SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
วรรณกรรม พระนิพนธ์มงคลวิเสสกถา
ประวัติความเป็นมา
• เป็นพระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระญาวชิรญาณวโรรส
• สานวนเทศนาโวหาร ร้อยแก้วชนิดเรียงความแก้กระทู้ธรรม
• เป็นบทพระธรรมเทศนาที่แสดงต่อหน้าพระที่นั่ง ในมหาสมาคมสันนิบาต
พระราชพิธีสาคัญ เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษา
• อธิบายหลักธรรมซึ่งเป็นการพรรณนาจริยาวัตรของพระเจ้าแผ่นดิน
ในประโยชน์ที่ได้บาเพ็ญมาแล้วและที่จะบาเพ็ญบารมีในโอกาสต่อไป
• เกิดขึ้นเมื่อ ร.ศ.๑๑๙ (พ.ศ.๒๔๓) โดยสมเด็จพระสังฆราช (สา) วัดราช
ประดิษฐ์ ได้เทศน์ถวายมาแต่ครั้งรัชกาลที่ ๔ จนถึงสิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ ๕
สมเด็จพระมหาสมณเจ้าเทศน์ต่อจนถึง ร.ศ.๑๒๙(พ.ศ.๒๔๕๓) ภายหลัง
อาพาธ มงคลวิเสสกถาจึงมี ๑๑ ศก
แรงบัลดาลใจในการแต่ง
สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรณาณวโรรส ทรงพรรณนาถึง
พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ ที่ทรงปกครองบ้านเมือง และดูแล
อาณาประชาราษฏร์ ทำให้ทรงเหน็ดเหนื่อย จึงประสงค์จะให้พระองค์เกิดปีติ
ปราโมทย์ในพระราชจริยาวัตร อีกทั้งเป็นการอุปถัมถ์พระมหากษัตริย์ เป็น
อุบายถวายโอวาทอย่างแยบยล ละเมียดละไม และเพื่อให้ได้พิจารณาถึงสิ่งที่
ทาไปแล้ว และสิ่งที่ยังไม่ได้ทา
ประวัติผู้นิพนธ์
สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรณาณวโรรส
ประสูติเมื่อวันที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ.๒๔๐๒ ตรงกับ
วันพฤหัสบดี แรม ๗ ค่า เดือน ๕ ปีวอก
เป็นพระเจ้าลูกยาเธอใน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ในเจ้าจอมมารดา (แพ) นับเป็นพระราช
โอรสลาดับที่ ๔๗ ในบรรดาโอรสธิดาทั้งหมด
หากจะนับในบรรดาพระเจ้าลูกเธอร่วมพระชนนี เดียวกัน นับเป็นองค์ที่ ๔
เมื่อทรงพระเยาว์ได้ศึกษาทั้ง
ภาษาบาลีและภาษาอังกฤษ พ.ศ. ๒๔๑๖
ทรงบรรพชาเป็นสามเณร ที่วัดพระศรี
รัตนศาสดาราม โดยมีสมเด็จกรมพระ
ยาปวเรศวริยาลงกรณ์เป็นพระอุปัชฌาย์
ประทับอยู่วัดบวรนิเวศวิหาร
ต่อมาครั้นลาผนวชแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ได้โปรดให้เสด็จเข้ารับราชการ ดารงตาแหน่ง เลขานุการพนักงาน
ความฎีกา จนพระชนม์พรรษาครบอุปสบทเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๒
ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ประทับอยู่วัดบวรนิเวศวิหาร
และดารงตาแหน่ง สมเด็จพระสังฆราชเจ้าระหว่าง พ.ศ.
๒๔๕๓ - ๒๔๖๔ รวม ๑๒ ปี มีผลงานนิพนธ์ในทางศาสนาหลาย
เรื่อง สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ปีระกา พ.ศ.๒๔๖๔ มี
พระชนมายุรวม ๖๒ ปี ๔๒ พระพรรษา
เนื้อเรื่องย่อ
พระมงคลวิเสสกกถา เป็นเทศนาโวหาร ใช้เนื่องในพระราช
พิธีเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื้อเรื่อง
แสดงถึงหลักธรรมของพระเจ้าแผ่นดินตามหลักทศพิศราชธรรม
และพระราชจริยาวัตร ตั้งแต่ ศก ๑๑๙ หรือปี พ.ศ.๒๔๔๓ จนถึงศก
