SlideShare a Scribd company logo
1 of 20
Download to read offline
เอกสารประกอบการเรียน 
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา สาสนาและวัฒนธรรม 
สาระประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี 
นางสุนิดา พรานขุน 
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8
คาชี้แจง 
การใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้ 
ก่อนที่นักเรียนจะศึกษาค้นคว้าบทเรียนในเล่มนี้ ให้นักเรียนปฏิบัติ 
ตามขั้นตอน ดังนี้ 
1. ทาความเข้าใจจุดประสงค์การเรียนรู้ก่อนศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ 
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 10 ข้อ ลงในกระดาษคาตอบ 
3. นักเรียนต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ดูเฉลยก่อนทาแบบทดสอบ 
4. ศึกษาบทเรียนตามลาดับขั้นตอน และทากิจกรรมไม่ต้องรีบร้อน 
5. ขณะที่ศึกษาบทเรียน ถ้ามีปัญหาหรือข้อสงสัยให้ปรึกษาครูผู้สอนทันที 
6. เมื่อศึกษาบทเรียนจบแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน และตรวจคาตอบ จากเฉลยท้ายเล่ม 
7. สรุปผลการทดสอบลงในกระดาษคาตอบ เพื่อทราบผลการเรียน และการพัฒนา 
8. นักเรียนต้องมีความรับผิดชอบ รักษาเอกสารนี้ให้อยู่ในสภาพดีไม่ขีดเขียน ข้อความใดๆ ลงในเอกสาร และให้ส่งคืนตามกาหนดเวลา
จุดประสงค์การเรียนรู้ 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี 
มีจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถและทักษะ ดังนี้ 
1. อธิบายเกี่ยวกับการกู้เอกราชการสถาปนา อาณาจักรธนบุรี และการปราบชุมนุมต่าง ๆ 
2. ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการเมืองการปกครองสมัยธนบุรี 
3. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสังคมและเศรษฐกิจสมัยธนบุรี 
4. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ สมัยธนบุรี
แบบทดสอบก่อนเรียน 
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 
วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี 
คำชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มี 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 15 นาที 
2. ให้นักเรียนทาเครื่องหมายกากบาท  ทับข้อที่เห็นว่าถูกต้องลงในกระดาษคาตอบ 
1. สาเหตุสาคัญที่สุดที่ทาให้กรุงศรีอยุธยาสิ้นอานาจใน พ.ศ. 2310 คืออะไร 
ก พม่ามีกาลังเหนือกว่า 
ข ขาดแคลนเสบียงอาหาร 
ค พม่าใช้กลยุทธ์ไส้ศึกภายใน 
ง ความอ่อนแอทางด้านทหารและการเมือง 
2. พระเจ้าตากหนีออกจากกรุงศรีอยุธยาไปรวบรวม ผู้คนที่เมืองใด 
ก เมืองตาก ค เมืองพิษณุโลก 
ข เมืองจันทบุรี ง เมืองกาแพงเพชร 
3. ชุมนุมแรกที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงปราบปรามได้สาเร็จคือชุมนุมใด 
ก ชุมนุมเจ้าพิมาย 
ข ชุมนุมเจ้าพระฝาง 
ค ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก 
ง ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช 
4. อะไรคือเหตุผลที่สาคัญที่สุดในการเลือกเมืองธนบุรี เป็นราชธานีใหม่แทนกรุงศรีอยุธยา 
ก มีป้อมปราการพร้อม 
ข มีทางหนีออกทะเลสะดวก 
ค อยู่ใกล้ปากน้าเหมาะแก่การค้า 
ง เป็นเมืองเล็กเหมาะกับกาลังพลที่มีอยู่
5. ในสมัยธนบุรีกรมใดที่มีหน้าที่ติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ 
ก กรมวัง 
ข กรมนา 
ค กรมคลัง 
ง กรมเวียง 
6. หัวเมืองใดที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งข้าราชการผู้ใหญ่ไปปกครอง 
ก หัวเมืองชั้นใน 
ข หัวเมืองชั้นนอก 
ค หัวเมืองชั้นจัตวา 
ง หัวเมืองประเทศราช 
7. เพราะเหตุใดในสมัยธนบุรีจึงมีการสักเลกไพร่ทุกคน 
ก เพื่อควบคุมกาลังพล 
ข ต้องการจากัดอานาจของมูลนาย 
ค ต้องการให้ราษฎรมีระเบียบวินัย 
ง บ้านเมืองอยู่ในภาวะสงครามตลอดเวลา 
8. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชใช้นโยบายใดแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเกี่ยวกับการขาดแคลนอาหารของ 
ราษฎร 
ก ทาโรงทานเลี้ยงผู้ที่อดอยาก 
ข ประกาศลงโทษผู้กักตุนสินค้า 
ค ขุดคลองชลประทานเพื่อทานาปรัง 
ง สละพระราชทรัพย์ซื้อข้าวแจกราษฎร 
9. กรุงธนบุรีมีความเป็นมิตรกับรัฐใดมากที่สุด 
ก พม่า 
ข เขมร 
ค ล้านนา 
ง ล้านช้าง 
10. ชาติตะวันตกชาติใดไม่ได้เข้ามาติดต่อกับ กรุงธนบุรี 
ก อังกฤษ 
ข ฮอลันดา 
ค โปรตุเกส 
ง สหรัฐอเมริกา 
คิดดีๆ ก่อนตอบนะจ๊ะ
การกู้เอกราช 
ก่อนที่กรุงศรีอยุธยาจะเสียแก่พม่านั้น หัวเมืองฝ่ายเหนือ ฝ่ายใต้ และตะวันตก ล้วนถูก ควบคุมอย่างเข้มงวด การทามาหากิน การทาไร่ทานา ทรัพย์สิน วัวควาย ถูกยึดไว้หมด จนกระทั่ง ในช่วงกลางดึกของคืนวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2309 (ก่อนกรุงแตกประมาณ 3 เดือน) นั้น กองทัพ พม่ายิงถล่มพระนครศรีอยุธยาอย่างหนัก เกิดเพลิงลุกไหม้ทั่วพระนคร บ้านเรือ วัด วัง ได้รับความ เสียหาย เฉพาะบ้านเรือนราษฎรเกิดเพลิงไหม้กว่า 10,000 หลังทว่ากลางวันของวันที่ 3 มกราคมนั้น กองกาลังของสมเด็จพระเจ้าตากสินเมื่อครั้งยังดารงตาแหน่งเป็นพระยาตาก ได้รวบรวมไพร่พล จานวน 1,000 นายหนีออกจากกรุงศรีอยุธยามาก่อนแล้ว จึงได้เห็นแสงเพลิงลุกไหม้ในกรุงศรี อยุธยาที่บ้านสัมบัณฑิตในเวลาเที่ยงคืนของวันนั้น โดยมีนายทหารคนสาคัญในกองทัพคือ พระ เชียงเงิน หลวงพรหมเสนา หลวงพิชัยอาสา หลวงราชสเน่ห์ ขุนอภัยภักดี (ทั้ง 5 นายนี้มักปรากฏอยู่ เคียงข้างพระบรมราชานุสาวรีย์หลายแห่ง) พระองค์ตั้งค่ายอยู่ในค่ายวัดพิชัยได้เริ่มออกเดินทาง มาถึงบ้านหารตราเมื่อเวลาค่า โดยมีกองทัพพม่าไล่ติดตามมา แล้วต่อรบกันจนพม่าพ่ายแพ้กลับไป ก่อนจะเดินทางมาถึงบ้านข่าวเม่า บ้านสัมบัณฑิต ตอนเวลาเที่ยงคืน 
เช้าวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2309 กองกาลังเดินทางมุ่งหน้าไปทางบ้านโพสังหาร พม่าส่ง กองทัพไล่ติดตามมาอีกจึงได้รบกันจนพม่าแตกพ่ายกลับไป มาถึงบ้านพรานนกเวลาเย็น คราวนี้ พม่าส่งไพร่พลมาแก้มือถึง 2,000 นาย ฝ่ายพระยาตากจึงทรงม้ากับทหารอีก 4 ม้าออกรับศึก จน สามารถตีพม่าแตกพ่ายกลับไปอีกครั้ง วันนี้เหล่าทหารม้าจึงถือเอาเป็น วันทหารม้า ของไทย 
วันที่ 3 ของการเดินทัพ กองกาลังพระยาตากเดินทัพมาสุดเขตพระนครศรีอยุธยา ก่อนที่จะ เข้าเมืองนครนายก ก็มีขุนชานาญไพรสนฑ์กับนายกองช้าง มาขอสวามิภักดิ์ต่อพระองค์ ทั้งยังถวาย ช้างพลาย 5 ช้าง ช้างพัง 1 ช้าง แล้วอาสานาทางต่อไปยังบ้านกง (หรือบ้านดง) เมืองนครนายก เมื่อ ถึงบ้านกง ข้าราชการ ขุนหมื่นพันทนายท้องถิ่น ไม่ยอมสวามิภักดิ์ แม้จะได้เจรจาเกลี้ยกล่อม 3 ครั้ง ก็ไม่สาเร็จ รุ่งขึ้นกองกาลังพระยาตากจึงต้องปะทะไพร่พลชาวบ้านกง ซึ่งมีกาลังมากกว่า 1,000 นาย แต่ก็ถูกกองกาลังพระยาตากตีพ่ายไป ยึดช้างได้เพิ่มอีก 7 ช้าง เงินทอง และเสียงอาหารอีกจานวน มาก วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2509 หรือ 6 วันนับตั้งแต่หนีออกจากพระนคร เดินทัพมาถึงตาบลหนอง ไม้ชุ่ม แล้วหยุดพัก ณ จุดนี้เป็นเวลา 2 วัน ก่อนที่จะออกเดินทัพต่อมถึงบ้านนาเริ่ง แขวงเมือง นครนายกแล้วหยุดพักอีก 1 คืน
ต่อมาพระยาตากจึงนาไพร่พลข้ามแม่น้าที่ด่านกบแจะ เมืองปราจีนบุรี แล้วหยุดพักรี้พล ก่อนจะ เดินทัพต่อไปยังทุ่งศรีมหาโพธิ์ และต้องหยุดรอนายทหาร 3 นาย คือ พระเชียงเงิน ขุนพิพิธวาที และ สมเด็จพระรามราชา ที่ตามกองทัพมาไม่ทัน ระหว่างที่ทรงรอกลุ่มพระเชียงเงินอยู่นั้น ได้เกิดการ ปะทะกับกองทัพทั้งทัพบกทัพเรือของพม่าซึ่งตั้งอยู่ที่ปากแม้น้าโจ้โล้ เมืองฉะเชิงเทรา "พม่าไล่แทง ฟันคงซึ่งเหนื่อยล้าอยู่นั้นวิ่งหนีมาตามทาง ครั้นได้ทอดพระเนตรเห็น จึงให้นายบุญมีขึ้นม้าใช้สวน ทางลงไปประมาณ 200 เส้น พบกองทัพพม่ายกขึ้นมาแต่ปากน้าโจ้โล้ทั้งทัพบกทัพเรือ" พระเจ้าตาก จึงมีรับสั่งให้ตั้งแนวรับ ขุดหลุมเพลาะ วางปืนตับ เรียงหน้ากระดาน จนพม่าเข้ามาใกล้ราว 240 เมตร จึงเริ่มเปิดฉากยิงขึ้น แนวแรกของพม่าแตกพ่ายไป แต่ยังมีกองหนุนเข้ามาอีก 3 กอง ซึ่งก็ถูกยิง แตกพ่ายไปเช่นกัน "จึงขับพลทหารโห่ร้องตีฆ้องสาทับไล่ติดตามฆ่าพม่าเสียเป็นอันมาก แล้วก็ เดินทัพมาทางบ้านหัวทองหลางสะพานทอง" จากแนวทะทะและการติดตามฆ่าพม่ามาทางปากน้า โจ้โล้นี้เอง ทาให้เปลี่ยนจากการเดินทัพตามชายป่าดงมาเป็นชายทะเลเข้าเขตเมืองชลบุรี "จึงให้ยก พลนิกายมาประทับตามลาดับ บ้านทองหลาง, ตะพานทอง, บางปลาสร้อย ถึงบ้านนาเกลือ" 
ที่บ้านนาเกลือ มีนายกลม (หรือนายกล่า) นายชุมนุมที่บ้านนาเกลือได้รวบรวมไพร่พลคิดสกัดต่อรบ กับกองกาลังพระเจ้าตาก แต่เพียงพระเจ้าตากแสดงแสนยานุภาพ "เสด็จทรงช้างพระที่นั่งสรรพด้วย เครื่องสรรพาวุธทรงพระแสงปืนต้นรางแดงกับหมู่พลโยธาหาญ" เท่านั้นนายกลมก็ถึงกับวางอาวุธ ยอมอ่อนน้อมแต่โดยดี แล้วอาสานาไป พัทยา นาจอมเทียน ทุ่งไก่เตี้ย สัตหีบ ชายทะเล บ้านหินโขง และบ้านน้าเก่าแขวงเมืองระยอง โดยพักทัพคืนละแห่งตามลาดับระหว่างเส้นทางที่ผ่านไปนั้นได้ ปะทะกับกองกาลังของพม่าหลายครั้ง แต่ก็สามารถตีฝ่าไปได้ทุกครั้ง และสามารถรวบรวมไพร่พล ตลอดจนอาวุธยุทโธปกรณ์ได้มากขึ้น 
หลังจากพระองค์ยึดเมืองระยองได้ ขณะพักอยู่บริเวณวัดลุ่มมหาชัยชุมพล ได้เกิดเหตุการณ์อัศจรรย์ พายุหมุนจนบิดต้นตาลเป็นเกลียวโดยไม่คลายตัว ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า ตาลขด บรรดาทหารทั้งหลาย ต่างก็ยกพระยาวชิรปราการเป็น เจ้าตาก ภายหลังจากเดินทัพออกจากวัดพิชัย 23 วัน พระองค์ได้มี พระราชปณิธานว่า "กรุงเทพมหานครคงจะเสียแก่พม่าเป็นแท้ ตัวเราคิดจะซ่องสุมประชาราษฎรใน แขวงเมืองหัวเมืองตะวันออกทั้งปวงให้ได้มากแล้ว จะยกกลับเข้าไปกู้กรุงห้คงคืนเป็นราชธานีดัง เก่า แล้วจักทานุบารุงสมณพราหมณาประชาราษฎรซึ่งอนาถาหาที่พานักบ่มิได้ ให้ร่มเย็นเป็นสุขานุ สุข และจะยอยกพระบวรพุทธศาสนาให้โชตนาการไพบูลย์ขึ้นเหมือนอย่างแต่ก่อน เราจะตั้งตัวเป็น เจ้าขึ้น ให้คนทั้งหลายนับถือยาเกรงจงมาก การซึ่งจะก่อกู้แผ่นดินจึงจะสาเร็จโดยง่าย"[ การประกาศ ตั้งตัวขึ้นในครั้งนี้มีศักดิ์เทียบเท่าพระบรมวงศานุวงศ์
การสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี เมื่อพระยาตากกู้เอกราชได้สาเร็จได้โปรดให้ขุดพระบรมศพพระเจ้าเอกทัศขึ้นมาถวายพระเพลิง อย่างสมพระเกียรติ ประชาชนต่างก็ยอมรับพระเจ้าตากเป็นพระเจ้าแผ่นดิน จึงได้ทรง ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ ใน พ.ศ. 2311 และยังได้ทรงเกื้อกูลพระราชวงศ์ของกรุงศรี อยุธยาหลายพระองค์ที่ประชวรอยู่ หลังจากกอบกู้เอกราชได้แล้ว สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงมีพระราชดาริว่า กรุงศรี อยุธยามีสภาพทรุดโทรมมาก ไม่สามารถซ่อมแซมฟื้นฟูให้กลับคืนสภาพเดิมได้ ปราสาทราช มณเฑียร วัดวาอารามพังย่อยยับ จึงทรงตัดสินพระทัยสร้างราชธานีใหม่ขึ้นที่เมืองธนบุรี ซึ่งมี ขอบเขตของราชธานีครอบคลุมสองฝั่งน้า โดยมีแม่น้าเจ้าพระยาตัดผ่านกลางเมือง สาเหตุที่ย้ายเมืองหลวงจากกรุงศรีอยุธยามาอยู่ที่กรงุธนบุรี (1) กรุงศรีอยุธยาชารุดเสียหายมาก ไม่สามารถบูรณปฏิสังขรณ์ให้มีสภาพเหมือนเดิมได้ (2) กาลังพลของพระองค์มีน้อย ไม่สามารถรักษากรุงศรีอยุธยาที่เป็นเมืองใหญ่ได้ (3) ข้าศึกรู้ทิศทางที่จะมาตีกรุงศรีอยุธยาดีแล้ว (4) กรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่ไกลจากปากแม่น้ามากเกินไป ไม่สะดวกต่อการติดต่อค้าขายกับ ต่างชาติที่มีจานวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ สาเหตุที่ทรงเลือกกรุงธนบุรีเป็นเมืองหลวง (1) กรุงธนบุรีเป็นเมืองเล็ก เหมาะต่อการป้องกันรักษา (2) กรุงธนบุรีตั้งอยู่ใกล้ปากแม่น้า ทาให้สะดวกต่อการติดต่อค้าขายกับต่างชาติ และการ ควบคุมการลาเลียงเสบียงอาหาร (3) กรุงธนบุรีตั้งอยู่ใกล้ทะเล หากข้าศึกมีแต่ทัพบกไม่มีทัพเรือก็ยากที่จะชนะได้ และหาก ตั้งรับไม่ไหวก็สามารถยกพลทางเรือไปตั้งรับที่จันทบุรีได้ (4) กรุงธนบุรีเป็นแหล่งรวมขวัญและกาลังใจของคนได้ดี เพราะตั้งอยู่ไม่ไกลจากกรุงศรี อยุธยา
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 
วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
เรื่อง การสถาปนาราชธานี 
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคา ถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ 
1. หลังจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียเอกราชให้กับข้าศึก แล้วสภาพบ้านเมืองขณะนั้นน่าจะเป็น 
อย่างไร 
2. สมเด็จพระเจ้าตากสิมหาราชมีวิธีการกู้เอกราชอย่างไร 
3. เหตุใดสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจึงทรงย้ายราชธานีมาอยู่ที่กรุงธนบุรีแทนที่จะอยู่ที่ 
อยุธยาตามเดิม 
4. กรุงธนบุรีมีความเหมาะสมต่อการตั้งเป็นราชธานีแห่งใหม่อย่างไร 
5. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงรวบรวมประเทศให้เป็นปึกแผ่นได้อย่างไร 
กิจกรรมที่ 1
การปราบชุมนุมต่าง ๆ 
การรวบรวมอาณาเขต เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าใน พ.ศ. 2310 บ้านเมืองเกิดความวุ่นวายแตกสาแหรกขาด ผู้คนพากันหลบหนีเอาชีวิตรอด เกิดข้าวยากหมากแพง ผู้คนที่รอดพ้นจากการจับกุมและไม่ถูกกวาด ต้อนไปยังพม่า ได้พยายามรักษาตัวรอด โดยการซ่องสุมผู้คนขึ้นตั้งกันเป็นก๊กเป็นเหล่า ซึ่งประกอบ ไปด้วย 5 ชุมนุม ได้แก่ 1.ชุมนุมเจ้าพิมาย ตั้งอยู่ที่อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมาในปัจจุบัน หัวหน้าคือ กรม หมื่นเทพพิพิธ โอรสสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าเมืองพิมายมีความจงรักภักดีต่อราชวงศ์บ้าน พลูหลวง จึงได้สนับสนุนขึ้นเป็นใหญ่ 2.ชุมนุมเจ้าพระฝาง ตั้งอยู่ที่สวางคบุรี ทางเหนือของจังหวัดอุตรดิตถ์ มีอาณาเขตตั้งแต่ เมืองพิชัยไปจนถึงเมืองแพร่ เจ้าพระฝาง (เรือน) เป็นสังฆราชเมืองสวางคบุรี มีความสามารถทาง คาถาอาคม จึงตั้งตัวเป็นใหญ่ได้ทั้งที่อยู่ในสมณเพศ (แต่ใช้ผ้าแดงนุ่งห่มแทนผ้าเหลือง) 3.ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิษณุโลก เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เป็น หัวหน้า เป็นชุมนุมที่สาคัญทางเหนือ มีอาณาเขตตั้งแต่เมืองพิชัย ลงมาถึงนครสวรรค์ เจ้าพระยา พิษณุโลกเป็นขุนนางใหญ่ที่มีความสามารถในด้านการปกครองและการรบ พวกขุนนางที่หลบหนี พม่าออกจากรุงศรีอยุธยาได้ไปสมทบกับชุมนุมนี้เป็นอันมาก ต่อมาถึงแก่พิราลัย หัวหน้าชุมนุมคน ต่อมา คือ พระอินทร์อากร 4.ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช หัวหน้าคือ เจ้า นครศรีธรรมราช (หนู) หรือหลวงสิทธินายเวร มีอาณาเขตตั้งแต่หัวเมืองมลายูขึ้นมาถึงเมืองชุมพร 5.ชุมนุมพระยาตาก ตั้งอยู่บริเวณหัวเมืองชายทะเลทางฝั่งตะวันออก เมื่อพม่าเข้าล้อมกรุง ศรีอยุธยา ได้พยายามป้องกันรักษาบ้านเมืองอย่างเต็มที่ แต่สถานการณ์ของกรุงศรีอยุธยาขณะนั้น คับขันมาก ทาให้พระยาตากรวบรวมสมัครพรรคพวกไทย-จีน ประมาณ 500 คน ตีฝ่ากองทัพพม่า ออกจากเมืองในเดือนยี่(มกราคม) พ.ศ.2309 เพื่อที่จะรวบรวมผู้คนมาสู้รบกับพม่าในตอนหลัง
พระยาตากมุ่งหน้าไปทางตะวันออกของเมืองนครนายก และปราจีนบุรี ผ่านฉะเชิงเทรา ชลบุรี ถึงระยอง และที่ระยอง พระยาตากได้ตั้งตัวเป็นใหญ่ พวกบริวารจึงเรียกว่า “เจ้าตาก” แต่นั้น มา การที่เจ้าตากเลือกที่ตั้งมั่นทางหัวเมืองชายฝั่งทะเลตะวันออก เพราะ 1.หัวเมืองชายทะเลฝั่งตะวันออกไม่ได้เป็นเส้นทางที่พม่าเดินทัพผ่าน 2.เจ้าตากตัดสินใจเข้าโจมตีเมืองจันทบุรี เพราะจันทบุรีเป็นหัวเมืองเอกทางฝั่งทะเล ด้านตะวันออก อุดมสมบูรณ์ด้วยข้าวปลาอาหาร สามารถค้าขายกับพ่อค้าจีนทางทะเลได้สะดวก และยังมีป้อมปราการมั่นคง เหมาะสาหรับยึดเป็นที่มั่นเพื่อเตรียมการรวบรวมไพร่พลต่อไป เจ้าตาก ยึดเมืองจันทบุรีได้ในเดือน 7 (มิถุนายน) พ.ศ.2310 หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาแล้ว 2 เดือน
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 
วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
เรื่อง การปราบชุมนุมต่าง ๆ 
คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ 
1. ชุมนุมในสมัยธนบุรีประกอบด้วยชุมนุมอะไรบ้าง 
2. ผู้นาของชุมนุมพระเจ้าตาก คือใคร 
3. ชุมนุมเจ้าพิมายตั้งอยู่ที่ใด 
4. พระยาตากประกาศตั้งตัวเป็นใหญ่ที่ใด 
5. สมเด็จพระเจ้าตากสินโจมตีจันทบุรีเพราะเหตุผลใด 
กิจกรรมที่ 2
สังคมและเศรษฐกิจสมัยธนบุรี 
ความเจริญทางด้านต่างๆ ในสมัยธนบุรี และการติดต่อกับต่างประเทศ ตลอดระยะเวลา 15 ปี ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระองค์ทรงใช้เวลาส่วน ใหญ่ในการต่อสู้ปราบปราม ป้องกันและขยายอาณาเขตของประเทศ จึงไม่ค่อยมีเวลาจะที่จะพัฒนา 
ประเทศทางด้านอื่นมากนัก แต่ถึงกระนั้นพระองค์ก็ทรงพยายามสร้างความเจริญให้แก่ 
ประเทศในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. ด้านการปกครอง ลักษณะการปกครองของกรุงธนบุรี ดาเนินรอยตามแบบแผนของ 
สมัยอยุธยาตอนปลาย โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 1.1 การปกครองส่วนกลางหรือราชธานี อยู่ในความรับผิดชอบของอัครมหาเสนนาบดี 
ทั้ง 2 ตาแหน่ง คือ สมุหกลาโหม ดูแลฝ่ายทหาร และสมุหนายก ดูแลฝ่ายพลเรือน กับตาแหน่ง 
เสนาบดีจตุสดมภ์อีก 4 ตาแหน่ง คือ กรมเวียง กรมวัง กรมคลัง กรมนา กรมทั้ง 4 นี้ มีหน้าที่ คือ 1) กรมเวียง มีหน้าที่ปกครองท้องที่ บังคับบัญชาบ้านเมือง และรักษาความสงบ 
เรียบร้อยของบ้านเมือง 2) กรมวัง มีหน้าที่รับเกี่ยวกับราชสานัก และพิจารณาพิพากษาคดีความของ 
ราษฎร 3) กรมคลัง มีหน้าที่รับจ่ายและเก็บรักษาพระราชทรัพย์ที่ได้มาจากส่วยอากร 
บังคับบัญชากรมท่าซึ่งเกี่ยวข้องกับการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ และมีหน้าที่เกี่ยวกับพระ คลังสินค้าการค้าสาเภาของหลวง 4) กรมนา มีหน้าที่ดูแลการทานา เก็บข้าวขึ้นฉางหลวง และพิจารณาคดีความ เกี่ยวกับเรื่องโค กระบือและที่นา คาว่า “กรม” ในที่นี้หมายความคล้ายกับ “กระทรวง”ในปัจจุบัน 1.2 การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งออกเป็น 1) การปกครองหัวเมืองชั้นใน ที่อยู่รายรอบราชธานี เรียกว่า เมืองชั้นจัตวา มี ผู้ปกครองเรียกว่า “ผู้รั้ง” ปฏิบัติตามคาสั่งของเสนาบดีจตุสดมภ์ในราชธานี 2) การปกครองหัวเมืองภายในราชอาณาจักร เรียกว่า หัวเมืองชั้นนอก หรือ เมือง พระยามหานคร เป็นเมืองที่อยู่นอกเขตราชธานีออกไป แบ่งออกเป็นเมืองชื้นเอก โท ตรี 3) การปกครองหัวเมืองประเทศราช ที่อยู่ห่างไกลออกไปถึงชายแดน มีอาณาเขต
