที่ มี อ ยู่
ทั้งหมดมาสอบทานกันแล้วแก้ไขคำา ที่บกพร่องให้ถูกต้อง ทำา ที่วัด
พระศรีสรรเพชญ์ (วัดมหาธาตุฯ ท่าพระจันทร์) กรุงรัตนโกสินทร์
กระทำาอยู่ ๕ เดือน จึงเสร็จ
ทสมสังคายนา สังคายนาครั้ งที่ ๑๐ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑ ได้มี
ก า ร สั ง ค า ย น า พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก
ที่
วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพมหานคร มีพระสงฆ์เข้าประชุม
เป็นพระสังคีติกาจารย์ จำานวน ๑๑๐ รูป กระทำาอยู่ ๖ ปี เสร็จแล้ว
ได้ มี ก ารจั ด พิ ม พ์ พ ระไตรปิ ฎ กเป็ น เล่ ม หนั ง สื อ เป็ น ครั้ ง แรกใน
ประเทศไทย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ทรง
อุปถัมภ์
เอกาทสมสังคายนา สั งคายนาครั้ งที่ ๑๑ เมื่ อ พ.ศ. ๒๕๓๐
ไ ด้ มี ก า ร สั ง ค า ย น า พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก
ที่วัดมหาธาตุฯ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพมหานคร กระทำาอยู่ ๒ ปี จึง
เสร็ จ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช เป็ น องค์
อุปถัมภ์ พร้อมด้วยรัฐบาล
1

ศ.ดร. ประเสริฐ ณ นคร, ปวงคำา ตุยเขียว. ตำา นานมูล ศาสนา,
้
(กรุงเทพมหานคร : ศักดิโสภาการพิมพ์, ๒๕๓๗), หน้า ๒,๑๔๐–๑๔๑.
1
4

การจารึก และการพิม พ์พ ระไตรปิฎ กในประเทศไทย
พ.ศ. ๒๔๓๑ ที่ทำาสังคายนาครั้งที่ ๑๐ นั้น เนื่องในวโรกาสที่
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสวยราชย์ได้ ๒๕ ปี ได้
มี พ ระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ให้ ก รมหมื่ น วชิ ร ญาณวโรส และพระ
เถรานุเถระทั้งหลายช่วยกันชำา ระคัดลอกตัวขอมในคัมภีร์ใบลาน
เปลี่ยนเป็นอักษรไทย พิมพ์เป็นเล่มหนังสือได้จำานวน ๓๙ เล่ม เริ่ม
ชำา ระคั ด ลอกจั ด พิ ม พ์ ตั้ ง แต่ พ.ศ.๒๔๓๑ สำา เร็ จ เมื่ อ พ.ศ.๒๔๓๖
จำานวน ๑,๐๐๐ ชุด
พ.ศ. ๒๔๖๘ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่
๗ โปรดเกล้าฯให้ชำาระจัดพิมพ์พระไตรปิฎกเรียกชื่อว่า ฉบับสยาม
รั ฐ มี ต ราช้ า งเป็ น เครื่ อ งหมาย ครบ ๔๕ เล่ ม ดำา เนิ น การตั้ ง แต่
พ.ศ.๒๔๖๘ เสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๓
พ.ศ. ๒๔๘๓ สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล
กั บ ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ
พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุ ลยเดช ต่อกัน ได้มีการแปลพระไตรปิ ฎก
เป็นภาษาไทย แล้วจัดพิมพ์ เริ่มดำาเนินการ พ.ศ. ๒๔๘๓ เสร็จเมื่อ
พ.ศ. ๒๕๐๐ จัดพิมพ์จำานวน ๒,๕๐๐ ชุด ชุดละ ๘๐ เล่ม
พ.ศ. ๒๕๑๔ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ภูมิพลอดุลยเดช ได้เสวยราชสมบัติมาครบ ๒๕ ปี ได้มีการจัดพิมพ์
พระไตรปิฎกภาษาไทย เรียกชื่อว่า พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับ
หลวง พิมพ์จำานวน ๒,๐๐๐ ชุด ชุดละ ๔๕ เล่ม
พ.ศ. ๒๕๒๑ กรมการศาสนา ได้ ดำา เนิ น การจั ด พิ ม พ์ พ ระ
ไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับหลวง อีกครั้งหนึ่ง พิมพ์จำา นวน ๒,๐๐๐
ชุด ชุดละ ๔๕ เล่ม
พ.ศ. ๒๕๒๕ กรุงรัตนโกสินทร์ ได้ดำารงมั่นคงมาครบ ๒๐๐ ปี
ทางคณะสงฆ์ได้ดำา เนินการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับ
หลวง อีกครั้งหนึ่ง พิมพ์จำานวน ๓,๐๐๐ ชุด ชุดละ ๔๕ เล่ม
พ.ศ. ๒๕๓๐ เนื่ อ งในวโรกาสที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่
ภูมิพลอดุลยเดช มีพระชนมายุครบ ๕ รอบ ทางคณะสงฆ์ได้ดำาเนิน
การจัดพิมพ์พระไตรปิฎกภาษาไทย เรียกชื่อว่าฉบับสังคีติ อีกครั้ง
หนึ่ง
มหาจุฬ าลงกรณราชวิท ยาลัย กับ พระไตรปิฎ ก
พ.ศ. ๒๕๐๐ พระเถรานุ เถระผู้บ ริ หารมหาจุฬ าลงกรณราช
วิทยาลัย ได้ดำาเนินการตรวจชำาระจัดพิมพ์พระไตรปิฎกภาษาบาลี
5

จำา น ว น ๔ ๕ เ ล่ ม เ ส ร็ จ เ มื่ อ พ .ศ .๒ ๕ ๓ ๕ เ รี ย ก ชื่ อ ว่ า ฉ บั บ
มหาจุฬาเตปิฏกำ ได้จัดงานสมโภชพระไตรปิฎก ฉบับภาษาบาลีกับ
อ ร ร ถ ก ถ า ภ า ษ า บ า ลี ที่ อ า จ า ร ย์
พร รั ต นสุ ว รรณ ดำา เนิ น การตรวจชำา ระจั ด พิ ม พ์ เมื่ อ ๑๒ – ๒๐
กันยายน ๒๕๓๕
พ.ศ. ๒๕๓๕ มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย ปรารภการที่
สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเจริญพระชนมายุ
ครบ ๖๐ พรรษา ได้ดำา เนิ นการแปลพระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบั บ
มหาจุฬาเตปิฏกำ เป็นภาษาไทย แปลและจัดพิมพ์เสร็จเรียบร้อย ปี
๒๕๓๙ จั ด งานสมโภช เมื่ อ วั น อาทิ ต ย์ ที่ ๗ พฤศจิ ก ายน พ.ศ.
๒๕๔๒ จำานวน ๖,๐๐๐ ชุด ชุดละ ๔๕ เล่ม
ปัจจุบัน มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีพระไตรปิฎก ฉบับ
ภาษาบาลี ๔๕ เล่ ม ชุ ด และฉบั บ ภาษาไทย ๔๕ เล่ ม ชุ ด มี อ รรถ
กถา–ฎีกา–ปกรณวิเสส จำา นวน ๑๐๒ เล่ ม กำา ลั งดำา เนิ นการแปล
คัมภีร์อรรถกถาภาษาบาลีเป็นภาษาไทย
ระบบสืบ ค้น พระไตรปิฎ กด้ว ยคอมพิว เตอร์
ประเทศไทยของเรา มีพระไตรปิฎกฉบับที่จารลงบนใบลาน
ร้ อ ยเชื อ กเป็ น ฉบั บ เรี ย กว่ า “ผู ก ” รวมหลายๆ ผู ก เรี ย กว่ า “บั้ น ”
ฉบั บ ที่ ตี พิ ม พ์ เ ป็ น เล่ ม หนั ง สื อ จำา นวน ๔๕ เล่ ม ทั้ ง ภาษาบาลี แ ละ
ภาษาไทย และฉบั บ ที่ จ ารึ ก ลงบนแผ่ น หิ น อ่ อ น จำา นวน ๑,๔๑๘
แผ่น ประดิษฐานอยู่ในมหาวิหารที่บริเวณพุทธมณฑล
นอกจากจะมี พ ระไตรปิ ฎ กฉบั บ ต่ า งๆ ดั ง ที่ ก ล่ า วยั ง มี พ ระ
ไตรปิฎก ฉบับคอมพิวเตอร์ เป็ นพระไตรปิ ฎกฉบั บ CD–ROM ใช้
เปิ ด อ่ า นและศึ ก ษาด้ ว ยเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ พระไตรปิ ฎ กฉบั บ
คอมพิ ว เตอร์ คื อ พระไตรปิ ฎ กที่ จั ด พิ ม พ์ ป้ อ นข้ อ มู ล เข้ า เครื่ อ ง
คอมพิวเตอร์แล้วบันทึกลงบนแผ่น CD–ROM สร้างระบบฐานข้อมูล
เป็นโปรแกรมสืบค้นข้อความที่ต้องการแล้วพิมพ์ลงกระดาษปริ้นส์
ออกมา เหตุ ที่ เ กิ ด พระไตรปิ ฎ กฉบั บ คอมพิ ว เตอร์ ก็ เ นื่ อ งมาจาก
ปริมาณที่มากมายของพระไตรปิฎก ซึ่งทำา ให้การบันทึก การเก็บ
รักษา การนำา มาใช้ศึกษาค้นคว้าเป็นไปด้วยความยากลำา บาก จึง
ได้ มี ก ารจั ด ทำา พระไตรปิ ฎ กฉบั บ CD–ROM เมื่ อ ปี ๒๕๓๑ โดย
สำา นั ก คอ มพิ วเ ต อ ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ม หิ ด ล พ ระ ไต รปิ ฎ ก ฉ บั บ
คอมพิวเตอร์นั้นรวมอรรถกถาด้วยมีปริมาณถึง ๔๓๐ ล้านตัวอักษร
เฉพาะแผ่น CD–ROM ที่บันทึกข้อมูลสามารถบันทึกข้อมูลได้สูงถึง
๗๐๐ ล้านตัวอักษร
6