๑๒๙ หรือ พ.ศ.๒๔๕๓ แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ อัตตสมบัติ กล่าวถึง
สมบัติส่วนพระองค์ และปรหิตสมบัติ กล่าวถึงพระราชกรณียกิจที่
ทรงบาเพ็ญเพื่อประโยชน์แก่ประชาชน
ในศก ๑๑๙ พ.ศ.๒๔๔๓
เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องปุพเพกตปุญญตา อัตตสัมมาปนิธิ
และ รัฏฐาภิปาลโนบาย
ในศกที่ ๑๒๑ พ.ศ.๒๔๔๕
เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องสัทธาสัมปทา สามัตถิยะ และรัฏฐาภิปาลโนบาย
ในศกที่ ๑๒๒ พ.ศ.๒๔๔๖
เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องพาหุสัจจะ อุบายกุศลและรัฏฐาภิปาลโนบาย
ในศกที่ ๑๒๓ พ.ศ.๒๔๔๗
เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับสมานัตตตา การุณภาพและรัฏฐาภิปาลโนบาย
(รัฏฐาภิปาลโนบาย คือ วิธีการปกครองบ้านเมือง.)
ในศกที่ ๑๒๕ พ.ศ.๒๔๔๙
เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องกาลัญญุตา ปุตตสังคหะ และรัฏฐาภิปาลโนบาย
ในศกที่ ๑๒๖ พ.ศ.๒๔๕๐
เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องวิริยะสมบัติ โลกัตถจริยา และรัฏฐาภิปาลโนบาย
ในศกที่ ๑๒๗ พ.ศ.๒๔๕๑
เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องมิตรสมบัติ มัตตัญญุตา และรัฏฐาภิปาลโนบาย
ในศกที่ ๑๒๘ พ.ศ.๒๔๕๒
เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องธรรมภาษิตสัตยาธิษฐาน
ในศกที่ ๑๒๙ พ.ศ.๒๔๕๓
เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องกัตตุกัมยตาฉันทะ ปุคคลัญญุตา
รัฏฐาภิปาลโนบาย คาถวายพระพร พร้อมทั้งรตนัตตยปภาวาภิยาจนคาถา
รูปแบบของวรรณกรรม
บทนิพนธ์มงคลวิเสสกถา เป็นวรรณกรรมมีลักษณะเป็นร้อยแก้วชนิด
เรียงความแก้กระทู้ธรรม และมีการการผสมกันระหว่างร้อยแก้ว กับ ร้อยกรอง
มีรูปแบบการเขียนเชิงเทศนาโวหาร โดยมีการวางโครงร่าง
ในการเขียน วิธีการเขียนภาษาที่ใช้เขียน ตลอดทั้งการจัดลาดับเนื้อหา
ให้สอดคล้องสัมพันธ์กัน
สรุป
พระมงคลวิเสสกถา เป็นวรรณกรรมที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเฉลิมพระเกียรติ
พระเจ้าแผ่นดิน เป็นวรรณกรรมที่ใช้ภาษาไทยกับภาษาบาลี มีลักษณะการแต่งเป็น
ร้อยแก้ว ไพเราะด้วยสานวนเทศนาโวหาร ก่อให้เกิดศรัทธาปสาทะแก่ผู้สดับ เป็น
การแต่งแบบเรียงความแก้กระทู้ธรรม ด้วยการยกธรรมภาษิตมาตั้งเป็นบทอุทเทส
เพื่ออธิบายหลักธรรม เชื่อมโยงกับพระราชกรณียกิจโดยแบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ อัตต
สมบัติ กล่าวถึงสมบัติส่วนพระองค์ และปรหิตสมบัติ กล่าวถึงพระราชกรณียกิจที่
ทรงบาเพ็ญเพื่อประโยชน์แก่ประชาชน เกี่ยวกับบ้านเมืองรวมถึงการพัฒนาด้าน
คมนาคม เศรษฐกิจ และการเมือง เพื่อความสงบสุขของประชาชน รวมถึงการทานุ
บารุงพระพุทธศาสนา การปฏิสังขรณ์วัดต่างๆ และการวางแบบแผนในการปกครอง
คณะสงฆ์ ให้มีความปกติสุขเรียบร้อย และป็นประโยชน์แก่การศึกษา
คณะสงฆ์ในอดีตได้นาบทมงคลวิเสสกถาเป็นหลักสูตรการ
ออกข้อสอบวิชาแต่งไทยเป็นมคธ ชั้นประโยค ป.ธ.๙ ในอดีต

