SlideShare a Scribd company logo
1 of 129
Download to read offline
รายงานการประเมินตนเอง
(Self Assessment Report, CAR)
ประจําปการศึกษา ๒๕๕๕
(ชวงวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๕ - ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาลัยสงฆเลย
เพื่อรับการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
Check Assessment Report, CAR
ระหวางวันที่ ๕ – ๖ กันยายน ๒๕๕๖
คํานํา
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ไดตระหนักถึงความสําคัญของการ
ประกันคุณภาพการศึกษา โดยถือวาเปนหัวใจสําคัญ และเปนนโยบายหลักของวิทยาลัย ในการขับเคลื่อนการ
มีการดําเนินงานการศึกษาที่มีคุณภาพในทุกพันธกิจ เริ่มตั้งแตการผลิตบัณฑิต การวิจัย การสงเสริม
พระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแกสังคม การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตลอดจนการบริหารจัดการ
รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปการศึกษา ๒๕๕๕ (๑ มิถุนายน
๒๕๕๕ – ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖) ฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อรวบรวม และนําเสนอขอมูลผลการดําเนินงานตาม
ภารกิจดานตางๆ ของวิทยาลัย ตามเกณฑมาตรฐานของตัวบงชี้ตางๆ ที่กําหนดโดยสํานักงานคณะกรรมการ
อุดมศึกษา (สกอ.)
ในการจัดทํารายงานการประเมินตนเองประจําปการศึกษา ๒๕๕๕ สําหรับใชในการตรวจสอบ
และประเมินคุณภาพการศึกษาภายในและเปนเครื่องมือในการพัฒนากลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา
ทั้งนี้เพื่อใหไดผลการประเมินตรงตามความเปนจริงมากที่สุด เพื่อจะไดนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนงาน
โครงการ และกิจกรรมตอไป
พระมหาภิรัฐกรณ อํสุมาลี
ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย
(๖)
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
สารบัญ
สวนที่ ๑ บทสรุปผูบริหาร คํานํา สารบัญ และตารางสรุปผลการประเมินตนเองรายตัวบงชี้
บทสรุปผูบริหาร (๑)
คํานํา (๕)
สารบัญ (๖)
ตารางสรุปผลการประเมินตนเองรายตัวบงชี้ (๗)
สวนที่ ๒ ขอมูลเบื้องตนของวิทยาลัยสงฆเลย ๑
ประวัติของสวนงาน ๑
ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค ๓
โครงสรางการบริหารงานวิทยาลัยสงฆเลย ๕
หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปดสอน ๖
บุคลากรของวิทยาลัยสงฆเลย ๗
งบประมาณ ๙
อาคารสถานที่ ๑๐
สวนที่ ๓ ผลการดําเนินงาน และ ผลการประเมินคุณภาพ เทียบกับเกณฑและเทียบกับ
เปาหมายในรอบปปจจุบัน ตามตัวบงชี้ในแตละองคประกอบ ๑๑
องคประกอบที่ ๑ ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงคและแผนการดําเนินการ ๑๑
องคประกอบที่ ๒ การเรียนการสอน ๒๐
องคประกอบที่ ๓ กิจกรรมการพัฒนานิสิต ๔๕
องคประกอบที่ ๔ การวิจัย ๕๑
องคประกอบที่ ๕ การบริการทางวิชาการแกสังคม ๖๐
องคประกอบที่ ๖ การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ๗๑
องคประกอบที่ ๗ การบริหารและการจัดการ ๗๘
องคประกอบที่ ๘ การเงินและงบประมาณ ๙๐
องคประกอบที่ ๙ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ๙๓
สวนที่ ๔ สรุปผลการประเมินและทิศทางการพัฒนา ๙๘
สวนที่ ๕ ภาคผนวก ๑๐๔
ขอมูลพื้นฐานตามองคประกอบคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา ๑๐๕
ตารางคํานวณ FTES ป ๒๕๕๕ (ปการศึกษาและปงบประมาณ) ๑๑๗
คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาวิทยาลัยสงฆเลย ๑๒๗
(๗)
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
ตารางสรุปผลการประเมินตนเอง
ตาราง สรุปผลการประเมินตนเอง : รายองคประกอบ
องคประกอบ
คุณภาพ
เปาหมาย ผลการดําเนินงาน
คะแนนการประเมิน
(ตามเกณฑ มจร.)
คะแนนการประเมิน
(ตามเกณฑ สกอ.)
องคประกอบที่ ๑
-ตัวบงชี้ที่ ๑.๑
-ตัวบงชี้ที่ ๑.๒
-ตัวบงชี้ที่ ๑.๓
-ตัวบงชี้ที่ ๑.๔
๖ ขอ
ไมรับการประเมิน
๓.๕๑ คะแนน
ไมรับการประเมิน
๘ ขอ
-
๔.๑๗
๕
-
๕
-
คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๑ ๑๐/๕.๐
องคประกอบที่ ๒
-ตัวบงชี้ที่ ๒.๑
-ตัวบงชี้ที่ ๒.๒
-ตัวบงชี้ที่ ๒.๓
-ตัวบงชี้ที่ ๒.๔
-ตัวบงชี้ที่ ๒.๕
-ตัวบงชี้ที่ ๒.๖
-ตัวบงชี้ที่ ๒.๗
-ตัวบงชี้ที่ ๒.๘
-ตัวบงชี้ที่ ๒.๙
-ตัวบงชี้ที่ ๒.๑๐
-ตัวบงชี้ที่ ๒.๑๑
-ตัวบงชี้ที่ ๒.๑๒
-ตัวบงชี้ที่ ๒.๑๓
๔ ขอ
รอยละ๒๒/๔.๕๐
รอยละ
๕ ขอ
๖ ขอ
๖ ขอ
๔ ขอ
๔ ขอ
รอยละ ๘๐
๓.๕๑ คะแนน
ไมรับการประเมิน
ไมรับการประเมิน
๔.๕๐
๖ ขอ
๕.๕๕
๑๓.๓๓
๕ ขอ
๗ ขอ
๖ ขอ
๔ ขอ
๕ ขอ
๑๐๐
๔.๑๘
-
-
๓.๑๖
๕
๕
๑.๑๑
๕
๕
๕
๕
๕
๕
๕
-
-
๓.๑๖
คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๒ ๔๙.๒๗/๔.๙๒
องคประกอบที่ ๓
-ตัวบงชี้ที่ ๓.๑
-ตัวบงชี้ที่ ๓.๒
๖ ขอ
๕ ขอ
๗ ขอ
๖ ขอ
๕
๕
คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๓ ๑๐/๕.๐
องคประกอบที่ ๔
-ตัวบงชี้ที่ ๔.๑
-ตัวบงชี้ที่ ๔.๒
-ตัวบงชี้ที่ ๔.๓
-ตัวบงชี้ที่ ๔.๔
-ตัวบงชี้ที่ ๔.๕
-ตัวบงชี้ที่ ๔.๖
๖ ขอ
๔ ขอ
๒๐,๐๐๐
รอยละ ๘
รอยละ ๑๕
รอยละ๘
๘ ขอ
๒ ขอ
๓๙,๗๗๗
๘.๓๓
๒๒.๕๐
๑๖.๗๐
๕
๒
๕
๕
๕
๕
คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๔ ๒๗.๐๐/๔.๕๐
(๘)
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
องคประกอบ
คุณภาพ
เปาหมาย ผลการดําเนินงาน
คะแนนการประเมิน
(ตามเกณฑ มจร.)
คะแนนการประเมิน
(ตามเกณฑ สกอ.)
องคประกอบที่ ๕
-ตัวบงชี้ที่ ๕.๑
-ตัวบงชี้ที่ ๕.๒
-ตัวบงชี้ที่ ๕.๓
-ตัวบงชี้ที่ ๕.๔
-ตัวบงชี้ที่ ๕.๕
-ตัวบงชี้ที่ ๕.๖
๔ ขอ
๔ ขอ
รอยละ ๒๒
๔ ขอ
ไมรับการประเมิน
ไมรับการประเมิน
๕ ขอ
๔ ขอ
๙.๕๒
๔ ขอ
-
-
๕
๕
๒
๕
คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๕ ๑๗/๔.๒๕
องคประกอบที่ ๖
-ตัวบงชี้ที่ ๖.๑
-ตัวบงชี้ที่ ๖.๒
-ตัวบงชี้ที่ ๖.๓
๔ ขอ
๔ ขอ
๔ ขอ
๕ ขอ
๔ ขอ
๕ ขอ
๕
๕
๕
คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๖ ๑๕/๕
องคประกอบที่ ๗
-ตัวบงชี้ที่ ๗.๑
-ตัวบงชี้ที่ ๗.๒
-ตัวบงชี้ที่ ๗.๓
-ตัวบงชี้ที่ ๗.๔
-ตัวบงชี้ที่ ๗.๕
-ตัวบงชี้ที่ ๗.๖
๖ ขอ
๔ ขอ
๔ ขอ
๕ ขอ
ไมรับการประเมิน
๓.๕๑ คะแนน
๗ ขอ
๔ ขอ
๕ ขอ
๓ ขอ
-
๔.๕๐ คะแนน
๕
๕
๕
๓
-
๕
คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๗ ๒๓.๐๐/๔.๖๐
องคประกอบที่ ๘
- ตัวบงชี้ที่ ๘.๑ ๖ ขอ ๗ ขอ ๕
คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๘ ๕
องคประกอบที่ ๙
- ตัวบงชี้ที่ ๙.๑ ๗ ขอ ๗ ขอ ๕
คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๙ ๕
รวมทุกองคประกอบ ๑๖๑.๒๗/๔.๖๐
ตัวชี้วัด ๓๗ ตัว
บรรลุ ๒๘
ไมบรรลุ ๗
รับการประเมิน ๓๕
ไมรับการประเมิน ๒
สวนที่ ๑
บทสรุปผูบริหาร คํานํา สารบัญ และตารางสรุปผล
การประเมินตนเองรายตัวบงชี้
(๑)
บทสรุปสําหรับผู้บริหาร
ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย มีผล การ
ดําเ ๔ ด ้าน การพัฒนาสถาบันและองค์กร และ ระบบประกันคุณภาพการศึกษา
๑. ๔ ด้าน
๑.๑ ด้านการจัดการศึกษา
ปีการศึกษา ๒๕๕๕ วิทยาลัยสงฆ์เลยได ้รับการ
๘,๒๐๙,๓๘๓.๖๕ บาท เปิดการเรียนการสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี ๓ สาขาวิชา ได ้แก่ สาขาวิชา
พระพุทธศาสนา สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน และสาขาวิชารัฐศาสตร์ มีนโยบายมุ่งพัฒนาบุคลากร
ทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะพระภิกษุ ทายาทสืบต่อพระพุทธศาสนา
ปัจจุบันมีนิสิต สามเณร จํานวน ๓๐๘ รูป/คน รูป คิดเป็ นร้อยละ ๖๓.๒๔ นิสิตคฤหัสถ์
๑๗๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๖.๗๖ ๔๘๗ รูป/คน นนิสิตต่างประเทศ
จํานวน ๑ คน
การบริการข ้อมูลทาง
วิชาการผ่านเว็ปไซต์โดย ของมหาวิทยาลัย และเครือข่ายการบริการของสํานักงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษาและกระทรวงศึกษาธิการ
มีการ
คณาจารย์และให ้นิสิตประเมินประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์ทุกภาคการศึกษา
ด ้านหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี นิสิตต ้องศึกษาหมวดวิชาแกน
พระพุทธศาสนา ๓๐ หน่วยกิต และฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานทุกปี ปีละไม่น้อยกว่า ๑๐ วัน
๔ แล ้วต ้องปฏิบัติ
ศ า ส น กิ ๑ ปี
ไม่น้อยกว่า ๒๐๐
๑.๒ ด้านการวิจัย
ในปี ๒๕๕๕ วิทยาลัย
สงฆ์เลยได ้รับการสนับสนุนการวิจัย เป็นจํานวน ๕๙๖,๖๖๕ บาท
๑.๓ ด้านการให้บริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่สังคม
วิทยาลัยสงฆ์เลยได ้รับการ
เป็ ๘๐๐,๐๐๐ บาท วิทยาลัยได ้ดําเนินการโครงการส่งเสริมและให ้บริการวิชาการ
งทุกปี
๑.๔ ด้านการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม
วิทยาลัยสงฆ์เลยได ้รับการ
๗๕๙,๙๘๐ บาท นุนการดําเนินโครงการทํานุ
บํารุงศิลปะและวัฒนธรรมตามวัฒนธรรมและประ
๒. การพัฒนาสถาบันและองค์กร
วิทยาลัยสงฆ์เลยมีโครงสร้างการบริหารองค์
ประจําวิทยาลัยสงฆ์ กํากับดูแลการบริหารงาน มหาวิทยาลัยส่วนกลาง
ในด ้านการเงิน มีคณะกรรมการการเงินและทรัพย์สิน กํากับ ดูแล
(๒)
ด ้านการจัดการศึกษา มี ๓ สาขาวิชา ๓ คณะ คือ คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน และคณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ มีหัวหน้า
สาขาวิชาดูแลรับผิดชอบร่วมกับผู้บริหารในการจัดการศึกษา
ด ้านการพัฒนาบุคลากร วิทยาลัยดําเนินการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาโดยสนับสนุน
การ
พัฒนาทักษะหรือวิชาชีพในหลักสูตรต่าง ๆ
ตัดสินใจ เช่น ระบบทะเบียนนิสิต ระบบยืมคืนหนังสือห ้องสมุด
๓. ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย
วิทยาลัยสงฆ์เลย ดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีคณะกรรมการดําเนินการการ
ประกันคุณภาพการศึกษารับผิดชอบ
ในปีการศึกษา ๒๕๕๔ (๑ มิถุนายน ๒๕๕๔ – ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕) สํานักงานคณะกรรมการ
การอุดมศึกษาได ้ส่งผู้ทรงคุณวุฒิมาประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน
คะแนน ๓.๓๕ จากคะแนนเต็ม ๕ ผลการดําเนินงานของวิทยาลัยอยู่ในระดับดี
ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ วิทยาลัยสงฆ์เลยได ้พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา โดยใช ้เกณฑ์
ประเมินของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.) ผนวกกับเกณฑ์ประเมินของสํานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) โดยระบบ ๙
องค์ประกอบ ใช ้ระบบคะแนนเต็ม ๕ คะแนน
๔. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน
ปี ๒๕๕๕ ผลการดําเนินงานของวิทยาลัยสงฆ์เลยจากการประเมินตนเอง ได ้คุณภาพระดับดี
คือ ๔.๒๙ จากคะแนนเต็ม ๕ คิดเป็น ร้อยละ ๘๕.๘
๔.๒.๑ จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง
๑) จุดแข็ง
(๑) วิทยาลัยสงฆ์เลยผลิตบัณฑิตเป็นไปตามปรัชญา ปณิธานและวัตถุประสงค์ของ
การยอมรับ
(๒) การบริการวิชาการด ้านพระพุทธศาสนาแก่สังคมของวิทยาลัย มีการดําเนินงาน
อย่างหลากหลาย
๒) จุดอ่อน
(๑) ไม่มีการสํารวจความต ้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือ
(๒) ไม่มีการประเมินความสําเร็จของแผนการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาย
สนับสนุนและการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ และ
บุคลากรสายสนับสนุน
(๓) ขาดมาตรการและแรงจูงใจให ้คณาจารย์ทําการวิจัย
๓)
(๑) ควรการสํารวจความต ้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือ
เรียนการสอนและการวิจัยยังน้อย
(๒) ควรจัดให ้มีระบบติดตามประเมินผลสําเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการ
แก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย โดยการมีส่วนร่วมของผู้ให ้บริการ และผู้รับบริการ ตลอดจนนํา
(๓) ควรสนับสนุนและส่งเสริมให ้อาจารย์ของวิทยาลัย
งานด ้านทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอน ประเมินผลสําเร็จและนําผลการประเมิน
(๓)
(๔) ควรกําหนดมาตรการและแรงจูงใจในการทําวิจัยของอาจารย์ และสนับสนุน
และจัดสรร
ประกันคุณภาพการศึกษา
(๔)
๕. เป้ าหมายและแผนการพัฒนา
๑. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดําเนินการ
- การพัฒนาระบบการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการประจําปี
๒. การผลิตบัณฑิต
-
- พัฒนาการเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
- พัฒนาบุคลากรสายวิชาการ
- พัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน
๓. การพัฒนานิสิต
- พัฒนากิจกรรมนิสิต
- พัฒ
- การสร้างความเข ้มแข็งของศิษย์เก่า
๔. การวิจัย
-
- สนับสนุนและส่งเสริมงานวิจัย
- การสร้างเครือข่ายและแหล่งทุนวิจัย
- พัฒนาบุคลากรด ้านการวิจัย
๕. การบริการทางวิชาการแก่สังคม
- การมีส่วนร่วมของชุมชน หรือองค์กรของรัฐ หรือเอกชน การร่วมมือในการบริการ
วิชาการแก่สังคม
-
๖. การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม
-
๗. การบริหารและการจัดการ
-
- ยง
๘. การเงินและงบประมาณ
- นสมัย
-
- การแสวงหารายได ้และแหล่งงบประมาณ
๙. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ
- พัฒนาระบบบริหารงานประกันคุณภาพ
- พัฒนาบุคลากรด ้านการประกันคุณภาพ
- สร้างวัฒนธรร
-
- การพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากผลการประเมิน
สวนที่ ๒ บทนํา
ขอมูลเบื้องตนของวิทยาลัยสงฆเลย
หนา ๑
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
ส่วน ๒ บทนํา
๑.
วิทยาลัยสงฆ์เลย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๒. ง
๑๑๙ ๕ บ ้านท่าบุ่ง ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย รหัสไปรษณีย์ ๔๒๑๐๐
โทรศัพท์ ๐๔๒-๘๐๑๒๐๓, โทรสาร ๐๔๒-๘๐๑๒๖๘ Website : http://loei2.mcu.ac.th
๓. ประวัติความเป็ นมาโดยย่อ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งคณะสงฆ์ไทย เป็ นสถาบันการศึกษา
งสมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ ้า สมเด็จพระปรมินทร์รมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล ้า
.ศ. ๒๔๓๒ "มหาธาตุวิทยาลัย"
ใหม่ว่า "มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย" ๑๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๙ โดยมีพระราชประสงค์จะให ้เป็ นอนุสรณ์
เฉลิมพระเกียรติยศของพระองค์สืบไป
ประเทศให ้มีความรู้ ความเข ้าใจวิชาการด ้านพระพุทธศาสนา สามารถนํามาประยุกต์ใช ้ในชีวิตประจําวัน มีความสามารถ
( ช ้อย ฐานทัตตมหาเถร) อธิบดีสงฆ์วัด
๕๗ ๙ มกราคม
พ.ศ. ๒๔๙๐
มหาวิทยาลัย เปิดสอนร ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ และมี
พัฒนาการตามลําดับ
ในปีพ.ศ. ๒๕๒๑
๑๐ ๒๗ สิงหาคม
๒๕๔๑ ๘/๒๕๔๑ ของสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยให ้ยกฐานะศูนย์การศึกษาเลย
เป็นวิทยาลัยสงฆ์จังหวัดเลย
ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ รัฐบาล โดยการนําของ ฯพณฯ พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ ได ้ดําเนินการ เสนอร่าง
พระราชบัญญัติกําหนดวิทยฐานะ ผู้สําเร็จวิชาการพระพุทธศาสนา โดยรัฐสภาได ้ให ้ความเห็นชอบ และพระบาทสมเด็จ
๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๗ เป็ นต ้นมา
พระเดชพระคุณพระสุนทรปริยัติเมธี (พระมหาพรหมา จนฺทโสภโณ)๑
ให ้
การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม-บาลี
๕ สิงหาคม ๒๕๓๗ สภาสงฆ์จังหวัดได ้ประชุมโดยมีพระสุนทรปริยัติเมธี เจ ้าคณะจังหวัดเลย
หลักสูตรพุทธศาสตร
บัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน วิชาเอกการสอนภาษาไทย
ราม อําเภอเมือง จังหวัดเลย สังกัดวิทยาเขตขอนแก่น
๒๒ พฤษภาคม ๒๕๓๘ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีมติให ้สภาสงฆ์จังหวัดเลยจัด
การศึกษาระดับอุดมศึกษาได ้และให ้นิสิตรุ่นแรกจํานวน ๓๘
๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๙ สภ
วัดศรีวิชัยวนาราม ตําบลกุดป่ อง อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีพระสุนทรปริยัติเมธี ( ) เป็ นผู้ช่วย
อธิการบดีประจําศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จังหวัดเลย
๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๑ สภามหาวิทยาลัยมีมติให ้ยกฐานะศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
“วิทยาลัยสงฆ์เลย”
๔. การก่อสร้างวิทยาลัยสงฆ์เลยแห่งใหม่ (จากศรีวิชัยสู่ศรีสองรัก)
.ศ. ๒๕๔๘ พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร รองผู้อํานวยการวิทยาลัยสงฆ์เลย พร้อมด ้วยคณะผู้บริหารใน
หนา ๒
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
ขยายตัวของนิสิต/ โดยคณะผู้บริหารได ้ดําเนินการติดต่อ
(โซน-อี) ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย ต่อสํานักงาน
(สปก.-๔๐๑) จังหวัดเลย
๒๘ มีนาคม ๒๕๔๙
ประธาน ๕ ตําบลศรีสอง
๕๐ ไร่ ๓ งาน ๗๖ ตารางวา ระยะห่างจาก กม.ศูนย์ ๑๓ กิโลเมตร โดยมีนาย
และ
เกษตรและสหกรณ์
๓ กันยายน ๒๕๕๑ ๓/๒๕๕๑ อเกษตรกรรม กระทรวง
โดยมีพระมหาลิขิต รตนรํสี รองผู้อํานวยการวิทยาลัยสงฆ์เลย และ ผศ.ดร.
๔ ธันวาคม ๒๕๕๑ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได ้ออก
๔๐๗/
๒๕๕๑ ๑๑๙ หมู่ ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย
๒๕๕๒
ในวงเงิน ๑๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยได ้รับความเมตตาอนุเคราะห์จากเจ ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ ประธานคณะผู้
“อาคารสมเด็จพระพุฒาจารย์ (
อุปเสโณ)” ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ – ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๓
๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๓
๑๑๙ หมู่ ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย เป็ นการถาวร
ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ และพันธกิจ
ตรามหาวิทยาลัย
๑. ปรัชญาของมหาวิทยาลัย
จัดการการศึกษาพระพุทธศาสนาบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ พัฒนาจิตใจและสังคม
๒. ปณิธานของมหาวิทยาลัย
สําหรับพระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์
๓. วิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย
ผลิตคนดีและเก่ง อย่างมีสมรรถภาพ จัดการศึกษาและวิจัยดีอย่างมีคุณภาพ บริการวิชาการดีอย่างมีสุขภาพ
และบริหารดีอย่างมีประสิทธิภาพ
๔. พันธกิจของมหาวิทยาลัย
๑) ผลิตบัณฑิต
ผลิตและพัฒนาบัณฑิตให ้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๙ ด เป็ น
ผู้นําด ้านจิตใจและปัญญา
คุณธรรมและจริยธรรม
๒) วิจัยและพัฒนา
การวิจัยและค ้นคว ้า เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ใน
พระไตรปิฎก และจริยธรรมของสังคม
คุณภาพงานวิชาการด ้านพระพุทธศาสนา
๓) ส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม
ส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม
กิจกรรมต่างๆ ให ้ประสานสอดคล ้อง ความเข ้าใจหลักคํา
สอนทางพระพุทธศาสนา สร้างจิตสํานึกด ้านคุณธรรม จริยธรรมแก่ประชาชน
หนา ๓
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
พัฒนาพระสงฆ์และบุคลากรทางศาสนา ให ้มีศักยภาพในการธํารงรักษา เผยแผ่หลักคําสอน และเป็ นแกนหลักในการ
พัฒนาจิตใจในวงกว ้าง
๔) ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
เสริมสร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ด ้านการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
และความภาคภูมิใจในความเป็นไทย
ภาพ
๕. เอกลักษณ์มหาวิทยาลัย อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย และอัตลักษณ์บัณฑิต
สภามหาวิทยาลัย มีมติอนุมัติให ้กําหนดเอกลักษณ์มหาวิทยาลัย อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย และอัตลักษณ์
๗/๒๕๕๔ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๔
๑. เอกลักษณ์มหาวิทยาลัย คือ “บริการวิชาการด ้านพระพุทธศาสนา”
๒. อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย คือ “ ”
๓. อัตลักษณ์บัณฑิต คือ “ ”
โครงสร้างการแบ่งส่วนงานและการบริหารระดับวิทยาเขต
- สาขาวิชา
หลักสูตรและกา
- สาขาวิชาพระพุทธศาสนา - สาขาหลักสูตรและการ
สอน
- สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน - สาขาวิชา
รัฐศาสตร์
- สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- สาขาวิชา
พระพุทธศาสนา
- สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ
- สาขาวิชาสังคมวิทยาและฯ
- โครงการขยายห ้องเรียน จ.ร้อยเอ็ด
- ศูนย์วิทยบริการจังหวัดมหาสารคาม
- บัณฑิตวิทยาลัยห ้องเรียนวิทยาเขตขอนแก่น
สภาวิทยาเขต
รองอธิการบดี
คณะอนุกรรมการบริหารบุคคล
ประจําวิทยาเขต
คณะกรรมการประจําวิทยา
เขตผูชวยอธิการบดีฝายกิจการ
ทั่วไป
ผูชวยอธิการบดีฝายวิชาการ
ที่ปรึกษารองอธิการบดี
สํานักงานวิทยาเขต วิทยาลัยสงฆขอนแกนสํานักวิชาการ วิทยาลัยสงฆเลย
- ฝายบริหารงานทั่วไป
- ฝายคลังและพัสดุ
- ฝายนโยบายและแผน
- ฝายวิชาการและวิจัย
- ฝายทะเบียนและวัดผล
- ฝายหองสมุดและ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ฝายบริหารงานทั่วไป
- ฝายวางแผนและวิชาการ
- ฝายบริหารงานทั่วไป
- ฝายวางแผนและวิชาการ
หนา ๔
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
โครงสร้างการบริหารงานวิทยาลัยสงฆ์เลย
- - - สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
- - กิจการนิสิต - สาขาวิชารัฐศาสตร์
-นักการภารโรง - ทะเบียนและวัดผล - สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
- - สนเทศ
- พนักงานขับรถ
- แม่บ ้าน
- คนสวน
ด้านการบริหาร
คณะกรรมการประจําวิทยาลัยสงฆ์ ภายใน
วิทยาลัยสงฆ์เลย ประกอบด ้วย
๑. พระมหาภิรัฐกรณ์ อํสุมาลี ประธานกรรมการ
๒. พระมหาลิขิต รตนรํสี รองประธานกรรมการ
๓. พระมหาสังเวช จนฺทโสภี กรรมการโดยตําแหน่ง
๔. พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺโต กรรมการโดยตําแหน่ง
๕. พระครูนิมิตวชิราภรณ์ กรรมการจากคณาจารย์ประจํา
๖. นายธงชัย สิงอุดม กรรมการจากคณาจารย์ประจํา
๗. ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ กรรมการจากคณาจารย์ประจํา
๘. ดร.ชาญชัย ฮวดศรี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
๙. ดร.วิทยา ทองดี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
๑๐. นายประจวบ ศีลธรรม กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
๑๑. นายกวุฒิโชติ ทองสมบัติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
๑๒. พันเอกพิชิต สัตถาผล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
๑๓. พระมหาสุภวิชญ์ ปภสฺสโร กรรมการและเลขานุการ
ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆ
เลย
รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลยเลย(ฝาย
บริหาร)
ฝายบริหารงานทั่วไป ฝายวางแผนและวิชาการ สาขาวิชา
รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลยเลย(ฝาย
วิชาการ)
หนา ๕
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
ตาราง ๒๕๕๕ จําแนกตามสาขาวิชา
สาขาวิชา ปริญญาตรี หมายเหตุ
๑. .สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน
- การสอนภาษาไทย
๑ พุทธศาสตรบัณฑิต
บรรพชิต/
คฤหัสถ์
๒. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
- วิชาเอกพระพุทธศาสนา
๑ พุทธศาสตรบัณฑิต
บรรพชิต
๓. สาขาวิชารัฐศาสตร์
- วิชาเอกการปกครอง
๑ พุทธศาสตรบัณฑิต
บรรพชิต/
คฤหัสถ์
หลักสูตรประกาศนียบัตร
- ประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.)***
๑ ประกาศนียบัตร
บรรพชิต
** หลักสูตรสูงกว่าปริญญาตรี ( : ฝ่ ายทะเบียนและ
วัดผล)
***
จํานวนนิสิต ปี การศึกษา ๒๕๕๕
ตาราง แสดง ๑ – ๔ แยกตามคณะ/สาขาวิชาเอก ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๕
คณะ/สาขาวิชา
ปี การศึกษา ๒๕๕๕
ปี ๑ ปี ๒ ปี ๓ ปี ๔ ปี ๕ รวม
คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๓๗ ๓๗ ๓๖ ๓๑ ๑๔๑
คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ๕๗ ๔๐ ๑๐ ๘ ๗ ๑๒๒
คณะสังคมศาสตร์
สาขาวิชาการเมืองการปกครอง
(บรรพชิต)
๑๘ ๑๐ ๗ ๑๐
๔๕
สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการ
ปกครอง(คฤหัสถ์)
๖๕ ๗๑ ๕๓
๑๗๙
๑๖๗ ๑๒๑ ๑๐๖ ๔๙ ๗ ๔๘๗
( : งานทะเบียนและวัดผล)
ตาราง แสดงจํานวนนิสิตแยกเป็นสาขาวิชา ในปีการศึกษา ๒๕๕๕
หลักสูตร /สาขาวิชา ปีการศึกษา ๒๕๕๕
๑ พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ๑๒๒ รูป/คน
๒ พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๑๔๑ รูป
๓ พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ ๒๒๔ รูป/คน
รวม ๔๘๗ รูป/คน
๒๕๕๕
ตารางแสดง ๒๕๕๕
สาขาวิชา จํานวน
๑. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา(วิชาเอกพระพุทธศาสนา) ๔๕
๒. สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน(วิชาเอกการสอนภาษาไทย) ๑
๓. สาขาวิชารัฐศาสตร์(วิชาเอกการปกครอง)
- บรรพชิต ๑๓
- คฤหัสถ์ ๒๓
รวม ๘๒
หลักสูตรประกาศนียบัตร
- ประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) ๓๒
รวม ๓๒
บุคลากรของวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี การศึกษา ๒๕๕๕
หนา ๖
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
ตาราง แสดงจํานวนบุคลากร ปีการศึกษา ๒๕๕๕
บุคลากร จํานวน/รูป-คน
๑ สายอาจารย์ ๑๕
๒ สายปฏิบัติการวิชาชีพ ๑๗
รวม ๓๒
ตาราง แสดงบุคลากรปี พ.ศ.๒๕๕๕ จําแนกตามตําแหน่งและวุฒิการศึกษา
ตําแหน่ง จํานวน
จําแนกตามคุณวุฒิการศึกษา
.
ตรี
ป.ตรี ป.โท ป.เอก ตําแหน่งวิชาการ
สายอาจารย์ ๑๕ - ๑๐ ๕ ๑
สายปฏิบัติการวิชาชีพ ๑๗ ๗ ๘ ๒
( : ฝ่ ายวางแผนและวิชาการ)
ตาราง แสดงจํานวนบุคลากร ประจําปี ๒๕๕๕ จําแนกตามประเภทบรรจุ-ลูกจ ้าง
บุคลากร จํานวน
๑. อาจารย์ประจํา ๑๕
๒. ๑
๓. ๑๕
( : ฝ่ ายวางแผนและวิชาการ)
หนา ๗
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
บุคลากรวิทยาลัยสงฆ์เลย
ตาราง แสดงตําแหน่ง
จํานวน เลขประจํา
ตําแหน่ง
-ฉายา/นามสกุล ว/ด/ป/บรรจุ
สายวิชาการ
สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน(การสอนภาษาไทย)
๗๘๔ อาจารย์/หน.สว.ภาษาไทย พระมหาสังเวช จนฺทโสภี,ดร.
,ผศ.
๑๖ พ.ค.๒๕๔๙
๓ ๗๑๙ อาจารย์ พระมหาลิขิต รตนรํสี ๒ พ.ค.๒๕๔๘
๑๐ - อาจารย์ พระสุบรรณ จนฺทสุวณฺโณ ลูกจ ้าง
๑๓ - อาจารย์ พระมหาจินดา ถีรเมธี ลูกจ ้าง
๑๕ - อาจารย์ พระสุคํา ถิรจิตฺโต ลูกจ ้าง
สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
๔ ๗๘๓ อาจารย์/หน.สว.
พระพุทธศาสนา
พระมหาสุภวิชญ์ ปภสฺสโร ๑๖ พ.ค.๒๕๔๙
๑ ๗๙๓ อาจารย์ พระมหาภิรัฐกรณ์ อํสุมาลี ๑ พ.ค.๒๕๕๔
๑๑ - อาจารย์ พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร,
ดร.
ลูกจ ้าง
๑๒ - อาจารย์ พระบุญเพ็ง วรธมฺโม, ดร. ลูกจ ้าง
๒ ๔๕๙ อาจารย์ ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ ๒ ๒ มิ.ย.๒๕๔๗
สาขาวิชารัฐศาสตร์
๖ ๗๑๘ อาจารย์/หน.สว.รัฐศาสตร์ พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺโต ๑ เม.ย.๒๕๕๑
๙ - อาจารย์ ลูกจ ้าง
๑ ๘๖๘ อาจารย์ นายธงชัย สิงอุดม ๑ ส.ค.๒๕๓๔
๘ - อาจารย์ ดร.ชาลภณ วงศ์คง ลูกจ ้าง
๑๔ - อาจารย์ นางสาวอาภาภรณ์ เลิศไผ่รอด ลูกจ ้าง
๒ ๔๘๐ นายประสงค์ หัสรินทร์ ๒ พ.ค.๒๕๔๘
๑ - นางสาวยาติมา วงค์อินทร์ ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕
๒ - นายศราวุธ สารพิมพา ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕
๓ - นางสาวมุทิตา โลขันสา ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕
๙ - นายเจียระไน แจ ้งกระจ่าง ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕
๑๐ -
ในโรงเรียน
นายนพพล ทองพูล ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕
๑๑ - นางมัทนาวดี แจ ้งกระจ่าง ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕
๑๒ - นางสาวทัศนีย์ ราชูโส ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕
๑๓ -
วัดผล
นางสาวภัทราวดี กินรีสี ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕
๑๔ - ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕
๑๕ -
สารสนเทศ
นายพัทธนันท์ นวลน้อย ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕
๔ - นักการภารโรง นายสุระชัย อุปัญญา ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕
๕ - นักการภารโรง นายสัญญา ปิตุโส ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕
๖ - พนักงานขับรถ นายต่อ ผิวสิริ ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕
๗ - แม่บ ้าน นางอรพิน รักแม่ ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕
๘ - คนสวน นายเสด็จ พรมพุทธา ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕
งบประมาณ
ตาราง แสดงงบประมาณรายได ้และหมวดรายจ่าย ประจําปี ๒๕๕๕
หมวดงบประมาณ งบประมาณปี ๒๕๕๕
๑. หมวดรายได้
๑.๑ รายได ้จากเงินงบประมาณ ๒๓,๒๗๐,๕๖๐
๑.๒ รายได ้จากการจัดการศึกษา ๓,๐๕๘,๙๕๐
หนา ๘
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
หมวดงบประมาณ งบประมาณปี ๒๕๕๕
๑.๓ รายได ้จากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย
๑.๔ รายได ้จากการบริจาค
๑.๕ รายได ้จากการให ้บริการวิชาการ ๖,๑๖,๑๙๑.๔๓
๑.๖ ๗๘,๘๑๗.๗๘
๑.๗
๑.๘ ๑๕๑,๑๒๕
รวมรายได้ ๒๗,๑๗๕,๖๔๔.๒๑
๒. หมวดค่าใช้จ่าย
๒.๑ ค่าใช ้จ่ายด ้านบุคลากร ๒,๔๙๑,๕๘๐
๒.๒ ค่าใช ้จ่ายในการดําเนินงาน ๓,๓๓๙,๗๗๒.๔๒
๒.๓ เงินอุดหนุนโครงการสนับสนุนการศึกษา ๗๒๙,๙๖๐
๒.๔ เงินสําหรับพัฒนาคณาจารย์
๒๒๕,๐๐๐
๒.๕ เงินสําหรับพัฒนาบุคลากรสายปฏิบัติการ
๒.๖ ๑,๔๒๓,๐๗๑.๒๓
๒.๗
๒.๘ เงินอุดหนุนวิทยาเขต วิทยาลัยสงฆ์ห ้องเรียน
รวมค่าใช้จ่าย ๘,๒๐๙,๓๘๓.๖๕
รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่าย ๑๘,๙๖๖,๒๖๐.๕๖
๓.ค่าใช้จ่ายในงบลงทุน
- ค่าครุภัณฑ์ ๒,๙๒๙,๓๐๐
-
รวมค่าใช้จ่าย
๔. สินทรัพย์ถาวร
๔.๑
๔.๒ ค่าครุภัณฑ์
รวมสินทรัพย์
-
- ค่าครุภัณฑ์
รวมสินทรัพย์
( : ฝ่ ายการเงินและบัญชี)
ตาราง
อาคาร (ตร.ม.)
๑ อาคารเรียน ๑,๓๘๐
๒ อาคารสํานักงาน ๑๙๒
๓ อาคารโรงอาหาร ๑๔๔
๔ ๓๐
๕ อาคารสถานีวิทยุ ๖๕
๖ อาคารบรรณาคาร ๙๖
ทรัพยากรสารสนเทศ
ตาราง แสดงทรัพยากรสารสนเทศ
ประเภท ปี ๒๕๕๔ ปี ๒๕๕๕
หนังสือตําราภาษาไทย ๖,๑๗๙ ๗,๒๖๒
หนังสือตําราภาษาอังกฤษ ๘๐๐ ๘๐๐
วารสารภาษาไทย ๔๐ ๔๕
งานวิจัย ๕๗ ๕๗
วิทยานิพนธ์ ๒๖ ๒๖
๙๘ ๙๘
( : ฝ่ ายห ้องสมุดและเทคโนโลยี)
หนา ๙
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
๑๑
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
สวนที่ ๓ ผลการประเมินตามตัวบงชี้
องคประกอบที่ ๑ ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ
ตัวบงชี้ที่ ๑.๑ กระบวนการพัฒนาแผน(สกอ. ๑.๑)
ชนิดของตัวบงชี้ กระบวนการ
ชวงเวลาขอมูล ปการศึกษา
เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน
๑. มีการจัดทําแผนพัฒนาที่
สอดคลองกับนโยบายของสภา
มหาวิทยาลัย โดยการมีสวนรวม
ของบุคลากร ในมหาวิทยาลัย
และไดรับความเห็นชอบจากสภา
มหาวิทยาลัย โดยเปนแผนที่
เชื่อมโยงกับปรัชญาหรือปณิธาน
และพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย
ตลอดจนสอดคลองกับจุดเนน
ของกลุมสถาบัน กรอบแผน
อุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ป ฉบับ
ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๖๕)
และแผนพัฒนาการศึกษา
ระดับอุดมศึกษาฉบับที่ ๑๑
(พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
วิทยาลัยสงฆเลย ดําเนินการจัดทํา
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยในชวงแผนพัฒนา
การศึกษาระดับอุดมศึกษาระยะที่ ๑๑ (พ.ศ.
๒๕๕๕–๒๕๕๙)โดยมีปรัชญา “จัดการศึกษา
พระพุทธศาสนาบูรณาการกับศาสตร
สมัยใหมพัฒนาจิตใจและสังคม” สอดคลอง
กับนโยบายของสภามหาวิทยาลัย
วิทยาลัยสงฆเลยมีกระบวนการสรางการ
มีสวนรวมของบุคลากรในการจัดทําแผน
พัฒนาฯ จัดทํารางแผน ยึดพันธกิจหลักของ
มหาวิทยาลัย นํามาจําแนกเปนยุทธศาสตร
กลยุทธและตัวชี้วัดในการดําเนินงาน เสนอ
คณะกรรมการวิทยาลัยสงฆเลยพิจารณา
หลังจากนั้น รวบรวมขอมูลมาวิเคราะห
จัดทํารางแผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย เสนอ
คณะกรรมการวิทยาลัยสงฆเลยพิจารณา
และประกาศใชเปนแนวทางในการ
ดําเนินงานของวิทยาลัยสงฆเลย
วิทยาลัยสงฆเลยมีกระบวนการทบทวน
แผนพัฒนาโดยวิเคราะหความสอดคลองของ
แผนพัฒนากับปรัชญาหรือปณิธานและ
พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐
วิทยาลัยสงฆเลยมีการวิเคราะหความ
สอด คลองของแผนพัฒนากับจุดเนนของ
สถาบัน มียุทธศาสตรการผลิตบัณฑิตที่
รองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ดาน
๑.๑.๑-๑ แผนพัฒนาวิทยาลัย
สงฆเลย ระยะที่ ๑๑
(พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
๑.๑.๑-๒ คําสั่งแตงตั้ง
คณะกรรมการจัดทํา
แผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย
ระยะที่ ๑๑
(พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
๑.๑.๑-๓ พระราชบัญญัติ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐
๑.๑.๑-๔ นโยบายวิทยาลัย
ปรัชญา ปณิธาน
๑๒
เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน
ประชากร สิ่งแวดลอม การจัดการความ
ขัดแยง และการขัดเกลาเยาวชนใหเปน
บัณฑิตที่มีคุณภาพในอนาคต นอกจากนี้ยังมี
วัตถุประสงคในการพัฒนาไปพรอมกับการ
ดํารงคุณคาทางศาสนาและวัฒนธรรม
ทองถิ่น
นอกจากนี้วิทยาลัยสงฆเลยยังไดวิเคราะห
ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ที่ ผ า น ม า แ ล ะ
สภาพแวดลอมในปจจุบัน(SWOT) เพื่อ
นํ า ไ ป สู ก า ร จั ด ทํ า ร า ง แ ผ น พั ฒ น า
มหาวิทยาลัยระยะที่ ๑๑(พ.ศ.๒๕๕๕–
๒๕๕๙) โดยเนนการมีสวนรวมของบุคลากร
๒. มีการถายทอดแผนพัฒนา
ระดับมหาวิทยาลัยไปสูทุกสวน
งานภายใน
วิทยาลัยสงฆเลย จัดประชุมคณาจารย
และเจาหนาที่วิทยาลัยสงฆเลย เพื่อชี้แจงทํา
ความเขาใจวิสัยทัศน กลยุทธ และเปาหมาย
แผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ระยะ ๑๑ และ
ปรับปรุงแผนและกําหนดภาระงานให
สอดคลองกับแผนพัฒนามหาวิทยาลัย
นําแผนพัฒนามหาวิทยาลัยเผยแพรเปน
เอกสารและทางเว็บไซต
๑.๑.๒-๑ รายงานการประชุม
ชี้แจงวิสัยทัศน กลยุทธ
เปาหมายตอบุคลากร
๑.๑.๒-๒ เอกสารแบงภาระ
งานคณาจารย เจาหนาที่
วิทยาลัยสงฆ
๑.๑.๒-๓ เขาถึงเว็บไซต
http://loei2.mcu.ac.th
๑.๑.๒-๔ หลักฐานการ
มอบหมายภาระงาน
๓. มีกระบวนการแปลง
แผนพัฒนาฯเปนแผนปฏิบัติการ
ประจําปครบ ๔ พันธกิจ คือ
ดานการเรียนการสอน การวิจัย
การบริการทางวิชาการ และการ
ทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม
วิทยาลัยสงฆเลยมีกระบวนการจัดทํา
แผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ระยะ ๑๑ โดย
จัดทําแผนที่กลยุทธ (strategic map) เพื่อ
ชวยในการแปลงแผนพัฒนาไปสูแผนปฏิบัติ
การประจําป๒๕๕๕ ทั้ง ๔ พันธกิจ คือ ดาน
การเรียนการสอน การวิจัย การบริการทาง
วิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปะและ
วัฒนธรรม
๑.๑.๓-๑ แผนพัฒนาวิทยาลัย
สงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ.
๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) แผนที่กล
ยุทธ (strategic map) หนา
๘๘ – ๙๐
๑.๑.๓-๒ รายงานผลการ
วิเคราะหความสอดคลอง
ระหวางแผนพัฒนาวิทยาลัย
สงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (หนา
๙๑ –๙๖) กับแผนปฏิบัติการ
ประจําป ๒๕๕๕
๑.๑.๓-๓ แผนปฏิบัติการ
ประจําป ๒๕๕๕
๑๓
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน
๔. มีตัวบงชี้ของแผนพัฒนา
แผนปฏิบัติการประจําป และคา
เปาหมายของแตละตัวบงชี้ เพื่อ
วั ด ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ข อ ง ก า ร
ดําเนินงานตามแผนพัฒนาและ
แผนปฏิบัติการประจําป
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ไดกําหนดตัวบงชี้
และคาเปาหมายของแตละตัวบงชี้ของ
แผนพัฒนา และมีการชี้แจงวิสัยทัศน กล
ยุทธ เปาหมายแผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย
ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
๑.๑.๔-๑ แผนพัฒนาวิทยาลัย
สงฆเลย ระยะที่ ๑๑
(พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) หนา
๔๐ – ๗๘
๑.๑.๔-๒ แผนปฏิบัติการ
ประจําป ๒๕๕๕
๕. มีการดําเนินงานตาม
แผนปฏิบัติการประจําปครบ ๔
พันธกิจ
วิทยาลัยสงฆเลย มีการดําเนินงานตาม
แผนปฏิบัติการประจําปครบทั้ง ๔ พันธกิจ
ดังนี้
๑. ดานการเรียนการสอน
๒. ดานการวิจัย
๓. ดานการบริการวิชาการ
๔. ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม
๑.๑.๕-๑ แผนการปฏิบัติการ
ประจําป ๒๕๕๕
๑.๑.๕.๒ ปฏิทินการ
ดําเนินการตามแผน
(แผนปฏิบัติการประจําป
งบประมาณ ๒๕๕๕
(หนา ๑๔)
๑.๑.๕-๓ รายงานประจําป
๒๕๕๕
๖ . มี ก า ร ติ ด ต า ม ผ ล ก า ร
ดําเนินงานตามตัวบงชี้ของ
แผนปฏิบัติการประจําป อยาง
นอยปละ ๒ ครั้ง และรายงานผล
ตอผูบริหารเพื่อพิจารณา
วิทยาลัยสงฆเลยไดกําหนดใหฝาย
วางแผนและวิชาการเปนผูรับผิดชอบในการ
ติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ใน
แผนปฏิบัติการประจําปของสวนงานตางๆ
โดยกําหนดใหมีการติดตามผลทุก ๖ เดือนมี
การประชุมเพื่อติดตามผลการดําเนินงาน
และมีการรายงานผลการบรรลุเปาหมายของ
แตละตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติการประจําป
๑.๑.๖-๑ รายงานประจําป
๒๕๕๕
๑.๑.๖-๒ รายงานการประชุม
ผูบริหาร คณาจารย
๗. มีการประเมินผลการ
ดําเนินงานตามตัวบงชี้ของ
แผนพัฒนา อยางนอยปละ ๑
ครั้งและรายงานผลตอผูบริหาร
และสภามหาวิทยาลัยเพื่อ
พิจารณา
วิทยาลัยสงฆเลยแตงตั้งคณะกรรมการ
ประเมินผลแผนพัฒนาวิทยาลัย เพื่อ
ประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ของ
แผนพัฒนา โดยดําเนินการรวบรวมขอมูล
ประกอบการประเมินจากสวนงานตาง ๆ
จําแนกตามยุทธศาสตร กลยุทธและตัวชี้วัด
ทั้ง๕ ยุทธศาสตร ผลการประเมินแผนพัฒนา
ไดนําเขาสูที่ประชุมคณะกรรมการวิทยาลัย
เพื่อพิจารณาใหขอเสนอแนะ
๑.๑.๗-๑ รายงานประจําป
๒๕๕๕
๑.๑.๗-๒ รายงานการประชุม
คณะกรรมการประจํา
วิทยาลัยสงฆเลย
๘. มีการนําผลการพิจารณา
ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะของ
สภามหาวิทยาลัยไปปรับปรุง
คณะกรรมการจัดทําแผนพัฒนาวิทยาลัย
สงฆเลยนําขอเสนอแนะของคณะกรรมการ
วิทยาลัยสงฆเลย ไปปรับปรุงแผนพัฒนา
๑.๑.๘-๑ รายงานการประชุม
คณะกรรมการประจํา
วิทยาลัยสงฆเลย
๑๔
เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน
แผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการ
ประจําป
วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ และ
แผนปฏิบัติการประจําป
๑.๑.๘-๒ แผนพัฒนา
วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑
(พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙)
๑.๑.๘-๓ แผนปฏิบัติการ
ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๖
เกณฑการประเมิน
การประเมินตนเอง
คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
มีการดําเนินการ
๑ ขอ
มีการดําเนินการ
๒หรือ ๓ ขอ
มีการดําเนินการ
๔ หรือ ๕ ขอ
มีการดําเนินการ
๖ หรือ ๗ ขอ
มีการดําเนินการ
๘ ขอ
เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย
๖ ขอ ๘ ขอ ๕ คะแนน บรรลุเปาหมาย
๑๕
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
ตัวบงชี้ที่ ๑.๒ ผลการบริหารสถาบันใหเกิดอัตลักษณ(สมศ. ๑๖.๑)
ชนิดของตัวบงชี้ ผลผลิต/ผลกระทบ
ชวงเวลาขอมูล ปการศึกษา
เกณฑการประเมิน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน
๑.มีการกําหนดกลยุทธและแผนการ
ปฏิบัติงานที่สอดคลองกับอัตลักษณ
ของมหาวิทยาลัย โดยไดรับการ
เห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย
๒. มีการสรางระบบการมีสวน
รวมของผูเรียนและบุคลากรใน
การปฏิบัติตามกลยุทธที่กําหนด
อยางครบถวนสมบูรณ
๓. ผลการประเมินของผูเรียน
และบุคลากรเกี่ยวกับการ
ปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัยที่
สอดคลองกับอัตลักษณไมต่ํากวา
๓.๕๑ จากคะแนนเต็ม ๕
๔. ผลการดําเนินงานกอใหเกิด
ผลกระทบที่เปนประโยชนและ/
หรือสรางคุณคาตอสังคม
๕. ผูเรียน/บุคลากร/คณะ/
สถาบัน ไดรับการยกยองใน
ระดับชาติและ/หรือนานาชาติ ใน
ประเด็นที่เกี่ยวกับอัตลักษณ
เกณฑการใหคะแนน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕
ปฏิบัติได
๑ ขอ
ปฏิบัติได
๒ ขอ
ปฏิบัติได
๓ ขอ
ปฏิบัติได
๔ ขอ
ปฏิบัติได
๕ ขอ
การประเมินตนเอง
เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย
๔ ขอ ไมประเมิน
๑๖
ตัวบงชี้ที่ ๑.๓ ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ (สมศ. ๑๖.๒)
ชนิดของตัวบงชี้ ผลผลิต/ผลกระทบ
ชวงเวลาขอมูล ปการศึกษา
เกณฑการใหคะแนน ผลรวมของคาคะแนนที่ไดจากการประเมินบัณฑิตที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ
หารดวยจํานวนบัณฑิตที่ไดรับการประเมินทั้งหมด
ขอมูลพื้นฐาน จํานวน รอยละ เอกสาร/หลักฐาน
๑. ผลรวมของคาคะแนนที่ไดจากการประเมินบัณฑิต ๒,๔๕๔ ๑๐๐.๐ ๑.๓.๑-๑ การติดตามพุทธ