ปัจจุบันมีพระไตรปิฎกฉบับคอมพิวเตอร์หรือฉบับ CD–ROM
หลายฉบั บ คื อ ฉบั บ ฉั ฏ ฐสั ง คายนา (Chatฺฺtฺฺha Sangayana)
ของท่ า นโกเอ็ น ก้ า (S.N. Goenka) เป็ น ภาษาบาลี ชุ ด ที่ ๓
(version 3) บรรจุคัมภีร์ภาษาบาลี จำานวน ๒๑๗ เล่ม
พระไตรปิฎก VCD ROM ชุดพระไตรปิฎกอรรถกถาไทยของ
มหามกุฏราชวิทยาลัย ฉบับกองทุนใต้ ร่ม เงาพระบรมสารีริ กธาตุ
เนื่องในโอกาสพุทธพิธีบูชาพระบรมสารีริกธาตุในวันอาสาฬหบูชา
ณ บรมบรรพต (ภูเขาทอง) วัดสระเกศ ๒๕๔๘.
สำา หรับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ดำา เนินการจัดทำา พระ
ไตรปิฎกภาษาไทยบันทึกลงแผ่น CD–ROM เสร็จแล้วกำาลังจะเปิด
ตั ว ให้ ใ ช้ ค้ น คว้ า ในช่ ว งต้ น ปี ๒๕๕๐ ใช้ ชื่ อ ว่ า MCU.Trai พระ
ไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับคอมพิวเตอร์
พระไตรปิฎ ก ๔๕ เล่ม
พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก นั้ น เ ป็ น คั ม ภี ร์ ที่ บั น ทึ ก คำา สั่ ง ส อ น ข อ ง
พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ที่ เ รี ย ก ว่ า “ น วั ง ค สั ต ถุ
ศาสน์” ได้แก่ คำาสอนของพระศาสดามีองค์ ๙ คือ
๑. สุตตำ สูตร ได้แก่ อุภโตวิภังค์ นิทเทส ขันธกะ ปริวาร พระ
ฺ
สูตรในสุตตนิบาตและพุทธวจนะอื่น ๆ ที่มีชื่อว่า สุตตะ หรือ สุตตัน
ตะ โดยสรุป คือ วินัยปิฎก คัมภีร์นิทเทส และพระสูตรทั้งหลาย
๒. เคยฺยำ เคยยะ ได้แก่ ข้อความที่มีร้อยแก้ว และร้อยกรอง
ผสมกัน หมายเอาพระสูตรที่มีคาถาทั้งหมด โดยเฉพาะสคาถวรรค
ในสังยุตตนิกาย
๓. เวยฺ ย ากรณำ เวยยากรณะ ได้ แ ก่ ความร้ อ ยแก้ ว ล้ ว น
ห ม า ย เ อ า พ ร ะ อ ภิ ธ ร ร ม ปิ ฎ ก ทั้ ง ห ม ด
พระสูตรที่ไม่มีคาถา และพุทธพจน์อื่นที่ไม่จัดเข้าในองค์ ๘ ข้อที่
เหลือ
๔. คาถา คาถา ได้แก่ ความร้อยกรองล้วนหมายเอาธรรมบท
เถรคาถา เถรีคาถา และคาถาล้วนในสุตตนิบาตที่ไม่มีชื่อว่าเป็น
สูตร
๕. อุทานำ อุทาน ได้แก่ พระคาถา คือร้อยกรองก็มี ร้อยแก้ว
ก็ มี
ซึ่ ง ท ร ง เ ป ล่ ง อ อ ก ม า ด้ ว ย
2

ดูรายละเอียดใน ขุ.อุ. (บาลี) ๒๕/๗๑/๒๑๒,๗๓/๒๑๓,๗๔/๒๑๔.
ขุ.อุ. (ไทย) ๒๕/๗๑/๓๒๑,๗๓/๓๒๓,๗๔/๓๒๔.
2
7

พระทัยอันสหรคตด้วยโสมนัสสัมปยุตด้วยญาณ รวมเป็นพระสูตร
๘๒ สูตร
๖. อิติวุตฺตกํ อิติวุตตกะ ได้แก่ พระสูตร ๑๑๐ สูตร ที่ตรัสโดย
นั ย ว่ า
วุ ตฺ ตํ
เ ห ตํ
ภ ค ว ต า
(สมดังที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้)
๗. ชาตกํ ชาดก ได้แก่ ชาดก ๕๕๐ เรื่อง มีอปัณณกชาดก
เป็นต้น มีเวสสันตรชาดกเป็นที่สุด
๘. อพฺ ภู ต ธมฺ มํ อั พ ภู ต ธรรม ได้ แ ก่ พระสู ต รที่ ว่ า ด้ ว ยเหตุ
อัศ จรรย์ หมายเอาพระสู ต รที่ ว่ าด้ ว ยข้ อ อั ศ จรรย์ ไม่ เคยมี ทุ ก สู ต ร
เช่นที่ตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย ข้ออัศจรรย์ไม่เคยมี ๔ อย่างนี้หาได้
ในอานนท์
๙. เวทลฺลํ เวทัลละ ได้แก่ พระสูตรแบบถามตอบ ซึ่งผู้ถามได้
ทั้งความรู้ (เวท) และความพอใจ (ตุฏฺฐิ) ถามต่อ ๆ ไป เช่น จูฬเวทั
ลลสูตร มหาเวทัลลสูตร สัมมาทิฏฐิสูตร สักกปัญหสูตร สังขาร
สูตร และมหาปุณณมสูตร
คํา สั่ ง สอนของพระพุ ท ธเจ้ า ที่ แ บ่ ง เป็ น สั ต ถุ ศ าสน์ นั้ น เมื่ อ
รวบรวมจัดพิมพ์เป็นเล่มหนังสือ ในประเทศไทย แบ่งจัดพิมพ์เป็น
๔๕ เล่ม
วิน ัย มีท ั้ง หมด ๘ เล่ม ประกอบด้ว ย
เล่ ม ๑ มหาวิ ภั ง ค์ ภาค ๑ ว่ า ด้ ว ยศี ล ของภิ ก ษุ ๑๙ ข้ อ คื อ
ปาราชิก ๔ ข้อ สังฆาทิเสส ๑๓ ข้อ อนิยต ๒ ข้อ
3

4

8

5

6

7

9

องฺ.จตุกฺก. (บาลี) ๒๑/๑๒๙/๑๔๙-๑๕๐, องฺ.จตุกฺก. (ไทย)
๒๑/๑๒๙/๑๙๗-๑๙๘.
4
ม.มู. (บาลี) ๑๒/๔๖๐–๔๖๗/๔๑๐–๔๑๖, ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๖๐–
๔๖๗/๕๐๐-๕๐๙.
5
ม.มู. (บาลี) ๑๒/๔๔๙–๔๕๙/๔๐๑–๔๐๙, ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๔๙–
๔๕๙/๔๘๘-๔๙๙.
6
ม.มู. (บาลี) ๑๒/๘๙-๑๐๔/๖๓-๗๕, ม.มู. (ไทย)
๑๒/๘๙-๑๐๔/๘๑-๑๐๐.
7
ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๔๔–๓๗๑/๒๒๖–๒๔๗, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๔๔–
๓๗๑/๒๗๓-๓๐๐.
8
องฺ.ติก. (บาลี) ๒๐/๒๓/๑๑๖-๑๑๗, องฺ.ติก. (ไทย)
๒๐/๒๓/๑๗๑-๑๗๒.
9
ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๘๕-๙๐/๖๗-๗๑, ม.อุ. (ไทย)
๑๔/๘๕-๙๐/๙๖-๑๐๔.
3
8