ติดต่อกับประเทศอื่น ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาให้ตามกาหนด ได้แก่ กัมพูชา ลาว เชียงใหม่ และนครศรีอธรรมราช 2. ด้านกฎหมายและการศาล กฎหมายและวิธีพิจารณาคดีความในศาลสมัยธนบุรี ใช้ตาม แบบสมัยอยุธยาเท่าที่มีหลักฐานปรากฏอยู่มีเพียงฉบับเดียว เกี่ยวกับการสักเลก คือ การลงทะเบียน ชายฉกรรจ์เพื่อรับใช้ในราชการ เรียกว่า ไพร่หลวง การสักเลกในสมัยนั้นสาคัญมาก เพราะเป็น ระยะเวลาของการป้องกันและแผ่อานาจเพื่อให้ประเทศชาติมั่นคง ส่วนการศาลมักใช้บ้านของ เจ้านาย บ้านของตุลาการ บางครั้งสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชก็ทรงเป็นผู้พิพากษาคดีเอง และ ทรงใช้ศาลทหารและพระบรมราชโองการเป็นกฎหมายใช้ในการตัดสินคดีความด้วย 3. ด้านเศรษฐกิจ หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าแล้ว สภาพเศรษฐกิจของไทยตกต่ามาก ประชาชนยากจนอัตคัดฝืดเคือง อาหารหายากและราคาแพง เนื่องจากในขณะที่เกิดศึกสงครามผู้คน ต่างพากันหนีเอาตัวรอด การทาไร่ทานาต้องหยุดชะงักลง สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้าในระยะที่ตั้งกรุงธนบุรีใหม่ๆ ด้วยการจ่ายพระราชทรัพย์ซื้อข้าวจากพ่อค้า ต่างประเทศในราคาสูงเพื่อแจกจ่ายประชาชน และชักชวนให้ราษฎรกลับมาตั้งภูมิลาเนาอยู่ตาม เมืองต่างๆ ทามาหากินดังแต่ก่อน นอกจากนั้นสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ยังส่งเสริมทางด้าน การค้าขาย มีการส่งเรือสาเภาไปค้าขายยังประเทศ อินเดียและประเทศใกล้เคียง สาหรับสิ่งของที่ บรรทุกเรือสาเภาหลวงไปขาย เช่น ดีบุก พริกไทย ครั่ง ขี้ผึ้ง ไม้หอม ฯลฯ และเมื่อขายสินค้า หมดแล้วก็จะซื้อสินค้าต่างประเทศที่ต้องการใช้ในประเทศ เช่น ผ้าลายและถ้วยชามมาขายให้แก่ ประชาชนอีกต่อหนึ่ง ซึ่งการค้าขายนี้เป็นแบบเดียวกับสมัยอยุธยา คือ อยู่ภายใต้การดูแลของพระ คลังสินค้า หรือกรมาท่า มีการส่งเสริมให้ราษฎรทาการเพาะปลูก ทาให้เศรษฐกิจของประเทศค่อยๆ ดีขึ้นตามลาดับ 4. ด้านสังคม สังคมไทยสมัยกรุงธนบุรีมีการควบคุมอย่างเข้มงวด เพื่อเตรียมพร้อมอยู่ เสมอ เพราะมีการทาศึกกับพม่าบ่อยครั้ง มีการสักเลกบอกชื่อสังกัดมูลนายและเมืองไว้ที่ข้อมือไพร่ หลวงทุกคน ซึ่งมีหน้าที่รับใช้ราชการปีละ 6 เดือน โดยการมารับราชการ 1 เดือน แล้วหยุดไปทามา หากินของตนอีก 1 เดือนสลับกันไป เรียกว่า “การเข้าเดือนออกเดือน” ไพร่หลวงอีกพวกหนึ่ง เรียกว่า “ไพร่ส่วย” คือ ไพร่หลวงที่ส่งสิ่งของแทนการใช้แรงงานแก่ราชการ ซึ่งเป็นพวกที่รับใช้แต่ เฉพาะเจ้านายที่เป็นขุนนาง 5. ด้านการศึกษา แม้ว่าบ้านเมืองจะอยู่ในภาวะสงคราม แต่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ก็ทรงทะนุบารุงการศึกษาอยู่เสมอ ศูนย์กลางการศึกษาในสมัยธนบุรีอยู่ที่วัด เด็กผู้ชายเมื่อมีอายุ พอสมควร พ่อแม่มักเอาไปฝากกับพระ เมื่อมีเวลาว่างพระก็จะสอนให้อ่านเขียน หนังสือแบบเรียน ที่ใช้คือหนังสือจินดามณี เมื่ออ่านออกเขียนได้แล้ว ก็เรียนแต่งร้อยแก้ว โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน
กิจกรรมที่ 3 
ศึกษาศัพท์ เขมร บาลี สันสกฤต วิชาเลข เรียนมาตราไทย ชั่ง ตวง วัด มาตราเงินไทย คิดหน้าไม้ (วิธีการคานวณหาจานวนเนื้อไม้เป็นยก หรือเป็นลูกบาศก์) การศึกษาด้านอาชีพ พ่อแม่มีอาชีพอะไร ก็มักฝึกให้ลูกหลานมีอาชีพตามตนเอง โดยฝึกฝนตกทอดกันมาหลายชั่วอายุคน เช่น วิชาช่างและ แกะสลัก ช่างปั้น ช่างถม แพทย์แผนโบราณ ฯลฯ ส่วนสตรี ประเพณีโบราณไม่นิยมให้เรียนหนังสือ มีน้อยคนที่อ่านออกเขียนได้ เด็กผู้หญิงส่วนมากจะถูกฝึกสอนให้ด้านการเย็บปักถักร้อย ทากับข้าว การจัดบ้านเรือน และมารยาท ของกุลสตรี 6. ด้านศาสนา เมื่อครั้งเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 สิ่งสาคัญต่างๆ ในพระพุทธศาสนาถูก ทาลายเสียหายมาก หลังจากที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงย้ายเมืองหลวงมายังกรุงธนบุรี พระองค์ได้ฟื้นฟูศาสนาขึ้นใหม่โดยชาระความบริสุทธิ์ของพระสงฆ์ พระสงฆ์รูปใดที่ประพฤติไม่ อยู่ในพระวินัยก็ให้สึกออกไปเสีย พระสงฆ์รูปใดประพฤติอยู่ในพระวินัยทรงอาราธนาให้บวชเรียน ต่อไป นอกจากนี้ พระองค์ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการสร้างพระอุโบสถ วิหาร เสาสนะ กุฏิสงฆ์และวัดวาอารามต่างๆ เช่น วันบางยี่เหนือเหนือ (วัดราชคฤห์) วัดบางยี่เรือใต้ (วัด อินทาราม) วัดบางหว้าใหญ่ (วัดระฆังโฆษิตาราม) วัดแจ้ง (วัดอรุณราชวราราม) วัดหงส์ (วัดหงส์ รัตนาราม) เป็นต้น นอกจากนี้เมื่อพระองค์ทราบว่าพระไตรปิฎกมีอยู่ที่ใด ก็ทรงให้นามาคัดลอกเป็นฉบับ หลวงไว้ที่กรุงธนบุรี แล้วส่งต้นฉบับกลับไปเก็บไว้ที่เดิม ทรงให้ช่างจารพระไตรปิฎกทั้งจบ ที่ สาคัญที่สุดทรงให้อัญเชิญพระแก้วมรกต มาประดิษฐานที่วัดอรุณราชวราราม 7. ด้านศิลปะและวรรณกรรม สมัยกรุงธนบุรีด้านศิลปะมีไม่ค่อยมากนัก เพราะบ้านเมือง อยู่ในภาวะสงคราม ถึงกระนั้นพระองค์ก็ทรงให้มีการละเล่น เพื่อเป็นการบารุงขวัญประชาชน ให้ หายจากความหวาดกลัวและลืมความทุกข์ยาก มีขบวนแห่อัญเชิญและสมโภชพระแก้วมรกตเป็น เวลา 7 วัน การประชันละครระหว่างละครผู้หญิงของเจ้านครศรีธรรมราช และละครหลวง
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 
วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
เรื่อง สังคมและเศรษฐกิจสมัยธนบุรี 
คาสั่ง 1. ให้ศึกษาค้นคว้าจากใบความรู้เรื่อง การเมืองการปกครองสมัยธนบุรี 
2. เติมข้อความลงในกรอบ  ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ 
ชื่อ-สกุล..............................................................ชั้น................ เลขที่....... 
การปกครองสมัยธนบุรี 
แบบทดสอบหลังเรียน 
มีหน้าที่ดูแลฝ่าย 
............................ 
มีหน้าที่ดูแลฝ่าย 
............................ 
มีหน้าที่ 
...................................................................................................................................................... 
มีหน้าที่ 
...................................................................................................................................................... 
มีหน้าที่ 
...................................................................................................................................................... 
มีหน้าที่ 
...............................................................................................................................1............................................ 
ลักษณะ.................................. 
ผู้ปกครองเรียกว่า..................... 
ขึ้นอยู่กับ................................. 
3............................................ 
ลักษณะ.................................. 
.............................................. 
ได้แก่...................................... 
.............................................. 
หน้าที่ต่อกรุงธนบุรี................... 
.............................................. 
2............................................ 
หรือ........................................ 
ลักษณะ.................................. 
.............................................. 
แบ่งเป็น.................................. 
ผู้ปกครองมาจาก..................... 
..............................................
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 
วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี 
คำชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มี 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 15 นาที 
2. ให้นักเรียนทาเครื่องหมายกากบาท  ทับข้อที่เห็นว่าถูกต้องลงในกระดาษคาตอบ 
1. ชุมนุมแรกที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงปราบปรามได้สาเร็จคือชุมนุมใด 
ก ชุมนุมเจ้าพิมาย 
ข ชุมนุมเจ้าพระฝาง 
ค ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก 
ง ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช 
2. สาเหตุสาคัญที่สุดที่ทาให้กรุงศรีอยุธยาสิ้นอานาจใน พ.ศ. 2310 คืออะไร 
ก พม่ามีกาลังเหนือกว่า 
ข ขาดแคลนเสบียงอาหาร 
ค พม่าใช้กลยุทธ์ไส้ศึกภายใน 
ง ความอ่อนแอทางด้านทหารและการเมือง 
3. ในสมัยธนบุรีกรมใดที่มีหน้าที่ติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ 
ก กรมวัง 
ข กรมนา 
ค กรมคลัง 
ง กรมเวียง 
4. หัวเมืองใดที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งข้าราชการผู้ใหญ่ไปปกครอง 
ก หัวเมืองชั้นใน 
ข หัวเมืองชั้นนอก 
ค หัวเมืองชั้นจัตวา 
ง หัวเมืองประเทศราช 
5. กรุงธนบุรีมีความเป็นมิตรกับรัฐใดมากที่สุด 
ก พม่า 
คิดดีๆ ก่อนตอบนะจ๊ะ
ข เขมร 
ค ล้านนา 
ง ล้านช้าง 
6. ชาติตะวันตกชาติใดไม่ได้เข้ามาติดต่อกับ กรุงธนบุรี 
ก อังกฤษ 
ข ฮอลันดา 
ค โปรตุเกส 
ง สหรัฐอเมร 
7. พระเจ้าตากหนีออกจากกรุงศรีอยุธยาไปรวบรวม ผู้คนที่เมืองใด 
ก เมืองตาก ค เมืองพิษณุโลก 
ข เมืองจันทบุรี ง เมืองกาแพงเพชร 
8. อะไรคือเหตุผลที่สาคัญที่สุดในการเลือกเมืองธนบุรี เป็นราชธานีใหม่แทนกรุงศรีอยุธยา 
ก มีป้อมปราการพร้อม 
ข มีทางหนีออกทะเลสะดวก 
ค อยู่ใกล้ปากน้าเหมาะแก่การค้า 
ง เป็นเมืองเล็กเหมาะกับกาลังพลที่มีอยู่ 
9. เพราะเหตุใดในสมัยธนบุรีจึงมีการสักเลกไพร่ทุกคน 
ก เพื่อควบคุมกาลังพล 
ข ต้องการจากัดอานาจของมูลนาย 
ค ต้องการให้ราษฎรมีระเบียบวินัย 
ง บ้านเมืองอยู่ในภาวะสงครามตลอดเวลา 
10. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชใช้นโยบายใดแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเกี่ยวกับการขาดแคลนอาหารของ 
ราษฎร 
ก ทาโรงทานเลี้ยงผู้ที่อดอยาก 
ข ประกาศลงโทษผู้กักตุนสินค้า 
ค ขุดคลองชลประทานเพื่อทานาปรัง 
ง สละพระราชทรัพย์ซื้อข้าวแจกราษฎร
ภาคผนวก
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 
วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
เรื่องพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 
วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 
เรื่องพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี 
ข้อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คาตอบ ก ง ค ข ค ง ข ง ค ง 
ข้อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คาตอบ ง ข ก ง ค ข ก ง ค ง