More Related Content

What's hot

บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม Padvee Academy
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3Oae Butrawong Skr
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่Theeraphisith Candasaro
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 

What's hot (20)

แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม  แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
แนวคิดเรื่อง “สังฆะ” ของหมู่บ้านพลัม
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
ประวัติศาสตร์กรุงรัตนโกสินทร์ ม.3
 
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
หนังสือเรียนวิชาเรียงความแก้กระทู้ธรรม นักธรรมชั้นตรี แผนใหม่
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 

Viewers also liked

การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงSatheinna Khetmanedaja
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนniralai
 

Viewers also liked (9)

แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณแต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
 
การสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูงการสอบเปรียญชั้นสูง
การสอบเปรียญชั้นสูง
 
ศัพท์ที่ควรรู้จากเรื่องมหาเวสสันดรชาดก
ศัพท์ที่ควรรู้จากเรื่องมหาเวสสันดรชาดกศัพท์ที่ควรรู้จากเรื่องมหาเวสสันดรชาดก
ศัพท์ที่ควรรู้จากเรื่องมหาเวสสันดรชาดก
 
ភាសាកូរ៉េ
ភាសាកូរ៉េភាសាកូរ៉េ
ភាសាកូរ៉េ
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
 
8. กัณฑ์ที่ ๘ กุมาร ๑๐๑ พระคาถา
8. กัณฑ์ที่ ๘ กุมาร ๑๐๑ พระคาถา8. กัณฑ์ที่ ๘ กุมาร ๑๐๑ พระคาถา
8. กัณฑ์ที่ ๘ กุมาร ๑๐๑ พระคาถา
 
បទានុក្រមខ្មែរ ៣​ Padanukram dhammapada vol.3
បទានុក្រមខ្មែរ ៣​ Padanukram dhammapada vol.3បទានុក្រមខ្មែរ ៣​ Padanukram dhammapada vol.3
បទានុក្រមខ្មែរ ៣​ Padanukram dhammapada vol.3
 
พุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียนพุทธภาษิตนักเรียน
พุทธภาษิตนักเรียน
 
ไอน์สไตน์ ในพุทธปรัชญา
ไอน์สไตน์ ในพุทธปรัชญาไอน์สไตน์ ในพุทธปรัชญา
ไอน์สไตน์ ในพุทธปรัชญา
 

Similar to มงคลวิเสสกถา

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยRung Kru
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์A'mp Minoz
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7Nathathai
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.Nathathai
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกMakuro DarkSoul
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกMakuro DarkSoul
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์Ning Rommanee
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชChoengchai Rattanachai
 
พระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมพระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมPRINTT
 

Similar to มงคลวิเสสกถา (20)

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.บุคคลสำคัญในบางกอก.
บุคคลสำคัญในบางกอก.
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7
 
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
บุคคลสำคัญในบางกอก 3/5กลุ่ม7.
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Bangkok
BangkokBangkok
Bangkok
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราชเล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
เล่มที่ 8 สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
 
พระราชวังเดิม
พระราชวังเดิมพระราชวังเดิม
พระราชวังเดิม
 

More from พระอภิชัช ธมฺมโชโต

บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนาการจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ  พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

More from พระอภิชัช ธมฺมโชโต (8)

มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชนมูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระเทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา  คานธีชีวประวัติ มหาตมา  คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
 
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนาการจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
 
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ  พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 