ข้อ

เล่ม ๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒ ว่าด้วยศีลของภิกษุที่เหลืออีก ๑๐๘

เล่ม ๓ ภิกขุนีวิภังค์ ว่าด้วยศีลของภิกษุณี ๓๑๑ ข้อ
เล่ ม ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งแต่ แ รกตรั ส รู้ การ
อุปสมบท อุโบสถ จําพรรษา และปวารณา
เล่ม ๕ มหาวรรค ภาค ๒ ว่าด้วยเรื่องเครื่องหนัง เภสัช กฐิน
จีวร นิคคหกรรม การทะเลาะวิวาท และสามัคคี
เล่ม ๖ จูฬวรรค ภาค ๑ ว่าด้วยเรื่องนิคคหกรรม วุฏฐานวิธี
และการระงับอธิกรณ์
เ ล่ ม ๗ จู ฬ ว ร ร ค ภ า ค ๒ ว่ า ด้ ว ย ข้ อ บั ญ ญั ติ ป ลี ก ย่ อ ย
เสนาสนะ สั ง ฆเภท ข้ อ วั ต ร การงดสวดปาติ โ มกข์ ภิ ก ษุ ณี
สังคายนาครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒
เล่ม ๘ ปริวาร คู่มือถามตอบซักซ้อมความรู้วินัย
สุต ตัน ตะ ๒๕ เล่ม ประกอบด้ว ยทีฆ นิก าย ๓ เล่ม
เล่ม ๙ ทีฆนิกายสีลขันธวรรค มีพระสูตรขนาดยาว ๑๓ สูตร
เล่ม ๑๐ ทีฆนิกายมหาวรรค มีพระสูตรยาว ๑๐ สูตร
เล่ม ๑๑ ทีฆนิกายปาฏิกวรรค มีพระสูตรยาว ๑๑ สูตร
มัชฌิมนิกาย ๓ เล่ม
เล่ม ๑๒ มัชฌิม นิกาย มูล ปัณ ณาสก์ มี พระสู ตรขนาดกลาง
๕๐ สูตร
เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ มีพระสูตร ๕๐ สูตร
เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ มีพระสูตร ๕๒ สูตร
สังยุตตนิกาย ๕ เล่ม
เล่ม ๑๕ สังยุตตนิกาย สคาถวรรค รวมคาถาภาษิต จัดเป็น
สังยุต (กลุ่มเรื่อง) มี ๑๑ สังยุต
เล่ม ๑๖ สังยุตตนิกาย นิทานวรรค ว่าด้วยเหตุปัจจัยคือ ปฏิ
จจสมุปบาท มี ๑๐ สังยุต
เล่ม ๑๗ สังยุตตนิกาย ขันธวรรค ว่าด้วยเรื่องขันธ์ มี ๑๓ สัง
ยุต
เล่ม ๑๘ สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค ว่าด้วยเรื่องอายตนะ
๖ มี ๑๐ สังยุต
เล่ ม ๑๙ สั ง ยุ ต ตนิ ก าย มหาวรรค ว่ า ด้ ว ยโพธิ ปั ก ขิ ย ธรรม
๓๗ มี ๑๒ สังยุต
อังคุตตรนิกาย ๕ เล่ม ประกอบด้วย
9

เล่ม ๒๐ อังคุ ต ตรนิ กาย เอกก–ทุ ก –ติ กนิ บ าต ว่ าด้ ว ยธรรม
หมวด ๑-๒-๓ รวมทั้งเรื่องเอตทัคคะ
เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต ว่าด้วยธรรมหมวด ๔
เล่ ม ๒๒ อั ง คุ ต ตรนิ ก าย ปั ญ จก-ฉั ก กนิ บ าต ว่ า ด้ ว ยธรรม
หมวด ๕-๖
เล่ ม ๒๓ อังคุ ต ตรนิ ก าย สั ต ตก–อั ฏ ฐก–นวกนิ บ าต ว่ าด้ ว ย
ธรรมหมวด ๗–๘–๙
เล่ม ๒๔ อังคุตตรนิกาย ทสก–เอกาทสกนิบาต ว่าด้วยธรรม
หมวด ๑๐-๑๑
ขุททกนิกาย ๙ เล่ม
เล่ม ๒๕ รวมคัมภีร์ย่อย ๕ คัมภีร์ คือ ขุททกปาฐะ ธรรมบท
อุทาน อิติวุตตกะ สุตตนิบาต
เล่ม ๒๖ รวมคัมภีร์ย่อยที่เป็นคาถาล้วน ๔ คัมภีร์ คือ วิมาน
วัตถุ เปตวัตถุ เถรคาถา เถรีคาถา
เล่ม ๒๗ ชาดก ภาค ๑ รวมคาถาชาดก ๕๒๕ ชาดก
เล่ม ๒๘ ชาดก ภาค ๒ รวมคาถาชาดก ๒๒ ชาดก
เล่ม ๒๙ ขุททกนิ กาย มหานิท เทส ภาษิ ตของพระสารี บุต ร
อธิบายพระสูตร ๑๖ สูตรในอัฏฐกวรรค
เล่ ม ๓๐ ขุ ท ทกนิ ก าย จู ฬ นิ ท เทส ภาษิ ต ของพระสารี บุ ต ร
อธิบายพระสูตร ๑๖ สูตร
เล่ม ๓๑ ขุท ทกนิกาย ปฏิ สั ม ภิ ท ามรรค ภาษิ ต ของพระสารี
บุตร อธิบายข้อธรรมที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับหนทางแห่งปฏิสัมภิทา
เล่ม ๓๒ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ รวมคาถาแสดงประวัติ
ในอดีตของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และประวัติของพระ
อรหันต์ ๔๑๐ รูป
เล่ม ๓๓ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ รวมคาถาแสดงประวัติ
ในอดี ต ของพระเถระ(ภิ กษุ ) ๔๐ รู ป และประวั ติ ใ นอดี ต ของพระ
เถรี (ภิกษุณี ) ๔๐ รูป แสดงเรื่องพระพุท ธเจ้ า ๒๔ พระองค์ แสดง
พุทธจริยาในอดีต
อภิธ รรม ๑๒ เล่ม ประกอบด้ว ย
เล่ม ๓๔ ธัมมสังคณี แสดงมาติกา (แม่บท) ข้อธรรมเป็นชุด
๑๖๔ ชุด แล้วขยายความ
เล่ ม ๓๕ วิ ภั ง ค์ ยกหลั ก ธรรมสํา คั ญ ๆ มาอธิ บ าย รวม ๑๘
วิภังค์
10

เล่ม ๓๖ ธาตุกถา นำา ข้อธรรมมาจัดเข้าในขันธ์ ๕ อายตนะ
๑๒ ธาตุ ๑๘ รวม ๑๒๕ อย่าง ปุคคลบัญญัติ ว่าด้วยการบัญญัติ ๖
คือ ขันธบัญญัติ อายตนบัญญัติ ธาตุบัญญัติ สัจจบัญญัติ อินทริย
บัญญัติ ปุคคลบัญญัติ
เล่ม ๓๗ กถาวัตถุ คัมภีร์ที่พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ เรียบ
เรี ย งขึ้ น เมื่ อ คราวสั ง คายนาครั้ ง ที่ ๓ ประพั น ธ์ เ ป็ น คำา ปุ จ ฉา–
วิสัชนา รวม ๒๑๙ กถา
เล่ม ๓๘ ยมก ภาค ๑ คัมภีร์อธิบายหลักธรรม ตั้งคำาถามเป็น
คู่ ๆ มี ๗ ยมก
เล่ ม ๓๙ ยมก ภาค ๒ ถามตอบเพิ่ ม เติ ม จากภาค ๑ มี ๑๐
ยมก
เล่ม ๔๐ ปัฏฐาน ภาค ๑ อธิบายปัจจัย ๒๔
เล่ม ๔๑ ปัฏฐาน ภาค ๒ อธิบ ายความที่ ธ รรมทั้ ง หลายเป็ น
ปัจจัยแก่กัน ต่อจากภาค ๑
เล่ม ๔๒ ปัฏฐาน ภาค ๓ อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กัน ต่อ
เล่ม ๔๓ ปัฏฐาน ภาค ๔ อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กัน ต่อ
เล่ม ๔๔ ปัฏฐาน ภาค ๕ อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กัน ต่อ
เล่ม ๔๕ ปัฏฐาน ภาค ๖ อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันในแง่
ปฏิเสธ
พระไตรปิฎกทั้ง ๔๕ เล่ม มีคัมภีร์ที่บันทึกคำาอธิบาย เรียกว่า
อรรถกถา และอรรถกถา ก็ มี คั ม ภี ร์ ที่ บั น ทึ ก คำา อธิ บ ายที่ แ ต่ ง โดย
พระสาวก เรียกว่า ฎีกา
อัก ษรย่อ หัว ใจพระไตรปิฎ ก
โบราณท่ า นได้ ย่ อ พระไตรปิ ฎ กทั้ ง หมดเป็ น ตั ว อั ก ษรใช้
บริกรรมกัน ดังนี้
วินัยปิฎกย่อว่า ปา (หรือ อา) ปา ม จุ ป
สุตตันตปิฎกย่อว่า ที ม สัง อัง ขุ
อภิธรรมปิฎกย่อว่า สัง วิ ธา ปุ ก ย ป
ปัจจุบันได้มีการย่อขุททกนิกาย ๑๕ คัมภีร์ว่า ขุ ธ อุ อิ สุ
วิ เป เถ เถ ชา นิ ป อ พุ จ
พระไตรปิ ฎ ก อรรถกถา ฎี ก า ที่ ป ระกอบการศึ ก ษาในหลั ก สู ต ร
ปริ ญ ญาโทนี้ มี ก ารใช้ อั ก ษรย่ อ นิ สิ ต พึ ง ศึ ก ษารายละเอี ย ดใน
หนังสือคู่มือทำา วิทยานิพนธ์ และดูตามที่ปรากฏในโครงสร้างแห่ง
พระไตรปิฎก ในหน้าต่อไป
11