More Related Content

What's hot

ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
Kobwit Piriyawat
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
Mind Candle Ka
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
bambookruble
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Pracha Wongsrida
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
Thiranan Suphiphongsakorn
 
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาเรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
พัน พัน
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
Nattha Namm
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
dalarat
 

What's hot (20)

ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์  พิร...
ชุดการเรียนรู้ พัฒนาความคิดสร้างสรรค์เรื่อง ซากดึกดำบรรพ์ โดยครูกอบวิทย์ พิร...
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัดวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน พร้อมแบบฝึกหัด
 
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยาเรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
เรื่องกาพย์พระไชยสุริยา
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 

Similar to พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี

08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
JulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
JulPcc CR
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
JulPcc CR
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
hall999
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
hall999
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
Ning Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
Ning Rommanee
 
ไทย 50
ไทย 50ไทย 50
ไทย 50
chugafull
 
ไทย 50
ไทย 50ไทย 50
ไทย 50
paytine
 
ไทย 50
ไทย 50ไทย 50
ไทย 50
chugafull
 

Similar to พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี (20)

08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี08กรุงธนบุรี
08กรุงธนบุรี
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยาพัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
พัฒนาการอาณาจักรอยุธยา
 
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ยคร  งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
คร งท__ 02 - อาณาจ_กรตอนเหน_อล__มน_ำเจ_าพระยาก_อนส_โขท_ย
 
