SlideShare a Scribd company logo
1 of 21
Download to read offline
๑

        ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : ผลสะท้ อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
                                                                                ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์ พรพวัณ
----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ความนํา
          เศรษฐกิจพอเพียง เป็ น เรื องทีได้รับการพูดถึง และมีการเสนอความคิดเห็นและแสดงทัศนะ
กันอย่างกว้างขวางมากทีสุ ดเรื องหนึงในช่วงระยะเวลาทีผ่านมา โดยเฉพาะอย่า งยิงภายหลังจากที
ประเทศไทยประสบกับภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจครังสําคัญทีสุ ดในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ต่อเนืองเรื อยมา
จนถึงวาระอันเป็ นมหามงคลวโรกาสทีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวภูมิพลอดุลยเดชทรงครองสิ ริ
                                                                                ั
ราชสมบัติ ครบ ๖๐ ปี และจากการทีได้มีการแสดงทัศนะและตี ค วามหมายของเศรษฐกิ จพอเพียง
กันอย่างกว้างขวางจากภาคประชาชน นักวิชาการ นักบริ หาร สื อมวลชน ตลอดจนพระภิก ษุสงฆ์
เป็ นสาเหตุให้เกิดนานาทัศนะในการตีความหมายของเศรษฐกิ จพอเพียงอันเนืองมาจากพระราชดําริ
การตีความหมายดังกล่าวถือได้วาเป็ นวิธีการแสวงหาความรู ้ทางปรั ช ญาทีเน้นการวิเ คราะห์ตีความ
                                       ่
เพือค้นหาความรู ้ทีถูกต้องแท้จริ ง และสมเหตุสมผล ด้วยวิธีการดังกล่าวนีเอง จึงเป็ นทีมาของคําว่า
“ปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียง”
          ปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง เป็ นระบบปรัช ญาทีชี แนะแนวทางการดํารงอยู่แ ละปฏิ บติตน                        ั
ในทางทีควรจะเป็ นโดยมีพืนฐานมาจากวิถีชีวิตดังเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกต์ใช้ได้
ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิ งระบบทีมีก ารเปลี ยนแปลงอยู่ต ลอดเวลา มุ่งเน้น การรอดพ้น
จากภัยและวิกฤติ เพือความมันคงและความยังยืนของการพัฒนา แนวคิดเรื องปรัช ญาเศรษฐกิ จ
พอเพียงนีสามารถนํามาประยุกต์ใช้ก บการปฏิ บติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิ บติตามทาง
                                             ั             ั                                              ั
สายกลาง(มัชฌิมาปฏิปทา) และการพัฒนาอย่างเป็ นขันตอน การนําปรั ชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง
มาประยุกต์ใช้ จะทําให้เกิดการพัฒนาทีสมดุลและยังยืน พร้ อมรับต่อการเปลียนแปลงในทุกๆ ด้าน
ทังด้านเศรษฐกิ จ สังคมสิ งแวดล้อม ความรู ้และเทคโนโลยี
          ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาทียึดหลักทางสายกลาง ทีชี แนวทางการดํารงอยู่และ
ปฏิบติของประชาชนในทุกระดับ ตังแต่ระดับครอบครัวไปจนถึงระดับภาครัฐ ทังในการพัฒนาและ
      ั
บริ หารประเทศให้ดาเนิ นไปในทางสายกลาง มีค วามพอเพียง และมีความพร้ อมทีจะจัด การต่อ
                         ํ
ผลกระทบจากการเปลียนแปลงทังภายนอกและภายใน ซึ งจะต้องอาศัยความรอบรู ้ รอบคอบ และ
ระมัดระวัง ในการวางแผนและดําเนินการทุกขันตอน เศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่เพียงการประหยัด แต่
เป็ นการดําเนินชีวตอย่างสมดุลและยังยืน เพือให้สามารถอยูได้แม้ในโลกโลกาภิวตน์ทีมีการแข่งขัน
                     ิ                                                 ่                         ั
สู งในทุกๆ ด้าน


          
              ป.ธ. ๖, พธ.บ., M.A.(Phil.), M.A.(Bud.), Ph.D.(Phil.) /อาจารย์ประจํา มจร.วิทยาลัยสงฆ์เลย
๒

ความหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
           ปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ปรั ชญาแห่ ง การกําหนดแนวทางการดํารงชี วตทีพึง   ิ
ปรารถนา ซึ งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวได้พระราชทานไว้แก่ พสกนิ กรชาวไทย เพือให้มีสติ มี
                                         ่ ั
สัมมาทิฐิ รู ้เท่าทันความจริ ง ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนกัน มีภูมิคุมกัน ดํารงชี วิตอยู่ดวยความพอเพียง
                                                               ้                    ้
พอประมาณ เพือเป็ นพืนฐานของความอยู่ดีมีสุขทียังยืนและถาวรสื บไป หลักการดําเนิ นชี วิตทีจะ
                                                                        ๑

สําเร็ จสมประสงค์ดงกล่าว ต้องอาศัยหลักพุทธธรรมว่าด้วยทางสายกลางหรื อ มัชฌิมาปฏิ ปทา และ
                        ั
หรื อหลักธรรมหมวดอืนๆ ทีสนับสนุนการดํารงชี วตแบบพอเพียง เช่ น ความสั นโดษ เป็ นต้น อัน
                                                   ิ
เป็ นเครื องนําชี วิตไม่ให้ตกอยู่ ในความโลภ และความประมาท ยึ ดมันในความเป็ นอยู่ทีพอเพีย ง
พอประมาณ ประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายทีเกินความพอดี ลดความฟุ่ มเฟื อยไร้ สาระ แต่ไม่ถึงกับทํา
ตนเองให้ลาบากเพราะฝื ดเคืองเกินควร
              ํ
           คําว่า “ปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาจากการรวมกันของ ๓ ศัพท์ คือ ปรั ชญา + เศรษฐกิจ
+ พอเพียง = ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง หลักคิดเพือการดํารงชี วต นันคือการทีคนเราจะมี
                                                                          ิ
ชี วิตอยู่บนโลกนี ได้ จะต้องมีหลักคิดว่าเราจะดํารงชี วิตอย่างไร เพื ออะไร ทําอะไร และสุ ดท้าย
เป้ าหมายของชีวตคืออะไร ตรงนี แหละคือแก่ น แท้ข องเศรษฐกิ จพอเพียง ซึ งก็คื อวิถีชีวิตของคน
                    ิ
ไทยทีอยู่ในสภาวะแวดล้อมไทย หรื อภูมิสังคมแบบไทยๆ กล่าวคือ เป็ น หลัก คิดในการดํารงชี วิตที
สอดคล้องกับภูมิสังคมของประเทศไทย๒ โดยมีระบบพืนฐานความคิ ดอยู่ทีการปลู ก ฝั งมุ่ งเน้นให้
บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยังยืน และใช้จ่ายเงินที ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัดตาม
กําลังทรัพย์ข องบุ ค คลนันๆ โดยปราศจากการกู้หนี ยืมสิ น และถ้ามีเงิ นเหลื อ ก็ แบ่ งเก็บออมไว้
บางส่ วน ช่วยเหลือผูอืนบางส่ วน และอาจมีก ารใช้จ่ายเพือปั จจัยเสริ มอีก บางส่ วนทีเห็นว่ามีความ
                          ้
จําเป็ นต่อการดํารงชี วตและเงือนไขของการอยู่ร่วมกันในสังคม
                            ิ
ความเป็ นมาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
         สาเหตุทีแนวทางการดํารงชีวตอย่างพอเพียง ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี เพราะ
                                        ิ
สภาพการดํารงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปั จจุบนได้ถูกปลูกฝั ง สร้ าง หรื อกระตุน ให้เกิ ดการใช้จ่าย
                                                 ั                               ้
อย่างเกินตัว ในเรื องทีไม่เกี ยวข้องหรื อเกินกว่าปั จจัยในการดํารงชีวต เช่ น การบริ โภคเกินตัว ความ
                                                                     ิ
บันเทิงหลากหลายรู ปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัวตามแฟชัน การพนันหรื อเสี ยงโชค เป็ น
ต้น สิ งเหล่ านี เป็ นคุณค่ าเทียมทีคอยกระตุ ้นให้ค นในสังคมเกิ ดกระแสบริ โภคทางวัตถุนิ ยมอย่าง
รุ นแรง จนทําให้ไม่มีเงินเพียงพอเพือตอบสนองความต้องการสิ งเหล่านันได้ ส่ งผลให้เกิ ดการกู้หนี

        ๑
         สํานักงานมูลนิ ธิชยพัฒนา, สาระสํ าคัญและข้อมูลพืนฐานทีควรทราบเกียวกับโครงการอันเนืองมาจาก
                           ั
พระราชดําริและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอันเนื องมาจากพระราชดําริ (กรุ งเทพฯ : มูลนิ ธิชยพัฒ นา, ๒๕๕๐),
                                                                                   ั
หน้า ๙๔.
        ๒
            http://web.sbac.ac.th/Suffciency/Economy04/Economics.html
๓

ยืมสิ นจนเกิ นความพอดี และได้กลายเป็ นวัฏจักรทีทําให้คนในสังคมติดอยู่ในกระแสแห่ งวัตถุ นิยม
ทีไหลบ่ามาในรู ปแบบของวัฒนธรรมตะวันตก จนยากทีคนในสังคมจะหลุดออกจากบ่วงแห่ งมายา
วัตถุนีได้ ตราบเท่าทียังไม่มีการเปลียนแปลงแนวทางการดํารงชีวต       ิ
          ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาทีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระองค์ผูทรงเป็ นธรรมิกราช ทรงมีพระราชดํารัสชีแนะแนวทางการดําเนิ นชี วิตแก่ พสกนิ ก รชาว
              ้
ไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตังแต่ก่อนเกิ ดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมือภายหลังได้ทรง
เน้นยําแนวทางการแก้ไขเพือให้รอดพ้น และสามารถดํารงอยูได้อย่างมันคงและยังยืนภายใต้กระแส
                                                               ่
โลกาภิวตน์และความเปลียนแปลงของสังคมโลก พระองค์ท่านได้ทรงตระหนักในพระราชหฤทัย
          ั
ว่า ประชาชนส่ วนใหญ่ของประเทศยังชีพอยูดวยการทําเกษตรกรรม ดังทีทรงมีพระราชกระแสตอน
                                                ่้
หนึงว่า “...ชนบทและชาวชนบท ซึ งเป็ นประชากรส่ วนใหญ่ ของประเทศยังยากไร้ ขัดสน และยัง
ต้ องการความช่ วยเหลือ หากเราช่ วยให้ ประชาชนส่ วนใหญ่ ยกระดับชีวิตความเป็ นอยู่ไม่ ได้ แล้ วการ
พัฒนาประเทศก็ถือว่ าไม่ ประสบความสํ าเร็จ...”๓
          ด้วยเหตุนี พระองค์ท่านได้ทรงตรากตรําพระวรกายปฏิ บติพระราชกรณี ยกิจน้อยใหญ่อย่าง
                                                                     ั
ต่อเนือง เพือยกระดับคุณภาพชีวตและความเป็ นอยูของพสกนิ กรโดยส่ วนรวมให้ดีขึน โดยเฉพาะ
                                   ิ                   ่
อย่างยิงผูยากไร้ดอยโอกาสในเขตชนบทห่างไกล พระองค์จะเสด็จฯไปทัวทุกภาคของประเทศและ
            ้       ้
ทัวทุกฤดูกาล จึงได้ทอดพระเนตรเห็นและได้ทรงรับฟั งปั ญหาทุกด้านจากพสกนิ กรด้วยพระองค์
เอง ดังนันจึงทรงมีขอมูลทังสภาพพืนที สภาพความเป็ นอยู่ และข้อมูลทางวิชาการอย่างสมบูรณ์ ที
                          ้
พร้ อมจะพัฒนาประเทศโดยผ่านโครงการพัฒนาอันเนืองมาจากพระราชดําริ เพือช่ วยเหลื อให้พสก
นิ ก รเหล่ านันให้มีสภาพชี วิตทีดีขึ นอย่างน้อยก็ พออยู่ พอกิน และ พอเพียง สามารถช่ วยเหลื อ
ตนเองได้ เพือเป็ นฐานของการพัฒนาทียังยืนขันต่ อไป๔ และด้วยพระราชวิริยะอุตสาหะต่อการ
พัฒนาประเทศของพระองค์ท่าน จึงทําให้เกิดเป็ นโครงการพัฒนาอันเนืองมาจากพระราชดําริ กว่า
๔,๐๐๐ โครงการ และโครงการเหล่านันล้วนเกียวข้องกับการพัฒนาปั จจัยการผลิตต่างๆ เช่น ดิน นํา
ทีทํากิ น ทุน ความรู ้ ดานการเกษตรกรรม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม เป็ นต้น๕
                            ้
และก่ อให้เกิ ดเป็ นคุณูปการอันใหญ่หลวงแก่ประชาชนและประเทศชาติเป็ นอเนกอนันต์ หาที สุ ด
มิได้
          เมือศึกษาแนวพระราชดําริ ในเรื องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะเห็นได้วา พระองค์ท่านได้
                                                                                     ่
ทรงประยุกต์แนวความคิดจากหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ทีเน้นการดํารงชี วิตแบบพอเพียง มี
สติ มีสั มมาทิฐิ รู ้ เ ท่าทันความจริ ง ไม่ โลภ ไม่เบียดเบียนกัน มีภูมิคุ ้มกัน ดํารงชี วิต อยู่ด้วยความ

         ๓
             สํานักงานมูลนิ ธิชยพัฒนา, อ้ างแล้ ว, หน้า ๒.
                               ั
         ๔
             เรืองเดียวกัน, หน้า ๑.
         ๕
             เรืองเดียวกัน, หน้า ๒.
๔

พอเพี ยงพอประมาณ ดังความตอนหนึ งในพระราชกระแสทีว่า “...คํา ว่ า พอเพียง มีความหมาย
กว้ า งขวางกว่ า ความสามารถในการพึงตนเอง หรื อความสามารถในการยืน อยู่บ นขาของตัวเอง
เพราะความพอเพียงหมายถึงการทีมีความพอ คือ มีความโลภน้ อย เมือโลภน้ อยก็เบียดเบียนน้ อย ถ้ า
ประเทศใดมีความคิด นี มีความคิดว่ า ทําอะไรต้ องพอเพียงหมายความว่ าพอประมาณ ซื อตรง ไม่
โลภ อย่ างมาก คนเราก็อาจเป็ นสุข พอเพียงนี อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูห ราบ้ างก็ได้ แต่ ว่าต้ อง
ไม่ เบี ยดเบียนคนอืน...”๖
           ความในพระราชดํารัสนี ชีให้เห็นขอบข่ายในบริ บทของเศรษฐกิ จพอเพียงทีเกี ยวเนื องกับ
หลักพุทธธรรมทีว่าด้วยหลักมัช ฌิม าปฏิ ป ทา หรื อ ทางสายกลาง ทีมุ่ง เน้น ให้ล ดกระบวนการ
เศรษฐกิจระบบทุนนิยมแบบสุ ดโต่ง โดยให้ลดระดับลงเพียงพอแก่ความจําเป็ น และความเหมาะสม
กับการรักษาและดํารงชีวตทีเรี ยบง่ายและพึงตนเองได้ บริ โภคแต่เพียงพอ ลดและบรรเทาการพึงพา
                          ิ
เทคโนโลยีจากต่า งประเทศ หัน มาใช้ ภู มิปั ญ ญาชาวบ้า นและเทคโนโลยี ทีไม่ เ ป็ นการทํา ลาย
ธรรมชาติ แ ละสภาพแวดล้อ ม ซึ งจะเป็ นการเดิ น สายกลางตามหลัก มัช ฌิ มาปฏิ ป ทาในทาง
พระพุทธศาสนา ผสมกลมกลืนกับมิติทางด้านคุณธรรมและจริ ยธรรมของการอยู่ร่วมกันของสรรพ
สิ ง การไม่เบียดเบียนและการสงเคราะห์เกือกูลพึงพาอาศัยกัน ผูยึดหลักเศรษฐกิ จพอเพียงถือ ได้วา
                                                               ้                             ่
เป็ นผูมีสติและปั ญญาเป็ นเครื องนําทางอันประเสริ ฐ เปรี ยบเสมือนเศรษฐกิจพอเพียงนัน คือ “หลั ก
        ้
ปรั ชญาธรรม” ในการดํารงชีวตให้สมดุลและมีสุขอย่างยังยืน
                                ิ