More Related Content

What's hot

การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม Padvee Academy
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยairja
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

What's hot (20)

การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5 ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 

Viewers also liked

The benefits of a small church
The benefits of a small churchThe benefits of a small church
The benefits of a small churchAdrian Buban
 
Don’t ever compromise
Don’t ever compromiseDon’t ever compromise
Don’t ever compromiseAdrian Buban
 
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016)
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016) Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016)
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016) William GOURG
 
Architecting your app in ext js 4, part 1 learn sencha
Architecting your app in ext js 4, part 1   learn   senchaArchitecting your app in ext js 4, part 1   learn   sencha
Architecting your app in ext js 4, part 1 learn senchaRahul Kumar
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎกแปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎกวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
United Arab Emirates
United Arab EmiratesUnited Arab Emirates
United Arab EmiratesOksana Lomaga
 
Three dangerous sins
Three dangerous sinsThree dangerous sins
Three dangerous sinsAdrian Buban
 
Commitment to a life of faith
Commitment to a life of faithCommitment to a life of faith
Commitment to a life of faithAdrian Buban
 
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01Pierre Ringborg
 
E-readness in Latin America
E-readness in Latin AmericaE-readness in Latin America
E-readness in Latin AmericaWilliam GOURG
 
Gran excursión a acapulco 3 dias
Gran excursión a acapulco 3 diasGran excursión a acapulco 3 dias
Gran excursión a acapulco 3 diasCplaza21
 

Viewers also liked (20)

บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ดบทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด
บทที่ ๔ สัมพันธ์เบ็ดเตล็ด
 
The benefits of a small church
The benefits of a small churchThe benefits of a small church
The benefits of a small church
 
Eresloquecomes
EresloquecomesEresloquecomes
Eresloquecomes
 
Don’t ever compromise
Don’t ever compromiseDon’t ever compromise
Don’t ever compromise
 
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016)
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016) Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016)
Presentación corporativa INSTALA Vidrio y Aluminio México (2016)
 
Architecting your app in ext js 4, part 1 learn sencha
Architecting your app in ext js 4, part 1   learn   senchaArchitecting your app in ext js 4, part 1   learn   sencha
Architecting your app in ext js 4, part 1 learn sencha
 
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
ปกสารนิพนธ์ (พฤติกรรม)๑
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่าจูเฬกสาฎก๓
 
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎกแปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
แปลโดยพยัญชนะเรื่องพราหมณ์ชื่อว่า จูเฬกสาฎก
 
He was abandon
He was abandonHe was abandon
He was abandon
 
United Arab Emirates
United Arab EmiratesUnited Arab Emirates
United Arab Emirates
 
Three dangerous sins
Three dangerous sinsThree dangerous sins
Three dangerous sins
 
Commitment to a life of faith
Commitment to a life of faithCommitment to a life of faith
Commitment to a life of faith
 
Grön ekonomi 4
Grön ekonomi 4Grön ekonomi 4
Grön ekonomi 4
 
A wise builder
A wise builderA wise builder
A wise builder
 
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
Abf medborgarlon-150506023929-conversion-gate01
 
บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)บทที่ ๑ (จริง)
บทที่ ๑ (จริง)
 
E-readness in Latin America
E-readness in Latin AmericaE-readness in Latin America
E-readness in Latin America
 
Gran excursión a acapulco 3 dias
Gran excursión a acapulco 3 diasGran excursión a acapulco 3 dias
Gran excursión a acapulco 3 dias
 
Chapt 5
Chapt 5Chapt 5
Chapt 5
 

Similar to พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก

การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยRung Kru
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.Nathathai
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdfmaruay songtanin
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑Tongsamut vorasan
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555Panda Jing
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์A'mp Minoz
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลYota Bhikkhu
 
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)kruteerapongbakan
 

Similar to พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก (20)

การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
 
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้งแผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
 
45 พรรษา
45 พรรษา45 พรรษา
45 พรรษา
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
 
ลังกากถา โดย ปิยเมธี
ลังกากถา โดย ปิยเมธีลังกากถา โดย ปิยเมธี
ลังกากถา โดย ปิยเมธี
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
 
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
ใบความรู้ภาษาไทย( คำภาษาบาลีสันสกฤต)
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์

กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

More from วัดดอนทอง กาฬสินธุ์ (20)

กถาวัตถุ
กถาวัตถุกถาวัตถุ
กถาวัตถุ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓    กสิณ ๑๐
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๓ กสิณ ๑๐
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒องค์ประกอบของการสัมมนา๒
องค์ประกอบของการสัมมนา๒
 
รูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนารูปแบบการสัมมนา
รูปแบบการสัมมนา
 
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
เอกสารประกอบการสอน วิชา สัมมนาพระพุทธศาสนา1
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
ธรรมภาคปฏิบัติ ๑ รหัส ๐๐๐ ๑๕๑
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Pptธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ Ppt
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
ธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
ธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมภาคปฏิบัติ ๔
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษ1
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
แนวข้อสอบวิชาแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี ๑ ครั้งที่ ๑
 
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
แนวข้อสอบของนิสิต ครั้งที่ ๒
 

พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก

  • 1. พัฒ นาการความเป็น มาของพระไตรปิฎ ก การสัง คายนารวบรวมพระไตรปิฎ ก พระธรรมวินัย คือคำา สั่งสอนของพระพุทธเจ้านั้น พระสาวก ทั้งหลายทรงจำาสืบต่อกันมาด้วยวิธีมุขปาฐะ คือสั่งสอนกันจากปาก ของอาจารย์สู่โสตประสาทของศิ ษย์ แล้ว ท่อ งบ่ นสาธยายทบทวน สืบต่อกันนับพันปี จึงได้จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรลงบนในลาน เนื่ อ งจากพระพุ ท ธองค์ รั บ สั่ ง ว่ า พระธรรมวิ นั ย คื อ พระ ไตรปิ ฎ กนั้ น จะอยู่ เ ป็ น องค์ แ ทนพระศาสดา ดั ง นั้ น หลั ง จากที่ พระพุทธองค์ดับขันธปรินิพพานได้ ๓ เดือน พระสาวกทั้งหลายจึง ได้ ทำา การสั ง คายนา คื อ รวบรวมจั ด หมวดหมู่ พ ระธรรมวิ นั ย สั ง คายนา แปลว่ า สวดพร้ อ มกั น คื อ รวบรวมจนลงกั น แล้ ว สวด สาธยายพร้อมกัน สัง คายนาในชมพูท วีป ๓ ครั้ง การสังคายนานั้นมีมาตามลำา ดับในเมื่อมีเหตุการณ์ที่ให้ต้อง สังคายนา นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานไม่นาน พระสาวกทั้ง หลายทำาสังคายนาในอินเดีย ๓ ครั้ง คือ ปฐมสังคายนา สังคายนาครั้งที่ ๑ พระสาวก ๕๐๐ รูป กระทำา ที่ ถำ้า สั ต ต บ ร ร ณ คู ห า กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินิพพาน ได้ ๓ เดือน พระเจ้าอชาตศัตรู ทรงอุปถัมภ์ ทุ ติ ย สั ง คายนา สั ง คายนาครั้ ง ที่ ๒ พระสาวก ๗๐๐ รู ป กระทำา ที่ วั ด วาลุ ก าราม กรุ ง เวสาลี แคว้ น วั ช ชี เมื่ อ พระพุ ท ธเจ้ า เสด็จ ดั บขั น ธปริ นิ พ พานได้ ๑๐๐ ปี พระเจ้ า กาฬาโศกราช ทรง อุปถัมภ์ ตติ ย สั ง คายนา สั ง คายนาครั้ ง ที่ ๓ พระสาวก ๑,๐๐๐ รู ป กระทำาที่วัดอโศการาม กรุงปาฏลีบุตร แคว้นมคธ เมื่อพระพุทธเจ้า เสด็ จ ดั บ ขั น ธปริ น พพานได้ ๒๑๘ ปี (บางแห่ ง ว่ า ๒๓๔ ปี บ้ า ง ๒๘๗ บ้าง) พระเจ้าอโศกมหาราช ทรงอุปถัมภ์ สัง คายนาในศรีล ัง กา ๔ ครั้ง
  • 2. 2 เมื่อ ทำา สังคายนาครั้ ง ที่ ๓ เสร็ จ แล้ ว พระโมคคั ล ลี บุต รติ ส ส เถระประธานสงฆ์ พิจารณาเห็นว่า พระพุทธศาสนาจะไม่ดำารงมั่น ในอินเดีย จึงขอความอุป ถัม ภ์จ ากพระเจ้ าอโศกมหาราช เพื่ อส่ ง สมณทูต ไปเผยแผ่พระพุ ทธศาสนาในนานาประเทศ ๙ สายด้ วย กัน สายที่สำาคัญมีผลงานปรากฏมาจนถึงปัจจุบัน คือสายของพระ มหิ น ทเถระกั บ คณะ ท่ า นลงมาเผยแผ่ พ ระพุ ท ธศาสนาที่ เ กาะศรี ลังกา ได้มีการสังคายนา ๔ ครั้ง โดยนับต่อจากอินเดีย คือ จตุ ต ถสั ง คายนา สั ง คายนาครั้ ง ที่ ๔ พระสาวกทั้ ง หลาย ก ร ะ ทำา เ มื่ อ พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า เ ส ด็ จ ดั บ ขั น ธ ปรินพพานได้ ๒๓๘ ปี พระมหินทเถระเป็นประธานสงฆ์ พระเจ้า เทวานัมปิยติสสะ ทรงอุปถัมภ์ ปั ญ จมสั ง คายนา สั ง คายนาครั้ ง ที่ ๕ พระสาวกทั้ ง หลาย กระทำา เมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จดับขันธปรินพพานได้ ๔๓๓ ปี พระ เจ้าวัฏฏคามณีอภัยทรงอุปถัมภ์ เมื่ อ ทำา สั ง คายนาครั้ ง ๕ เสร็ จ พระสาวกทั้งหลาย ตกลงกันจารึกพระไตรปิฎกและอรรถกถาเป็น ลายลักษณ์ลงบนใบลาน ฉัฏฐสังคายนา สังคายนาครั้งที่ ๖ พระพุทธโฆสาจารย์ ลงมา แปลอรรถกถาภาษาสิ ง หลกลั บ เป็ น ภาษามคธ เมื่ อ พระพุ ท ธเจ้ า เสด็จดับขันธปรินพพานได้ ๙๕๖ ปี สัตตมสังคายนา สั งคายนาครั้ งที่ ๗ พ.ศ. ๑๕๘๗ พระเจ้ า ปรั ก กมพาหุ ได้ นิ ม นต์ พ ระสาวกทั้ ง หลาย รจนาคำา อธิ บ ายพระ ไตรปิฎกและอรรถกถา เรียกว่า ฎีกา พระไตรปิฎ กเข้า สู่แ ดนสยาม ช่วงสมัยสุโขทัย พระสงฆ์ชาวสยาม ได้ไปศึกษาที่ลังกาแล้ว นำา พระไตรปิ ฎ กอรรถกถาและฎี ก าเข้ า มาจารจารึ ก สื บ ต่ อ กั น มา จากสมัย ล้านนา สมัยสุ โขทั ย ผ่ านสมั ยกรุ งศรี อ ยุ ธ ยา กรุงธนบุ รี ถึงกรุงรัตนโกสินทร์ คัดลอกจารจารึกสืบต่อกันเป็นเวลาช้านาน เนื่ อ งจากเมื่ อ ประมาณช่ ว ง พ.ศ. ๑๕๐๐-๑๗๐๐ พระพุ ท ธ ศาสนาในศรีลังกา ได้รับการทะนุบำารุงทางด้านการศึกษาจนเจริญ รุ่งเรืองสืบมา มีกิตติศัพท์แพร่มาถึงสยามประเทศ พระสงฆ์ในดิน แดนนี้จึงพากั นไปศึก ษาพระพุ ท ธศาสนาที่ ศ รี ลั ง กาแล้ ว นำา คั ม ภี ร์ พระไตรปิฎกอรรถกถาและฎีกาเข้ามา ซึ่งปรากฏตามหลักฐานใน หนังสือตำานานมูลศาสนาว่า “พ ร ะ ม ห า สุ ริ น ท เ ถ ร ะ ใ ห้ พ ร ะ ญ า ณ คั ม ภี ร ะ ไ ป โ ร ห ณ ชนบท(ในศรี ลั ง กา) รั บ พระศาสนา พระพุ ท ธรู ป ต้ น โพธิ์ พระ
  • 3. 3 ไตรปิ ฎ ก พร้ อ มทั้ ง อั ก ษรที่ ใ ช้ เ ขี ย นภาษาบาลี ก ลั บ มาเมื่ อ พ.ศ. ๑๙๗๓” สัง คายนาในสยามประเทศ เมื่ อ มี พ ระไตรปิ ฎ กอรรถกถาฎี ก า ที่ นำา เข้ า มาจากศรี ลั ง กา แล้ว ก็เกิดมีการจารจารึกลงบนใบลาน การจารจารึกในแต่ละฉบับ ย่อมมีข้อผิดพลาดบกพร่อง จึงเป็นเหตุให้ทำา สังคายนาตรวจสอบ คัมภีร์พระไตรปิฎกฉบับต่างๆ คือ อั ฏ ฐมสั ง คายนา สั ง คายนาครั้ ง ที่ ๘ เมื่ อ พ.ศ. ๒๐๒๐ พระเจ้าติโลกราช แห่งล้านนา ได้นิมนต์พระภิกษุสงฆ์ชาวล้านนา กระทำาสังคายนาพระไตรปิฎกแล้วจารึกลงใบลานด้วยอักษรธรรม ล้านนา ที่วัดโพธาราม เมืองเชียงใหม่ กระทำาอยู่ ๑ ปี จึงเสร็จ นวมสั ง คายนา สั ง คายนาครั้ ง ที่ ๙ เมื่ อ พ.