ไทย 50
ไทย 50ไทย 50
ไทย 50
 
ไทย 50
ไทย 50ไทย 50
ไทย 50
 
Thai50
Thai50Thai50
Thai50
 
ไทย 50
ไทย 50ไทย 50
ไทย 50
 
Thai o net 51
Thai o net 51Thai o net 51
Thai o net 51
 
01 thai50
01 thai5001 thai50
01 thai50
 
ไทย 50
ไทย 50ไทย 50
ไทย 50
 
ไทย 50
ไทย 50ไทย 50
ไทย 50
 
2550Thai50
2550Thai502550Thai50
2550Thai50
 

More from พัน พัน

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี

  • 1. เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา สาสนาและวัฒนธรรม สาระประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี นางสุนิดา พรานขุน โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์กาญจนบุรี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8
  • 2. คาชี้แจง การใช้เอกสารประกอบการเรียนรู้ ก่อนที่นักเรียนจะศึกษาค้นคว้าบทเรียนในเล่มนี้ ให้นักเรียนปฏิบัติ ตามขั้นตอน ดังนี้ 1. ทาความเข้าใจจุดประสงค์การเรียนรู้ก่อนศึกษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ 2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนจานวน 10 ข้อ ลงในกระดาษคาตอบ 3. นักเรียนต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่ดูเฉลยก่อนทาแบบทดสอบ 4. ศึกษาบทเรียนตามลาดับขั้นตอน และทากิจกรรมไม่ต้องรีบร้อน 5. ขณะที่ศึกษาบทเรียน ถ้ามีปัญหาหรือข้อสงสัยให้ปรึกษาครูผู้สอนทันที 6. เมื่อศึกษาบทเรียนจบแล้วให้ทาแบบทดสอบหลังเรียน และตรวจคาตอบ จากเฉลยท้ายเล่ม 7. สรุปผลการทดสอบลงในกระดาษคาตอบ เพื่อทราบผลการเรียน และการพัฒนา 8. นักเรียนต้องมีความรับผิดชอบ รักษาเอกสารนี้ให้อยู่ในสภาพดีไม่ขีดเขียน ข้อความใดๆ ลงในเอกสาร และให้ส่งคืนตามกาหนดเวลา
  • 3. จุดประสงค์การเรียนรู้ เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี มีจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความสามารถและทักษะ ดังนี้ 1. อธิบายเกี่ยวกับการกู้เอกราชการสถาปนา อาณาจักรธนบุรี และการปราบชุมนุมต่าง ๆ 2. ร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับการเมืองการปกครองสมัยธนบุรี 3. สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับสังคมและเศรษฐกิจสมัยธนบุรี 4. วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ สมัยธนบุรี
  • 4. แบบทดสอบก่อนเรียน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี คำชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มี 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 15 นาที 2. ให้นักเรียนทาเครื่องหมายกากบาท  ทับข้อที่เห็นว่าถูกต้องลงในกระดาษคาตอบ 1. สาเหตุสาคัญที่สุดที่ทาให้กรุงศรีอยุธยาสิ้นอานาจใน พ.ศ. 2310 คืออะไร ก พม่ามีกาลังเหนือกว่า ข ขาดแคลนเสบียงอาหาร ค พม่าใช้กลยุทธ์ไส้ศึกภายใน ง ความอ่อนแอทางด้านทหารและการเมือง 2. พระเจ้าตากหนีออกจากกรุงศรีอยุธยาไปรวบรวม ผู้คนที่เมืองใด ก เมืองตาก ค เมืองพิษณุโลก ข เมืองจันทบุรี ง เมืองกาแพงเพชร 3. ชุมนุมแรกที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงปราบปรามได้สาเร็จคือชุมนุมใด ก ชุมนุมเจ้าพิมาย ข ชุมนุมเจ้าพระฝาง ค ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก ง ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช 4. อะไรคือเหตุผลที่สาคัญที่สุดในการเลือกเมืองธนบุรี เป็นราชธานีใหม่แทนกรุงศรีอยุธยา ก มีป้อมปราการพร้อม ข มีทางหนีออกทะเลสะดวก ค อยู่ใกล้ปากน้าเหมาะแก่การค้า ง เป็นเมืองเล็กเหมาะกับกาลังพลที่มีอยู่
  • 5. 5. ในสมัยธนบุรีกรมใดที่มีหน้าที่ติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ ก กรมวัง ข กรมนา ค กรมคลัง ง กรมเวียง 6. หัวเมืองใดที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งข้าราชการผู้ใหญ่ไปปกครอง ก หัวเมืองชั้นใน ข หัวเมืองชั้นนอก ค หัวเมืองชั้นจัตวา ง หัวเมืองประเทศราช 7. เพราะเหตุใดในสมัยธนบุรีจึงมีการสักเลกไพร่ทุกคน ก เพื่อควบคุมกาลังพล ข ต้องการจากัดอานาจของมูลนาย ค ต้องการให้ราษฎรมีระเบียบวินัย ง บ้านเมืองอยู่ในภาวะสงครามตลอดเวลา 8. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชใช้นโยบายใดแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเกี่ยวกับการขาดแคลนอาหารของ ราษฎร ก ทาโรงทานเลี้ยงผู้ที่อดอยาก ข ประกาศลงโทษผู้กักตุนสินค้า ค ขุดคลองชลประทานเพื่อทานาปรัง ง สละพระราชทรัพย์ซื้อข้าวแจกราษฎร 9. กรุงธนบุรีมีความเป็นมิตรกับรัฐใดมากที่สุด ก พม่า ข เขมร ค ล้านนา ง ล้านช้าง 10. ชาติตะวันตกชาติใดไม่ได้เข้ามาติดต่อกับ กรุงธนบุรี ก อังกฤษ ข ฮอลันดา ค โปรตุเกส ง สหรัฐอเมริกา คิดดีๆ ก่อนตอบนะจ๊ะ
  • 6. การกู้เอกราช ก่อนที่กรุงศรีอยุธยาจะเสียแก่พม่านั้น หัวเมืองฝ่ายเหนือ ฝ่ายใต้ และตะวันตก ล้วนถูก ควบคุมอย่างเข้มงวด การทามาหากิน การทาไร่ทานา ทรัพย์สิน วัวควาย ถูกยึดไว้หมด จนกระทั่ง ในช่วงกลางดึกของคืนวันที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2309 (ก่อนกรุงแตกประมาณ 3 เดือน) นั้น กองทัพ พม่ายิงถล่มพระนครศรีอยุธยาอย่างหนัก เกิดเพลิงลุกไหม้ทั่วพระนคร บ้านเรือ วัด วัง ได้รับความ เสียหาย เฉพาะบ้านเรือนราษฎรเกิดเพลิงไหม้กว่า 10,000 หลังทว่ากลางวันของวันที่ 3 มกราคมนั้น กองกาลังของสมเด็จพระเจ้าตากสินเมื่อครั้งยังดารงตาแหน่งเป็นพระยาตาก ได้รวบรวมไพร่พล จานวน 1,000 นายหนีออกจากกรุงศรีอยุธยามาก่อนแล้ว จึงได้เห็นแสงเพลิงลุกไหม้ในกรุงศรี อยุธยาที่บ้านสัมบัณฑิตในเวลาเที่ยงคืนของวันนั้น โดยมีนายทหารคนสาคัญในกองทัพคือ พระ เชียงเงิน หลวงพรหมเสนา หลวงพิชัยอาสา หลวงราชสเน่ห์ ขุนอภัยภักดี (ทั้ง 5 นายนี้มักปรากฏอยู่ เคียงข้างพระบรมราชานุสาวรีย์หลายแห่ง) พระองค์ตั้งค่ายอยู่ในค่ายวัดพิชัยได้เริ่มออกเดินทาง มาถึงบ้านหารตราเมื่อเวลาค่า โดยมีกองทัพพม่าไล่ติดตามมา แล้วต่อรบกันจนพม่าพ่ายแพ้กลับไป ก่อนจะเดินทางมาถึงบ้านข่าวเม่า บ้านสัมบัณฑิต ตอนเวลาเที่ยงคืน เช้าวันที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2309 กองกาลังเดินทางมุ่งหน้าไปทางบ้านโพสังหาร พม่าส่ง กองทัพไล่ติดตามมาอีกจึงได้รบกันจนพม่าแตกพ่ายกลับไป มาถึงบ้านพรานนกเวลาเย็น คราวนี้ พม่าส่งไพร่พลมาแก้มือถึง 2,000 นาย ฝ่ายพระยาตากจึงทรงม้ากับทหารอีก 4 ม้าออกรับศึก จน สามารถตีพม่าแตกพ่ายกลับไปอีกครั้ง วันนี้เหล่าทหารม้าจึงถือเอาเป็น วันทหารม้า ของไทย วันที่ 3 ของการเดินทัพ กองกาลังพระยาตากเดินทัพมาสุดเขตพระนครศรีอยุธยา ก่อนที่จะ เข้าเมืองนครนายก ก็มีขุนชานาญไพรสนฑ์กับนายกองช้าง มาขอสวามิภักดิ์ต่อพระองค์ ทั้งยังถวาย ช้างพลาย 5 ช้าง ช้างพัง 1 ช้าง แล้วอาสานาทางต่อไปยังบ้านกง (หรือบ้านดง) เมืองนครนายก เมื่อ ถึงบ้านกง ข้าราชการ ขุนหมื่นพันทนายท้องถิ่น ไม่ยอมสวามิภักดิ์ แม้จะได้เจรจาเกลี้ยกล่อม 3 ครั้ง ก็ไม่สาเร็จ รุ่งขึ้นกองกาลังพระยาตากจึงต้องปะทะไพร่พลชาวบ้านกง ซึ่งมีกาลังมากกว่า 1,000 นาย แต่ก็ถูกกองกาลังพระยาตากตีพ่ายไป ยึดช้างได้เพิ่มอีก 7 ช้าง เงินทอง และเสียงอาหารอีกจานวน มาก วันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2509 หรือ 6 วันนับตั้งแต่หนีออกจากพระนคร เดินทัพมาถึงตาบลหนอง ไม้ชุ่ม แล้วหยุดพัก ณ จุดนี้เป็นเวลา 2 วัน ก่อนที่จะออกเดินทัพต่อมถึงบ้านนาเริ่ง แขวงเมือง นครนายกแล้วหยุดพักอีก 1 คืน