ศาสตรบัณฑิตที่สําเร็จ
การศึกษาจากมหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาสงฆเลย ป ๒๕๕๕
๑.๓.๑-๒ แบบสอบถามการ
วิจัยติดตามพุทธศาสตร
บัณฑิต ป ๒๕๕๕
๑.๓.๑-๓ สูจิบัตรรับ
ปริญญา ป ๒๕๕๕
๒. จํานวนบัณฑิตที่ไดรับการประเมิน ๖๗ ๘๑.๗๐
๓. จํานวนบัณฑิตที่จบการศึกษาทั้งหมด(ป ๒๕๕๕) ๘๒ ๑๐๐.๐
๔. คาเฉลี่ยของคะแนนการประเมินบัณฑิต ๔.๑๘ ๘๒.๔๐
การประเมินตนเอง
เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย
๓.๕๑ ๔.๑๘ ๕ คะแนน บรรลุ
๑๗
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
ตัวบงชี้ที่ ๑.๔ ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอนเปนเอกลักษณของ
มหาวิทยาลัย(สมศ. ๑๗)
ชนิดของตัวบงชี้ ผลผลิต/ผลกระทบ
ชวงเวลาขอมูล ปการศึกษา
เกณฑการประเมิน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน
๑.มีการกําหนดกลยุทธการปฏิบัติงานที่สอดคลองกับ
จุดเนน จุดเดน หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ
มหาวิทยาลัยโดยไดรับความเห็นชอบจากสภา
มหาวิทยาลัย
๒. มีการสรางระบบการมีสวนรวมของผูเรียนและ
บุคลากรในการปฏิบัติตามกลยุทธที่กําหนดอยาง
ครบถวนสมบูรณ
๓. ผลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรที่
เกี่ยวกับการดําเนินการตามจุดเนน และจุดเดน หรือ
ความเชี่ยวชาญเฉพาะของมหาวิทยาลัยไมต่ํากวา
๓.๕๑ จากคะแนนเต็ม ๕
๔.ผลการดําเนินงานบรรลุตามจุดเนน จุดเดน หรือ
ความเชี่ยวชาญเฉพาะของมหาวิทยาลัยและเกิดผล
กระทบที่เกิดประโยชนและสรางคุณคาตอสังคม
๕. ผูเรียน/บุคลากร/คณะ/มหาวิทยาลัยมีเอกลักษณ
ตามจุดเนน จุดเดน หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะที่
กําหนด และไดรับการยอมรับในระดับชาติและ/หรือ
นานาชาติ
เกณฑการประเมิน
คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
มีการดําเนินการ
๑ ขอ
มีการดําเนินการ
๒ ขอ
มีการดําเนินการ
๓ ขอ
มีการดําเนินการ
๔ ขอ
มีการดําเนินการ
๕ ขอ
การประเมินตนเอง
เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย
ไมประเมิน
๑๘
วิเคราะหจุดแข็งและจุดที่ควรพัฒนา องคประกอบที่ ๑
จุดแข็ง
วิทยาลัยสงฆเลยผลิตบัณฑิตเปนไปตามปรัชญา ปณิธานและวัตถุประสงคของมหาวิทยาลัย และ มี
เอกลักษณตามจุดเนน คือการบริการวิชาการทางพระพุทธศาสนาแกสังคมที่ไดรับการยอมรับ
จุดที่ควรพัฒนา
การบริการวิชาการทางพระพุทธศาสนาแกสังคมที่ไดรับการยอมรับในระดับภูมิภาค ระดับชาติและ
นานาชาติ
แนวทางเสริมจุดแข็งและปรับปรุงจุดที่ควรพัฒนา
๑. ควรพัฒนาทักษะอาจารยและนิสิต เพื่อสนับสนุนการบริการวิชาการดานพระพุทธศาสนา โดย
บรรจุไวในแผนซึ่งระบุผูรับผิดชอบและระยะเวลาไวอยางชัดเจน
๒. ควรสนับสนุนการมีสวนรวมของบุคลากรในการปฏิบัติตามกลยุทธที่กําหนดไวเพื่อใหครอบคลุม
และสามารถนําไปสูการปฏิบัติของบุคลากรอยางเปนรูปธรรม
๑๙
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
องคประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต
ตัวบงชี้ที่ ๒.๑ ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร (สกอ.๒.๑)
ชนิดของตัวบงชี้ กระบวนการ
ชวงเวลาขอมูล ปการศึกษา
เกณฑการประเมิน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน
๑. มีระบบและกลไกการ
เปดหลักสูตรใหมและ
ปรับปรุงหลักสูตรตาม
แนวทางปฏิบัติที่กําหนด
โดยคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา และดําเนินการ
ตามระบบที่กําหนด
วิทยาลัยสงฆเลยมีระบบและกลไกการเปด
หลักสูตรใหม สอดคลองกับแนวทางการปฏิบัติที่
กําหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ ตาม
ประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง ขั้นตอนในการเปดและ
ปดหลักสูตร พุทธศักราช ๒๕๕๔
ในการปรับปรุงหลักสูตร วิทยาลัยสงฆเลยได
ดําเนินรวมกับมหาวิทยาลัยในสวนกลาง ตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ.
๒๕๕๒
๒.๑.๑-๑ ประกาศ
มหาวิทยาลัย เรื่อง ขั้นตอนใน
การเปดและปดหลักสูตร
พุทธศักราช ๒๕๕๔
๒.๑.๑-๒ แผนภูมิขั้นตอนการ
เสนอเปดหลักสูตร
๒.๑.๑-๓ โครงการเปด
หลักสูตรพุทธศาสตร
มหาบัณฑิต สาขา
พระพุทธศาสนา
๒.๑.๑-๔ พ.ร.บ มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ.๒๕๔๐
๒.๑.๑-๕ คําสั่งแตงตั้ง
คณะกรรมการประจํา
หลักสูตร
๒.๑.๑-๖ รายงานการประชุม
คณะกรรมการประจํา
วิทยาลัยสงฆเลยขออนุมัติเปด
หลักสูตร
๒.๑.๑-๗ ประกาศ
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย เรื่อง อนุมัติให
เปดหลักสูตรพุทธศาสตร
มหาบัณฑิต สาขา
พระพุทธศาสนา
๒๐
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
เกณฑการประเมิน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน
๒. มีระบบและกลไกการ
ปดหลักสูตรตามแนวทาง
ป ฏิ บั ติ ที่ กํ า ห น ด โ ด ย
ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร
อุดมศึกษา และดําเนินการ
ตามระบบที่กําหนด
วิทยาลัยสงฆเลยมีระบบและกลไกการปด
หลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กําหนดโดย
คณะกรรมการการอุดมศึกษา และประกาศ
มหาวิทยาลัย เรื่อง ขั้นตอนในการเปดและปด
หลักสูตร พุทธศักราช ๒๕๕๔
๒.๑.๒-๑ ประกาศ
มหาวิทยาลัย เรื่อง ขั้นตอนใน
การเปดและปดหลักสูตร
พุทธศักราช ๒๕๕๔
๒.๑.๒-๒ แผนภูมิขั้นตอนการ
เสนอปดหลักสูตร
๒.๑.๒-๓ พ.ร.บ มหาวิทยาลัย
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พ.ศ.๒๕๔๐
๓. ทุกหลักสูตรมีการ
ดําเนินงานใหเปนไปตาม
เกณฑมาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา และกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิ ระดับ
อุดมศึกษาแหงชาติ (การ
ดําเนินงาน ตามกรอบมาตร
ฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา
แหงชาติ หมายถึงตองมีการ
ประเมินผลตาม“ตัวบงชี้ผล
การดําเนินงานตามประกาศ
มาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือ
สาขาวิชา เพื่อการประกัน
คุณภาพหลักสูตรและการ
เรียนการสอน” กรณีที่
หลักสูตรใดยังไมมีประกาศ
มาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือ
สาขาวิชาใหประเมินตามตัว
บงชี้กลางที่กําหนด)สําหรับ
หลักสูตรสาขาวิชาชีพตอง
ไดรับการรับรองหลักสูตรจาก
สภาหรือองคกรวิชาชีพที่
เกี่ยวของดวย
(หมายเหตุ:สําหรับหลักสูตร
เกาหรือหลักสูตรปรับปรุงที่
ยังไมไดดําเนินการตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดม
ศึกษาแหงชาติ กอนปการ
วิทยาลัยสงฆเลย เปดการเรียนการสอนจํานวน ๓
หลักสูตร คือสาขาวิชาการสอนภาษาไทย สาขาวิชา
รัฐศาสตร และสาขาวิชาพระพุทธศาสนา
ทุกหลักสูตรมีการดําเนินงานใหเปนไปตามเกณฑ
มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาและกรอบมาตรฐาน
คุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ
๒.๑.๓-๑ หลักสูตรระดับ
ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.
๒๕๕๕
๒.๑.๓-๒ มคอ.๒
๒.๑.๓-๓ มคอ.๓
๒.๑.๓-๔ มคอ.๕
๒.๑.๓-๕ มคอ.๗
๒.๑.๓-๖ มคอ.๔
๒๑
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
เกณฑการประเมิน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน
ศึกษา ๒๕๕๕ ใหยึดตาม
เกณฑมาตรฐาน หลักสูตร
ระดับอุดม ศึกษา พ.ศ.
๒๕๔๘)
๔. มีคณะกรรมการรับ
ผิดชอบควบคุมกํากับใหมี
การดําเนินการไดครบถวน
ทั้งขอ ๑ ขอ ๒ และ ขอ ๓
ขางตนตลอดเวลาที่จัด
กา ร ศึ กษา แล ะมี กา ร
ประเมิน หลักสูตรทุก
หลักสูตรอยางนอยตาม
กรอบเวลาที่กําหนดใน
เกณฑมาตรฐานหลักสูตรฯ
กรณีหลักสูตรที่ดําเนินงาน
ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ
จะตองควบคุมกํากับใหการ
ดําเนินงานตามตัวบงชี้ใน
ขอ ๓ ผานเกณฑการ
ประเมิน ๕ ขอแรกและ
อยางนอยรอยละ ๘๐ ของ
ตัวบงชี้ที่กําหนดในแตละป
ทุกหลักสูตร
ทุกห ลักสู ตรของวิ ทยา ลัย ส งฆเ ลย มี
คณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมีการ
ดําเนินการในการเปด/ปดหลักสูตร และดําเนินงาน
ใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร
ระดับอุดมศึกษา รวมทั้งการปรับปรุงหลักสูตร ตาม
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
๒.๑.๔-๑ คําสั่งแตงตั้ง
คณะกรรมการควบคุมและ
ดูแลหลักสูตร
๒.๑.๔-๒ มคอ.๗
๒.๑.๔-๓ คําสั่งแตงตั้ง
คณะกรรมการวิทยาลัยสงฆ
เลย
๕. มีคณะกรรมการ
รับผิดชอบควบคุมกํากับ
ใหมีการดําเนินการได
ครบถวนทั้งขอ ๑ ขอ ๒
แล ะ ข อ ๓ ข า งต น
ตลอดเวลาที่จัดการศึกษา
และมีการพัฒนาหลักสูตร
ทุกหลักสูตรตามผลการ
ประเมินในขอ ๔ กรณี
หลักสูตรที่ดําเนินงานตาม
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ
จะตองควบคุมกํากับให
วิทยาลัยสงฆเลย มีคณะกรรมการรับผิดชอบ
ควบคุมกํากับใหมีการดําเนินการในการเปด/ปด
หลักสูตร และดําเนินงานใหเปนไปตามเกณฑ
มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา ตลอดเวลาที่จัด
การศึกษาและมีการประเมิน หลักสูตรทุกหลักสูตร
อยางนอยตามกรอบเวลาที่กําหนดในเกณฑ
มาตรฐานหลักสูตรฯ
๒.๑.๕-๑ รายชื่อ
คณะกรรมการประจํา
วิทยาลัยสงฆเลย
๒.๑.๕-๒ หลักสูตรระดับ
ปริญญาตรี ประจําป ๒๕๕๕
๒.๑.๕-๓ มคอ.๗
๒๒
รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕
เกณฑการประเมิน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน
การดําเนินงานตามตัวบงชี้
ในขอ ๓ ผานเกณฑการ
ประเมินครบทุกตัวบงชี้
และทุกหลักสูตร
๖. มีความรวมมือในการ
พั ฒ น า แ ล ะ บ ริ ห า ร
ห ลั ก สู ต ร ร ะ ห ว า ง
มหาวิทยาลัยกับภาครัฐ
ห รื อ ภ า ค เ อ ก ช น ที่
เกี่ยวของกับวิชาชีพของ
หลักสูตรมากกวารอยละ
๓๐ของจํานวนหลักสูตร
วิชาชีพทั้งหมดทุกระดับ
การศึกษา
วิทยาลัยสงฆแตงตั้งคณะกรรมการประจํา
วิทยาลัยสงฆเลย โดยมีผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่มา
จากหนวยงานภาครัฐ/เอกชนที่เกี่ยวของกับวิชาชีพ
รวมเปนกรรมการ
๒.๑.๖-๑ คําสั่งแตงตั้ง
คณะกรรมการประจํา
วิทยาลัยสงฆเลย
๒.๑.๖-๑ รายงานผล
การศึกษาดูงานของนิสิตครุ
ศาสตร
เกณฑการประเมิน
การประเมินตนเอง
เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย
๔ ขอ ๖ ขอ ๕ คะแนน บรรลุเปาหมาย
คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕
มีการดําเนินการ
๑ ขอ
มีการดําเนินการ
๒ ขอ
มีการดําเนินการ
๓ ขอ
มีการดําเนินการ
๔ หรือ ๕ ขอ
มีการดําเนินการ
๖ ขอ
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555