ศ. ๒๓๓๑ สมั ย รั ต น โ ก สิ น ท ร์ พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระพุ ท ธยอดฟ้ า จุ ฬ าโลกมหาราช ได้ โ ปรดเกล้ า อาราธนาพระ เถรานุ เ ถระเป็ น พระสั ง คี ติ ก าจารย์ จำา นวน ๒๑๘ รู ป และเชิ ญ ศาสนบั ณ ฑิ ต ผู้ ท รงความรู้ จำา นวน ๓๒ ท่ า น ทำา การสั ง คายนา พระไตรปิฎก ชำาระตรวจสอบ นำา คั ม ภี ร์ พ ระไตรปิ ฎ กที่ มี อ ยู่ ทั้งหมดมาสอบทานกันแล้วแก้ไขคำา ที่บกพร่องให้ถูกต้อง ทำา ที่วัด พระศรีสรรเพชญ์ (วัดมหาธาตุฯ ท่าพระจันทร์) กรุงรัตนโกสินทร์ กระทำาอยู่ ๕ เดือน จึงเสร็จ ทสมสังคายนา สังคายนาครั้ งที่ ๑๐ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๑ ได้มี ก า ร สั ง ค า ย น า พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก ที่ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพมหานคร มีพระสงฆ์เข้าประชุม เป็นพระสังคีติกาจารย์ จำานวน ๑๑๐ รูป กระทำาอยู่ ๖ ปี เสร็จแล้ว ได้ มี ก ารจั ด พิ ม พ์ พ ระไตรปิ ฎ กเป็ น เล่ ม หนั ง สื อ เป็ น ครั้ ง แรกใน ประเทศไทย พระบาทสมเด็ จ พระจุ ล จอมเกล้ า เจ้ า อยู่ หั ว ทรง อุปถัมภ์ เอกาทสมสังคายนา สั งคายนาครั้ งที่ ๑๑ เมื่ อ พ.ศ. ๒๕๓๐ ไ ด้ มี ก า ร สั ง ค า ย น า พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก ที่วัดมหาธาตุฯ ท่าพระจันทร์ กรุงเทพมหานคร กระทำาอยู่ ๒ ปี จึง เสร็ จ พระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ หั ว ภู มิ พ ลอดุ ล ยเดช เป็ น องค์ อุปถัมภ์ พร้อมด้วยรัฐบาล 1 ศ.ดร. ประเสริฐ ณ นคร, ปวงคำา ตุยเขียว. ตำา นานมูล ศาสนา, ้ (กรุงเทพมหานคร : ศักดิโสภาการพิมพ์, ๒๕๓๗), หน้า ๒,๑๔๐–๑๔๑. 1
  • 4. 4 การจารึก และการพิม พ์พ ระไตรปิฎ กในประเทศไทย พ.ศ. ๒๔๓๑ ที่ทำาสังคายนาครั้งที่ ๑๐ นั้น เนื่องในวโรกาสที่ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวเสวยราชย์ได้ ๒๕ ปี ได้ มี พ ระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ให้ ก รมหมื่ น วชิ ร ญาณวโรส และพระ เถรานุเถระทั้งหลายช่วยกันชำา ระคัดลอกตัวขอมในคัมภีร์ใบลาน เปลี่ยนเป็นอักษรไทย พิมพ์เป็นเล่มหนังสือได้จำานวน ๓๙ เล่ม เริ่ม ชำา ระคั ด ลอกจั ด พิ ม พ์ ตั้ ง แต่ พ.ศ.๒๔๓๑ สำา เร็ จ เมื่ อ พ.ศ.๒๔๓๖ จำานวน ๑,๐๐๐ ชุด พ.ศ. ๒๔๖๘ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๗ โปรดเกล้าฯให้ชำาระจัดพิมพ์พระไตรปิฎกเรียกชื่อว่า ฉบับสยาม รั ฐ มี ต ราช้ า งเป็ น เครื่ อ งหมาย ครบ ๔๕ เล่ ม ดำา เนิ น การตั้ ง แต่ พ.ศ.๒๔๖๘ เสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๓ พ.ศ. ๒๔๘๓ สมัยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล กั บ ส มั ย พ ร ะ บ า ท ส ม เ ด็ จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุ ลยเดช ต่อกัน ได้มีการแปลพระไตรปิ ฎก เป็นภาษาไทย แล้วจัดพิมพ์ เริ่มดำาเนินการ พ.ศ. ๒๔๘๓ เสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๕๐๐ จัดพิมพ์จำานวน ๒,๕๐๐ ชุด ชุดละ ๘๐ เล่ม พ.ศ. ๒๕๑๔ เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช ได้เสวยราชสมบัติมาครบ ๒๕ ปี ได้มีการจัดพิมพ์ พระไตรปิฎกภาษาไทย เรียกชื่อว่า พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับ หลวง พิมพ์จำานวน ๒,๐๐๐ ชุด ชุดละ ๔๕ เล่ม พ.ศ. ๒๕๒๑ กรมการศาสนา ได้ ดำา เนิ น การจั ด พิ ม พ์ พ ระ ไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับหลวง อีกครั้งหนึ่ง พิมพ์จำา นวน ๒,๐๐๐ ชุด ชุดละ ๔๕ เล่ม พ.ศ. ๒๕๒๕ กรุงรัตนโกสินทร์ ได้ดำารงมั่นคงมาครบ ๒๐๐ ปี ทางคณะสงฆ์ได้ดำา เนินการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับ หลวง อีกครั้งหนึ่ง พิมพ์จำานวน ๓,๐๐๐ ชุด ชุดละ ๔๕ เล่ม พ.ศ. ๒๕๓๐ เนื่ อ งในวโรกาสที่ พ ระบาทสมเด็ จ พระเจ้ า อยู่ ภูมิพลอดุลยเดช มีพระชนมายุครบ ๕ รอบ ทางคณะสงฆ์ได้ดำาเนิน การจัดพิมพ์พระไตรปิฎกภาษาไทย เรียกชื่อว่าฉบับสังคีติ อีกครั้ง หนึ่ง มหาจุฬ าลงกรณราชวิท ยาลัย กับ พระไตรปิฎ ก พ.ศ. ๒๕๐๐ พระเถรานุ เถระผู้บ ริ หารมหาจุฬ าลงกรณราช วิทยาลัย ได้ดำาเนินการตรวจชำาระจัดพิมพ์พระไตรปิฎกภาษาบาลี
  • 5. 5 จำา น ว น ๔ ๕ เ ล่ ม เ ส ร็ จ เ มื่ อ พ .ศ .๒ ๕ ๓ ๕ เ รี ย ก ชื่ อ ว่ า ฉ บั บ มหาจุฬาเตปิฏกำ ได้จัดงานสมโภชพระไตรปิฎก ฉบับภาษาบาลีกับ อ ร ร ถ ก ถ า ภ า ษ า บ า ลี ที่ อ า จ า ร ย์ พร รั ต นสุ ว รรณ ดำา เนิ น การตรวจชำา ระจั ด พิ ม พ์ เมื่ อ ๑๒ – ๒๐ กันยายน ๒๕๓๕ พ.ศ. ๒๕๓๕ มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย ปรารภการที่ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ทรงเจริญพระชนมายุ ครบ ๖๐ พรรษา ได้ดำา เนิ นการแปลพระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบั บ มหาจุฬาเตปิฏกำ เป็นภาษาไทย แปลและจัดพิมพ์เสร็จเรียบร้อย ปี ๒๕๓๙ จั ด งานสมโภช เมื่ อ วั น อาทิ ต ย์ ที่ ๗ พฤศจิ ก ายน พ.