หลักพุทธธรรมว่าด้ วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
         หลักคําสอนในทางพระพุทธศาสนา เป็ นหลักธรรมสากลทีสอนให้อยู่ตรงกลางระหว่าง
ความสุ ดโต่งทังสองด้านคือความหย่อนและตึงเกิ นไป เรี ยกว่า มัชฌิมาปฏิ ปทา หรื อทางสายกลาง
โดยเฉพาะในเรื องของเศรษฐกิจแล้ว จะมีลกษณะต่อต้านกระแสวัตถุนิยม บริ โภคนิยม ธนนิยมและ
                                          ั
ทุนนิยม และสนับสนุ นให้บุคคลเดินตามแนวทางปรั ช ญาเศรษฐกิ จพอเพียงของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หวอย่างแท้จริ ง หลักธรรมทีว่าด้วยการปฏิบติตามทางสายกลางนันมีอยู่แทบทุกหมวดทุก
            ั                                       ั
หัวข้อในหลักธรรมทัง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ เพราะหลักธรรมเหล่านีล้วนมีสาระปฏิบติสรุ ปลง  ั
ในมัชฌิมาปฏิปทา(มรรคมีองค์ ๘) ซึ งว่าด้วยเรื อง ศีล สมาธิ ปัญญา และท้ายสุ ดคือสติหรื อความไม่
ประมาท ส่ วนหลักธรรมทีว่าด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนันมีอยู่หลายหัวข้อธรรมด้วยกัน แต่ ใน
ทีนีจะนํามาอธิ บายเพียงบางหัวข้อทีเห็นว่ามีค วามสอดคล้องกับทฤษฎี เศรษฐกิ จพอเพียง เพือเป็ น
แนวทางในการศึกษาค้นคว้าต่อไป
         หลักพุทธธรรมทีสนับสนุนแนวความคิดเรื องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทีนํามาเสนอในทีนี
มีดงนี
   ั

        ๖
            เรืองเดียวกัน, หน้า ๗๔.
๕

          ๑. มัชฌิมาปฏิปทา : ทางสายกลาง
          ๒. สันตุฏฐี, สันโตสะ : ความสันโดษ
          ๓. ทิฏฐธรรมิกตถะ : ธรรมทีเป็ นไปเพือให้เกิดประโยชน์ในปั จจุบน
                          ั                                           ั
          หลักพุทธธรรมทัง ๓ ข้อนีถือว่าเป็ นต้นแบบแห่งการดําเนินชีวตของมนุษย์ทีอยูบนพืนฐาน
                                                                   ิ              ่
ความพอเพียงหรื อทางสายกลางอย่างแท้จริ ง และทีสําคัญคือเป็ นหลักธรรมทีนําไปสู่ การพัฒนาตาม
วิถีเศรษฐกิจแนวพุทธ ซึ งมีหลักเกณฑ์อยู่ทีความสมดุลระหว่างวัตถุและจิตใจ หรื อการสร้างทางสาย
กลาง เพือแสวงหาสาระทีแท้จริ งของชีวิต นันก็คือ ความสุ ขทางจิตใจมีคุณค่ากว่าความสุ ข ทางวัตถุ
ซึ งจะก่ อให้เกิดความเห็นแก่ตวและนําไปสู่ ปัญหาสังคมนานัปการดังทีทราบกันในสั งคมปั จจุบน
                             ั                                                            ั
          หลักธรรมทัง ๓ ประการนีสามารถนํามาอธิ บายเป็ นหลักการเชิงประยุกต์ให้สอดคล้อ งกับ
ลักษณะของเศรษฐกิจแนวพุทธทีเน้นความพอเพียงหรื อทางสายกลาง ซึ งตังอยู่บนพืนฐานความเชือ
ทัศนคติ และค่านิ ยมตามแนวทางพระพุทธศาสนา ดังนี

          มัชฌิมาปฏิปทา
          คําว่า “มัชฌิมาปฏิปทา” หมายถึง หลักคําสอนทางพระพุทธศาสนาทีเน้นการปฏิ บติตาม     ั
ทางสายกลางทีนําไปสู่ การพัฒนาคุณภาพชี วตตามหลัก เศรษฐกิ จพอเพียง ซึ งในทีนี หมายถึงการ
                                                   ิ
พัฒนาทีตังอยูบนพืนฐานของทางสายกลาง และความไม่ ประมาท โดยคํานึ งถึ งความพอประมาณ
                 ่
ความมี เ หตุผ ล การสร้ า งภู มิคุ ้ม กัน ที ดีในตัว ตลอดจนใช้ ค วามรู้ ค วามรอบคอบและคุ ณ ธรรม
ประกอบการวางแผนและการตัดสิ นใจในการกระทําการต่างๆ อันเกียวข้อ งกับการดําเนิ นชี วิตเพือ
ความถูกต้องดีงามตามหลักเศรษฐกิ จพอเพียง
          มัชฌิมาปฏิปทา เป็ นหลักธรรมทีวางแนวทางการปฏิ บติอยู่ตรงกลางระหว่างความสุ ดโต่ง
                                                                 ั
ทัง ๒ ทาง คือ กามสุ ขลลิกานุ โยคและอัตตกิลมถานุโยค ซึ งหลักธรรมทังสองด้านนีถือว่าเป็ นหลัก
                        ั
ปฏิบติทีมีความสุ ดโต่งแบบสุ ดประมาณจนหาความดีงามในการบรรลุคุณธรรมไม่ได้ จะเห็นได้จาก
     ั
การทีเจ้าชายสิ ทธัตถะถูกพระราชบิดาปรนเปรอให้หลงใหลหมกมุ่นในกามคุณ และทรงบําเพ็ญทุก
กรกิริยา๗ โดยประการต่างๆ นี สะท้อนให้เห็น ถึงความสุ ดโต่งในการดําเนินชี วิตทังสองด้านทีไม่
นําไปสู่ ความสุ ขและความสําเร็ จได้อย่างแท้จริ ง

         ๗
          พระมหาบุรุษทรงบําเพ็ญทุกกรกิ ริยาทรงทรมานพระวรกายอยู่ ๖ ปี พระองค์งดเสวยอาหารจนพระ
วรกายซูบผอมเหลือแต่หนังหุ ้มกระดูก และแล้วพระอินทร์ ถือพิณสามสายมาดีดให้ฟัง สายพิณทีหนึ งขึงตึงเกินไป
เลยขาด สายที สองหย่อนเกินไปดีดไม่ดง สายที สามไม่ตึงไม่หย่อนนัก ดีดดังได้เสี ยงพอดี พอทรงได้ยิน เช่นนัน
                                     ั
พระองค์จึงทรงเลิกบําเพ็ญทุกกรกิริยา ซึ งเป็ นความเพียรทางกาย แล้วเริ มกลับเสวยอาหารเพือบําเพ็ญเพี ยรทางใจ
การบําเพ็ญทุกกรกิริยาของพระมหาบุรุษดังกล่าว สะท้อนถึงการดําเนิ นชีวตทีสุ ดโต่งอีกด้านหนึ ง อัน เป็ นมูลเหตุ
                                                                       ิ
ให้พระองค์ทรงพบหลักมัชฌิมาปฏิปทา ในกาลต่อมา
๖

           พระพุทธศาสนาปฏิ เ สธทางสุ ดโต่งทังสองด้านนี เพราะเห็นว่าไม่เ อือประโยชน์ต่อการ
ดําเนิ นชี วิต ทังยังนําชี วิตไปสู่ ความคับแคบและตําทราม กล่ าวคื อ กามสุ ขั ลลิก านุ โยค เป็ นการ
กระทําเพือแสวงความสุ ขสบายแก่ตน ทําให้ชีวตคลุกเคล้าอยูในรสโอชะอันเกิดจากการหมกมุ่นใน
                                                  ิ                ่
กามสุ ขอย่างสุ ดโต่ง ส่ วน อัตตกิลมถานุ โยค เป็ นการปฏิบติตนด้วยการทรมานร่ างกายให้ยากลําบาก
                                                               ั
ด้วยหวังผลอันเกิดจากการทรมานนัน ซึ งทังสองทางนีไม่เป็ น ไปเพือความเพิมพูนขึนแห่ งสติปัญญา
ผู ้ล ะเว้น เสี ย ได้ซึ งทางสุ ดโต่ ง ทังสองทางนี ถื อ ได้ว่ าเป็ นผู ้ด ํา เนิ น ตามทางสายกลาง เรี ย กว่ า
“มัชฌิมาปฏิปทา”
           หลักมัชฌิมาปฏิปทาจึงเป็ นการปฏิ บติตนให้พอดีหรื อพอเพียง เป็ น ทางเปิ ดดวงตาทีมืดให้
                                                ั
เห็นแสงสว่าง เปิ ดความหนวกทีไม่ได้ยินให้ได้ยิน เป็ นทางนําไปสู่ ความไม่เ หน็ดเหนือย เป็ นทาง
นําไปสู่ ความรู ้ และความหลุดพ้น เรี ย กว่า “นิพพาน” มัช ฌิมาปฏิ ปทาประกอบด้วยการกระทํา ๘
ประการ (อัฏฐังคิกมรรค) คือมีความเห็นถูกทาง มีการพิจารณาถู กทาง มีการปราศรัยถูกทาง มีการ
กระทําถูกทาง มีความเป็ นอยู่ถูกทาง มีความเพียรถูกทาง มีความคิดถู กทาง และมีสมาธิ ถูก ทาง วิธี
ดับความอยาก ความกระหายอย่ างสุ ดโต่งดังกล่ าว ต้องดํา เนิ น ตามทางสายกลางนี เท่า นัน ดังมี
อธิ บายโดยสังเขปดังนี

          ๑. สั มมาทิฐิ (Right Understanding)
          คําว่า “สั มมาทิฐิ” หมายถึง ความเห็นถูกต้อง คือเห็นตามทํานองคลองธรรม เห็นตามความ
เป็ นจริ งทีประกอบด้วยปั ญญา ซึ งเป็ นมโนสุ จริ ต ๑๐ ประการ คือ๘ เห็นว่าการให้ทานมีผ ลจริ ง การ
บูชามีผลจริ ง การเคารพบูชามีผลจริ ง ผลวิบากของกรรมดีก รรมชัวมี จริ ง คุณของมารดามีจริ ง คุ ณ
ของบิดามีจริ ง พวกโอปปาติก ะ (พวกเกิ ดทัน ทีเช่ นเทวดา) มีจริ ง สมณพราหมณ์ผู ้ปฏิ บติดีปฏิ บติ
                                                                                          ั    ั
ชอบจนบรรลุมรรคผลนิพพาน รู ้ แจ้งเห็นจริ งแล้วสอนผูอืนให้รู้ตามด้วยมีจริ ง
                                                          ้
          สัมมาทิฐิคือการมีความเห็นทีไม่ผิด เป็ นมูลฐานทีต้องถึงก่อนมรรคอืน ซึ งเป็ นเหมือนประตู
แรกที เปิ ดเข้าสู่ ทางแห่ ง ความปรารถนาสํ าหรั บผู ้ทีต้อ งการบรรลุ ผลในการดําเนิ น ชี วตตามแบบ
                                                                                        ิ
ปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง นันคือ แต่ละคนหรื อแต่ละครัวเรื อนมีค วามเห็นทีจะดํารงชี วิตอยู่อ ย่าง
เรี ยบง่าย โดยอาศัยผลลัพธ์ของสิงทีผลิตขึนมาในขอบเขตความสามารถของตัวเอง ถึงแม้วาจะต้องมี     ่
การซื อขายกับแหล่งข้างนอกบ้างก็อยู่บนพืนฐานของการเป็ นอยู่แบบพอตัวพอสุ ขเท่านัน วิธีการคิด
ตามหลักสัมมาทิฐิสามารถศึกษาได้จากตัวอย่างข้างล่างดังต่อไปนี
          ชายคนหนึ ง เคยทํา ธุ รกิ จเกี ยวกับขายเสื อผ้าแล้วล้มละลาย ทําให้ตองหันมาใช้ชิวิตอย่าง
                                                                            ้
พอเพียง พออยู่ พอกิน โดยเขาได้แปลงพืนทีสามไร่ กว่าในบ้านต่างจังหวัดให้เป็ นสวนพืชพันธ์แ ละ
ฟาร์ มเพาะหมู ไก่ ปลา และ กบ จุดประสงค์หลักของสิ งทีเค้าทําทังหมดคือเพือเอือต่อการดํารงชี วต     ิ


         ๘
             http://th.wikipedia.org/wiki
๗

อยู่ของครอบครัวโดยทีไม่ตองพึงปั จจัยภายนอกบ้าน มีบานอยู่ มีอาหารกิน มีเ งินซื อเสื อผ้า ของใช้
                               ้                         ้
และยารักษาโรค เงินเก็บทีมีจดประสงค์ใหญ่คือเก็บไว้ให้ลูกเรี ยนหนังสื อ และมีเงินเหลือสํารองไว้
                                 ุ
เล็ กน้อ ยสํ าหรั บยามคับขัน อย่ างเช่ น ต้อ งไปหาหมอหรื อต้อ งช่ วยเหลื อญาติ พีน้อ งหรื อ เพื อน
นอกเหนือจากนีเขาและครอบครัวก็ไม่ต้องมีอะไรมากมายก็มีความสุ ขได้ บ้านก็ไม่ตองมีใหญ่ไว้   ้
อวดคนหรื อไว้เป็ นข้อพิสูจน์วาฉันประสบความสําเร็ จแล้ว รถก็ไม่ตองหรู หราไว้แข่งกับเพือนบ้าน
                                   ่                                  ้
เงินก็ไม่ตองมีเก็บเป็ นล้านๆ ในธนาคารเพราะนึกภาพไม่ออกว่าชาตินีจะมีโอกาสไหนทีจะต้องใช้
           ้
เงินมากขนาดนัน หนีสิ นก็ไม่มีเพราะไม่ตองกู้มาทําธุ รกิจใหญ่โตหรื อมาซื อหุนต่างชาติเพือหวังผล
                                              ้                                  ้
กําไรมหาศาล นีคือหนึงตัวอย่างของการดําเนิ นชี วิตแบบปรั ชญาเศรษฐกิ จพอเพี ยงในความหมาย
ทีว่า “เศรษฐกิจทีพอเพียงอยู่ในตัวเอง” ซึ งเป็ นวิถีการดํารงชี วิตที ไม่ใช่ มีมาเพียงในประวัติศาสตร์
ของไทยเท่านัน แต่เป็ นวิธี การดํารงชีวตดังเดิมของเผ่าพันธุ์มนุ ษยชาติตงแต่ยุคเริ มแรกเลยทีเดียว
                                            ิ                              ั
          สิ งทีสําคัญทีสุ ดคือการสร้ างแนวคิดทีอยูบนพืนฐานของสัมมาทิฐิคือความเห็นทีว่า ความรู ้
                                                   ่
จักพอในสิ งทีมีอยู่และสิ งทีได้มา ไม่วาสิ งเหล่านันจะได้มาด้วยวิถีพอเพียงในตนเองหรื อวิถีทุนนิยม
                                          ่
จะเห็นได้วาความหมายนีจะกว้า งขวางมาก ไม่มีข้อ จํา กัดว่าเราต้องกิ น และใช้เ ฉพาะสิ งทีเราผลิ ต
              ่
ขึนมาเองเท่ า นัน หรื อ เราต้อ งไม่ใส่ ใจเรื องหน้าตา ต้อ งไม่มีร ถแพง ต้อ งไม่มีบ้านใหญ่ หรื อ
แม้กระทังต้องไม่กูเ้ งินมาลงทุนเพือหวังผลกําไร สิ งเหล่านีล้วนอยู่ในขอบเขตของคําว่าพอเพียงได้
ถ้าคนๆ นันรู ้วาเมือไหร่ ฉนพอ โดยทีมีรากฐานในการวัดอยูทีความจําเป็ นส่ วนตัว ไม่ใช่อ ยู่ทีเกณฑ์
                 ่           ั                             ่
วัดทีสังคมสมัยใหม่พากันตังขึนมาเพืออวดกัน จนกลายเป็ นสังคมจอมปลอมอัน ก่ อให้เกิ ดปั ญหา
นานาประการดังทีมีให้เห็นในปั จจุบน      ั