More Related Content

What's hot

07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op kumahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์โรงเรียนบ่อไร่วิทยาคม
 
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญแผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญkruprang
 
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2Tepporn Chimpimol
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557oraneehussem
 
เอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณาเอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณาPinmanas Kotcha
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อ...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อ...Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อ...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อ...นวพร คำแสนวงษ์
 
Loadแนวข้อสอบ นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้อง...
Loadแนวข้อสอบ นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้อง...Loadแนวข้อสอบ นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้อง...
Loadแนวข้อสอบ นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้อง...นวพร คำแสนวงษ์
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.58
รายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.58รายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.58
รายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.58totsagunz
 
กศน ตำบล
กศน  ตำบลกศน  ตำบล
กศน ตำบลkruteerapol
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามSuppalak Lim
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กKittisak Amthow
 
Annual report2550
Annual report2550Annual report2550
Annual report2550KKU Library
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556oraneehussem
 
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"Pinmanas Kotcha
 
Loadแนวข้อสอบ นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)Loadแนวข้อสอบ นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)นวพร คำแสนวงษ์
 
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556 รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556 somdetpittayakom school
 
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....นายจักราวุธ คำทวี
 

What's hot (20)

No8 february2013
No8 february2013No8 february2013
No8 february2013
 
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
 
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
ประชุมจัดตั้งศูนย์พัฒนาการเรียนรู้ประวัติศาสตร์
 
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญแผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
แผนปฏิบัติการ 2554-ปก-คำนำ-สารบัญ
 
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2
จดหมายข่าว สภาคณาจารย์ ฉบับ2
 
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
สารสนเทศ โรงเรียนบางสะพานน้อยวิทยาคม ปีการศึกษา 2557
 
รายงานผลการปฏิบัติงานของผผอ.ร.ร. (Web)
รายงานผลการปฏิบัติงานของผผอ.ร.ร. (Web)รายงานผลการปฏิบัติงานของผผอ.ร.ร. (Web)
รายงานผลการปฏิบัติงานของผผอ.ร.ร. (Web)
 
เอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณาเอกสารประกอบการพิจารณา
เอกสารประกอบการพิจารณา
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อ...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อ...Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อ...
Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสิ่งแวดล้อมปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อ...
 
Loadแนวข้อสอบ นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้อง...
Loadแนวข้อสอบ นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้อง...Loadแนวข้อสอบ นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้อง...
Loadแนวข้อสอบ นักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้อง...
 
รายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.58
รายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.58รายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.58
รายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.58
 
กศน ตำบล
กศน  ตำบลกศน  ตำบล
กศน ตำบล
 
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงครามแผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
แผนปฏิบัติการ ประจำปีงบประมาณ 2560 โรงเรียนวิชิตสงคราม
 
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็กแนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
แนวทางการพัฒนาโรงเรียนขนาดเล็ก
 
Annual report2550
Annual report2550Annual report2550
Annual report2550
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
แบบเสนอประวัติและผลงาน "ราชมงคลสรรเสริญ ประจำปี 2557"
 
Loadแนวข้อสอบ นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)Loadแนวข้อสอบ นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
Loadแนวข้อสอบ นายสัตวแพทย์ปฏิบัติการ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (อปท.)
 
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556 รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556
รายงานประจำปีของสถานศึกษา (SAR) ปีการศึกษา 2556
 
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
รายงานสรุปผลการประเมินตนเองของคณะกรรมการประเมิน สถานศึกษาพอเพียง ปี ๒๕๕๗ กศน....
 

Viewers also liked

รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนSuppakuk Clash
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำNan Su'p
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554pentanino
 
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน การจัดการสำนักงาน
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน การจัดการสำนักงานครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน การจัดการสำนักงาน
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน การจัดการสำนักงานTotsaporn Inthanin
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟNing Rommanee
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องรายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องMind Candle Ka
 
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพgrit_1
 

Viewers also liked (20)

ปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญปกคำนำสารบัญ
ปกคำนำสารบัญ
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
 
คค
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
2คำนำ
2คำนำ2คำนำ
2คำนำ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
เอกสารรายงานการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ปี 2554
 
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน การจัดการสำนักงาน
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน การจัดการสำนักงานครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน การจัดการสำนักงาน
ครุภัณฑ์ขั้นพื้นฐาน การจัดการสำนักงาน
 
Thailand Internet User 2002
Thailand Internet User 2002Thailand Internet User 2002
Thailand Internet User 2002
 
อาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟอาชีพครีเอทีฟ
อาชีพครีเอทีฟ
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้องรายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
รายงานอาชญากรรมคอมพิวเตอร์และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 
Sar and portfolio
Sar and portfolioSar and portfolio
Sar and portfolio
 
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
 

Similar to รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555

โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาโครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษานิรุทธิ์ อุทาทิพย์
 
TQF and Research Base University
TQF and Research Base UniversityTQF and Research Base University
TQF and Research Base UniversityDenpong Soodphakdee
 
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56Drnine Nan
 
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556Jaturapad Pratoom
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3arsad20
 
Sar award
Sar awardSar award
Sar awardMUQD
 
Sar award
Sar awardSar award
Sar awardMUQD
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)pairat13
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
Sar award
Sar awardSar award
Sar awardMUQD
 
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคีเผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคีcomed
 
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...Napadon Yingyongsakul
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)krupornpana55
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรkrutep
 
SAR-2565-BS.pdf
SAR-2565-BS.pdfSAR-2565-BS.pdf
SAR-2565-BS.pdfchartthai
 
ประกาศมาตรฐานโรงเรียนแก้วอินทร์สุธาอุทิศระดับการศึกษาปฐมวัย56
ประกาศมาตรฐานโรงเรียนแก้วอินทร์สุธาอุทิศระดับการศึกษาปฐมวัย56ประกาศมาตรฐานโรงเรียนแก้วอินทร์สุธาอุทิศระดับการศึกษาปฐมวัย56
ประกาศมาตรฐานโรงเรียนแก้วอินทร์สุธาอุทิศระดับการศึกษาปฐมวัย56Suthep2528
 

Similar to รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555 (20)

โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษาโครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
โครงการการติดตาม เยี่ยมเยียนสถานศึกษาและการประกันคุณภาพการศึกษา
 
สารสนเทศ ประจำปี 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
สารสนเทศ ประจำปี 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์สารสนเทศ ประจำปี 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
สารสนเทศ ประจำปี 2565 มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
 
V 262
V 262V 262
V 262
 
TQF and Research Base University
TQF and Research Base UniversityTQF and Research Base University
TQF and Research Base University
 
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
ประกาศส่งงานวิจัยปี 56
 
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
ผลงานวิจัยเข้าร่วมคัดสรรเพื่อนำเสนอ ในการประชุมทางวิชาการของคุรุสภา ประจำปี 2556
 
เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3เกณฑ์สมศ.รอบ3
เกณฑ์สมศ.รอบ3
 
Sathiti 2560
Sathiti 2560Sathiti 2560
Sathiti 2560
 
Sar award
Sar awardSar award
Sar award
 
Sar award
Sar awardSar award
Sar award
 
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
ตัวบ่งชี้และเกณฑ์ประเมินรอบสาม(ระดับขั้นพื้นฐาน)
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
Sar award
Sar awardSar award
Sar award
 
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคีเผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
เผยแพร่ Sar25ุ59 บ้านโคกสามัคคี
 
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
หลักเกณฑ์และวิธีการดำเนินการคัดเลือกผู้ประกอบอาชีพทางการศึกษาเพื่อรับรางวัลหน...
 