มงคลวิเสสกถา

  • 1. วรรณกรรม พระนิพนธ์มงคลวิเสสกถา ประวัติความเป็นมา • เป็นพระราชนิพนธ์ของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระญาวชิรญาณวโรรส • สานวนเทศนาโวหาร ร้อยแก้วชนิดเรียงความแก้กระทู้ธรรม • เป็นบทพระธรรมเทศนาที่แสดงต่อหน้าพระที่นั่ง ในมหาสมาคมสันนิบาต พระราชพิธีสาคัญ เช่นวันเฉลิมพระชนมพรรษา • อธิบายหลักธรรมซึ่งเป็นการพรรณนาจริยาวัตรของพระเจ้าแผ่นดิน ในประโยชน์ที่ได้บาเพ็ญมาแล้วและที่จะบาเพ็ญบารมีในโอกาสต่อไป • เกิดขึ้นเมื่อ ร.ศ.๑๑๙ (พ.ศ.๒๔๓) โดยสมเด็จพระสังฆราช (สา) วัดราช ประดิษฐ์ ได้เทศน์ถวายมาแต่ครั้งรัชกาลที่ ๔ จนถึงสิ้นพระชนม์ในรัชกาลที่ ๕ สมเด็จพระมหาสมณเจ้าเทศน์ต่อจนถึง ร.ศ.๑๒๙(พ.ศ.๒๔๕๓) ภายหลัง อาพาธ มงคลวิเสสกถาจึงมี ๑๑ ศก
  • 2. แรงบัลดาลใจในการแต่ง สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรณาณวโรรส ทรงพรรณนาถึง พระราชกรณียกิจของพระมหากษัตริย์ ที่ทรงปกครองบ้านเมือง และดูแล อาณาประชาราษฏร์ ทำให้ทรงเหน็ดเหนื่อย จึงประสงค์จะให้พระองค์เกิดปีติ ปราโมทย์ในพระราชจริยาวัตร อีกทั้งเป็นการอุปถัมถ์พระมหากษัตริย์ เป็น อุบายถวายโอวาทอย่างแยบยล ละเมียดละไม และเพื่อให้ได้พิจารณาถึงสิ่งที่ ทาไปแล้ว และสิ่งที่ยังไม่ได้ทา
  • 3. ประวัติผู้นิพนธ์ สมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรณาณวโรรส ประสูติเมื่อวันที่ ๑๒ เมษายน พ.ศ.๒๔๐๒ ตรงกับ วันพฤหัสบดี แรม ๗ ค่า เดือน ๕ ปีวอก เป็นพระเจ้าลูกยาเธอใน พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๔ ในเจ้าจอมมารดา (แพ) นับเป็นพระราช โอรสลาดับที่ ๔๗ ในบรรดาโอรสธิดาทั้งหมด หากจะนับในบรรดาพระเจ้าลูกเธอร่วมพระชนนี เดียวกัน นับเป็นองค์ที่ ๔
  • 4. เมื่อทรงพระเยาว์ได้ศึกษาทั้ง ภาษาบาลีและภาษาอังกฤษ พ.ศ. ๒๔๑๖ ทรงบรรพชาเป็นสามเณร ที่วัดพระศรี รัตนศาสดาราม โดยมีสมเด็จกรมพระ ยาปวเรศวริยาลงกรณ์เป็นพระอุปัชฌาย์ ประทับอยู่วัดบวรนิเวศวิหาร ต่อมาครั้นลาผนวชแล้ว พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้เสด็จเข้ารับราชการ ดารงตาแหน่ง เลขานุการพนักงาน ความฎีกา จนพระชนม์พรรษาครบอุปสบทเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๒ ทรงผนวชเป็นพระภิกษุ ประทับอยู่วัดบวรนิเวศวิหาร
  • 5. และดารงตาแหน่ง สมเด็จพระสังฆราชเจ้าระหว่าง พ.ศ. ๒๔๕๓ - ๒๔๖๔ รวม ๑๒ ปี มีผลงานนิพนธ์ในทางศาสนาหลาย เรื่อง สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ปีระกา พ.ศ.๒๔๖๔ มี พระชนมายุรวม ๖๒ ปี ๔๒ พระพรรษา เนื้อเรื่องย่อ พระมงคลวิเสสกกถา เป็นเทศนาโวหาร ใช้เนื่องในพระราช พิธีเฉลิมพระชนมพรรษาของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื้อเรื่อง แสดงถึงหลักธรรมของพระเจ้าแผ่นดินตามหลักทศพิศราชธรรม และพระราชจริยาวัตร ตั้งแต่ ศก ๑๑๙ หรือปี พ.ศ.๒๔๔๓ จนถึงศก ๑๒๙ หรือ พ.ศ.๒๔๕๓ แบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ อัตตสมบัติ กล่าวถึง สมบัติส่วนพระองค์ และปรหิตสมบัติ กล่าวถึงพระราชกรณียกิจที่ ทรงบาเพ็ญเพื่อประโยชน์แก่ประชาชน