  • 7. ต่อมาพระยาตากจึงนาไพร่พลข้ามแม่น้าที่ด่านกบแจะ เมืองปราจีนบุรี แล้วหยุดพักรี้พล ก่อนจะ เดินทัพต่อไปยังทุ่งศรีมหาโพธิ์ และต้องหยุดรอนายทหาร 3 นาย คือ พระเชียงเงิน ขุนพิพิธวาที และ สมเด็จพระรามราชา ที่ตามกองทัพมาไม่ทัน ระหว่างที่ทรงรอกลุ่มพระเชียงเงินอยู่นั้น ได้เกิดการ ปะทะกับกองทัพทั้งทัพบกทัพเรือของพม่าซึ่งตั้งอยู่ที่ปากแม้น้าโจ้โล้ เมืองฉะเชิงเทรา "พม่าไล่แทง ฟันคงซึ่งเหนื่อยล้าอยู่นั้นวิ่งหนีมาตามทาง ครั้นได้ทอดพระเนตรเห็น จึงให้นายบุญมีขึ้นม้าใช้สวน ทางลงไปประมาณ 200 เส้น พบกองทัพพม่ายกขึ้นมาแต่ปากน้าโจ้โล้ทั้งทัพบกทัพเรือ" พระเจ้าตาก จึงมีรับสั่งให้ตั้งแนวรับ ขุดหลุมเพลาะ วางปืนตับ เรียงหน้ากระดาน จนพม่าเข้ามาใกล้ราว 240 เมตร จึงเริ่มเปิดฉากยิงขึ้น แนวแรกของพม่าแตกพ่ายไป แต่ยังมีกองหนุนเข้ามาอีก 3 กอง ซึ่งก็ถูกยิง แตกพ่ายไปเช่นกัน "จึงขับพลทหารโห่ร้องตีฆ้องสาทับไล่ติดตามฆ่าพม่าเสียเป็นอันมาก แล้วก็ เดินทัพมาทางบ้านหัวทองหลางสะพานทอง" จากแนวทะทะและการติดตามฆ่าพม่ามาทางปากน้า โจ้โล้นี้เอง ทาให้เปลี่ยนจากการเดินทัพตามชายป่าดงมาเป็นชายทะเลเข้าเขตเมืองชลบุรี "จึงให้ยก พลนิกายมาประทับตามลาดับ บ้านทองหลาง, ตะพานทอง, บางปลาสร้อย ถึงบ้านนาเกลือ" ที่บ้านนาเกลือ มีนายกลม (หรือนายกล่า) นายชุมนุมที่บ้านนาเกลือได้รวบรวมไพร่พลคิดสกัดต่อรบ กับกองกาลังพระเจ้าตาก แต่เพียงพระเจ้าตากแสดงแสนยานุภาพ "เสด็จทรงช้างพระที่นั่งสรรพด้วย เครื่องสรรพาวุธทรงพระแสงปืนต้นรางแดงกับหมู่พลโยธาหาญ" เท่านั้นนายกลมก็ถึงกับวางอาวุธ ยอมอ่อนน้อมแต่โดยดี แล้วอาสานาไป พัทยา นาจอมเทียน ทุ่งไก่เตี้ย สัตหีบ ชายทะเล บ้านหินโขง และบ้านน้าเก่าแขวงเมืองระยอง โดยพักทัพคืนละแห่งตามลาดับระหว่างเส้นทางที่ผ่านไปนั้นได้ ปะทะกับกองกาลังของพม่าหลายครั้ง แต่ก็สามารถตีฝ่าไปได้ทุกครั้ง และสามารถรวบรวมไพร่พล ตลอดจนอาวุธยุทโธปกรณ์ได้มากขึ้น หลังจากพระองค์ยึดเมืองระยองได้ ขณะพักอยู่บริเวณวัดลุ่มมหาชัยชุมพล ได้เกิดเหตุการณ์อัศจรรย์ พายุหมุนจนบิดต้นตาลเป็นเกลียวโดยไม่คลายตัว ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า ตาลขด บรรดาทหารทั้งหลาย ต่างก็ยกพระยาวชิรปราการเป็น เจ้าตาก ภายหลังจากเดินทัพออกจากวัดพิชัย 23 วัน พระองค์ได้มี พระราชปณิธานว่า "กรุงเทพมหานครคงจะเสียแก่พม่าเป็นแท้ ตัวเราคิดจะซ่องสุมประชาราษฎรใน แขวงเมืองหัวเมืองตะวันออกทั้งปวงให้ได้มากแล้ว จะยกกลับเข้าไปกู้กรุงห้คงคืนเป็นราชธานีดัง เก่า แล้วจักทานุบารุงสมณพราหมณาประชาราษฎรซึ่งอนาถาหาที่พานักบ่มิได้ ให้ร่มเย็นเป็นสุขานุ สุข และจะยอยกพระบวรพุทธศาสนาให้โชตนาการไพบูลย์ขึ้นเหมือนอย่างแต่ก่อน เราจะตั้งตัวเป็น เจ้าขึ้น ให้คนทั้งหลายนับถือยาเกรงจงมาก การซึ่งจะก่อกู้แผ่นดินจึงจะสาเร็จโดยง่าย"[ การประกาศ ตั้งตัวขึ้นในครั้งนี้มีศักดิ์เทียบเท่าพระบรมวงศานุวงศ์
  • 8. การสถาปนากรุงธนบุรีเป็นราชธานี เมื่อพระยาตากกู้เอกราชได้สาเร็จได้โปรดให้ขุดพระบรมศพพระเจ้าเอกทัศขึ้นมาถวายพระเพลิง อย่างสมพระเกียรติ ประชาชนต่างก็ยอมรับพระเจ้าตากเป็นพระเจ้าแผ่นดิน จึงได้ทรง ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระมหากษัตริย์ ใน พ.ศ. 2311 และยังได้ทรงเกื้อกูลพระราชวงศ์ของกรุงศรี อยุธยาหลายพระองค์ที่ประชวรอยู่ หลังจากกอบกู้เอกราชได้แล้ว สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงมีพระราชดาริว่า กรุงศรี อยุธยามีสภาพทรุดโทรมมาก ไม่สามารถซ่อมแซมฟื้นฟูให้กลับคืนสภาพเดิมได้ ปราสาทราช มณเฑียร วัดวาอารามพังย่อยยับ จึงทรงตัดสินพระทัยสร้างราชธานีใหม่ขึ้นที่เมืองธนบุรี ซึ่งมี ขอบเขตของราชธานีครอบคลุมสองฝั่งน้า โดยมีแม่น้าเจ้าพระยาตัดผ่านกลางเมือง สาเหตุที่ย้ายเมืองหลวงจากกรุงศรีอยุธยามาอยู่ที่กรงุธนบุรี (1) กรุงศรีอยุธยาชารุดเสียหายมาก ไม่สามารถบูรณปฏิสังขรณ์ให้มีสภาพเหมือนเดิมได้ (2) กาลังพลของพระองค์มีน้อย ไม่สามารถรักษากรุงศรีอยุธยาที่เป็นเมืองใหญ่ได้ (3) ข้าศึกรู้ทิศทางที่จะมาตีกรุงศรีอยุธยาดีแล้ว (4) กรุงศรีอยุธยาตั้งอยู่ไกลจากปากแม่น้ามากเกินไป ไม่สะดวกต่อการติดต่อค้าขายกับ ต่างชาติที่มีจานวนเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ สาเหตุที่ทรงเลือกกรุงธนบุรีเป็นเมืองหลวง (1) กรุงธนบุรีเป็นเมืองเล็ก เหมาะต่อการป้องกันรักษา (2) กรุงธนบุรีตั้งอยู่ใกล้ปากแม่น้า ทาให้สะดวกต่อการติดต่อค้าขายกับต่างชาติ และการ ควบคุมการลาเลียงเสบียงอาหาร (3) กรุงธนบุรีตั้งอยู่ใกล้ทะเล หากข้าศึกมีแต่ทัพบกไม่มีทัพเรือก็ยากที่จะชนะได้ และหาก ตั้งรับไม่ไหวก็สามารถยกพลทางเรือไปตั้งรับที่จันทบุรีได้ (4) กรุงธนบุรีเป็นแหล่งรวมขวัญและกาลังใจของคนได้ดี เพราะตั้งอยู่ไม่ไกลจากกรุงศรี อยุธยา
  • 9. กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การสถาปนาราชธานี คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคา ถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. หลังจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียเอกราชให้กับข้าศึก แล้วสภาพบ้านเมืองขณะนั้นน่าจะเป็น อย่างไร 2. สมเด็จพระเจ้าตากสิมหาราชมีวิธีการกู้เอกราชอย่างไร 3. เหตุใดสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชจึงทรงย้ายราชธานีมาอยู่ที่กรุงธนบุรีแทนที่จะอยู่ที่ อยุธยาตามเดิม 4. กรุงธนบุรีมีความเหมาะสมต่อการตั้งเป็นราชธานีแห่งใหม่อย่างไร 5. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงรวบรวมประเทศให้เป็นปึกแผ่นได้อย่างไร กิจกรรมที่ 1
  • 10. การปราบชุมนุมต่าง ๆ การรวบรวมอาณาเขต เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียแก่พม่าใน พ.ศ. 2310 บ้านเมืองเกิดความวุ่นวายแตกสาแหรกขาด ผู้คนพากันหลบหนีเอาชีวิตรอด เกิดข้าวยากหมากแพง ผู้คนที่รอดพ้นจากการจับกุมและไม่ถูกกวาด ต้อนไปยังพม่า ได้พยายามรักษาตัวรอด โดยการซ่องสุมผู้คนขึ้นตั้งกันเป็นก๊กเป็นเหล่า ซึ่งประกอบ ไปด้วย 5 ชุมนุม ได้แก่ 1.ชุมนุมเจ้าพิมาย ตั้งอยู่ที่อาเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมาในปัจจุบัน หัวหน้าคือ กรม หมื่นเทพพิพิธ โอรสสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เจ้าเมืองพิมายมีความจงรักภักดีต่อราชวงศ์บ้าน พลูหลวง จึงได้สนับสนุนขึ้นเป็นใหญ่ 2.ชุมนุมเจ้าพระฝาง ตั้งอยู่ที่สวางคบุรี ทางเหนือของจังหวัดอุตรดิตถ์ มีอาณาเขตตั้งแต่ เมืองพิชัยไปจนถึงเมืองแพร่ เจ้าพระฝาง (เรือน) เป็นสังฆราชเมืองสวางคบุรี มีความสามารถทาง คาถาอาคม จึงตั้งตัวเป็นใหญ่ได้ทั้งที่อยู่ในสมณเพศ (แต่ใช้ผ้าแดงนุ่งห่มแทนผ้าเหลือง) 3.ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก ตั้งอยู่ที่จังหวัดพิษณุโลก เจ้าพระยาพิษณุโลก (เรือง) เป็น หัวหน้า เป็นชุมนุมที่สาคัญทางเหนือ มีอาณาเขตตั้งแต่เมืองพิชัย ลงมาถึงนครสวรรค์ เจ้าพระยา พิษณุโลกเป็นขุนนางใหญ่ที่มีความสามารถในด้านการปกครองและการรบ พวกขุนนางที่หลบหนี พม่าออกจากรุงศรีอยุธยาได้ไปสมทบกับชุมนุมนี้เป็นอันมาก ต่อมาถึงแก่พิราลัย หัวหน้าชุมนุมคน ต่อมา คือ พระอินทร์อากร 4.ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช หัวหน้าคือ เจ้า นครศรีธรรมราช (หนู) หรือหลวงสิทธินายเวร มีอาณาเขตตั้งแต่หัวเมืองมลายูขึ้นมาถึงเมืองชุมพร 5.ชุมนุมพระยาตาก ตั้งอยู่บริเวณหัวเมืองชายทะเลทางฝั่งตะวันออก เมื่อพม่าเข้าล้อมกรุง ศรีอยุธยา ได้พยายามป้องกันรักษาบ้านเมืองอย่างเต็มที่ แต่สถานการณ์ของกรุงศรีอยุธยาขณะนั้น คับขันมาก ทาให้พระยาตากรวบรวมสมัครพรรคพวกไทย-จีน ประมาณ 500 คน ตีฝ่ากองทัพพม่า ออกจากเมืองในเดือนยี่(มกราคม) พ.ศ.2309 เพื่อที่จะรวบรวมผู้คนมาสู้รบกับพม่าในตอนหลัง