         ๒. สัมมาสั งกัปปะ (Right Thought)
         คําว่า “สั มมาสั งกัปปะ” หมายถึง ความดําริ ถูก หรื อความนึกคิดในทางทีถูกต้อ งชอบธรรม
นันคือดําริ ทีจะดึงกายและจิตของตนให้พนจากอํานาจกิเลส อันได้แก่ ความโลภทีทําให้เกิดความรัก
                                         ้
ความต้องการ และความอยากได้ ความดําริ ทีได้ชือว่าถู กต้องตามหลัก ของสัมมาสั งกัปปะมีอยู่ ๓
ประการ คือ๙
         ๑. เนกขัมมสั งกัปปะ คือความดําริ ทีปลอดจากโลภะ ความนึกคิดทีปลอดโปร่ งจากกาม ไม่
หมกมุ่นพัวพันติดข้องในสิ งสนองความอยากต่างๆ ความคิ ดทีปราศจากความเห็ นแก่ ตว ความคิด  ั
เสี ยสละและความคิดทีเป็ นคุณเป็ นกุศลทุกอย่าง จัดเป็ นความนึกคิดทีปราศจากราคะ หรื อโลภะ
         ๒. อัพยาบาทสั งกัปปะ คือดําริ ในอันไม่พยาบาท ความดําริ ทีไม่มีความเคียดแค้น ชิ งชัง ขัด
เคื อง หรื อเพ่งมองในแง่ ร้ ายต่างๆ โดยเฉพาะมุ่ งเอาธรรมทีตรงข้ามคื อ เมตตา ซึ งหมายถึ งความ
ปรารถนาดี ความมีไมตรี ตองการให้ผูอืนมีความสุ ข จัดเป็ นความนึกคิดทีปราศจากโทสะ
                             ้        ้


        ๙
            http://th.wikipe dia.org/wiki
๘

         ๓. อวิหิงสาสั งกัปปะ คือดําริ ในอันไม่เบียดเบียน ไม่มีการคิดทําร้ ายหรื อทําลาย โดยเฉพาะ
มุ่งเอาธรรมทีตรงกันข้าม คือกรุ ณา ซึงหมายถึงความคิดช่วยเหลือผูอืนให้พนจากความทุกข์จดเป็ น
                                                                   ้         ้                 ั
ความนึกคิดทีปราศจากโทสะ
         การฝึ กบริ หารความคิดตามหลักสัมมาสังกัปปะมี ๒ ขันตอน คือ๑๐
         ๑. ฝึ กควบคุมความคิด
         ๒. ฝึ กหยุดความคิด
         เหตุทีต้องฝึ กควบคุมความคิดก็เพือควบคุมความคิดให้คิดดีทาดีในการดํารงชี วิตประจําวัน
                                                                     ํ
และเหตุทีต้องฝึ กหยุดความคิดก็ เพือการพัก สมองและร่ า งกาย เมือสมองและร่ างกายได้พกตาม       ั
สมควรแล้ว สมองก็พร้ อมทีจะควบคุมความคิด และร่ างกายก็ พร้ อมทีจะทํากิ จต่างๆ ต่ อไปอย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพ การฝึ กบริ หารจิตในชี วิตประจําวันจึงเป็ นเรื องของการฝึ กควบคุ มความคิ ดสลับกับ
การฝึ กหยุดความคิด เพือให้เกิดการคิดดีทาดีได้อย่างต่อเนืองและถูกต้อง
                                           ํ
         “สั มมาสั งกัปปะ” ทีสอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงนันอยู่ที ความดําริ ทีจะเสริ มสร้ าง
การดํารงชี วตให้อยู่บนพืนฐานของความซื อสัตย์ ซือตรง สุ จริ ต เทียงธรรม ไม่เบียดเบียนและไม่เอา
             ิ
รัดเอาเปรี ยบ ประกอบกับต้องมีความพากเพียร มีสติ และใช้สติร่วมกับปั ญญาในการดําเนินชีวตทุก        ิ
ขันตอน โดยมีหลักสําคัญอยู่บนพืนฐานการปฏิ บติต ามทางสายกลางทีเน้นความพอเพียง ความ
                                                    ั
พอประมาณ และความไม่ประมาท อันเป็ นสิ งทีเสริ มสร้างภูมิคุมกันในตัว ตลอดจนใช้ความรู ้ และ
                                                                ้
คุณธรรมเป็ นพืนฐานในการดํารงชี วิต คือการไม่ติดอยู่ในความโลภ ความโกรธ และไม่คิดกลัน
แกล้งทําลายผูอืนใด นีแหละคือความคิดไตร่ ตรองทีถูกต้องตามหลักสัมมาสังกัปปะ
               ้
           ๓. สั มมาวาจา (Right Speech)
           คําว่า “สั มมาวาจา” หมายถึง การปราศรัยถูกทาง ได้แก่ การพูดในแต่สิงทีเป็ นจริ ง ไม่พูดให้
ร้ ายส่ อเสี ยดใคร ไม่พูดดูหมินผูใด ไม่ พูดด้วยความโกรธ ไม่ใช้วาจาบิดเบือนให้เ ข้าใจผิ ด พูดด้วย
                                 ้
วาจาอ่อนหวาน พูดด้วยความเมตตากรุ ณา พูดให้มีจดหมาย ไม่พูดด้วยความเขลา การพูดที ได้ชือว่า
                                                     ุ
เป็ นสัมมาวาจามีดงนี   ั
           ๑. งดเว้นจากการพูดเท็จ พูดแต่คาจริ ง ดํารงดําสัตย์ มีถอยคําเป็ นหลักฐานควรเชือถือได้ ไม่
                                           ํ                     ้
พูดลวงโลก
           ๒. งดเว้นจากการพูดส่ อเสียด ฟั งจากข้างนีแล้วไม่ไปบอกข้างโน้น เพือให้คนหมู่นีแตกร้ าว
กัน หรื อฟั งจากข้างโน้น แล้วไม่มาบอกข้างนี เพือให้คนหมู่โน้นแตกร้าวกัน สมานคนทีแตกร้ าวกัน
ให้ดีกน พูดส่ งเสริ มคนทีพร้อมเพรี ยงกันให้มีความรักสามัคคีกนยิงขึน
        ั                                                          ั


         ๑๐
          นายแพทย์เ อกชัย จุ ละจาธิ ตต์, วิธีบ ริ ห ารความคิดให้ คิ ดดี ทํ าดี (กรุ ง เทพฯ : เฟื องฟ้ า พริ นติ ง
,๒๕๔๗), หน้า ๘๐.
๙

         ๓. งดเว้นจากการพูดคําหยาบ กล่ าวแต่คาทีไม่มีโทษเพราะหู ชวนให้รัก จับใจ เป็ นของ
                                               ํ
ชาวเมืองทีคนส่ วนมากรักใคร่ พอใจ
         ๔. งดเว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ พูดถูกกาล พูดแต่คาทีเป็ นจริ ง พูดอิงอรรถ พูดอิงธรรม พูดอิง
                                                        ํ
วินย พูดแต่คามีหลักฐานมีทีอ้าง มีทีกําหนด ประกอบด้วยประโยชน์โดยกาลอันควร
   ั          ํ
         “สั มมาวาจา” ทีสอดคล้องกับหลักเศรษฐกิ จพอเพียงนันอยู่ทการใช้วาจาไปในทางทีถูกต้อง
                                                                   ี
ชอบธรรม เป็ นประโยชน์ทงต่อตนและผูอืนในการดําเนินชีวต นันคือการใช้คาพูดเป็ นเครื องมือใน
                            ั          ้                  ิ                 ํ
การประสานประโยชน์ให้แก่สังคม ทังด้านการเมือง เศรษฐกิ จการค้า การศึ กษา ศาสนา การรัก ษา
สันติ ภาพ และอืนๆ ของสังคมในทุกภาคส่ วนเข้าด้วยกัน ทังนี เพือเป็ นการเสริ มสร้ างความสามัคคี
กลมเกลีย วในหมู่ ค ณะ และเป็ นการประสานงานและประสานประโยชน์ ซึ งกัน และกัน การ
ติดต่อกันโดยตรงระหว่างบุคคลทังสองฝ่ าย สามารถสร้างความเข้าใจในความต้อ งการและรู ้ ความ
ต้องการของกัน และกัน อย่า งรวดเร็ วทันใจ เช่ นในหน่ วยงานต่างๆ ถ้าหัวหน้ าหน่ วยงานหมัน
ประชุ มปรึ กษาหารื อกับผูร่วมงานเป็ นประจําและทําให้ผูร่วมงานเข้าใจ ช่ วยคิดแก้ไ ขข้อ บกพร่ อง
                         ้                            ้
ต่างๆ ก็จะทําให้งานแต่ละหน่วยมีการประสานประโยชน์ได้ดียิงขึน

         ๔. สั มมากัมมันตะ (Right Action)
         คําว่า “สั มมากัมมันตะ” หมายถึ ง การทํางานถูก ต้องถูก ทางโดยมีจุดประสงค์ให้งานทีทํา
นันเป็ นไปตามระเบียบแบบแผนเพือความสามัคคีกลมเกลียวอันมีสุจริ ตธรรมเป็ นทีตัง กล่าวคือการ
ไม่ประกอบการชัวใดๆ โดยเว้นจากกายทุจริ ต ๓ คือ การฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ และประพฤติ ผิดในกาม
การทีบุคคลจะทํางานให้ถู กต้องตามหลักสัมมากัมมันตะได้นน จะต้องประกอบไปด้วยปั จจัยคือ
                                                             ั
ความคิ ดถูก ความเห็ นถูก การระลึกนึ กคิ ดถูก มีจิตตังมันถูก และการติ ดต่อ สื อสารทีถู กต้อง เมือ
พร้ อมไปด้วยปั จจัยดังกล่าว สัมมากัมมันตะก็เ กิ ดขึน และการเกิ ดขึ นของสัมมากัมมันตะนี เป็ นผล
ต่อเนืองสําหรับสัมมาอาชี วะต่อไป
         “สั มมากัมมันตะ” ทีสอดคล้องกับหลักเศรษฐกิ จพอเพียงนันอยู่ทีการสร้ างคุณธรรมทัง ๓
ประการให้เกิดขึนในกมลสันดาน คือความเมตตา ความไม่โลภเห็นแก่ตว และความเป็ นผูไม่มกมาก
                                                                      ั               ้ ั
ในกาม คุณธรรมทังสามประการนี เป็ นหลักประกันได้วามนุษย์จะได้รับความสุ ขในการอยู่ร่วมกัน
                                                       ่
ในสังคม และเมือสังคมเกิ ดความสงบสุ ข การดําเนิ นชีวิตของมนุ ษย์ก็พลอยได้รับสั นติสุข ไปด้วย
กล่าวคือไม่หวาดระแวงภัยอันเกิดจากการข่มเหง รังแก เบียดเบียนซึ งกันและกัน

          ๕. สัมมาอาชีวะ (Right Livelihood)
           คําว่า “สั มมาอาชีวะ” หมายถึง การดํารงชี พถูกต้อง คือการดํารงชี พด้วยการประกอบอาชีพ
สุ จริ ต ไม่คดโกงผูอืน รวมถึ ง การประกอบอาชี พที ไม่ เบียดเบี ยนชี วตสัตว์อืน และประกอบอาชี พ
                      ้                                             ิ
เกี ยวกับอบายมุขต่างๆ ตลอดถึงการละเว้นจากมิจฉาอาชีวะ ๕ ประการคือ
          ๕.๑ ค้าขายเครื องประหาร หรื อค้าอาวุธ
๑๐

           ๕.๒ ค้าขายมนุษย์
           ๕.๓ ค้าขายสัตว์ทีมีชีวตสําหรับฆ่าเป็ นอาหาร
                                  ิ
           ๕.๔ ค้าขายนําเมา
           ๕.๕ ค้าขายยาพิษ
           ทังนีรวมไปถึงการเว้นจากการเลียงชี พด้วยการหลอกลวง ทรยศ ฉ้อฉลต่างๆ ให้ด ารงชี วิตํ
ในทางทีถูกต้อ งชอบธรรม กล่าวคือ ทํา มาหาเลียงชี วิตในอาชี พทีสุ จริ ตทังทางโลกและทางธรรม
ทางโลก หมายถึงการไม่ทาผิดกฎหมาย ไม่เลียงกฎหมาย ไม่ไปก่อความเดือดร้ อนรํ าคาญให้แก่ ค น
                            ํ
อืน ทางธรรม หมายถึงการไม่ทาผิดศีล เพราะ ศีล แปลว่า ปกติ คนทําผิดศี ลก็คื อคนทีมีพฤติกรรม
                                    ํ
ผิดปกติทางกาย วาจา ใจ
           “สั มมาอาชีวะ” ทีสอดคล้องกับหลักเศรษฐกิ จพอเพียงนันอยู่ทีการเลียงชีพโดยความสุ จริ ต
เว้นจากมิจฉาอาชีวะทัง ๕ ประการข้างต้น ประกอบกิ จน้อ ยใหญ่ด้วยสติ สัมปชัญญะ เน้นความสุ ข
แบบพอเพียงในการดําเนิ นชีวต ถ้าปราศจากนีแล้วชี วิตก็ เกิ นความพอดี หาความสุ ขทีแท้จริ งมิได้
                                ิ
อย่ างเช่ นชายคนนีเป็ นตัวอย่ าง
           ชายคนหนึ ง มี อาชี พค้าขายยึดหลัก สัม มาอาชี วะเปิ ดร้ า นขายก๋ วยเตียว วัน หนึ งขายได้
ประมาณหนึงพันบาท ครอบครัวมีอยู่มีกิน เลียงลูกจนเจริ ญเติบโตปิ ดร้ านตังแต่บ่ายสามโมง มีเวลา
ตีขิม ร้ องเพลง จิตใจสงบนิง ไม่มีกงวลเพราะปราศจากหนีสิ น พอระบบธุ รกิจนิยม เข้ามาแทรกแซง
                                      ั
ถูกกระตุ ้นให้มีการแข่ง ขัน เพือมุ่ งสู่ ค วามเจริ ญเติ บโตมันคง ไปกู้เ งิ นธนาคารมาขยายร้ าน เป็ น
ภัตตาคารใหญ่โต กิจธุ ระมากขึน เทียงคืนก็ยงไม่ได้นอน ขายวันละเป็ นหมืนบาท แต่นอนไม่หลับ
                                                ั
เพราะไม่พอค่าใช้จ่าย เจ้าหนีก็ตามทวง จิตใจทีเคยสงบนิงกลับกลายเป็ น ความว้าวุ่นกังวลใจ ความ
มันคงทางการค้าทีเคยเป็ น กลับกลายมาเป็ นความเปราะบางทางธุ รกิ จ และในทีสุ ดชี วิตครอบครั ว
ถึงกาลล้มละลายไปพร้ อมธุ รกิจทีทําเกิ นตัวนัน

         ๖. สั มมาวายามะ (Right Effort)
         คําว่า “สั มมาวายามะ” หมายถึง ความเพียรถูกต้อง คือความเพียรพยายามทําในสิ งทีถูกต้อง
ได้แก่ ความเพียรพยายามระมัดระวังตนมิให้ทาความชัว เพียรพยายามละความชัวทีเกิดขึนในตน
                                            ํ
เพียรพยายามทําความดีให้เกิดขึนในตน และเพียรพยายามรักษาคุณงามความดีทีเกิดขึนในตนให้คง
อยู่ตลอดไป ความเพียรนียึดหลักสายกลาง คือไม่ตึงและไม่หย่อนเกินไป ทังยังเป็ นความเพียรทีไม่
เป็ นเหตุให้เกิดความเดือดร้ อนและความไม่ยติธรรมแก่ผูใด เมือกล่าวโดยสรุ ป ความเพียรทีถูกต้อง
                                          ุ          ้
เป็ นสัมมาวายามะ มี ๔ อย่าง คือ๑๑
         ๖.๑ สังวรปธาน เพียรระวังบาปอกุศลทียังไม่เกิดมิให้เกิดขึน