ศ. ๒๕๔๒ จำานวน ๖,๐๐๐ ชุด ชุดละ ๔๕ เล่ม ปัจจุบัน มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีพระไตรปิฎก ฉบับ ภาษาบาลี ๔๕ เล่ ม ชุ ด และฉบั บ ภาษาไทย ๔๕ เล่ ม ชุ ด มี อ รรถ กถา–ฎีกา–ปกรณวิเสส จำา นวน ๑๐๒ เล่ ม กำา ลั งดำา เนิ นการแปล คัมภีร์อรรถกถาภาษาบาลีเป็นภาษาไทย ระบบสืบ ค้น พระไตรปิฎ กด้ว ยคอมพิว เตอร์ ประเทศไทยของเรา มีพระไตรปิฎกฉบับที่จารลงบนใบลาน ร้ อ ยเชื อ กเป็ น ฉบั บ เรี ย กว่ า “ผู ก ” รวมหลายๆ ผู ก เรี ย กว่ า “บั้ น ” ฉบั บ ที่ ตี พิ ม พ์ เ ป็ น เล่ ม หนั ง สื อ จำา นวน ๔๕ เล่ ม ทั้ ง ภาษาบาลี แ ละ ภาษาไทย และฉบั บ ที่ จ ารึ ก ลงบนแผ่ น หิ น อ่ อ น จำา นวน ๑,๔๑๘ แผ่น ประดิษฐานอยู่ในมหาวิหารที่บริเวณพุทธมณฑล นอกจากจะมี พ ระไตรปิ ฎ กฉบั บ ต่ า งๆ ดั ง ที่ ก ล่ า วยั ง มี พ ระ ไตรปิฎก ฉบับคอมพิวเตอร์ เป็ นพระไตรปิ ฎกฉบั บ CD–ROM ใช้ เปิ ด อ่ า นและศึ ก ษาด้ ว ยเครื่ อ งคอมพิ ว เตอร์ พระไตรปิ ฎ กฉบั บ คอมพิ ว เตอร์ คื อ พระไตรปิ ฎ กที่ จั ด พิ ม พ์ ป้ อ นข้ อ มู ล เข้ า เครื่ อ ง คอมพิวเตอร์แล้วบันทึกลงบนแผ่น CD–ROM สร้างระบบฐานข้อมูล เป็นโปรแกรมสืบค้นข้อความที่ต้องการแล้วพิมพ์ลงกระดาษปริ้นส์ ออกมา เหตุ ที่ เ กิ ด พระไตรปิ ฎ กฉบั บ คอมพิ ว เตอร์ ก็ เ นื่ อ งมาจาก ปริมาณที่มากมายของพระไตรปิฎก ซึ่งทำา ให้การบันทึก การเก็บ รักษา การนำา มาใช้ศึกษาค้นคว้าเป็นไปด้วยความยากลำา บาก จึง ได้ มี ก ารจั ด ทำา พระไตรปิ ฎ กฉบั บ CD–ROM เมื่ อ ปี ๒๕๓๑ โดย สำา นั ก คอ มพิ วเ ต อ ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ม หิ ด ล พ ระ ไต รปิ ฎ ก ฉ บั บ คอมพิวเตอร์นั้นรวมอรรถกถาด้วยมีปริมาณถึง ๔๓๐ ล้านตัวอักษร เฉพาะแผ่น CD–ROM ที่บันทึกข้อมูลสามารถบันทึกข้อมูลได้สูงถึง ๗๐๐ ล้านตัวอักษร
  • 6. 6 ปัจจุบันมีพระไตรปิฎกฉบับคอมพิวเตอร์หรือฉบับ CD–ROM หลายฉบั บ คื อ ฉบั บ ฉั ฏ ฐสั ง คายนา (Chatฺฺtฺฺha Sangayana) ของท่ า นโกเอ็ น ก้ า (S.N. Goenka) เป็ น ภาษาบาลี ชุ ด ที่ ๓ (version 3) บรรจุคัมภีร์ภาษาบาลี จำานวน ๒๑๗ เล่ม พระไตรปิฎก VCD ROM ชุดพระไตรปิฎกอรรถกถาไทยของ มหามกุฏราชวิทยาลัย ฉบับกองทุนใต้ ร่ม เงาพระบรมสารีริ กธาตุ เนื่องในโอกาสพุทธพิธีบูชาพระบรมสารีริกธาตุในวันอาสาฬหบูชา ณ บรมบรรพต (ภูเขาทอง) วัดสระเกศ ๒๕๔๘. สำา หรับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ดำา เนินการจัดทำา พระ ไตรปิฎกภาษาไทยบันทึกลงแผ่น CD–ROM เสร็จแล้วกำาลังจะเปิด ตั ว ให้ ใ ช้ ค้ น คว้ า ในช่ ว งต้ น ปี ๒๕๕๐ ใช้ ชื่ อ ว่ า MCU.Trai พระ ไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับคอมพิวเตอร์ พระไตรปิฎ ก ๔๕ เล่ม พ ร ะ ไ ต ร ปิ ฎ ก นั้ น เ ป็ น คั ม ภี ร์ ที่ บั น ทึ ก คำา สั่ ง ส อ น ข อ ง พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า ที่ เ รี ย ก ว่ า “ น วั ง ค สั ต ถุ ศาสน์” ได้แก่ คำาสอนของพระศาสดามีองค์ ๙ คือ ๑. สุตตำ สูตร ได้แก่ อุภโตวิภังค์ นิทเทส ขันธกะ ปริวาร พระ ฺ สูตรในสุตตนิบาตและพุทธวจนะอื่น ๆ ที่มีชื่อว่า สุตตะ หรือ สุตตัน ตะ โดยสรุป คือ วินัยปิฎก คัมภีร์นิทเทส และพระสูตรทั้งหลาย ๒. เคยฺยำ เคยยะ ได้แก่ ข้อความที่มีร้อยแก้ว และร้อยกรอง ผสมกัน หมายเอาพระสูตรที่มีคาถาทั้งหมด โดยเฉพาะสคาถวรรค ในสังยุตตนิกาย ๓. เวยฺ ย ากรณำ เวยยากรณะ ได้ แ ก่ ความร้ อ ยแก้ ว ล้ ว น ห ม า ย เ อ า พ ร ะ อ ภิ ธ ร ร ม ปิ ฎ ก ทั้ ง ห ม ด พระสูตรที่ไม่มีคาถา และพุทธพจน์อื่นที่ไม่จัดเข้าในองค์ ๘ ข้อที่ เหลือ ๔. คาถา คาถา ได้แก่ ความร้อยกรองล้วนหมายเอาธรรมบท เถรคาถา เถรีคาถา และคาถาล้วนในสุตตนิบาตที่ไม่มีชื่อว่าเป็น สูตร ๕. อุทานำ อุทาน ได้แก่ พระคาถา คือร้อยกรองก็มี ร้อยแก้ว ก็ มี ซึ่ ง ท ร ง เ ป ล่ ง อ อ ก ม า ด้ ว ย 2 ดูรายละเอียดใน ขุ.อุ. (บาลี) ๒๕/๗๑/๒๑๒,๗๓/๒๑๓,๗๔/๒๑๔. ขุ.อุ. (ไทย) ๒๕/๗๑/๓๒๑,๗๓/๓๒๓,๗๔/๓๒๔. 2
  • 7. 7 พระทัยอันสหรคตด้วยโสมนัสสัมปยุตด้วยญาณ รวมเป็นพระสูตร ๘๒ สูตร ๖. อิติวุตฺตกํ อิติวุตตกะ ได้แก่ พระสูตร ๑๑๐ สูตร ที่ตรัสโดย นั ย ว่ า วุ ตฺ ตํ เ ห ตํ ภ ค ว ต า (สมดังที่พระผู้มีพระภาคตรัสไว้) ๗. ชาตกํ ชาดก ได้แก่ ชาดก ๕๕๐ เรื่อง มีอปัณณกชาดก เป็นต้น มีเวสสันตรชาดกเป็นที่สุด ๘. อพฺ ภู ต ธมฺ มํ อั พ ภู ต ธรรม ได้ แ ก่ พระสู ต รที่ ว่ า ด้ ว ยเหตุ อัศ จรรย์ หมายเอาพระสู ต รที่ ว่ าด้ ว ยข้ อ อั ศ จรรย์ ไม่ เคยมี ทุ ก สู ต ร เช่นที่ตรัสว่า ภิกษุทั้งหลาย ข้ออัศจรรย์ไม่เคยมี ๔ อย่างนี้หาได้ ในอานนท์ ๙. เวทลฺลํ เวทัลละ ได้แก่ พระสูตรแบบถามตอบ ซึ่งผู้ถามได้ ทั้งความรู้ (เวท) และความพอใจ (ตุฏฺฐิ) ถามต่อ ๆ ไป เช่น จูฬเวทั ลลสูตร มหาเวทัลลสูตร สัมมาทิฏฐิสูตร สักกปัญหสูตร สังขาร สูตร และมหาปุณณมสูตร คํา สั่ ง สอนของพระพุ ท ธเจ้ า ที่ แ บ่ ง เป็ น สั ต ถุ ศ าสน์ นั้ น เมื่ อ รวบรวมจัดพิมพ์เป็นเล่มหนังสือ ในประเทศไทย แบ่งจัดพิมพ์เป็น ๔๕ เล่ม วิน ัย มีท ั้ง หมด ๘ เล่ม ประกอบด้ว ย เล่ ม ๑ มหาวิ ภั ง ค์ ภาค ๑ ว่ า ด้ ว ยศี ล ของภิ ก ษุ ๑๙ ข้ อ คื อ ปาราชิก ๔ ข้อ สังฆาทิเสส ๑๓ ข้อ อนิยต ๒ ข้อ 3 4 8 5 6 7 9 องฺ.จตุกฺก. (บาลี) ๒๑/๑๒๙/๑๔๙-๑๕๐, องฺ.จตุกฺก. (ไทย) ๒๑/๑๒๙/๑๙๗-๑๙๘. 4 ม.มู. (บาลี) ๑๒/๔๖๐–๔๖๗/๔๑๐–๔๑๖, ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๖๐– ๔๖๗/๕๐๐-๕๐๙. 5 ม.มู. (บาลี) ๑๒/๔๔๙–๔๕๙/๔๐๑–๔๐๙, ม.มู. (ไทย) ๑๒/๔๔๙– ๔๕๙/๔๘๘-๔๙๙. 6 ม.มู. (บาลี) ๑๒/๘๙-๑๐๔/๖๓-๗๕, ม.มู. (ไทย) ๑๒/๘๙-๑๐๔/๘๑-๑๐๐. 7 ที.ม. (บาลี) ๑๐/๓๔๔–๓๗๑/๒๒๖–๒๔๗, ที.ม. (ไทย) ๑๐/๓๔๔– ๓๗๑/๒๗๓-๓๐๐. 8 องฺ.ติก. (บาลี) ๒๐/๒๓/๑๑๖-๑๑๗, องฺ.ติก. (ไทย) ๒๐/๒๓/๑๗๑-๑๗๒. 9 ม.อุ. (บาลี) ๑๔/๘๕-๙๐/๖๗-๗๑, ม.อุ. (ไทย) ๑๔/๘๕-๙๐/๙๖-๑๐๔. 3