  • 6. ในศก ๑๑๙ พ.ศ.๒๔๔๓ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องปุพเพกตปุญญตา อัตตสัมมาปนิธิ และ รัฏฐาภิปาลโนบาย ในศกที่ ๑๒๑ พ.ศ.๒๔๔๕ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องสัทธาสัมปทา สามัตถิยะ และรัฏฐาภิปาลโนบาย ในศกที่ ๑๒๒ พ.ศ.๒๔๔๖ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องพาหุสัจจะ อุบายกุศลและรัฏฐาภิปาลโนบาย ในศกที่ ๑๒๓ พ.ศ.๒๔๔๗ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับสมานัตตตา การุณภาพและรัฏฐาภิปาลโนบาย (รัฏฐาภิปาลโนบาย คือ วิธีการปกครองบ้านเมือง.)
  • 7. ในศกที่ ๑๒๕ พ.ศ.๒๔๔๙ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องกาลัญญุตา ปุตตสังคหะ และรัฏฐาภิปาลโนบาย ในศกที่ ๑๒๖ พ.ศ.๒๔๕๐ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องวิริยะสมบัติ โลกัตถจริยา และรัฏฐาภิปาลโนบาย ในศกที่ ๑๒๗ พ.ศ.๒๔๕๑ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องมิตรสมบัติ มัตตัญญุตา และรัฏฐาภิปาลโนบาย ในศกที่ ๑๒๘ พ.ศ.๒๔๕๒ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องธรรมภาษิตสัตยาธิษฐาน ในศกที่ ๑๒๙ พ.ศ.๒๔๕๓ เป็นการพรรณนาเกี่ยวกับเรื่องกัตตุกัมยตาฉันทะ ปุคคลัญญุตา รัฏฐาภิปาลโนบาย คาถวายพระพร พร้อมทั้งรตนัตตยปภาวาภิยาจนคาถา
  • 8. รูปแบบของวรรณกรรม บทนิพนธ์มงคลวิเสสกถา เป็นวรรณกรรมมีลักษณะเป็นร้อยแก้วชนิด เรียงความแก้กระทู้ธรรม และมีการการผสมกันระหว่างร้อยแก้ว กับ ร้อยกรอง มีรูปแบบการเขียนเชิงเทศนาโวหาร โดยมีการวางโครงร่าง ในการเขียน วิธีการเขียนภาษาที่ใช้เขียน ตลอดทั้งการจัดลาดับเนื้อหา ให้สอดคล้องสัมพันธ์กัน
  • 9. สรุป พระมงคลวิเสสกถา เป็นวรรณกรรมที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเฉลิมพระเกียรติ พระเจ้าแผ่นดิน เป็นวรรณกรรมที่ใช้ภาษาไทยกับภาษาบาลี มีลักษณะการแต่งเป็น ร้อยแก้ว ไพเราะด้วยสานวนเทศนาโวหาร ก่อให้เกิดศรัทธาปสาทะแก่ผู้สดับ เป็น การแต่งแบบเรียงความแก้กระทู้ธรรม ด้วยการยกธรรมภาษิตมาตั้งเป็นบทอุทเทส เพื่ออธิบายหลักธรรม เชื่อมโยงกับพระราชกรณียกิจโดยแบ่งเป็น ๒ ส่วน คือ อัตต สมบัติ กล่าวถึงสมบัติส่วนพระองค์ และปรหิตสมบัติ กล่าวถึงพระราชกรณียกิจที่ ทรงบาเพ็ญเพื่อประโยชน์แก่ประชาชน เกี่ยวกับบ้านเมืองรวมถึงการพัฒนาด้าน คมนาคม เศรษฐกิจ และการเมือง เพื่อความสงบสุขของประชาชน รวมถึงการทานุ บารุงพระพุทธศาสนา การปฏิสังขรณ์วัดต่างๆ และการวางแบบแผนในการปกครอง คณะสงฆ์ ให้มีความปกติสุขเรียบร้อย และป็นประโยชน์แก่การศึกษา คณะสงฆ์ในอดีตได้นาบทมงคลวิเสสกถาเป็นหลักสูตรการ ออกข้อสอบวิชาแต่งไทยเป็นมคธ ชั้นประโยค ป.ธ.๙ ในอดีต