        ๑๑
         พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (กรุ งเทพฯ : มหาจุฬ า
ลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๖), หน้า ๑๕๗.
๑๑

         ๖.๒ ปหานปธาน เพียรละบาปอกุศลทีเกิดขึนแล้ว
         ๖.๓ ภาวนาปธาน เพียรเจริ ญทํากุศลธรรมทียังไม่เกิดให้เกิดขึน
         ๖.๔ อนุ รกขนาปธาน เพียรรักษากุศลธรรมทีเกิ ดขึนแล้ว ไม่ให้เสื อมไปและให้เพิมไพบูลย์
                  ั
         “สั มมาวายามะ” ทีสอดคล้องกับหลัก เศรษฐกิ จพอเพียงนันอยู่ทีการดํารงชี วิตตามหลัก
สัมมาวายามะ คือเพียรพยายามในการปฏิ บติกิ จหรื อหน้าทีในชีวิตประจําวันในทางทีถูก ต้องชอบ
                                           ั
ธรรม เป็ นประโยชน์เกือกูลต่อตนและผูอืน กล่าวคือมีความแกล้วกล้า ไม่ย่นย่อต่อความยากลําบาก
                                        ้
ใดๆ ความเพียรคือการต่อสู ้ การต่อสู ้คือการหันหน้าเข้าใส่ ค่อยทําค่อยไป ก้าวเข้าไปทีละน้อยๆ ตาม
กําลังของตน ถึงแม้ถอยกลับหรื อพลัดตกมาทีเดิม บางครังก็ก้าวไปอีก ปื นป่ ายขึ นไปอีก ถ้ามีความ
เพียรพยายามเช่ นนี ก็สามารถจะพบความสําเร็ จและอยู่กบโลกเขาได้
                                                       ั
         ปราชญ์เปรี ยบคนต่ อสู ้ว่าเหมือนปลาเป็ น ปลาจะเป็ นอยู่ได้ตองต่ อสู ้คื อว่ายทวนนําจึงได้
                                                                      ้
อาหาร ปลาทีลอยตามนํามีแ ต่ปละตายเท่านัน คนจะเป็ นอยู่ได้ต้อ งต่อสู ้ ต้องฝื นใจหักใจทํา ต้อ ง
พยายามว่ายจากทีตําขึนไปหาทีสู ง ว่ายจากชันประถมขึนไปหาชันมหาวิทยาลัย ว่ายจากเสมียนขึ น
ไปถึงอธิ บดี พระอริ ยะท่านว่ายจากทีลุ่มลึกคือโลกอันเต็มไปด้วยนําครําสกปรก ทวนกระแสขึ นไป
จนถึงโลกุตระคือชันเหนื อโลกอันบริ สุทธิ ยิง ก็ดวยความเพียรคือการต่อสู ้ อนนีเอง ถ้าไม่ต่อสู ้ปล่อย
                                               ้                           ั
ไปตามเรื องก็ คงจบอยู่แต่ ช นประถมหรื อยากจนอยู่เช่ นเดิม หรื อเป็ นปุถุชนเวียนเกิดเวียนตายอยู่
                            ั
นันเอง

           ๗. สัมมาสติ (Right Mindfulness)
           คําว่า “สั มมาสติ” หมายถึ ง การระลึกถูก ต้อง คื อความมีสติค อยควบคุมการปฏิ บติหน้าที
                                                                                          ั
ป้ องกันยับยังในการกระทํากิจการทังมวล รวมไปถึงความไม่เผลอไม่เลินเล่อ ไม่ฟันเฟื อนเลือนลอย
ด้วย การมีสติจึงเป็ นสิ งอัศจรรย์ตรงทีช่ วยให้เราเป็ นนายของตนเอง และรั กษาใจตนเองอยู่ได้ใน
ทุกๆ สถานการณ์ หากปราศจากสติ การประพฤติปฏิบติธรรมหรื อการกระทําหน้าทีของตนย่อ มไม่
                                                          ั
อาจบรรลุเป้ าหมายได้ ไม่วาจะมีความเพียรแรงกล้าสักปานใดก็ตาม
                              ่
           “สั มมาสติ” ทีสอดคล้อ งกับหลัก เศรษฐกิ จพอเพีย งนันอยู่ที การดําเนิ น ชี วิต ด้วยการมี
สติสัมปชัญญะควบคุมอยู่ตลอดเวลา ทังนีเพือไม่ให้จตหวันไหวต่อโลกธรรม ซึ งเป็ นเรื องราวทีเกิด
                                                      ิ
ขึนอยู่เป็ นประจําบนโลกนี ลักษณะของโลกธรรมมีดงนี        ั
           ๑. การได้ ลาภ เมือมีลาภผลก็ย่อมมีความเสื อมเป็ นธรรมดา มีแล้วก็ย่อมหมดไปได้ เป็ นแค่
ความสุ ขชัวคราวเท่านัน
           ๒. การได้ ยศ ยศฐาบรรดาศักดิล้วนเป็ นสิ งสมมติขึนมาทังนัน เป็ นสิ งทีคนยอมรั บกันว่า
เป็ นอย่างโน้นอย่างนี พอหมดยศก็หมดบารมี
           ๓. การได้ รับการสรรเสริ ญ ทีใดมีคนนิยมชมชอบ ทีนันก็ย่อมต้องมีค นเกลี ยดชังเป็ นเรื อง
ธรรมดา การถูกนินทาจึงไม่ใช่เรื องผิดปกติ และ
๑๒

         ๔. การได้ รับความสุ ข ทีใดมีสุขทีนันก็จะมีทุกข์ดวย มีความสุ ขแล้วก็อย่าหลงระเริ งไปจน
                                                         ้
ลืมนึกถึงความทุกข์ทีแฝงมาด้วย

            ๘. สัมมาสมาธิ (Right Concentration)
            คําว่า “สั มมาสมาธิ ” หมายถึง การตังจิตไว้ถูกต้อง คือมีจิตใจจดจ่ออยูกบกิจทีตนทํา โดยไม่
                                                                                ่ั
คิดเผลอฟุ้ งซ่ านในเรื องอื นใด สัมมาสมาธิ เป็ นฝ่ ายตรงกัน ข้ามกับความคิดฟุ้ งซ่ าน เพราะการคิด
ฟุ้ งซ่ านเกิ ดขึนในขณะทีเผลอสติ การมีสมาธิ จิตจึงทําให้สามารถควบคุมการทํางานของจิตได้อย่างมี
ประสิ ทธิ ภาพ คนทีมีสติตงมัน คือคนทีมีจิตใจจดจ่ออยู่กบงานทีตนทําอยู่ คนทีมีสติไม่ตงมัน คือคน
                             ั                              ั                            ั
ทีมีจตไม่เป็ นสมาธิ ในกิจทีตนทํา จึงมักเผลอสติไปคิดฟุ้ งซ่ าน และควบคุมความคิดของตนไม่ได้
        ิ
            สัมมาสมาธิ หรื อการตังจิตไว้ถูกต้องนัน จําแนกออกได้เป็ น ๓ ระดับ คือ
            ๘.๑ ขณิกสมาธิ สมาธิชวขณะ เป็ นสมาธิ ขนต้นซึ งคนทัวไปอาจใช้ประโยชน์ในการปฏิ บติ
                                    ั                 ั                                            ั
หน้าทีการงานในชีวตประจําวันให้ได้ผลดี
                         ิ
            ๘.๒ อุปจารสมาธิ สมาธิ เฉี ยดๆ หรื อสมาธิ จวนจะแน่ วแน่ เป็ นสมาธิ ขนระงับนิ วรณ์ ได้
                                                                                     ั
ก่อนทีจะเข้าสู่ ภาวะแห่งฌาน หรื อสมาธิในบุพภาคแห่งอัปปนาสมาธิ
            ๘.๓ อัปปนาสมาธิ สมาธิ แน่วแน่ หรื อสมาธิ ทีแนบสนิ ท เป็ นสมาธิ ระดับสู ง ซึ งมี ในฌาน
ทังหลาย ถือว่าเป็ นผลสําเร็ จทีต้องการของการเจริ ญสมาธิ
            “สั มมาสมาธิ ” ทีสอดคล้องกับหลัก เศรษฐกิ จพอเพียงนันอยู่ทีการดํารงชี วิตโดยใช้สมาธิ
ขันต้นคือขณิกสมาธิ เพราะสมาธิ ขนนี สามารถใช้ได้ผลดีในการปฏิบติภารกิจในชีวตประจําวัน นัน
                                       ั                                 ั             ิ
คือผูทีนําสมาธิ ขนนีมาใช้ อย่างน้อยก็สามารถพิจารณารู ้เท่าทันความเปลียนแปลงของจิตและชี วต
          ้          ั                                                                           ิ
ตลอดถึงการดําเนิ น ชี วตให้รู้เ ท่ า ทันความเป็ นจริ งของธรรมชาติ วิธีคิดแบบสัมมาสมาธิ สามารถ
                           ิ
ศึกษาได้จากตัวอย่างเรื องข้างล่างนี
            คนแก่ คนหนึง ไปทํานากับลูกชายทุกวัน วันหนึงลูกชายไถนาอยู่ถูกงูกดตาย ผูเ้ ป็ นพ่อเห็น
                                                                                   ั
ครังแรกก็เกิดความทุกข์โศกขึนมา ต่อพิจารณาไปๆ มาๆ แล้วก็เห็นว่า เมือลูกชายมาเกิ ด แกก็ไม่ได้
บอกให้ลูกมาเกิ ด มันหากมาเกิดของมันต่างหาก แล้วก็ไม่ได้บอกว่ามาจากไหนกัน เวลามันจะตาย
มันก็ไม่ได้บอกเล่าว่ามันจะตาย มันหากตายไปเอง อย่างนี มันไม่ใช่ ลูก เราเสี ยแล้ว มันเกิ ดมันตาย
ของมันเองต่างหาก เราจะโศกเศร้ าก็ไม่มีประโยชน์อะไร เลยหายจากความโศก จิตใจยิมแย้มแจ่มใส
เป็ นปกติธรรมดา ไม่เหมือนกับมนุษย์ปุถุชนพวกเราทัวไป ทีขาดการพิจาณาในเรื องของคุ ณธรรม
ขันนี เมือมีเหตุการณ์พลัดพรากจากของรักของชอบใจเกิ ดขึน ก็ไม่สามารถจะกลันความทุกข์ความ
โศกเอาไว้ได้ ฉะนัน ความสุ ขในการดํารงชีวิตของโลกิยชนทัวไปต้องกําหนดรู ้ เท่าทันความเป็ นไป
และความเปลียนแปลงของธรรมชาติทีแท้จริ ง จึง จะสามารถเป็ นอยู่กบโลกได้อย่างมีค วามสุ ข ไม่
                                                                           ั
เป็ นทุกข์ร้อนใจ
๑๓

           สั นตุฏฐี , สั นโตสะ
           คําว่า “สั นตุฏฐี , สั นโตสะ” หมายถึง ความยินดี ชอบใจ พอใจ อิมใจ จุใจ สุ ขใจ กับของๆ
ตน กล่าวคือความรู ้ จก พอ รู ้ จกประมาณในสิ งทีตนมี อ ยู่แ ละหามาได้ ไม่คิ ดอิ จฉาริ ษ ยาใคร ความ
                           ั        ั
สันโดษ จึงเป็ นคุณธรรมทีมหัศจรรย์ สามารถทําให้คนเลิกเบียดเบียนกัน เลิก ฟุ้ งเฟ้ อ เห่ อเหิ ม เลิก
สะเพร่ า เลิกสงคราม ทําให้คนอิมใจได้ แม้มีทรัพย์ มียศ มีตาแหน่งน้อยก็ตาม และความสันโดษยัง
                                                             ํ
ทําให้คนจนกลายเป็ นเศรษฐีได้โดยสมบูรณ์ ดังมีคากล่าวทีว่า “ความสั นโดษเป็ นยอดของทรัพย์ ”
                                                      ํ
           ความหมายของสันโดษ คนทัวไปมักมีความเข้าใจทีผิดเพียน โดยตีความหมายสันโดษ คือ
ความมักน้อย ซึ งเป็ นความประพฤติทีเฉื อยชา ขาดความกระตื อรื อร้ น และเป็ นอุ ปสรรคสําคัญใน
การพัฒนาตนเองและประเทศชาติ หรื อการปลี กตัวออกจากสังคมไปอยู่อ ย่า งโดดเดียวซึ งเป็ น
พฤติกรรมทีแปลกไปจากคนส่ วนใหญ่ ความหมายของสันโดษดังกล่าวนีไม่ตรงกับความหมายของ
สันโดษอย่างแท้จริ ง แต่หมายถึงการดํารงชี วตด้วยหลักการปฏิ บติตน ๓ ประการ คือ
                                                ิ               ั
           ๑. ยถาลาภสั นโดษ ยินดีตามมี คือยินดีกับของที ตนมีอยู่แล้ว พอใจกับของๆ ตนไม่ว่าจะ
เป็ นพ่อแม่ข องเรา ลูกเมียของเรา งานของเรา ประเทศชาติข องเรา ถึงจะมีข้อบกพร่ องอย่างไร ก็
ค่อยๆ แก้ไขกันไปให้ดีขึน แต่ไม่คิดไขว่คว้าแย่งชิ งเอาของคนอื นเขามา เช่ น ช่ างซ่ อมรองเท้ าริ ม
ถนนมีความพอใจในงานของตน ตังใจทํางานด้ วยความขยันขันแข็ง รอบคอบ ละเอียดลออ เป็ นที
ติด ใจของลู กค้ า สามารถเก็ บ หอมรอมริ บ ทีละเล็กละน้ อ ย จนตังตัวได้ กิ จการขยายใหญ่ โ ตก็มี
ตัวอย่างให้ เห็น บุคคลเมือพอใจในสิ งใด เขาย่อ มก้าวหน้าอย่างไม่หยุด ยังในสิ งนัน ความพอใจจะ
เป็ นพลังหนุนให้เกิดความพยายาม ส่ วนความไม่พอใจจะทําให้คนเหนื อยหน่าย ระอิดระอา สันโดษ
ข้อนีจะเป็ นเครื องกําจัดความเกียจคร้านเบือหน่ าย และโลภอยากได้ของผูอืนมาเป็ นของตน
                                                                        ้
           ๒. ยถาพลสั นโดษ ยินดีตามได้ คือยินดีกบของส่ วนทีตนได้มา คื อ เมื อแสวงหาประโยชน์
                                                    ั
อันใดแล้ว มันได้เท่าไรก็พอใจเท่านัน มันอาจจะได้ไม่ถึงเป้ า ประณี ตสวยงามไม่ถึงเป้ า ก็พอใจ ยินดี
เพียงแค่ นน แต่ไม่หยุดในการแสวงหาเพียงเท่านัน ดังคํากล่ าวทีว่า “พอใจในสิ งทีตนมีอยู่ แต่ ไม่
              ั
หยุดอยู่ในสิ งทีตนพอมี” ต้องแสวงหาตามหน้าทีด้วยสุ จริ ตธรรมต่อไป เมือไม่ได้ตามที หวังไว้ก็ไม่
ถึงกับกระวนกระวาย เป็ นทุกข์ เพราะได้ไม่สมอยาก ไม่เ ป็ นคนชนิ ด ไม่ได้ดวยเล่ห์ก็เอาด้วยกล
                                                                                ้
ไม่ได้ดวยมนต์ก็เอาด้วยคาถา
         ้
           คนทีขาดสันโดษข้อนี มักเป็ นคนดูถูกโชควาสนาของตนเอง พยายามใส่ ไฟตนเองให้มน            ั
เดือดร้ อนจนได้ แทนทีจะชอบส่ วนทีได้กลับนึกเกลียดชังรําคาญใจ แล้วเอาความชอบใจไปฝากไว้
กับส่ วนทีตัวไม่ได้ อย่างเช่น คนทอดแหหาปลาทีขาดสันโดษข้อนี มักจะคิดเสมอว่า ปลาตัวทีหลุ ด
มือลงนําตัวโตกว่าตัวทีจับได้ เกลียดปลาตัวทีจับได้ แต่พอใจตัวทีหลุดมือ ผลทีสุ ดก็ ตองกิ น ปลาตัว
                                                                                      ้
ทีเกลียด แล้วเฝ้ าทุกข์ใจ เสี ยดายปลาตัวทีหลุดมือ คนประเภทนี ไม่มีหวังได้กิ นปลาอร่ อยๆ จนตาย
เพราะคิดว่า ตัวทีอร่ อยทีสุ ดคือตัวทีจับไม่ได้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท

More Related Content

What's hot

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาPadvee Academy
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงพัน พัน
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6teerachon
 
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงVinz Primo
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3teerachon
 
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าโครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าจริงใจ รักจริง
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติOrnkapat Bualom
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยkhanidthakpt
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...คำเมย มุ่งเงินทอง
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพkrupeem
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3teerachon
 

What's hot (20)

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6แบบทดสอบ  ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.6
 
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้าโครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
โครงงาน เรื่อง สมุนไพรครีมพอกหน้า
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ม.๒
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
6.2 หลักการผลิตสินค้าและบริการอย่างมีประสิทธิภาพ
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 

Similar to ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงIFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงsukhom
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงbanlangkhao
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนDinhin Rakpong-Asoke
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงfreelance
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Pornthip Tanamai
 

Similar to ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท (20)

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Suffeco po(2)
Suffeco po(2)Suffeco po(2)
Suffeco po(2)
 
Econ
EconEcon
Econ
 
Econ
EconEcon
Econ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
ทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อ
 
ต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจนต้องทำแบบคนจน
ต้องทำแบบคนจน
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยงกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง เชื่อมโยง
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
88
8888
88
 

More from pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองpentanino
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยpentanino
 

More from pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
 

ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท

  • 1. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง : ผลสะท้ อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์ พรพวัณ ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ความนํา เศรษฐกิจพอเพียง เป็ น เรื องทีได้รับการพูดถึง และมีการเสนอความคิดเห็นและแสดงทัศนะ กันอย่างกว้างขวางมากทีสุ ดเรื องหนึงในช่วงระยะเวลาทีผ่านมา โดยเฉพาะอย่า งยิงภายหลังจากที ประเทศไทยประสบกับภาวะวิกฤติทางเศรษฐกิจครังสําคัญทีสุ ดในปี พ.ศ. ๒๕๔๐ ต่อเนืองเรื อยมา จนถึงวาระอันเป็ นมหามงคลวโรกาสทีพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวภูมิพลอดุลยเดชทรงครองสิ ริ ั ราชสมบัติ ครบ ๖๐ ปี และจากการทีได้มีการแสดงทัศนะและตี ค วามหมายของเศรษฐกิ จพอเพียง กันอย่างกว้างขวางจากภาคประชาชน นักวิชาการ นักบริ หาร สื อมวลชน ตลอดจนพระภิก ษุสงฆ์ เป็ นสาเหตุให้เกิดนานาทัศนะในการตีความหมายของเศรษฐกิ จพอเพียงอันเนืองมาจากพระราชดําริ การตีความหมายดังกล่าวถือได้วาเป็ นวิธีการแสวงหาความรู ้ทางปรั ช ญาทีเน้นการวิเ คราะห์ตีความ ่ เพือค้นหาความรู ้ทีถูกต้องแท้จริ ง และสมเหตุสมผล ด้วยวิธีการดังกล่าวนีเอง จึงเป็ นทีมาของคําว่า “ปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง เป็ นระบบปรัช ญาทีชี แนะแนวทางการดํารงอยู่แ ละปฏิ บติตน ั ในทางทีควรจะเป็ นโดยมีพืนฐานมาจากวิถีชีวิตดังเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกต์ใช้ได้ ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิ งระบบทีมีก ารเปลี ยนแปลงอยู่ต ลอดเวลา มุ่งเน้น การรอดพ้น จากภัยและวิกฤติ เพือความมันคงและความยังยืนของการพัฒนา แนวคิดเรื องปรัช ญาเศรษฐกิ จ พอเพียงนีสามารถนํามาประยุกต์ใช้ก บการปฏิ บติตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิ บติตามทาง ั ั ั สายกลาง(มัชฌิมาปฏิปทา) และการพัฒนาอย่างเป็ นขันตอน การนําปรั ชญาของเศรษฐกิ จพอเพียง มาประยุกต์ใช้ จะทําให้เกิดการพัฒนาทีสมดุลและยังยืน พร้ อมรับต่อการเปลียนแปลงในทุกๆ ด้าน ทังด้านเศรษฐกิ จ สังคมสิ งแวดล้อม ความรู ้และเทคโนโลยี ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาทียึดหลักทางสายกลาง ทีชี แนวทางการดํารงอยู่และ ปฏิบติของประชาชนในทุกระดับ ตังแต่ระดับครอบครัวไปจนถึงระดับภาครัฐ ทังในการพัฒนาและ ั บริ หารประเทศให้ดาเนิ นไปในทางสายกลาง มีค วามพอเพียง และมีความพร้ อมทีจะจัด การต่อ ํ ผลกระทบจากการเปลียนแปลงทังภายนอกและภายใน ซึ งจะต้องอาศัยความรอบรู ้ รอบคอบ และ ระมัดระวัง ในการวางแผนและดําเนินการทุกขันตอน เศรษฐกิจพอเพียงไม่ใช่เพียงการประหยัด แต่ เป็ นการดําเนินชีวตอย่างสมดุลและยังยืน เพือให้สามารถอยูได้แม้ในโลกโลกาภิวตน์ทีมีการแข่งขัน ิ ่ ั สู งในทุกๆ ด้าน  ป.ธ. ๖, พธ.บ., M.A.(Phil.), M.A.(Bud.), Ph.D.(Phil.) /อาจารย์ประจํา มจร.วิทยาลัยสงฆ์เลย
  • 2. ๒ ความหมายของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ปรั ชญาแห่ ง การกําหนดแนวทางการดํารงชี วตทีพึง ิ ปรารถนา ซึ งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวได้พระราชทานไว้แก่ พสกนิ กรชาวไทย เพือให้มีสติ มี ่ ั สัมมาทิฐิ รู ้เท่าทันความจริ ง ไม่โลภ ไม่เบียดเบียนกัน มีภูมิคุมกัน ดํารงชี วิตอยู่ดวยความพอเพียง ้ ้ พอประมาณ เพือเป็ นพืนฐานของความอยู่ดีมีสุขทียังยืนและถาวรสื บไป หลักการดําเนิ นชี วิตทีจะ ๑ สําเร็ จสมประสงค์ดงกล่าว ต้องอาศัยหลักพุทธธรรมว่าด้วยทางสายกลางหรื อ มัชฌิมาปฏิ ปทา และ ั หรื อหลักธรรมหมวดอืนๆ ทีสนับสนุนการดํารงชี วตแบบพอเพียง เช่ น ความสั นโดษ เป็ นต้น อัน ิ เป็ นเครื องนําชี วิตไม่ให้ตกอยู่ ในความโลภ และความประมาท ยึ ดมันในความเป็ นอยู่ทีพอเพีย ง พอประมาณ ประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายทีเกินความพอดี ลดความฟุ่ มเฟื อยไร้ สาระ แต่ไม่ถึงกับทํา ตนเองให้ลาบากเพราะฝื ดเคืองเกินควร ํ คําว่า “ปรั ชญาเศรษฐกิจพอเพียง” มาจากการรวมกันของ ๓ ศัพท์ คือ ปรั ชญา + เศรษฐกิจ + พอเพียง = ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง หลักคิดเพือการดํารงชี วต นันคือการทีคนเราจะมี ิ ชี วิตอยู่บนโลกนี ได้ จะต้องมีหลักคิดว่าเราจะดํารงชี วิตอย่างไร เพื ออะไร ทําอะไร และสุ ดท้าย เป้ าหมายของชีวตคืออะไร ตรงนี แหละคือแก่ น แท้ข องเศรษฐกิ จพอเพียง ซึ งก็คื อวิถีชีวิตของคน ิ ไทยทีอยู่ในสภาวะแวดล้อมไทย หรื อภูมิสังคมแบบไทยๆ กล่าวคือ เป็ น หลัก คิดในการดํารงชี วิตที สอดคล้องกับภูมิสังคมของประเทศไทย๒ โดยมีระบบพืนฐานความคิ ดอยู่ทีการปลู ก ฝั งมุ่ งเน้นให้ บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยังยืน และใช้จ่ายเงินที ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัดตาม กําลังทรัพย์ข องบุ ค คลนันๆ โดยปราศจากการกู้หนี ยืมสิ น และถ้ามีเงิ นเหลื อ ก็ แบ่ งเก็บออมไว้ บางส่ วน ช่วยเหลือผูอืนบางส่ วน และอาจมีก ารใช้จ่ายเพือปั จจัยเสริ มอีก บางส่ วนทีเห็นว่ามีความ ้ จําเป็ นต่อการดํารงชี วตและเงือนไขของการอยู่ร่วมกันในสังคม ิ ความเป็ นมาของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง สาเหตุทีแนวทางการดํารงชีวตอย่างพอเพียง ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี เพราะ ิ สภาพการดํารงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปั จจุบนได้ถูกปลูกฝั ง สร้ าง หรื อกระตุน ให้เกิ ดการใช้จ่าย ั ้ อย่างเกินตัว ในเรื องทีไม่เกี ยวข้องหรื อเกินกว่าปั จจัยในการดํารงชีวต เช่ น การบริ โภคเกินตัว ความ ิ บันเทิงหลากหลายรู ปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัวตามแฟชัน การพนันหรื อเสี ยงโชค เป็ น ต้น สิ งเหล่ านี เป็ นคุณค่ าเทียมทีคอยกระตุ ้นให้ค นในสังคมเกิ ดกระแสบริ โภคทางวัตถุนิ ยมอย่าง รุ นแรง จนทําให้ไม่มีเงินเพียงพอเพือตอบสนองความต้องการสิ งเหล่านันได้ ส่ งผลให้เกิ ดการกู้หนี ๑ สํานักงานมูลนิ ธิชยพัฒนา, สาระสํ าคัญและข้อมูลพืนฐานทีควรทราบเกียวกับโครงการอันเนืองมาจาก ั พระราชดําริและปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงอันเนื องมาจากพระราชดําริ (กรุ งเทพฯ : มูลนิ ธิชยพัฒ นา, ๒๕๕๐), ั หน้า ๙๔. ๒ http://web.sbac.ac.th/Suffciency/Economy04/Economics.html