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
คู่มือภาคสนามประเมินภายนอก สมศ.รอบ 3ฉบับสถานศึกษา(ระดับขั้นพิ้นฐาน)
 
Presentation การประชุมสัมมนา ก.ต.ป.น.
Presentation การประชุมสัมมนา ก.ต.ป.น.Presentation การประชุมสัมมนา ก.ต.ป.น.
Presentation การประชุมสัมมนา ก.ต.ป.น.
 
ปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรปรับปรุงหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตร
 
SAR-2565-BS.pdf
SAR-2565-BS.pdfSAR-2565-BS.pdf
SAR-2565-BS.pdf
 
ประกาศมาตรฐานโรงเรียนแก้วอินทร์สุธาอุทิศระดับการศึกษาปฐมวัย56
ประกาศมาตรฐานโรงเรียนแก้วอินทร์สุธาอุทิศระดับการศึกษาปฐมวัย56ประกาศมาตรฐานโรงเรียนแก้วอินทร์สุธาอุทิศระดับการศึกษาปฐมวัย56
ประกาศมาตรฐานโรงเรียนแก้วอินทร์สุธาอุทิศระดับการศึกษาปฐมวัย56
 

More from pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองpentanino
 

More from pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
 

รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555

  • 1. รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report, CAR) ประจําปการศึกษา ๒๕๕๕ (ชวงวันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๕ - ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย เพื่อรับการตรวจสอบและประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน Check Assessment Report, CAR ระหวางวันที่ ๕ – ๖ กันยายน ๒๕๕๖
  • 2. คํานํา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ไดตระหนักถึงความสําคัญของการ ประกันคุณภาพการศึกษา โดยถือวาเปนหัวใจสําคัญ และเปนนโยบายหลักของวิทยาลัย ในการขับเคลื่อนการ มีการดําเนินงานการศึกษาที่มีคุณภาพในทุกพันธกิจ เริ่มตั้งแตการผลิตบัณฑิต การวิจัย การสงเสริม พระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแกสังคม การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม ตลอดจนการบริหารจัดการ รายงานการประเมินตนเอง (Self Assessment Report) ประจําปการศึกษา ๒๕๕๕ (๑ มิถุนายน ๒๕๕๕ – ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖) ฉบับนี้จัดทําขึ้นเพื่อรวบรวม และนําเสนอขอมูลผลการดําเนินงานตาม ภารกิจดานตางๆ ของวิทยาลัย ตามเกณฑมาตรฐานของตัวบงชี้ตางๆ ที่กําหนดโดยสํานักงานคณะกรรมการ อุดมศึกษา (สกอ.) ในการจัดทํารายงานการประเมินตนเองประจําปการศึกษา ๒๕๕๕ สําหรับใชในการตรวจสอบ และประเมินคุณภาพการศึกษาภายในและเปนเครื่องมือในการพัฒนากลไกในการประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งนี้เพื่อใหไดผลการประเมินตรงตามความเปนจริงมากที่สุด เพื่อจะไดนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนงาน โครงการ และกิจกรรมตอไป พระมหาภิรัฐกรณ อํสุมาลี ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลย
  • 3. (๖) รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ สารบัญ สวนที่ ๑ บทสรุปผูบริหาร คํานํา สารบัญ และตารางสรุปผลการประเมินตนเองรายตัวบงชี้ บทสรุปผูบริหาร (๑) คํานํา (๕) สารบัญ (๖) ตารางสรุปผลการประเมินตนเองรายตัวบงชี้ (๗) สวนที่ ๒ ขอมูลเบื้องตนของวิทยาลัยสงฆเลย ๑ ประวัติของสวนงาน ๑ ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน พันธกิจ วัตถุประสงค ๓ โครงสรางการบริหารงานวิทยาลัยสงฆเลย ๕ หลักสูตรและสาขาวิชาที่เปดสอน ๖ บุคลากรของวิทยาลัยสงฆเลย ๗ งบประมาณ ๙ อาคารสถานที่ ๑๐ สวนที่ ๓ ผลการดําเนินงาน และ ผลการประเมินคุณภาพ เทียบกับเกณฑและเทียบกับ เปาหมายในรอบปปจจุบัน ตามตัวบงชี้ในแตละองคประกอบ ๑๑ องคประกอบที่ ๑ ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงคและแผนการดําเนินการ ๑๑ องคประกอบที่ ๒ การเรียนการสอน ๒๐ องคประกอบที่ ๓ กิจกรรมการพัฒนานิสิต ๔๕ องคประกอบที่ ๔ การวิจัย ๕๑ องคประกอบที่ ๕ การบริการทางวิชาการแกสังคม ๖๐ องคประกอบที่ ๖ การทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ๗๑ องคประกอบที่ ๗ การบริหารและการจัดการ ๗๘ องคประกอบที่ ๘ การเงินและงบประมาณ ๙๐ องคประกอบที่ ๙ ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ ๙๓ สวนที่ ๔ สรุปผลการประเมินและทิศทางการพัฒนา ๙๘ สวนที่ ๕ ภาคผนวก ๑๐๔ ขอมูลพื้นฐานตามองคประกอบคุณภาพการศึกษาภายในระดับอุดมศึกษา ๑๐๕ ตารางคํานวณ FTES ป ๒๕๕๕ (ปการศึกษาและปงบประมาณ) ๑๑๗ คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาวิทยาลัยสงฆเลย ๑๒๗
  • 4. (๗) รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ ตารางสรุปผลการประเมินตนเอง ตาราง สรุปผลการประเมินตนเอง : รายองคประกอบ องคประกอบ คุณภาพ เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมิน (ตามเกณฑ มจร.) คะแนนการประเมิน (ตามเกณฑ สกอ.) องคประกอบที่ ๑ -ตัวบงชี้ที่ ๑.๑ -ตัวบงชี้ที่ ๑.๒ -ตัวบงชี้ที่ ๑.๓ -ตัวบงชี้ที่ ๑.๔ ๖ ขอ ไมรับการประเมิน ๓.๕๑ คะแนน ไมรับการประเมิน ๘ ขอ - ๔.๑๗ ๕ - ๕ - คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๑ ๑๐/๕.๐ องคประกอบที่ ๒ -ตัวบงชี้ที่ ๒.๑ -ตัวบงชี้ที่ ๒.๒ -ตัวบงชี้ที่ ๒.๓ -ตัวบงชี้ที่ ๒.๔ -ตัวบงชี้ที่ ๒.๕ -ตัวบงชี้ที่ ๒.๖ -ตัวบงชี้ที่ ๒.๗ -ตัวบงชี้ที่ ๒.๘ -ตัวบงชี้ที่ ๒.๙ -ตัวบงชี้ที่ ๒.๑๐ -ตัวบงชี้ที่ ๒.๑๑ -ตัวบงชี้ที่ ๒.๑๒ -ตัวบงชี้ที่ ๒.๑๓ ๔ ขอ รอยละ๒๒/๔.๕๐ รอยละ ๕ ขอ ๖ ขอ ๖ ขอ ๔ ขอ ๔ ขอ รอยละ ๘๐ ๓.๕๑ คะแนน ไมรับการประเมิน ไมรับการประเมิน ๔.๕๐ ๖ ขอ ๕.๕๕ ๑๓.๓๓ ๕ ขอ ๗ ขอ ๖ ขอ ๔ ขอ ๕ ขอ ๑๐๐ ๔.๑๘ - - ๓.๑๖ ๕ ๕ ๑.๑๑ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕ - - ๓.๑๖ คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๒ ๔๙.๒๗/๔.๙๒ องคประกอบที่ ๓ -ตัวบงชี้ที่ ๓.๑ -ตัวบงชี้ที่ ๓.๒ ๖ ขอ ๕ ขอ ๗ ขอ ๖ ขอ ๕ ๕ คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๓ ๑๐/๕.๐ องคประกอบที่ ๔ -ตัวบงชี้ที่ ๔.๑ -ตัวบงชี้ที่ ๔.๒ -ตัวบงชี้ที่ ๔.๓ -ตัวบงชี้ที่ ๔.๔ -ตัวบงชี้ที่ ๔.๕ -ตัวบงชี้ที่ ๔.๖ ๖ ขอ ๔ ขอ ๒๐,๐๐๐ รอยละ ๘ รอยละ ๑๕ รอยละ๘ ๘ ขอ ๒ ขอ ๓๙,๗๗๗ ๘.๓๓ ๒๒.๕๐ ๑๖.๗๐ ๕ ๒ ๕ ๕ ๕ ๕ คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๔ ๒๗.๐๐/๔.๕๐
  • 5. (๘) รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ องคประกอบ คุณภาพ เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมิน (ตามเกณฑ มจร.) คะแนนการประเมิน (ตามเกณฑ สกอ.) องคประกอบที่ ๕ -ตัวบงชี้ที่ ๕.๑ -ตัวบงชี้ที่ ๕.๒ -ตัวบงชี้ที่ ๕.๓ -ตัวบงชี้ที่ ๕.๔ -ตัวบงชี้ที่ ๕.๕ -ตัวบงชี้ที่ ๕.๖ ๔ ขอ ๔ ขอ รอยละ ๒๒ ๔ ขอ ไมรับการประเมิน ไมรับการประเมิน ๕ ขอ ๔ ขอ ๙.๕๒ ๔ ขอ - - ๕ ๕ ๒ ๕ คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๕ ๑๗/๔.๒๕ องคประกอบที่ ๖ -ตัวบงชี้ที่ ๖.๑ -ตัวบงชี้ที่ ๖.๒ -ตัวบงชี้ที่ ๖.๓ ๔ ขอ ๔ ขอ ๔ ขอ ๕ ขอ ๔ ขอ ๕ ขอ ๕ ๕ ๕ คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๖ ๑๕/๕ องคประกอบที่ ๗ -ตัวบงชี้ที่ ๗.๑ -ตัวบงชี้ที่ ๗.๒ -ตัวบงชี้ที่ ๗.๓ -ตัวบงชี้ที่ ๗.๔ -ตัวบงชี้ที่ ๗.๕ -ตัวบงชี้ที่ ๗.๖ ๖ ขอ ๔ ขอ ๔ ขอ ๕ ขอ ไมรับการประเมิน ๓.๕๑ คะแนน ๗ ขอ ๔ ขอ ๕ ขอ ๓ ขอ - ๔.๕๐ คะแนน ๕ ๕ ๕ ๓ - ๕ คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๗ ๒๓.๐๐/๔.๖๐ องคประกอบที่ ๘ - ตัวบงชี้ที่ ๘.๑ ๖ ขอ ๗ ขอ ๕ คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๘ ๕ องคประกอบที่ ๙ - ตัวบงชี้ที่ ๙.๑ ๗ ขอ ๗ ขอ ๕ คะแนนเฉลี่ยองคประกอบที่ ๙ ๕ รวมทุกองคประกอบ ๑๖๑.๒๗/๔.๖๐ ตัวชี้วัด ๓๗ ตัว บรรลุ ๒๘ ไมบรรลุ ๗ รับการประเมิน ๓๕ ไมรับการประเมิน ๒
  • 6. สวนที่ ๑ บทสรุปผูบริหาร คํานํา สารบัญ และตารางสรุปผล การประเมินตนเองรายตัวบงชี้