  • 11. พระยาตากมุ่งหน้าไปทางตะวันออกของเมืองนครนายก และปราจีนบุรี ผ่านฉะเชิงเทรา ชลบุรี ถึงระยอง และที่ระยอง พระยาตากได้ตั้งตัวเป็นใหญ่ พวกบริวารจึงเรียกว่า “เจ้าตาก” แต่นั้น มา การที่เจ้าตากเลือกที่ตั้งมั่นทางหัวเมืองชายฝั่งทะเลตะวันออก เพราะ 1.หัวเมืองชายทะเลฝั่งตะวันออกไม่ได้เป็นเส้นทางที่พม่าเดินทัพผ่าน 2.เจ้าตากตัดสินใจเข้าโจมตีเมืองจันทบุรี เพราะจันทบุรีเป็นหัวเมืองเอกทางฝั่งทะเล ด้านตะวันออก อุดมสมบูรณ์ด้วยข้าวปลาอาหาร สามารถค้าขายกับพ่อค้าจีนทางทะเลได้สะดวก และยังมีป้อมปราการมั่นคง เหมาะสาหรับยึดเป็นที่มั่นเพื่อเตรียมการรวบรวมไพร่พลต่อไป เจ้าตาก ยึดเมืองจันทบุรีได้ในเดือน 7 (มิถุนายน) พ.ศ.2310 หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาแล้ว 2 เดือน
  • 12. กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง การปราบชุมนุมต่าง ๆ คาชี้แจง ให้นักเรียนตอบคาถามต่อไปนี้ให้ถูกต้องสมบูรณ์ 1. ชุมนุมในสมัยธนบุรีประกอบด้วยชุมนุมอะไรบ้าง 2. ผู้นาของชุมนุมพระเจ้าตาก คือใคร 3. ชุมนุมเจ้าพิมายตั้งอยู่ที่ใด 4. พระยาตากประกาศตั้งตัวเป็นใหญ่ที่ใด 5. สมเด็จพระเจ้าตากสินโจมตีจันทบุรีเพราะเหตุผลใด กิจกรรมที่ 2
  • 13. สังคมและเศรษฐกิจสมัยธนบุรี ความเจริญทางด้านต่างๆ ในสมัยธนบุรี และการติดต่อกับต่างประเทศ ตลอดระยะเวลา 15 ปี ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช พระองค์ทรงใช้เวลาส่วน ใหญ่ในการต่อสู้ปราบปราม ป้องกันและขยายอาณาเขตของประเทศ จึงไม่ค่อยมีเวลาจะที่จะพัฒนา ประเทศทางด้านอื่นมากนัก แต่ถึงกระนั้นพระองค์ก็ทรงพยายามสร้างความเจริญให้แก่ ประเทศในด้านต่างๆ ดังนี้ 1. ด้านการปกครอง ลักษณะการปกครองของกรุงธนบุรี ดาเนินรอยตามแบบแผนของ สมัยอยุธยาตอนปลาย โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 1.1 การปกครองส่วนกลางหรือราชธานี อยู่ในความรับผิดชอบของอัครมหาเสนนาบดี ทั้ง 2 ตาแหน่ง คือ สมุหกลาโหม ดูแลฝ่ายทหาร และสมุหนายก ดูแลฝ่ายพลเรือน กับตาแหน่ง เสนาบดีจตุสดมภ์อีก 4 ตาแหน่ง คือ กรมเวียง กรมวัง กรมคลัง กรมนา กรมทั้ง 4 นี้ มีหน้าที่ คือ 1) กรมเวียง มีหน้าที่ปกครองท้องที่ บังคับบัญชาบ้านเมือง และรักษาความสงบ เรียบร้อยของบ้านเมือง 2) กรมวัง มีหน้าที่รับเกี่ยวกับราชสานัก และพิจารณาพิพากษาคดีความของ ราษฎร 3) กรมคลัง มีหน้าที่รับจ่ายและเก็บรักษาพระราชทรัพย์ที่ได้มาจากส่วยอากร บังคับบัญชากรมท่าซึ่งเกี่ยวข้องกับการติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ และมีหน้าที่เกี่ยวกับพระ คลังสินค้าการค้าสาเภาของหลวง 4) กรมนา มีหน้าที่ดูแลการทานา เก็บข้าวขึ้นฉางหลวง และพิจารณาคดีความ เกี่ยวกับเรื่องโค กระบือและที่นา คาว่า “กรม” ในที่นี้หมายความคล้ายกับ “กระทรวง”ในปัจจุบัน 1.2 การปกครองส่วนภูมิภาค แบ่งออกเป็น 1) การปกครองหัวเมืองชั้นใน ที่อยู่รายรอบราชธานี เรียกว่า เมืองชั้นจัตวา มี ผู้ปกครองเรียกว่า “ผู้รั้ง” ปฏิบัติตามคาสั่งของเสนาบดีจตุสดมภ์ในราชธานี 2) การปกครองหัวเมืองภายในราชอาณาจักร เรียกว่า หัวเมืองชั้นนอก หรือ เมือง พระยามหานคร เป็นเมืองที่อยู่นอกเขตราชธานีออกไป แบ่งออกเป็นเมืองชื้นเอก โท ตรี 3) การปกครองหัวเมืองประเทศราช ที่อยู่ห่างไกลออกไปถึงชายแดน มีอาณาเขต
  • 14. ติดต่อกับประเทศอื่น ต้องส่งเครื่องราชบรรณาการมาให้ตามกาหนด ได้แก่ กัมพูชา ลาว เชียงใหม่ และนครศรีอธรรมราช 2. ด้านกฎหมายและการศาล กฎหมายและวิธีพิจารณาคดีความในศาลสมัยธนบุรี ใช้ตาม แบบสมัยอยุธยาเท่าที่มีหลักฐานปรากฏอยู่มีเพียงฉบับเดียว เกี่ยวกับการสักเลก คือ การลงทะเบียน ชายฉกรรจ์เพื่อรับใช้ในราชการ เรียกว่า ไพร่หลวง การสักเลกในสมัยนั้นสาคัญมาก เพราะเป็น ระยะเวลาของการป้องกันและแผ่อานาจเพื่อให้ประเทศชาติมั่นคง ส่วนการศาลมักใช้บ้านของ เจ้านาย บ้านของตุลาการ บางครั้งสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชก็ทรงเป็นผู้พิพากษาคดีเอง และ ทรงใช้ศาลทหารและพระบรมราชโองการเป็นกฎหมายใช้ในการตัดสินคดีความด้วย 3. ด้านเศรษฐกิจ หลังจากเสียกรุงศรีอยุธยาแก่พม่าแล้ว สภาพเศรษฐกิจของไทยตกต่ามาก ประชาชนยากจนอัตคัดฝืดเคือง อาหารหายากและราคาแพง เนื่องจากในขณะที่เกิดศึกสงครามผู้คน ต่างพากันหนีเอาตัวรอด การทาไร่ทานาต้องหยุดชะงักลง สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงแก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้าในระยะที่ตั้งกรุงธนบุรีใหม่ๆ ด้วยการจ่ายพระราชทรัพย์ซื้อข้าวจากพ่อค้า ต่างประเทศในราคาสูงเพื่อแจกจ่ายประชาชน และชักชวนให้ราษฎรกลับมาตั้งภูมิลาเนาอยู่ตาม เมืองต่างๆ ทามาหากินดังแต่ก่อน นอกจากนั้นสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ยังส่งเสริมทางด้าน การค้าขาย มีการส่งเรือสาเภาไปค้าขายยังประเทศ อินเดียและประเทศใกล้เคียง สาหรับสิ่งของที่ บรรทุกเรือสาเภาหลวงไปขาย เช่น ดีบุก พริกไทย ครั่ง ขี้ผึ้ง ไม้หอม ฯลฯ และเมื่อขายสินค้า หมดแล้วก็จะซื้อสินค้าต่างประเทศที่ต้องการใช้ในประเทศ เช่น ผ้าลายและถ้วยชามมาขายให้แก่ ประชาชนอีกต่อหนึ่ง ซึ่งการค้าขายนี้เป็นแบบเดียวกับสมัยอยุธยา คือ อยู่ภายใต้การดูแลของพระ คลังสินค้า หรือกรมาท่า มีการส่งเสริมให้ราษฎรทาการเพาะปลูก ทาให้เศรษฐกิจของประเทศค่อยๆ ดีขึ้นตามลาดับ 4. ด้านสังคม สังคมไทยสมัยกรุงธนบุรีมีการควบคุมอย่างเข้มงวด เพื่อเตรียมพร้อมอยู่ เสมอ เพราะมีการทาศึกกับพม่าบ่อยครั้ง มีการสักเลกบอกชื่อสังกัดมูลนายและเมืองไว้ที่ข้อมือไพร่ หลวงทุกคน ซึ่งมีหน้าที่รับใช้ราชการปีละ 6 เดือน โดยการมารับราชการ 1 เดือน แล้วหยุดไปทามา หากินของตนอีก 1 เดือนสลับกันไป เรียกว่า “การเข้าเดือนออกเดือน” ไพร่หลวงอีกพวกหนึ่ง เรียกว่า “ไพร่ส่วย” คือ ไพร่หลวงที่ส่งสิ่งของแทนการใช้แรงงานแก่ราชการ ซึ่งเป็นพวกที่รับใช้แต่ เฉพาะเจ้านายที่เป็นขุนนาง 5. ด้านการศึกษา แม้ว่าบ้านเมืองจะอยู่ในภาวะสงคราม แต่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ก็ทรงทะนุบารุงการศึกษาอยู่เสมอ ศูนย์กลางการศึกษาในสมัยธนบุรีอยู่ที่วัด เด็กผู้ชายเมื่อมีอายุ พอสมควร พ่อแม่มักเอาไปฝากกับพระ เมื่อมีเวลาว่างพระก็จะสอนให้อ่านเขียน หนังสือแบบเรียน ที่ใช้คือหนังสือจินดามณี เมื่ออ่านออกเขียนได้แล้ว ก็เรียนแต่งร้อยแก้ว โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน
  • 15. กิจกรรมที่ 3 ศึกษาศัพท์ เขมร บาลี สันสกฤต วิชาเลข เรียนมาตราไทย ชั่ง ตวง วัด มาตราเงินไทย คิดหน้าไม้ (วิธีการคานวณหาจานวนเนื้อไม้เป็นยก หรือเป็นลูกบาศก์) การศึกษาด้านอาชีพ พ่อแม่มีอาชีพอะไร ก็มักฝึกให้ลูกหลานมีอาชีพตามตนเอง โดยฝึกฝนตกทอดกันมาหลายชั่วอายุคน เช่น วิชาช่างและ แกะสลัก ช่างปั้น ช่างถม แพทย์แผนโบราณ ฯลฯ ส่วนสตรี ประเพณีโบราณไม่นิยมให้เรียนหนังสือ มีน้อยคนที่อ่านออกเขียนได้ เด็กผู้หญิงส่วนมากจะถูกฝึกสอนให้ด้านการเย็บปักถักร้อย ทากับข้าว การจัดบ้านเรือน และมารยาท ของกุลสตรี 6. ด้านศาสนา เมื่อครั้งเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 สิ่งสาคัญต่างๆ ในพระพุทธศาสนาถูก ทาลายเสียหายมาก หลังจากที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงย้ายเมืองหลวงมายังกรุงธนบุรี พระองค์ได้ฟื้นฟูศาสนาขึ้นใหม่โดยชาระความบริสุทธิ์ของพระสงฆ์ พระสงฆ์รูปใดที่ประพฤติไม่ อยู่ในพระวินัยก็ให้สึกออกไปเสีย พระสงฆ์รูปใดประพฤติอยู่ในพระวินัยทรงอาราธนาให้บวชเรียน ต่อไป นอกจากนี้ พระองค์ทรงบริจาคพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์ในการสร้างพระอุโบสถ วิหาร เสาสนะ กุฏิสงฆ์และวัดวาอารามต่างๆ เช่น วันบางยี่เหนือเหนือ (วัดราชคฤห์) วัดบางยี่เรือใต้ (วัด อินทาราม) วัดบางหว้าใหญ่ (วัดระฆังโฆษิตาราม) วัดแจ้ง (วัดอรุณราชวราราม) วัดหงส์ (วัดหงส์ รัตนาราม) เป็นต้น นอกจากนี้เมื่อพระองค์ทราบว่าพระไตรปิฎกมีอยู่ที่ใด ก็ทรงให้นามาคัดลอกเป็นฉบับ หลวงไว้ที่กรุงธนบุรี แล้วส่งต้นฉบับกลับไปเก็บไว้ที่เดิม ทรงให้ช่างจารพระไตรปิฎกทั้งจบ ที่ สาคัญที่สุดทรงให้อัญเชิญพระแก้วมรกต มาประดิษฐานที่วัดอรุณราชวราราม 7. ด้านศิลปะและวรรณกรรม สมัยกรุงธนบุรีด้านศิลปะมีไม่ค่อยมากนัก เพราะบ้านเมือง อยู่ในภาวะสงคราม ถึงกระนั้นพระองค์ก็ทรงให้มีการละเล่น เพื่อเป็นการบารุงขวัญประชาชน ให้ หายจากความหวาดกลัวและลืมความทุกข์ยาก มีขบวนแห่อัญเชิญและสมโภชพระแก้วมรกตเป็น เวลา 7 วัน การประชันละครระหว่างละครผู้หญิงของเจ้านครศรีธรรมราช และละครหลวง
  • 16. กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง สังคมและเศรษฐกิจสมัยธนบุรี คาสั่ง 1. ให้ศึกษาค้นคว้าจากใบความรู้เรื่อง การเมืองการปกครองสมัยธนบุรี 2. เติมข้อความลงในกรอบ  ให้ถูกต้องและสมบูรณ์ ชื่อ-สกุล..............................................................ชั้น................ เลขที่....... การปกครองสมัยธนบุรี แบบทดสอบหลังเรียน มีหน้าที่ดูแลฝ่าย ............................ มีหน้าที่ดูแลฝ่าย ............................ มีหน้าที่ ...................................................................................................................................................... มีหน้าที่ ...................................................................................................................................................... มีหน้าที่ ...................................................................................................................................................... มีหน้าที่ ...............................................................................................................................1............................................ ลักษณะ.................................. ผู้ปกครองเรียกว่า..................... ขึ้นอยู่กับ................................. 3............................................ ลักษณะ.................................. .............................................. ได้แก่...................................... .............................................. หน้าที่ต่อกรุงธนบุรี................... .............................................. 2............................................ หรือ........................................ ลักษณะ.................................. .............................................. แบ่งเป็น.................................. ผู้ปกครองมาจาก..................... ..............................................
  • 17. กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่อง พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี คำชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้มี 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน ใช้เวลา 15 นาที 2. ให้นักเรียนทาเครื่องหมายกากบาท  ทับข้อที่เห็นว่าถูกต้องลงในกระดาษคาตอบ 1. ชุมนุมแรกที่สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงปราบปรามได้สาเร็จคือชุมนุมใด ก ชุมนุมเจ้าพิมาย ข ชุมนุมเจ้าพระฝาง ค ชุมนุมเจ้าพระยาพิษณุโลก ง ชุมนุมเจ้านครศรีธรรมราช 2. สาเหตุสาคัญที่สุดที่ทาให้กรุงศรีอยุธยาสิ้นอานาจใน พ.ศ. 2310 คืออะไร ก พม่ามีกาลังเหนือกว่า ข ขาดแคลนเสบียงอาหาร ค พม่าใช้กลยุทธ์ไส้ศึกภายใน ง ความอ่อนแอทางด้านทหารและการเมือง 3. ในสมัยธนบุรีกรมใดที่มีหน้าที่ติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ ก กรมวัง ข กรมนา ค กรมคลัง ง กรมเวียง 4. หัวเมืองใดที่พระมหากษัตริย์ทรงแต่งตั้งข้าราชการผู้ใหญ่ไปปกครอง ก หัวเมืองชั้นใน ข หัวเมืองชั้นนอก ค หัวเมืองชั้นจัตวา ง หัวเมืองประเทศราช 5. กรุงธนบุรีมีความเป็นมิตรกับรัฐใดมากที่สุด ก พม่า คิดดีๆ ก่อนตอบนะจ๊ะ
  • 18. ข เขมร ค ล้านนา ง ล้านช้าง 6. ชาติตะวันตกชาติใดไม่ได้เข้ามาติดต่อกับ กรุงธนบุรี ก อังกฤษ ข ฮอลันดา ค โปรตุเกส ง สหรัฐอเมร 7. พระเจ้าตากหนีออกจากกรุงศรีอยุธยาไปรวบรวม ผู้คนที่เมืองใด ก เมืองตาก ค เมืองพิษณุโลก ข เมืองจันทบุรี ง เมืองกาแพงเพชร 8. อะไรคือเหตุผลที่สาคัญที่สุดในการเลือกเมืองธนบุรี เป็นราชธานีใหม่แทนกรุงศรีอยุธยา ก มีป้อมปราการพร้อม ข มีทางหนีออกทะเลสะดวก ค อยู่ใกล้ปากน้าเหมาะแก่การค้า ง เป็นเมืองเล็กเหมาะกับกาลังพลที่มีอยู่ 9. เพราะเหตุใดในสมัยธนบุรีจึงมีการสักเลกไพร่ทุกคน ก เพื่อควบคุมกาลังพล ข ต้องการจากัดอานาจของมูลนาย ค ต้องการให้ราษฎรมีระเบียบวินัย ง บ้านเมืองอยู่ในภาวะสงครามตลอดเวลา 10. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชใช้นโยบายใดแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าเกี่ยวกับการขาดแคลนอาหารของ ราษฎร ก ทาโรงทานเลี้ยงผู้ที่อดอยาก ข ประกาศลงโทษผู้กักตุนสินค้า ค ขุดคลองชลประทานเพื่อทานาปรัง ง สละพระราชทรัพย์ซื้อข้าวแจกราษฎร
  • 20. เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่องพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิชาประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เรื่องพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี ข้อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คาตอบ ก ง ค ข ค ง ข ง ค ง ข้อที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 คาตอบ ง ข ก ง ค ข ก ง ค ง