  • 3. ๓ ยืมสิ นจนเกิ นความพอดี และได้กลายเป็ นวัฏจักรทีทําให้คนในสังคมติดอยู่ในกระแสแห่ งวัตถุ นิยม ทีไหลบ่ามาในรู ปแบบของวัฒนธรรมตะวันตก จนยากทีคนในสังคมจะหลุดออกจากบ่วงแห่ งมายา วัตถุนีได้ ตราบเท่าทียังไม่มีการเปลียนแปลงแนวทางการดํารงชีวต ิ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาทีพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช พระองค์ผูทรงเป็ นธรรมิกราช ทรงมีพระราชดํารัสชีแนะแนวทางการดําเนิ นชี วิตแก่ พสกนิ ก รชาว ้ ไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตังแต่ก่อนเกิ ดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมือภายหลังได้ทรง เน้นยําแนวทางการแก้ไขเพือให้รอดพ้น และสามารถดํารงอยูได้อย่างมันคงและยังยืนภายใต้กระแส ่ โลกาภิวตน์และความเปลียนแปลงของสังคมโลก พระองค์ท่านได้ทรงตระหนักในพระราชหฤทัย ั ว่า ประชาชนส่ วนใหญ่ของประเทศยังชีพอยูดวยการทําเกษตรกรรม ดังทีทรงมีพระราชกระแสตอน ่้ หนึงว่า “...ชนบทและชาวชนบท ซึ งเป็ นประชากรส่ วนใหญ่ ของประเทศยังยากไร้ ขัดสน และยัง ต้ องการความช่ วยเหลือ หากเราช่ วยให้ ประชาชนส่ วนใหญ่ ยกระดับชีวิตความเป็ นอยู่ไม่ ได้ แล้ วการ พัฒนาประเทศก็ถือว่ าไม่ ประสบความสํ าเร็จ...”๓ ด้วยเหตุนี พระองค์ท่านได้ทรงตรากตรําพระวรกายปฏิ บติพระราชกรณี ยกิจน้อยใหญ่อย่าง ั ต่อเนือง เพือยกระดับคุณภาพชีวตและความเป็ นอยูของพสกนิ กรโดยส่ วนรวมให้ดีขึน โดยเฉพาะ ิ ่ อย่างยิงผูยากไร้ดอยโอกาสในเขตชนบทห่างไกล พระองค์จะเสด็จฯไปทัวทุกภาคของประเทศและ ้ ้ ทัวทุกฤดูกาล จึงได้ทอดพระเนตรเห็นและได้ทรงรับฟั งปั ญหาทุกด้านจากพสกนิ กรด้วยพระองค์ เอง ดังนันจึงทรงมีขอมูลทังสภาพพืนที สภาพความเป็ นอยู่ และข้อมูลทางวิชาการอย่างสมบูรณ์ ที ้ พร้ อมจะพัฒนาประเทศโดยผ่านโครงการพัฒนาอันเนืองมาจากพระราชดําริ เพือช่ วยเหลื อให้พสก นิ ก รเหล่ านันให้มีสภาพชี วิตทีดีขึ นอย่างน้อยก็ พออยู่ พอกิน และ พอเพียง สามารถช่ วยเหลื อ ตนเองได้ เพือเป็ นฐานของการพัฒนาทียังยืนขันต่ อไป๔ และด้วยพระราชวิริยะอุตสาหะต่อการ พัฒนาประเทศของพระองค์ท่าน จึงทําให้เกิดเป็ นโครงการพัฒนาอันเนืองมาจากพระราชดําริ กว่า ๔,๐๐๐ โครงการ และโครงการเหล่านันล้วนเกียวข้องกับการพัฒนาปั จจัยการผลิตต่างๆ เช่น ดิน นํา ทีทํากิ น ทุน ความรู ้ ดานการเกษตรกรรม การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม เป็ นต้น๕ ้ และก่ อให้เกิ ดเป็ นคุณูปการอันใหญ่หลวงแก่ประชาชนและประเทศชาติเป็ นอเนกอนันต์ หาที สุ ด มิได้ เมือศึกษาแนวพระราชดําริ ในเรื องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง จะเห็นได้วา พระองค์ท่านได้ ่ ทรงประยุกต์แนวความคิดจากหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา ทีเน้นการดํารงชี วิตแบบพอเพียง มี สติ มีสั มมาทิฐิ รู ้ เ ท่าทันความจริ ง ไม่ โลภ ไม่เบียดเบียนกัน มีภูมิคุ ้มกัน ดํารงชี วิต อยู่ด้วยความ ๓ สํานักงานมูลนิ ธิชยพัฒนา, อ้ างแล้ ว, หน้า ๒. ั ๔ เรืองเดียวกัน, หน้า ๑. ๕ เรืองเดียวกัน, หน้า ๒.
  • 4. ๔ พอเพี ยงพอประมาณ ดังความตอนหนึ งในพระราชกระแสทีว่า “...คํา ว่ า พอเพียง มีความหมาย กว้ า งขวางกว่ า ความสามารถในการพึงตนเอง หรื อความสามารถในการยืน อยู่บ นขาของตัวเอง เพราะความพอเพียงหมายถึงการทีมีความพอ คือ มีความโลภน้ อย เมือโลภน้ อยก็เบียดเบียนน้ อย ถ้ า ประเทศใดมีความคิด นี มีความคิดว่ า ทําอะไรต้ องพอเพียงหมายความว่ าพอประมาณ ซื อตรง ไม่ โลภ อย่ างมาก คนเราก็อาจเป็ นสุข พอเพียงนี อาจจะมีมาก อาจจะมีของหรูห ราบ้ างก็ได้ แต่ ว่าต้ อง ไม่ เบี ยดเบียนคนอืน...”๖ ความในพระราชดํารัสนี ชีให้เห็นขอบข่ายในบริ บทของเศรษฐกิ จพอเพียงทีเกี ยวเนื องกับ หลักพุทธธรรมทีว่าด้วยหลักมัช ฌิม าปฏิ ป ทา หรื อ ทางสายกลาง ทีมุ่ง เน้น ให้ล ดกระบวนการ เศรษฐกิจระบบทุนนิยมแบบสุ ดโต่ง โดยให้ลดระดับลงเพียงพอแก่ความจําเป็ น และความเหมาะสม กับการรักษาและดํารงชีวตทีเรี ยบง่ายและพึงตนเองได้ บริ โภคแต่เพียงพอ ลดและบรรเทาการพึงพา ิ เทคโนโลยีจากต่า งประเทศ หัน มาใช้ ภู มิปั ญ ญาชาวบ้า นและเทคโนโลยี ทีไม่ เ ป็ นการทํา ลาย ธรรมชาติ แ ละสภาพแวดล้อ ม ซึ งจะเป็ นการเดิ น สายกลางตามหลัก มัช ฌิ มาปฏิ ป ทาในทาง พระพุทธศาสนา ผสมกลมกลืนกับมิติทางด้านคุณธรรมและจริ ยธรรมของการอยู่ร่วมกันของสรรพ สิ ง การไม่เบียดเบียนและการสงเคราะห์เกือกูลพึงพาอาศัยกัน ผูยึดหลักเศรษฐกิ จพอเพียงถือ ได้วา ้ ่ เป็ นผูมีสติและปั ญญาเป็ นเครื องนําทางอันประเสริ ฐ เปรี ยบเสมือนเศรษฐกิจพอเพียงนัน คือ “หลั ก ้ ปรั ชญาธรรม” ในการดํารงชีวตให้สมดุลและมีสุขอย่างยังยืน ิ หลักพุทธธรรมว่าด้ วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง หลักคําสอนในทางพระพุทธศาสนา เป็ นหลักธรรมสากลทีสอนให้อยู่ตรงกลางระหว่าง ความสุ ดโต่งทังสองด้านคือความหย่อนและตึงเกิ นไป เรี ยกว่า มัชฌิมาปฏิ ปทา หรื อทางสายกลาง โดยเฉพาะในเรื องของเศรษฐกิจแล้ว จะมีลกษณะต่อต้านกระแสวัตถุนิยม บริ โภคนิยม ธนนิยมและ ั ทุนนิยม และสนับสนุ นให้บุคคลเดินตามแนวทางปรั ช ญาเศรษฐกิ จพอเพียงของพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หวอย่างแท้จริ ง หลักธรรมทีว่าด้วยการปฏิบติตามทางสายกลางนันมีอยู่แทบทุกหมวดทุก ั ั หัวข้อในหลักธรรมทัง ๘๔,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ เพราะหลักธรรมเหล่านีล้วนมีสาระปฏิบติสรุ ปลง ั ในมัชฌิมาปฏิปทา(มรรคมีองค์ ๘) ซึ งว่าด้วยเรื อง ศีล สมาธิ ปัญญา และท้ายสุ ดคือสติหรื อความไม่ ประมาท ส่ วนหลักธรรมทีว่าด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนันมีอยู่หลายหัวข้อธรรมด้วยกัน แต่ ใน ทีนีจะนํามาอธิ บายเพียงบางหัวข้อทีเห็นว่ามีค วามสอดคล้องกับทฤษฎี เศรษฐกิ จพอเพียง เพือเป็ น แนวทางในการศึกษาค้นคว้าต่อไป หลักพุทธธรรมทีสนับสนุนแนวความคิดเรื องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงทีนํามาเสนอในทีนี มีดงนี ั ๖ เรืองเดียวกัน, หน้า ๗๔.
  • 5. ๑. มัชฌิมาปฏิปทา : ทางสายกลาง ๒. สันตุฏฐี, สันโตสะ : ความสันโดษ ๓. ทิฏฐธรรมิกตถะ : ธรรมทีเป็ นไปเพือให้เกิดประโยชน์ในปั จจุบน ั ั หลักพุทธธรรมทัง ๓ ข้อนีถือว่าเป็ นต้นแบบแห่งการดําเนินชีวตของมนุษย์ทีอยูบนพืนฐาน ิ ่ ความพอเพียงหรื อทางสายกลางอย่างแท้จริ ง และทีสําคัญคือเป็ นหลักธรรมทีนําไปสู่ การพัฒนาตาม วิถีเศรษฐกิจแนวพุทธ ซึ งมีหลักเกณฑ์อยู่ทีความสมดุลระหว่างวัตถุและจิตใจ หรื อการสร้างทางสาย กลาง เพือแสวงหาสาระทีแท้จริ งของชีวิต นันก็คือ ความสุ ขทางจิตใจมีคุณค่ากว่าความสุ ข ทางวัตถุ ซึ งจะก่ อให้เกิดความเห็นแก่ตวและนําไปสู่ ปัญหาสังคมนานัปการดังทีทราบกันในสั งคมปั จจุบน ั ั หลักธรรมทัง ๓ ประการนีสามารถนํามาอธิ บายเป็ นหลักการเชิงประยุกต์ให้สอดคล้อ งกับ ลักษณะของเศรษฐกิจแนวพุทธทีเน้นความพอเพียงหรื อทางสายกลาง ซึ งตังอยู่บนพืนฐานความเชือ ทัศนคติ และค่านิ ยมตามแนวทางพระพุทธศาสนา ดังนี มัชฌิมาปฏิปทา คําว่า “มัชฌิมาปฏิปทา” หมายถึง หลักคําสอนทางพระพุทธศาสนาทีเน้นการปฏิ บติตาม ั ทางสายกลางทีนําไปสู่ การพัฒนาคุณภาพชี วตตามหลัก เศรษฐกิ จพอเพียง ซึ งในทีนี หมายถึงการ ิ พัฒนาทีตังอยูบนพืนฐานของทางสายกลาง และความไม่ ประมาท โดยคํานึ งถึ งความพอประมาณ ่ ความมี เ หตุผ ล การสร้ า งภู มิคุ ้ม กัน ที ดีในตัว ตลอดจนใช้ ค วามรู้ ค วามรอบคอบและคุ ณ ธรรม ประกอบการวางแผนและการตัดสิ นใจในการกระทําการต่างๆ อันเกียวข้อ งกับการดําเนิ นชี วิตเพือ ความถูกต้องดีงามตามหลักเศรษฐกิ จพอเพียง มัชฌิมาปฏิปทา เป็ นหลักธรรมทีวางแนวทางการปฏิ บติอยู่ตรงกลางระหว่างความสุ ดโต่ง ั ทัง ๒ ทาง คือ กามสุ ขลลิกานุ โยคและอัตตกิลมถานุโยค ซึ งหลักธรรมทังสองด้านนีถือว่าเป็ นหลัก ั ปฏิบติทีมีความสุ ดโต่งแบบสุ ดประมาณจนหาความดีงามในการบรรลุคุณธรรมไม่ได้ จะเห็นได้จาก ั การทีเจ้าชายสิ ทธัตถะถูกพระราชบิดาปรนเปรอให้หลงใหลหมกมุ่นในกามคุณ และทรงบําเพ็ญทุก กรกิริยา๗ โดยประการต่างๆ นี สะท้อนให้เห็น ถึงความสุ ดโต่งในการดําเนินชี วิตทังสองด้านทีไม่ นําไปสู่ ความสุ ขและความสําเร็ จได้อย่างแท้จริ ง ๗ พระมหาบุรุษทรงบําเพ็ญทุกกรกิ ริยาทรงทรมานพระวรกายอยู่ ๖ ปี พระองค์งดเสวยอาหารจนพระ วรกายซูบผอมเหลือแต่หนังหุ ้มกระดูก และแล้วพระอินทร์ ถือพิณสามสายมาดีดให้ฟัง สายพิณทีหนึ งขึงตึงเกินไป เลยขาด สายที สองหย่อนเกินไปดีดไม่ดง สายที สามไม่ตึงไม่หย่อนนัก ดีดดังได้เสี ยงพอดี พอทรงได้ยิน เช่นนัน ั พระองค์จึงทรงเลิกบําเพ็ญทุกกรกิริยา ซึ งเป็ นความเพียรทางกาย แล้วเริ มกลับเสวยอาหารเพือบําเพ็ญเพี ยรทางใจ การบําเพ็ญทุกกรกิริยาของพระมหาบุรุษดังกล่าว สะท้อนถึงการดําเนิ นชีวตทีสุ ดโต่งอีกด้านหนึ ง อัน เป็ นมูลเหตุ ิ ให้พระองค์ทรงพบหลักมัชฌิมาปฏิปทา ในกาลต่อมา
  • 6. พระพุทธศาสนาปฏิ เ สธทางสุ ดโต่งทังสองด้านนี เพราะเห็นว่าไม่เ อือประโยชน์ต่อการ ดําเนิ นชี วิต ทังยังนําชี วิตไปสู่ ความคับแคบและตําทราม กล่ าวคื อ กามสุ ขั ลลิก านุ โยค เป็ นการ กระทําเพือแสวงความสุ ขสบายแก่ตน ทําให้ชีวตคลุกเคล้าอยูในรสโอชะอันเกิดจากการหมกมุ่นใน ิ ่ กามสุ ขอย่างสุ ดโต่ง ส่ วน อัตตกิลมถานุ โยค เป็ นการปฏิบติตนด้วยการทรมานร่ างกายให้ยากลําบาก ั ด้วยหวังผลอันเกิดจากการทรมานนัน ซึ งทังสองทางนีไม่เป็ น ไปเพือความเพิมพูนขึนแห่ งสติปัญญา ผู ้ล ะเว้น เสี ย ได้ซึ งทางสุ ดโต่ ง ทังสองทางนี ถื อ ได้ว่ าเป็ นผู ้ด ํา เนิ น ตามทางสายกลาง เรี ย กว่ า “มัชฌิมาปฏิปทา” หลักมัชฌิมาปฏิปทาจึงเป็ นการปฏิ บติตนให้พอดีหรื อพอเพียง เป็ น ทางเปิ ดดวงตาทีมืดให้ ั เห็นแสงสว่าง เปิ ดความหนวกทีไม่ได้ยินให้ได้ยิน เป็ นทางนําไปสู่ ความไม่เ หน็ดเหนือย เป็ นทาง นําไปสู่ ความรู ้ และความหลุดพ้น เรี ย กว่า “นิพพาน” มัช ฌิมาปฏิ ปทาประกอบด้วยการกระทํา ๘ ประการ (อัฏฐังคิกมรรค) คือมีความเห็นถูกทาง มีการพิจารณาถู กทาง มีการปราศรัยถูกทาง มีการ กระทําถูกทาง มีความเป็ นอยู่ถูกทาง มีความเพียรถูกทาง มีความคิดถู กทาง และมีสมาธิ ถูก ทาง วิธี ดับความอยาก ความกระหายอย่ างสุ ดโต่งดังกล่ าว ต้องดํา เนิ น ตามทางสายกลางนี เท่า นัน ดังมี อธิ บายโดยสังเขปดังนี ๑. สั มมาทิฐิ (Right Understanding) คําว่า “สั มมาทิฐิ” หมายถึง ความเห็นถูกต้อง คือเห็นตามทํานองคลองธรรม เห็นตามความ เป็ นจริ งทีประกอบด้วยปั ญญา ซึ งเป็ นมโนสุ จริ ต ๑๐ ประการ คือ๘ เห็นว่าการให้ทานมีผ ลจริ ง การ บูชามีผลจริ ง การเคารพบูชามีผลจริ ง ผลวิบากของกรรมดีก รรมชัวมี จริ ง คุณของมารดามีจริ ง คุ ณ ของบิดามีจริ ง พวกโอปปาติก ะ (พวกเกิ ดทัน ทีเช่ นเทวดา) มีจริ ง สมณพราหมณ์ผู ้ปฏิ บติดีปฏิ บติ ั ั ชอบจนบรรลุมรรคผลนิพพาน รู ้ แจ้งเห็นจริ งแล้วสอนผูอืนให้รู้ตามด้วยมีจริ ง ้ สัมมาทิฐิคือการมีความเห็นทีไม่ผิด เป็ นมูลฐานทีต้องถึงก่อนมรรคอืน ซึ งเป็ นเหมือนประตู แรกที เปิ ดเข้าสู่ ทางแห่ ง ความปรารถนาสํ าหรั บผู ้ทีต้อ งการบรรลุ ผลในการดําเนิ น ชี วตตามแบบ ิ ปรัชญาเศรษฐกิ จพอเพียง นันคือ แต่ละคนหรื อแต่ละครัวเรื อนมีค วามเห็นทีจะดํารงชี วิตอยู่อ ย่าง เรี ยบง่าย โดยอาศัยผลลัพธ์ของสิงทีผลิตขึนมาในขอบเขตความสามารถของตัวเอง ถึงแม้วาจะต้องมี ่ การซื อขายกับแหล่งข้างนอกบ้างก็อยู่บนพืนฐานของการเป็ นอยู่แบบพอตัวพอสุ ขเท่านัน วิธีการคิด ตามหลักสัมมาทิฐิสามารถศึกษาได้จากตัวอย่างข้างล่างดังต่อไปนี ชายคนหนึ ง เคยทํา ธุ รกิ จเกี ยวกับขายเสื อผ้าแล้วล้มละลาย ทําให้ตองหันมาใช้ชิวิตอย่าง ้ พอเพียง พออยู่ พอกิน โดยเขาได้แปลงพืนทีสามไร่ กว่าในบ้านต่างจังหวัดให้เป็ นสวนพืชพันธ์แ ละ ฟาร์ มเพาะหมู ไก่ ปลา และ กบ จุดประสงค์หลักของสิ งทีเค้าทําทังหมดคือเพือเอือต่อการดํารงชี วต ิ ๘ http://th.wikipedia.org/wiki