  • 8. 8 ข้อ เล่ม ๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒ ว่าด้วยศีลของภิกษุที่เหลืออีก ๑๐๘ เล่ม ๓ ภิกขุนีวิภังค์ ว่าด้วยศีลของภิกษุณี ๓๑๑ ข้อ เล่ ม ๔ มหาวรรค ภาค ๑ ว่ า ด้ ว ยเรื่ อ งแต่ แ รกตรั ส รู้ การ อุปสมบท อุโบสถ จําพรรษา และปวารณา เล่ม ๕ มหาวรรค ภาค ๒ ว่าด้วยเรื่องเครื่องหนัง เภสัช กฐิน จีวร นิคคหกรรม การทะเลาะวิวาท และสามัคคี เล่ม ๖ จูฬวรรค ภาค ๑ ว่าด้วยเรื่องนิคคหกรรม วุฏฐานวิธี และการระงับอธิกรณ์ เ ล่ ม ๗ จู ฬ ว ร ร ค ภ า ค ๒ ว่ า ด้ ว ย ข้ อ บั ญ ญั ติ ป ลี ก ย่ อ ย เสนาสนะ สั ง ฆเภท ข้ อ วั ต ร การงดสวดปาติ โ มกข์ ภิ ก ษุ ณี สังคายนาครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ เล่ม ๘ ปริวาร คู่มือถามตอบซักซ้อมความรู้วินัย สุต ตัน ตะ ๒๕ เล่ม ประกอบด้ว ยทีฆ นิก าย ๓ เล่ม เล่ม ๙ ทีฆนิกายสีลขันธวรรค มีพระสูตรขนาดยาว ๑๓ สูตร เล่ม ๑๐ ทีฆนิกายมหาวรรค มีพระสูตรยาว ๑๐ สูตร เล่ม ๑๑ ทีฆนิกายปาฏิกวรรค มีพระสูตรยาว ๑๑ สูตร มัชฌิมนิกาย ๓ เล่ม เล่ม ๑๒ มัชฌิม นิกาย มูล ปัณ ณาสก์ มี พระสู ตรขนาดกลาง ๕๐ สูตร เล่ม ๑๓ มัชฌิมนิกาย มัชฌิมปัณณาสก์ มีพระสูตร ๕๐ สูตร เล่ม ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ มีพระสูตร ๕๒ สูตร สังยุตตนิกาย ๕ เล่ม เล่ม ๑๕ สังยุตตนิกาย สคาถวรรค รวมคาถาภาษิต จัดเป็น สังยุต (กลุ่มเรื่อง) มี ๑๑ สังยุต เล่ม ๑๖ สังยุตตนิกาย นิทานวรรค ว่าด้วยเหตุปัจจัยคือ ปฏิ จจสมุปบาท มี ๑๐ สังยุต เล่ม ๑๗ สังยุตตนิกาย ขันธวรรค ว่าด้วยเรื่องขันธ์ มี ๑๓ สัง ยุต เล่ม ๑๘ สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค ว่าด้วยเรื่องอายตนะ ๖ มี ๑๐ สังยุต เล่ ม ๑๙ สั ง ยุ ต ตนิ ก าย มหาวรรค ว่ า ด้ ว ยโพธิ ปั ก ขิ ย ธรรม ๓๗ มี ๑๒ สังยุต อังคุตตรนิกาย ๕ เล่ม ประกอบด้วย
  • 9. 9 เล่ม ๒๐ อังคุ ต ตรนิ กาย เอกก–ทุ ก –ติ กนิ บ าต ว่ าด้ ว ยธรรม หมวด ๑-๒-๓ รวมทั้งเรื่องเอตทัคคะ เล่ม ๒๑ อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต ว่าด้วยธรรมหมวด ๔ เล่ ม ๒๒ อั ง คุ ต ตรนิ ก าย ปั ญ จก-ฉั ก กนิ บ าต ว่ า ด้ ว ยธรรม หมวด ๕-๖ เล่ ม ๒๓ อังคุ ต ตรนิ ก าย สั ต ตก–อั ฏ ฐก–นวกนิ บ าต ว่ าด้ ว ย ธรรมหมวด ๗–๘–๙ เล่ม ๒๔ อังคุตตรนิกาย ทสก–เอกาทสกนิบาต ว่าด้วยธรรม หมวด ๑๐-๑๑ ขุททกนิกาย ๙ เล่ม เล่ม ๒๕ รวมคัมภีร์ย่อย ๕ คัมภีร์ คือ ขุททกปาฐะ ธรรมบท อุทาน อิติวุตตกะ สุตตนิบาต เล่ม ๒๖ รวมคัมภีร์ย่อยที่เป็นคาถาล้วน ๔ คัมภีร์ คือ วิมาน วัตถุ เปตวัตถุ เถรคาถา เถรีคาถา เล่ม ๒๗ ชาดก ภาค ๑ รวมคาถาชาดก ๕๒๕ ชาดก เล่ม ๒๘ ชาดก ภาค ๒ รวมคาถาชาดก ๒๒ ชาดก เล่ม ๒๙ ขุททกนิ กาย มหานิท เทส ภาษิ ตของพระสารี บุต ร อธิบายพระสูตร ๑๖ สูตรในอัฏฐกวรรค เล่ ม ๓๐ ขุ ท ทกนิ ก าย จู ฬ นิ ท เทส ภาษิ ต ของพระสารี บุ ต ร อธิบายพระสูตร ๑๖ สูตร เล่ม ๓๑ ขุท ทกนิกาย ปฏิ สั ม ภิ ท ามรรค ภาษิ ต ของพระสารี บุตร อธิบายข้อธรรมที่ลึกซึ้งเกี่ยวกับหนทางแห่งปฏิสัมภิทา เล่ม ๓๒ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ รวมคาถาแสดงประวัติ ในอดีตของพระพุทธเจ้า พระปัจเจกพุทธเจ้า และประวัติของพระ อรหันต์ ๔๑๐ รูป เล่ม ๓๓ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๒ รวมคาถาแสดงประวัติ ในอดี ต ของพระเถระ(ภิ กษุ ) ๔๐ รู ป และประวั ติ ใ นอดี ต ของพระ เถรี (ภิกษุณี ) ๔๐ รูป แสดงเรื่องพระพุท ธเจ้ า ๒๔ พระองค์ แสดง พุทธจริยาในอดีต อภิธ รรม ๑๒ เล่ม ประกอบด้ว ย เล่ม ๓๔ ธัมมสังคณี แสดงมาติกา (แม่บท) ข้อธรรมเป็นชุด ๑๖๔ ชุด แล้วขยายความ เล่ ม ๓๕ วิ ภั ง ค์ ยกหลั ก ธรรมสํา คั ญ ๆ มาอธิ บ าย รวม ๑๘ วิภังค์
  • 10. 10 เล่ม ๓๖ ธาตุกถา นำา ข้อธรรมมาจัดเข้าในขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ รวม ๑๒๕ อย่าง ปุคคลบัญญัติ ว่าด้วยการบัญญัติ ๖ คือ ขันธบัญญัติ อายตนบัญญัติ ธาตุบัญญัติ สัจจบัญญัติ อินทริย บัญญัติ ปุคคลบัญญัติ เล่ม ๓๗ กถาวัตถุ คัมภีร์ที่พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระ เรียบ เรี ย งขึ้ น เมื่ อ คราวสั ง คายนาครั้ ง ที่ ๓ ประพั น ธ์ เ ป็ น คำา ปุ จ ฉา– วิสัชนา รวม ๒๑๙ กถา เล่ม ๓๘ ยมก ภาค ๑ คัมภีร์อธิบายหลักธรรม ตั้งคำาถามเป็น คู่ ๆ มี ๗ ยมก เล่ ม ๓๙ ยมก ภาค ๒ ถามตอบเพิ่ ม เติ ม จากภาค ๑ มี ๑๐ ยมก เล่ม ๔๐ ปัฏฐาน ภาค ๑ อธิบายปัจจัย ๒๔ เล่ม ๔๑ ปัฏฐาน ภาค ๒ อธิบ ายความที่ ธ รรมทั้ ง หลายเป็ น ปัจจัยแก่กัน ต่อจากภาค ๑ เล่ม ๔๒ ปัฏฐาน ภาค ๓ อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กัน ต่อ เล่ม ๔๓ ปัฏฐาน ภาค ๔ อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กัน ต่อ เล่ม ๔๔ ปัฏฐาน ภาค ๕ อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กัน ต่อ เล่ม ๔๕ ปัฏฐาน ภาค ๖ อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันในแง่ ปฏิเสธ พระไตรปิฎกทั้ง ๔๕ เล่ม มีคัมภีร์ที่บันทึกคำาอธิบาย เรียกว่า อรรถกถา และอรรถกถา ก็ มี คั ม ภี ร์ ที่ บั น ทึ ก คำา อธิ บ ายที่ แ ต่ ง โดย พระสาวก เรียกว่า ฎีกา อัก ษรย่อ หัว ใจพระไตรปิฎ ก โบราณท่ า นได้ ย่ อ พระไตรปิ ฎ กทั้ ง หมดเป็ น ตั ว อั ก ษรใช้ บริกรรมกัน ดังนี้ วินัยปิฎกย่อว่า ปา (หรือ อา) ปา ม จุ ป สุตตันตปิฎกย่อว่า ที ม สัง อัง ขุ อภิธรรมปิฎกย่อว่า สัง วิ ธา ปุ ก ย ป ปัจจุบันได้มีการย่อขุททกนิกาย ๑๕ คัมภีร์ว่า ขุ ธ อุ อิ สุ วิ เป เถ เถ ชา นิ ป อ พุ จ พระไตรปิ ฎ ก อรรถกถา ฎี ก า ที่ ป ระกอบการศึ ก ษาในหลั ก สู ต ร ปริ ญ ญาโทนี้ มี ก ารใช้ อั ก ษรย่ อ นิ สิ ต พึ ง ศึ ก ษารายละเอี ย ดใน หนังสือคู่มือทำา วิทยานิพนธ์ และดูตามที่ปรากฏในโครงสร้างแห่ง พระไตรปิฎก ในหน้าต่อไป
  • 11. 11