  • 7. ๗ อยู่ของครอบครัวโดยทีไม่ตองพึงปั จจัยภายนอกบ้าน มีบานอยู่ มีอาหารกิน มีเ งินซื อเสื อผ้า ของใช้ ้ ้ และยารักษาโรค เงินเก็บทีมีจดประสงค์ใหญ่คือเก็บไว้ให้ลูกเรี ยนหนังสื อ และมีเงินเหลือสํารองไว้ ุ เล็ กน้อ ยสํ าหรั บยามคับขัน อย่ างเช่ น ต้อ งไปหาหมอหรื อต้อ งช่ วยเหลื อญาติ พีน้อ งหรื อ เพื อน นอกเหนือจากนีเขาและครอบครัวก็ไม่ต้องมีอะไรมากมายก็มีความสุ ขได้ บ้านก็ไม่ตองมีใหญ่ไว้ ้ อวดคนหรื อไว้เป็ นข้อพิสูจน์วาฉันประสบความสําเร็ จแล้ว รถก็ไม่ตองหรู หราไว้แข่งกับเพือนบ้าน ่ ้ เงินก็ไม่ตองมีเก็บเป็ นล้านๆ ในธนาคารเพราะนึกภาพไม่ออกว่าชาตินีจะมีโอกาสไหนทีจะต้องใช้ ้ เงินมากขนาดนัน หนีสิ นก็ไม่มีเพราะไม่ตองกู้มาทําธุ รกิจใหญ่โตหรื อมาซื อหุนต่างชาติเพือหวังผล ้ ้ กําไรมหาศาล นีคือหนึงตัวอย่างของการดําเนิ นชี วิตแบบปรั ชญาเศรษฐกิ จพอเพี ยงในความหมาย ทีว่า “เศรษฐกิจทีพอเพียงอยู่ในตัวเอง” ซึ งเป็ นวิถีการดํารงชี วิตที ไม่ใช่ มีมาเพียงในประวัติศาสตร์ ของไทยเท่านัน แต่เป็ นวิธี การดํารงชีวตดังเดิมของเผ่าพันธุ์มนุ ษยชาติตงแต่ยุคเริ มแรกเลยทีเดียว ิ ั สิ งทีสําคัญทีสุ ดคือการสร้ างแนวคิดทีอยูบนพืนฐานของสัมมาทิฐิคือความเห็นทีว่า ความรู ้ ่ จักพอในสิ งทีมีอยู่และสิ งทีได้มา ไม่วาสิ งเหล่านันจะได้มาด้วยวิถีพอเพียงในตนเองหรื อวิถีทุนนิยม ่ จะเห็นได้วาความหมายนีจะกว้า งขวางมาก ไม่มีข้อ จํา กัดว่าเราต้องกิ น และใช้เ ฉพาะสิ งทีเราผลิ ต ่ ขึนมาเองเท่ า นัน หรื อ เราต้อ งไม่ใส่ ใจเรื องหน้าตา ต้อ งไม่มีร ถแพง ต้อ งไม่มีบ้านใหญ่ หรื อ แม้กระทังต้องไม่กูเ้ งินมาลงทุนเพือหวังผลกําไร สิ งเหล่านีล้วนอยู่ในขอบเขตของคําว่าพอเพียงได้ ถ้าคนๆ นันรู ้วาเมือไหร่ ฉนพอ โดยทีมีรากฐานในการวัดอยูทีความจําเป็ นส่ วนตัว ไม่ใช่อ ยู่ทีเกณฑ์ ่ ั ่ วัดทีสังคมสมัยใหม่พากันตังขึนมาเพืออวดกัน จนกลายเป็ นสังคมจอมปลอมอัน ก่ อให้เกิ ดปั ญหา นานาประการดังทีมีให้เห็นในปั จจุบน ั ๒. สัมมาสั งกัปปะ (Right Thought) คําว่า “สั มมาสั งกัปปะ” หมายถึง ความดําริ ถูก หรื อความนึกคิดในทางทีถูกต้อ งชอบธรรม นันคือดําริ ทีจะดึงกายและจิตของตนให้พนจากอํานาจกิเลส อันได้แก่ ความโลภทีทําให้เกิดความรัก ้ ความต้องการ และความอยากได้ ความดําริ ทีได้ชือว่าถู กต้องตามหลัก ของสัมมาสั งกัปปะมีอยู่ ๓ ประการ คือ๙ ๑. เนกขัมมสั งกัปปะ คือความดําริ ทีปลอดจากโลภะ ความนึกคิดทีปลอดโปร่ งจากกาม ไม่ หมกมุ่นพัวพันติดข้องในสิ งสนองความอยากต่างๆ ความคิ ดทีปราศจากความเห็ นแก่ ตว ความคิด ั เสี ยสละและความคิดทีเป็ นคุณเป็ นกุศลทุกอย่าง จัดเป็ นความนึกคิดทีปราศจากราคะ หรื อโลภะ ๒. อัพยาบาทสั งกัปปะ คือดําริ ในอันไม่พยาบาท ความดําริ ทีไม่มีความเคียดแค้น ชิ งชัง ขัด เคื อง หรื อเพ่งมองในแง่ ร้ ายต่างๆ โดยเฉพาะมุ่ งเอาธรรมทีตรงข้ามคื อ เมตตา ซึ งหมายถึ งความ ปรารถนาดี ความมีไมตรี ตองการให้ผูอืนมีความสุ ข จัดเป็ นความนึกคิดทีปราศจากโทสะ ้ ้ ๙ http://th.wikipe dia.org/wiki
  • 8. ๓. อวิหิงสาสั งกัปปะ คือดําริ ในอันไม่เบียดเบียน ไม่มีการคิดทําร้ ายหรื อทําลาย โดยเฉพาะ มุ่งเอาธรรมทีตรงกันข้าม คือกรุ ณา ซึงหมายถึงความคิดช่วยเหลือผูอืนให้พนจากความทุกข์จดเป็ น ้ ้ ั ความนึกคิดทีปราศจากโทสะ การฝึ กบริ หารความคิดตามหลักสัมมาสังกัปปะมี ๒ ขันตอน คือ๑๐ ๑. ฝึ กควบคุมความคิด ๒. ฝึ กหยุดความคิด เหตุทีต้องฝึ กควบคุมความคิดก็เพือควบคุมความคิดให้คิดดีทาดีในการดํารงชี วิตประจําวัน ํ และเหตุทีต้องฝึ กหยุดความคิดก็ เพือการพัก สมองและร่ า งกาย เมือสมองและร่ างกายได้พกตาม ั สมควรแล้ว สมองก็พร้ อมทีจะควบคุมความคิด และร่ างกายก็ พร้ อมทีจะทํากิ จต่างๆ ต่ อไปอย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ การฝึ กบริ หารจิตในชี วิตประจําวันจึงเป็ นเรื องของการฝึ กควบคุ มความคิ ดสลับกับ การฝึ กหยุดความคิด เพือให้เกิดการคิดดีทาดีได้อย่างต่อเนืองและถูกต้อง ํ “สั มมาสั งกัปปะ” ทีสอดคล้องกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงนันอยู่ที ความดําริ ทีจะเสริ มสร้ าง การดํารงชี วตให้อยู่บนพืนฐานของความซื อสัตย์ ซือตรง สุ จริ ต เทียงธรรม ไม่เบียดเบียนและไม่เอา ิ รัดเอาเปรี ยบ ประกอบกับต้องมีความพากเพียร มีสติ และใช้สติร่วมกับปั ญญาในการดําเนินชีวตทุก ิ ขันตอน โดยมีหลักสําคัญอยู่บนพืนฐานการปฏิ บติต ามทางสายกลางทีเน้นความพอเพียง ความ ั พอประมาณ และความไม่ประมาท อันเป็ นสิ งทีเสริ มสร้างภูมิคุมกันในตัว ตลอดจนใช้ความรู ้ และ ้ คุณธรรมเป็ นพืนฐานในการดํารงชี วิต คือการไม่ติดอยู่ในความโลภ ความโกรธ และไม่คิดกลัน แกล้งทําลายผูอืนใด นีแหละคือความคิดไตร่ ตรองทีถูกต้องตามหลักสัมมาสังกัปปะ ้ ๓. สั มมาวาจา (Right Speech) คําว่า “สั มมาวาจา” หมายถึง การปราศรัยถูกทาง ได้แก่ การพูดในแต่สิงทีเป็ นจริ ง ไม่พูดให้ ร้ ายส่ อเสี ยดใคร ไม่พูดดูหมินผูใด ไม่ พูดด้วยความโกรธ ไม่ใช้วาจาบิดเบือนให้เ ข้าใจผิ ด พูดด้วย ้ วาจาอ่อนหวาน พูดด้วยความเมตตากรุ ณา พูดให้มีจดหมาย ไม่พูดด้วยความเขลา การพูดที ได้ชือว่า ุ เป็ นสัมมาวาจามีดงนี ั ๑. งดเว้นจากการพูดเท็จ พูดแต่คาจริ ง ดํารงดําสัตย์ มีถอยคําเป็ นหลักฐานควรเชือถือได้ ไม่ ํ ้ พูดลวงโลก ๒. งดเว้นจากการพูดส่ อเสียด ฟั งจากข้างนีแล้วไม่ไปบอกข้างโน้น เพือให้คนหมู่นีแตกร้ าว กัน หรื อฟั งจากข้างโน้น แล้วไม่มาบอกข้างนี เพือให้คนหมู่โน้นแตกร้าวกัน สมานคนทีแตกร้ าวกัน ให้ดีกน พูดส่ งเสริ มคนทีพร้อมเพรี ยงกันให้มีความรักสามัคคีกนยิงขึน ั ั ๑๐ นายแพทย์เ อกชัย จุ ละจาธิ ตต์, วิธีบ ริ ห ารความคิดให้ คิ ดดี ทํ าดี (กรุ ง เทพฯ : เฟื องฟ้ า พริ นติ ง ,๒๕๔๗), หน้า ๘๐.
  • 9. ๓. งดเว้นจากการพูดคําหยาบ กล่ าวแต่คาทีไม่มีโทษเพราะหู ชวนให้รัก จับใจ เป็ นของ ํ ชาวเมืองทีคนส่ วนมากรักใคร่ พอใจ ๔. งดเว้นจากการพูดเพ้อเจ้อ พูดถูกกาล พูดแต่คาทีเป็ นจริ ง พูดอิงอรรถ พูดอิงธรรม พูดอิง ํ วินย พูดแต่คามีหลักฐานมีทีอ้าง มีทีกําหนด ประกอบด้วยประโยชน์โดยกาลอันควร ั ํ “สั มมาวาจา” ทีสอดคล้องกับหลักเศรษฐกิ จพอเพียงนันอยู่ทการใช้วาจาไปในทางทีถูกต้อง ี ชอบธรรม เป็ นประโยชน์ทงต่อตนและผูอืนในการดําเนินชีวต นันคือการใช้คาพูดเป็ นเครื องมือใน ั ้ ิ ํ การประสานประโยชน์ให้แก่สังคม ทังด้านการเมือง เศรษฐกิ จการค้า การศึ กษา ศาสนา การรัก ษา สันติ ภาพ และอืนๆ ของสังคมในทุกภาคส่ วนเข้าด้วยกัน ทังนี เพือเป็ นการเสริ มสร้ างความสามัคคี กลมเกลีย วในหมู่ ค ณะ และเป็ นการประสานงานและประสานประโยชน์ ซึ งกัน และกัน การ ติดต่อกันโดยตรงระหว่างบุคคลทังสองฝ่ าย สามารถสร้างความเข้าใจในความต้อ งการและรู ้ ความ ต้องการของกัน และกัน อย่า งรวดเร็ วทันใจ เช่ นในหน่ วยงานต่างๆ ถ้าหัวหน้ าหน่ วยงานหมัน ประชุ มปรึ กษาหารื อกับผูร่วมงานเป็ นประจําและทําให้ผูร่วมงานเข้าใจ ช่ วยคิดแก้ไ ขข้อ บกพร่ อง ้ ้ ต่างๆ ก็จะทําให้งานแต่ละหน่วยมีการประสานประโยชน์ได้ดียิงขึน ๔. สั มมากัมมันตะ (Right Action) คําว่า “สั มมากัมมันตะ” หมายถึ ง การทํางานถูก ต้องถูก ทางโดยมีจุดประสงค์ให้งานทีทํา นันเป็ นไปตามระเบียบแบบแผนเพือความสามัคคีกลมเกลียวอันมีสุจริ ตธรรมเป็ นทีตัง กล่าวคือการ ไม่ประกอบการชัวใดๆ โดยเว้นจากกายทุจริ ต ๓ คือ การฆ่าสัตว์ ลักทรัพย์ และประพฤติ ผิดในกาม การทีบุคคลจะทํางานให้ถู กต้องตามหลักสัมมากัมมันตะได้นน จะต้องประกอบไปด้วยปั จจัยคือ ั ความคิ ดถูก ความเห็ นถูก การระลึกนึ กคิ ดถูก มีจิตตังมันถูก และการติ ดต่อ สื อสารทีถู กต้อง เมือ พร้ อมไปด้วยปั จจัยดังกล่าว สัมมากัมมันตะก็เ กิ ดขึน และการเกิ ดขึ นของสัมมากัมมันตะนี เป็ นผล ต่อเนืองสําหรับสัมมาอาชี วะต่อไป “สั มมากัมมันตะ” ทีสอดคล้องกับหลักเศรษฐกิ จพอเพียงนันอยู่ทีการสร้ างคุณธรรมทัง ๓ ประการให้เกิดขึนในกมลสันดาน คือความเมตตา ความไม่โลภเห็นแก่ตว และความเป็ นผูไม่มกมาก ั ้ ั ในกาม คุณธรรมทังสามประการนี เป็ นหลักประกันได้วามนุษย์จะได้รับความสุ ขในการอยู่ร่วมกัน ่ ในสังคม และเมือสังคมเกิ ดความสงบสุ ข การดําเนิ นชีวิตของมนุ ษย์ก็พลอยได้รับสั นติสุข ไปด้วย กล่าวคือไม่หวาดระแวงภัยอันเกิดจากการข่มเหง รังแก เบียดเบียนซึ งกันและกัน ๕. สัมมาอาชีวะ (Right Livelihood) คําว่า “สั มมาอาชีวะ” หมายถึง การดํารงชี พถูกต้อง คือการดํารงชี พด้วยการประกอบอาชีพ สุ จริ ต ไม่คดโกงผูอืน รวมถึ ง การประกอบอาชี พที ไม่ เบียดเบี ยนชี วตสัตว์อืน และประกอบอาชี พ ้ ิ เกี ยวกับอบายมุขต่างๆ ตลอดถึงการละเว้นจากมิจฉาอาชีวะ ๕ ประการคือ ๕.๑ ค้าขายเครื องประหาร หรื อค้าอาวุธ
  • 10. ๑๐ ๕.๒ ค้าขายมนุษย์ ๕.๓ ค้าขายสัตว์ทีมีชีวตสําหรับฆ่าเป็ นอาหาร ิ ๕.๔ ค้าขายนําเมา ๕.๕ ค้าขายยาพิษ ทังนีรวมไปถึงการเว้นจากการเลียงชี พด้วยการหลอกลวง ทรยศ ฉ้อฉลต่างๆ ให้ด ารงชี วิตํ ในทางทีถูกต้อ งชอบธรรม กล่าวคือ ทํา มาหาเลียงชี วิตในอาชี พทีสุ จริ ตทังทางโลกและทางธรรม ทางโลก หมายถึงการไม่ทาผิดกฎหมาย ไม่เลียงกฎหมาย ไม่ไปก่อความเดือดร้ อนรํ าคาญให้แก่ ค น ํ อืน ทางธรรม หมายถึงการไม่ทาผิดศีล เพราะ ศีล แปลว่า ปกติ คนทําผิดศี ลก็คื อคนทีมีพฤติกรรม ํ ผิดปกติทางกาย วาจา ใจ “สั มมาอาชีวะ” ทีสอดคล้องกับหลักเศรษฐกิ จพอเพียงนันอยู่ทีการเลียงชีพโดยความสุ จริ ต เว้นจากมิจฉาอาชีวะทัง ๕ ประการข้างต้น ประกอบกิ จน้อ ยใหญ่ด้วยสติ สัมปชัญญะ เน้นความสุ ข แบบพอเพียงในการดําเนิ นชีวต ถ้าปราศจากนีแล้วชี วิตก็ เกิ นความพอดี หาความสุ ขทีแท้จริ งมิได้ ิ อย่ างเช่ นชายคนนีเป็ นตัวอย่ าง ชายคนหนึ ง มี อาชี พค้าขายยึดหลัก สัม มาอาชี วะเปิ ดร้ า นขายก๋ วยเตียว วัน หนึ งขายได้ ประมาณหนึงพันบาท ครอบครัวมีอยู่มีกิน เลียงลูกจนเจริ ญเติบโตปิ ดร้ านตังแต่บ่ายสามโมง มีเวลา ตีขิม ร้ องเพลง จิตใจสงบนิง ไม่มีกงวลเพราะปราศจากหนีสิ น พอระบบธุ รกิจนิยม เข้ามาแทรกแซง ั ถูกกระตุ ้นให้มีการแข่ง ขัน เพือมุ่ งสู่ ค วามเจริ ญเติ บโตมันคง ไปกู้เ งิ นธนาคารมาขยายร้ าน เป็ น ภัตตาคารใหญ่โต กิจธุ ระมากขึน เทียงคืนก็ยงไม่ได้นอน ขายวันละเป็ นหมืนบาท แต่นอนไม่หลับ ั เพราะไม่พอค่าใช้จ่าย เจ้าหนีก็ตามทวง จิตใจทีเคยสงบนิงกลับกลายเป็ น ความว้าวุ่นกังวลใจ ความ มันคงทางการค้าทีเคยเป็ น กลับกลายมาเป็ นความเปราะบางทางธุ รกิ จ และในทีสุ ดชี วิตครอบครั ว ถึงกาลล้มละลายไปพร้ อมธุ รกิจทีทําเกิ นตัวนัน ๖. สั มมาวายามะ (Right Effort) คําว่า “สั มมาวายามะ” หมายถึง ความเพียรถูกต้อง คือความเพียรพยายามทําในสิ งทีถูกต้อง ได้แก่ ความเพียรพยายามระมัดระวังตนมิให้ทาความชัว เพียรพยายามละความชัวทีเกิดขึนในตน ํ เพียรพยายามทําความดีให้เกิดขึนในตน และเพียรพยายามรักษาคุณงามความดีทีเกิดขึนในตนให้คง อยู่ตลอดไป ความเพียรนียึดหลักสายกลาง คือไม่ตึงและไม่หย่อนเกินไป ทังยังเป็ นความเพียรทีไม่ เป็ นเหตุให้เกิดความเดือดร้ อนและความไม่ยติธรรมแก่ผูใด เมือกล่าวโดยสรุ ป ความเพียรทีถูกต้อง ุ ้ เป็ นสัมมาวายามะ มี ๔ อย่าง คือ๑๑ ๖.๑ สังวรปธาน เพียรระวังบาปอกุศลทียังไม่เกิดมิให้เกิดขึน ๑๑ พระธรรมปิ ฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม (กรุ งเทพฯ : มหาจุฬ า ลงกรณราชวิทยาลัย,๒๕๔๖), หน้า ๑๕๗.
  • 11. ๑๑ ๖.๒ ปหานปธาน เพียรละบาปอกุศลทีเกิดขึนแล้ว ๖.๓ ภาวนาปธาน เพียรเจริ ญทํากุศลธรรมทียังไม่เกิดให้เกิดขึน ๖.๔ อนุ รกขนาปธาน เพียรรักษากุศลธรรมทีเกิ ดขึนแล้ว ไม่ให้เสื อมไปและให้เพิมไพบูลย์ ั “สั มมาวายามะ” ทีสอดคล้องกับหลัก เศรษฐกิ จพอเพียงนันอยู่ทีการดํารงชี วิตตามหลัก สัมมาวายามะ คือเพียรพยายามในการปฏิ บติกิ จหรื อหน้าทีในชีวิตประจําวันในทางทีถูก ต้องชอบ ั ธรรม เป็ นประโยชน์เกือกูลต่อตนและผูอืน กล่าวคือมีความแกล้วกล้า ไม่ย่นย่อต่อความยากลําบาก ้ ใดๆ ความเพียรคือการต่อสู ้ การต่อสู ้คือการหันหน้าเข้าใส่ ค่อยทําค่อยไป ก้าวเข้าไปทีละน้อยๆ ตาม กําลังของตน ถึงแม้ถอยกลับหรื อพลัดตกมาทีเดิม บางครังก็ก้าวไปอีก ปื นป่ ายขึ นไปอีก ถ้ามีความ เพียรพยายามเช่ นนี ก็สามารถจะพบความสําเร็ จและอยู่กบโลกเขาได้ ั ปราชญ์เปรี ยบคนต่ อสู ้ว่าเหมือนปลาเป็ น ปลาจะเป็ นอยู่ได้ตองต่ อสู ้คื อว่ายทวนนําจึงได้ ้ อาหาร ปลาทีลอยตามนํามีแ ต่ปละตายเท่านัน คนจะเป็ นอยู่ได้ต้อ งต่อสู ้ ต้องฝื นใจหักใจทํา ต้อ ง พยายามว่ายจากทีตําขึนไปหาทีสู ง ว่ายจากชันประถมขึนไปหาชันมหาวิทยาลัย ว่ายจากเสมียนขึ น ไปถึงอธิ บดี พระอริ ยะท่านว่ายจากทีลุ่มลึกคือโลกอันเต็มไปด้วยนําครําสกปรก ทวนกระแสขึ นไป จนถึงโลกุตระคือชันเหนื อโลกอันบริ สุทธิ ยิง ก็ดวยความเพียรคือการต่อสู ้ อนนีเอง ถ้าไม่ต่อสู ้ปล่อย ้ ั ไปตามเรื องก็ คงจบอยู่แต่ ช นประถมหรื อยากจนอยู่เช่ นเดิม หรื อเป็ นปุถุชนเวียนเกิดเวียนตายอยู่ ั นันเอง ๗. สัมมาสติ (Right Mindfulness) คําว่า “สั มมาสติ” หมายถึ ง การระลึกถูก ต้อง คื อความมีสติค อยควบคุมการปฏิ บติหน้าที ั ป้ องกันยับยังในการกระทํากิจการทังมวล รวมไปถึงความไม่เผลอไม่เลินเล่อ ไม่ฟันเฟื อนเลือนลอย ด้วย การมีสติจึงเป็ นสิ งอัศจรรย์ตรงทีช่ วยให้เราเป็ นนายของตนเอง และรั กษาใจตนเองอยู่ได้ใน ทุกๆ สถานการณ์ หากปราศจากสติ การประพฤติปฏิบติธรรมหรื อการกระทําหน้าทีของตนย่อ มไม่ ั อาจบรรลุเป้ าหมายได้ ไม่วาจะมีความเพียรแรงกล้าสักปานใดก็ตาม ่ “สั มมาสติ” ทีสอดคล้อ งกับหลัก เศรษฐกิ จพอเพีย งนันอยู่ที การดําเนิ น ชี วิต ด้วยการมี สติสัมปชัญญะควบคุมอยู่ตลอดเวลา ทังนีเพือไม่ให้จตหวันไหวต่อโลกธรรม ซึ งเป็ นเรื องราวทีเกิด ิ ขึนอยู่เป็ นประจําบนโลกนี ลักษณะของโลกธรรมมีดงนี ั ๑. การได้ ลาภ เมือมีลาภผลก็ย่อมมีความเสื อมเป็ นธรรมดา มีแล้วก็ย่อมหมดไปได้ เป็ นแค่ ความสุ ขชัวคราวเท่านัน ๒. การได้ ยศ ยศฐาบรรดาศักดิล้วนเป็ นสิ งสมมติขึนมาทังนัน เป็ นสิ งทีคนยอมรั บกันว่า เป็ นอย่างโน้นอย่างนี พอหมดยศก็หมดบารมี ๓. การได้ รับการสรรเสริ ญ ทีใดมีคนนิยมชมชอบ ทีนันก็ย่อมต้องมีค นเกลี ยดชังเป็ นเรื อง ธรรมดา การถูกนินทาจึงไม่ใช่เรื องผิดปกติ และ
  • 12. ๑๒ ๔. การได้ รับความสุ ข ทีใดมีสุขทีนันก็จะมีทุกข์ดวย มีความสุ ขแล้วก็อย่าหลงระเริ งไปจน ้ ลืมนึกถึงความทุกข์ทีแฝงมาด้วย ๘. สัมมาสมาธิ (Right Concentration) คําว่า “สั มมาสมาธิ ” หมายถึง การตังจิตไว้ถูกต้อง คือมีจิตใจจดจ่ออยูกบกิจทีตนทํา โดยไม่ ่ั คิดเผลอฟุ้ งซ่ านในเรื องอื นใด สัมมาสมาธิ เป็ นฝ่ ายตรงกัน ข้ามกับความคิดฟุ้ งซ่ าน เพราะการคิด ฟุ้ งซ่ านเกิ ดขึนในขณะทีเผลอสติ การมีสมาธิ จิตจึงทําให้สามารถควบคุมการทํางานของจิตได้อย่างมี ประสิ ทธิ ภาพ คนทีมีสติตงมัน คือคนทีมีจิตใจจดจ่ออยู่กบงานทีตนทําอยู่ คนทีมีสติไม่ตงมัน คือคน ั ั ั ทีมีจตไม่เป็ นสมาธิ ในกิจทีตนทํา จึงมักเผลอสติไปคิดฟุ้ งซ่ าน และควบคุมความคิดของตนไม่ได้ ิ สัมมาสมาธิ หรื อการตังจิตไว้ถูกต้องนัน จําแนกออกได้เป็ น ๓ ระดับ คือ ๘.๑ ขณิกสมาธิ สมาธิชวขณะ เป็ นสมาธิ ขนต้นซึ งคนทัวไปอาจใช้ประโยชน์ในการปฏิ บติ ั ั ั หน้าทีการงานในชีวตประจําวันให้ได้ผลดี ิ ๘.๒ อุปจารสมาธิ สมาธิ เฉี ยดๆ หรื อสมาธิ จวนจะแน่ วแน่ เป็ นสมาธิ ขนระงับนิ วรณ์ ได้ ั ก่อนทีจะเข้าสู่ ภาวะแห่งฌาน หรื อสมาธิในบุพภาคแห่งอัปปนาสมาธิ ๘.๓ อัปปนาสมาธิ สมาธิ แน่วแน่ หรื อสมาธิ ทีแนบสนิ ท เป็ นสมาธิ ระดับสู ง ซึ งมี ในฌาน ทังหลาย ถือว่าเป็ นผลสําเร็ จทีต้องการของการเจริ ญสมาธิ “สั มมาสมาธิ ” ทีสอดคล้องกับหลัก เศรษฐกิ จพอเพียงนันอยู่ทีการดํารงชี วิตโดยใช้สมาธิ ขันต้นคือขณิกสมาธิ เพราะสมาธิ ขนนี สามารถใช้ได้ผลดีในการปฏิบติภารกิจในชีวตประจําวัน นัน ั ั ิ คือผูทีนําสมาธิ ขนนีมาใช้ อย่างน้อยก็สามารถพิจารณารู ้เท่าทันความเปลียนแปลงของจิตและชี วต ้ ั ิ ตลอดถึงการดําเนิ น ชี วตให้รู้เ ท่ า ทันความเป็ นจริ งของธรรมชาติ วิธีคิดแบบสัมมาสมาธิ สามารถ ิ ศึกษาได้จากตัวอย่างเรื องข้างล่างนี คนแก่ คนหนึง ไปทํานากับลูกชายทุกวัน วันหนึงลูกชายไถนาอยู่ถูกงูกดตาย ผูเ้ ป็ นพ่อเห็น ั ครังแรกก็เกิดความทุกข์โศกขึนมา ต่อพิจารณาไปๆ มาๆ แล้วก็เห็นว่า เมือลูกชายมาเกิ ด แกก็ไม่ได้ บอกให้ลูกมาเกิ ด มันหากมาเกิดของมันต่างหาก แล้วก็ไม่ได้บอกว่ามาจากไหนกัน เวลามันจะตาย มันก็ไม่ได้บอกเล่าว่ามันจะตาย มันหากตายไปเอง อย่างนี มันไม่ใช่ ลูก เราเสี ยแล้ว มันเกิ ดมันตาย ของมันเองต่างหาก เราจะโศกเศร้ าก็ไม่มีประโยชน์อะไร เลยหายจากความโศก จิตใจยิมแย้มแจ่มใส เป็ นปกติธรรมดา ไม่เหมือนกับมนุษย์ปุถุชนพวกเราทัวไป ทีขาดการพิจาณาในเรื องของคุ ณธรรม ขันนี เมือมีเหตุการณ์พลัดพรากจากของรักของชอบใจเกิ ดขึน ก็ไม่สามารถจะกลันความทุกข์ความ โศกเอาไว้ได้ ฉะนัน ความสุ ขในการดํารงชีวิตของโลกิยชนทัวไปต้องกําหนดรู ้ เท่าทันความเป็ นไป และความเปลียนแปลงของธรรมชาติทีแท้จริ ง จึง จะสามารถเป็ นอยู่กบโลกได้อย่างมีค วามสุ ข ไม่ ั เป็ นทุกข์ร้อนใจ
  • 13. ๑๓ สั นตุฏฐี , สั นโตสะ คําว่า “สั นตุฏฐี , สั นโตสะ” หมายถึง ความยินดี ชอบใจ พอใจ อิมใจ จุใจ สุ ขใจ กับของๆ ตน กล่าวคือความรู ้ จก พอ รู ้ จกประมาณในสิ งทีตนมี อ ยู่แ ละหามาได้ ไม่คิ ดอิ จฉาริ ษ ยาใคร ความ ั ั สันโดษ จึงเป็ นคุณธรรมทีมหัศจรรย์ สามารถทําให้คนเลิกเบียดเบียนกัน เลิก ฟุ้ งเฟ้ อ เห่ อเหิ ม เลิก สะเพร่ า เลิกสงคราม ทําให้คนอิมใจได้ แม้มีทรัพย์ มียศ มีตาแหน่งน้อยก็ตาม และความสันโดษยัง ํ ทําให้คนจนกลายเป็ นเศรษฐีได้โดยสมบูรณ์ ดังมีคากล่าวทีว่า “ความสั นโดษเป็ นยอดของทรัพย์ ” ํ ความหมายของสันโดษ คนทัวไปมักมีความเข้าใจทีผิดเพียน โดยตีความหมายสันโดษ คือ ความมักน้อย ซึ งเป็ นความประพฤติทีเฉื อยชา ขาดความกระตื อรื อร้ น และเป็ นอุ ปสรรคสําคัญใน การพัฒนาตนเองและประเทศชาติ หรื อการปลี กตัวออกจากสังคมไปอยู่อ ย่า งโดดเดียวซึ งเป็ น พฤติกรรมทีแปลกไปจากคนส่ วนใหญ่ ความหมายของสันโดษดังกล่าวนีไม่ตรงกับความหมายของ สันโดษอย่างแท้จริ ง แต่หมายถึงการดํารงชี วตด้วยหลักการปฏิ บติตน ๓ ประการ คือ ิ ั ๑. ยถาลาภสั นโดษ ยินดีตามมี คือยินดีกับของที ตนมีอยู่แล้ว พอใจกับของๆ ตนไม่ว่าจะ เป็ นพ่อแม่ข องเรา ลูกเมียของเรา งานของเรา ประเทศชาติข องเรา ถึงจะมีข้อบกพร่ องอย่างไร ก็ ค่อยๆ แก้ไขกันไปให้ดีขึน แต่ไม่คิดไขว่คว้าแย่งชิ งเอาของคนอื นเขามา เช่ น ช่ างซ่ อมรองเท้ าริ ม ถนนมีความพอใจในงานของตน ตังใจทํางานด้ วยความขยันขันแข็ง รอบคอบ ละเอียดลออ เป็ นที ติด ใจของลู กค้ า สามารถเก็ บ หอมรอมริ บ ทีละเล็กละน้ อ ย จนตังตัวได้ กิ จการขยายใหญ่ โ ตก็มี ตัวอย่างให้ เห็น บุคคลเมือพอใจในสิ งใด เขาย่อ มก้าวหน้าอย่างไม่หยุด ยังในสิ งนัน ความพอใจจะ เป็ นพลังหนุนให้เกิดความพยายาม ส่ วนความไม่พอใจจะทําให้คนเหนื อยหน่าย ระอิดระอา สันโดษ ข้อนีจะเป็ นเครื องกําจัดความเกียจคร้านเบือหน่ าย และโลภอยากได้ของผูอืนมาเป็ นของตน ้ ๒. ยถาพลสั นโดษ ยินดีตามได้ คือยินดีกบของส่ วนทีตนได้มา คื อ เมื อแสวงหาประโยชน์ ั อันใดแล้ว มันได้เท่าไรก็พอใจเท่านัน มันอาจจะได้ไม่ถึงเป้ า ประณี ตสวยงามไม่ถึงเป้ า ก็พอใจ ยินดี เพียงแค่ นน แต่ไม่หยุดในการแสวงหาเพียงเท่านัน ดังคํากล่ าวทีว่า “พอใจในสิ งทีตนมีอยู่ แต่ ไม่ ั หยุดอยู่ในสิ งทีตนพอมี” ต้องแสวงหาตามหน้าทีด้วยสุ จริ ตธรรมต่อไป เมือไม่ได้ตามที หวังไว้ก็ไม่ ถึงกับกระวนกระวาย เป็ นทุกข์ เพราะได้ไม่สมอยาก ไม่เ ป็ นคนชนิ ด ไม่ได้ดวยเล่ห์ก็เอาด้วยกล ้ ไม่ได้ดวยมนต์ก็เอาด้วยคาถา ้ คนทีขาดสันโดษข้อนี มักเป็ นคนดูถูกโชควาสนาของตนเอง พยายามใส่ ไฟตนเองให้มน ั เดือดร้ อนจนได้ แทนทีจะชอบส่ วนทีได้กลับนึกเกลียดชังรําคาญใจ แล้วเอาความชอบใจไปฝากไว้ กับส่ วนทีตัวไม่ได้ อย่างเช่น คนทอดแหหาปลาทีขาดสันโดษข้อนี มักจะคิดเสมอว่า ปลาตัวทีหลุ ด มือลงนําตัวโตกว่าตัวทีจับได้ เกลียดปลาตัวทีจับได้ แต่พอใจตัวทีหลุดมือ ผลทีสุ ดก็ ตองกิ น ปลาตัว ้ ทีเกลียด แล้วเฝ้ าทุกข์ใจ เสี ยดายปลาตัวทีหลุดมือ คนประเภทนี ไม่มีหวังได้กิ นปลาอร่ อยๆ จนตาย เพราะคิดว่า ตัวทีอร่ อยทีสุ ดคือตัวทีจับไม่ได้