  • 7. (๑) บทสรุปสําหรับผู้บริหาร ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย มีผล การ ดําเ ๔ ด ้าน การพัฒนาสถาบันและองค์กร และ ระบบประกันคุณภาพการศึกษา ๑. ๔ ด้าน ๑.๑ ด้านการจัดการศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๕๕ วิทยาลัยสงฆ์เลยได ้รับการ ๘,๒๐๙,๓๘๓.๖๕ บาท เปิดการเรียนการสอนหลักสูตรระดับปริญญาตรี ๓ สาขาวิชา ได ้แก่ สาขาวิชา พระพุทธศาสนา สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน และสาขาวิชารัฐศาสตร์ มีนโยบายมุ่งพัฒนาบุคลากร ทางพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะพระภิกษุ ทายาทสืบต่อพระพุทธศาสนา ปัจจุบันมีนิสิต สามเณร จํานวน ๓๐๘ รูป/คน รูป คิดเป็ นร้อยละ ๖๓.๒๔ นิสิตคฤหัสถ์ ๑๗๙ คน คิดเป็นร้อยละ ๓๖.๗๖ ๔๘๗ รูป/คน นนิสิตต่างประเทศ จํานวน ๑ คน การบริการข ้อมูลทาง วิชาการผ่านเว็ปไซต์โดย ของมหาวิทยาลัย และเครือข่ายการบริการของสํานักงาน คณะกรรมการการอุดมศึกษาและกระทรวงศึกษาธิการ มีการ คณาจารย์และให ้นิสิตประเมินประสิทธิภาพการสอนของอาจารย์ทุกภาคการศึกษา ด ้านหลักสูตรการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรี นิสิตต ้องศึกษาหมวดวิชาแกน พระพุทธศาสนา ๓๐ หน่วยกิต และฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานทุกปี ปีละไม่น้อยกว่า ๑๐ วัน ๔ แล ้วต ้องปฏิบัติ ศ า ส น กิ ๑ ปี ไม่น้อยกว่า ๒๐๐ ๑.๒ ด้านการวิจัย ในปี ๒๕๕๕ วิทยาลัย สงฆ์เลยได ้รับการสนับสนุนการวิจัย เป็นจํานวน ๕๙๖,๖๖๕ บาท ๑.๓ ด้านการให้บริการวิชาการพระพุทธศาสนาแก่สังคม วิทยาลัยสงฆ์เลยได ้รับการ เป็ ๘๐๐,๐๐๐ บาท วิทยาลัยได ้ดําเนินการโครงการส่งเสริมและให ้บริการวิชาการ งทุกปี ๑.๔ ด้านการทํานุบํารุงพระพุทธศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาลัยสงฆ์เลยได ้รับการ ๗๕๙,๙๘๐ บาท นุนการดําเนินโครงการทํานุ บํารุงศิลปะและวัฒนธรรมตามวัฒนธรรมและประ ๒. การพัฒนาสถาบันและองค์กร วิทยาลัยสงฆ์เลยมีโครงสร้างการบริหารองค์ ประจําวิทยาลัยสงฆ์ กํากับดูแลการบริหารงาน มหาวิทยาลัยส่วนกลาง ในด ้านการเงิน มีคณะกรรมการการเงินและทรัพย์สิน กํากับ ดูแล
  • 8. (๒) ด ้านการจัดการศึกษา มี ๓ สาขาวิชา ๓ คณะ คือ คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน และคณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ มีหัวหน้า สาขาวิชาดูแลรับผิดชอบร่วมกับผู้บริหารในการจัดการศึกษา ด ้านการพัฒนาบุคลากร วิทยาลัยดําเนินการพัฒนาบุคลากรทางการศึกษาโดยสนับสนุน การ พัฒนาทักษะหรือวิชาชีพในหลักสูตรต่าง ๆ ตัดสินใจ เช่น ระบบทะเบียนนิสิต ระบบยืมคืนหนังสือห ้องสมุด ๓. ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์เลย ดําเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา โดยมีคณะกรรมการดําเนินการการ ประกันคุณภาพการศึกษารับผิดชอบ ในปีการศึกษา ๒๕๕๔ (๑ มิถุนายน ๒๕๕๔ – ๓๑ พฤษภาคม ๒๕๕๕) สํานักงานคณะกรรมการ การอุดมศึกษาได ้ส่งผู้ทรงคุณวุฒิมาประเมินคุณภาพการศึกษาภายในระดับสถาบัน คะแนน ๓.๓๕ จากคะแนนเต็ม ๕ ผลการดําเนินงานของวิทยาลัยอยู่ในระดับดี ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ วิทยาลัยสงฆ์เลยได ้พัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา โดยใช ้เกณฑ์ ประเมินของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา(สกอ.) ผนวกกับเกณฑ์ประเมินของสํานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) โดยระบบ ๙ องค์ประกอบ ใช ้ระบบคะแนนเต็ม ๕ คะแนน ๔. ผลการประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ปี ๒๕๕๕ ผลการดําเนินงานของวิทยาลัยสงฆ์เลยจากการประเมินตนเอง ได ้คุณภาพระดับดี คือ ๔.๒๙ จากคะแนนเต็ม ๕ คิดเป็น ร้อยละ ๘๕.๘ ๔.๒.๑ จุดแข็งและแนวทางเสริมจุดแข็ง ๑) จุดแข็ง (๑) วิทยาลัยสงฆ์เลยผลิตบัณฑิตเป็นไปตามปรัชญา ปณิธานและวัตถุประสงค์ของ การยอมรับ (๒) การบริการวิชาการด ้านพระพุทธศาสนาแก่สังคมของวิทยาลัย มีการดําเนินงาน อย่างหลากหลาย ๒) จุดอ่อน (๑) ไม่มีการสํารวจความต ้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือ (๒) ไม่มีการประเมินความสําเร็จของแผนการพัฒนาอาจารย์และบุคลากรสาย สนับสนุนและการนําผลการประเมินไปปรับปรุงแผนหรือปรับปรุงการบริหารและการพัฒนาคณาจารย์ และ บุคลากรสายสนับสนุน (๓) ขาดมาตรการและแรงจูงใจให ้คณาจารย์ทําการวิจัย ๓) (๑) ควรการสํารวจความต ้องการของชุมชน หรือภาครัฐ หรือภาคเอกชน หรือ เรียนการสอนและการวิจัยยังน้อย (๒) ควรจัดให ้มีระบบติดตามประเมินผลสําเร็จของการบูรณาการงานบริการวิชาการ แก่สังคมกับการเรียนการสอนและการวิจัย โดยการมีส่วนร่วมของผู้ให ้บริการ และผู้รับบริการ ตลอดจนนํา (๓) ควรสนับสนุนและส่งเสริมให ้อาจารย์ของวิทยาลัย งานด ้านทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอน ประเมินผลสําเร็จและนําผลการประเมิน
  • 10. (๔) ๕. เป้ าหมายและแผนการพัฒนา ๑. ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค์ และแผนดําเนินการ - การพัฒนาระบบการดําเนินการตามแผนปฏิบัติการประจําปี ๒. การผลิตบัณฑิต - - พัฒนาการเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา - พัฒนาบุคลากรสายวิชาการ - พัฒนาบุคลากรสายสนับสนุน ๓. การพัฒนานิสิต - พัฒนากิจกรรมนิสิต - พัฒ - การสร้างความเข ้มแข็งของศิษย์เก่า ๔. การวิจัย - - สนับสนุนและส่งเสริมงานวิจัย - การสร้างเครือข่ายและแหล่งทุนวิจัย - พัฒนาบุคลากรด ้านการวิจัย ๕. การบริการทางวิชาการแก่สังคม - การมีส่วนร่วมของชุมชน หรือองค์กรของรัฐ หรือเอกชน การร่วมมือในการบริการ วิชาการแก่สังคม - ๖. การทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม - ๗. การบริหารและการจัดการ - - ยง ๘. การเงินและงบประมาณ - นสมัย - - การแสวงหารายได ้และแหล่งงบประมาณ ๙. ระบบและกลไกการประกันคุณภาพ - พัฒนาระบบบริหารงานประกันคุณภาพ - พัฒนาบุคลากรด ้านการประกันคุณภาพ - สร้างวัฒนธรร - - การพัฒนาคุณภาพการศึกษาจากผลการประเมิน
  • 12. หนา ๑ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ ส่วน ๒ บทนํา ๑. วิทยาลัยสงฆ์เลย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๒. ง ๑๑๙ ๕ บ ้านท่าบุ่ง ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย รหัสไปรษณีย์ ๔๒๑๐๐ โทรศัพท์ ๐๔๒-๘๐๑๒๐๓, โทรสาร ๐๔๒-๘๐๑๒๖๘ Website : http://loei2.mcu.ac.th ๓. ประวัติความเป็ นมาโดยย่อ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งคณะสงฆ์ไทย เป็ นสถาบันการศึกษา งสมเด็จบรมบพิตร พระราชสมภารเจ ้า สมเด็จพระปรมินทร์รมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล ้า .ศ. ๒๔๓๒ "มหาธาตุวิทยาลัย" ใหม่ว่า "มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย" ๑๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๙ โดยมีพระราชประสงค์จะให ้เป็ นอนุสรณ์ เฉลิมพระเกียรติยศของพระองค์สืบไป ประเทศให ้มีความรู้ ความเข ้าใจวิชาการด ้านพระพุทธศาสนา สามารถนํามาประยุกต์ใช ้ในชีวิตประจําวัน มีความสามารถ ( ช ้อย ฐานทัตตมหาเถร) อธิบดีสงฆ์วัด ๕๗ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๐ มหาวิทยาลัย เปิดสอนร ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ และมี พัฒนาการตามลําดับ ในปีพ.ศ. ๒๕๒๑ ๑๐ ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๑ ๘/๒๕๔๑ ของสภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยให ้ยกฐานะศูนย์การศึกษาเลย เป็นวิทยาลัยสงฆ์จังหวัดเลย ในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ รัฐบาล โดยการนําของ ฯพณฯ พล.อ. เปรม ติณสูลานนท์ ได ้ดําเนินการ เสนอร่าง พระราชบัญญัติกําหนดวิทยฐานะ ผู้สําเร็จวิชาการพระพุทธศาสนา โดยรัฐสภาได ้ให ้ความเห็นชอบ และพระบาทสมเด็จ ๒๗ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๗ เป็ นต ้นมา พระเดชพระคุณพระสุนทรปริยัติเมธี (พระมหาพรหมา จนฺทโสภโณ)๑ ให ้ การศึกษาพระปริยัติธรรมแผนกธรรม-บาลี ๕ สิงหาคม ๒๕๓๗ สภาสงฆ์จังหวัดได ้ประชุมโดยมีพระสุนทรปริยัติเมธี เจ ้าคณะจังหวัดเลย หลักสูตรพุทธศาสตร บัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน วิชาเอกการสอนภาษาไทย ราม อําเภอเมือง จังหวัดเลย สังกัดวิทยาเขตขอนแก่น ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๓๘ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีมติให ้สภาสงฆ์จังหวัดเลยจัด การศึกษาระดับอุดมศึกษาได ้และให ้นิสิตรุ่นแรกจํานวน ๓๘ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๙ สภ วัดศรีวิชัยวนาราม ตําบลกุดป่ อง อําเภอเมือง จังหวัดเลย โดยมีพระสุนทรปริยัติเมธี ( ) เป็ นผู้ช่วย อธิการบดีประจําศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จังหวัดเลย ๒๗ สิงหาคม ๒๕๔๑ สภามหาวิทยาลัยมีมติให ้ยกฐานะศูนย์การศึกษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ “วิทยาลัยสงฆ์เลย” ๔. การก่อสร้างวิทยาลัยสงฆ์เลยแห่งใหม่ (จากศรีวิชัยสู่ศรีสองรัก) .ศ. ๒๕๔๘ พระมหาจักรพรรณ มหาวีโร รองผู้อํานวยการวิทยาลัยสงฆ์เลย พร้อมด ้วยคณะผู้บริหารใน
  • 13. หนา ๒ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ ขยายตัวของนิสิต/ โดยคณะผู้บริหารได ้ดําเนินการติดต่อ (โซน-อี) ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย ต่อสํานักงาน (สปก.-๔๐๑) จังหวัดเลย ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๙ ประธาน ๕ ตําบลศรีสอง ๕๐ ไร่ ๓ งาน ๗๖ ตารางวา ระยะห่างจาก กม.ศูนย์ ๑๓ กิโลเมตร โดยมีนาย และ เกษตรและสหกรณ์ ๓ กันยายน ๒๕๕๑ ๓/๒๕๕๑ อเกษตรกรรม กระทรวง โดยมีพระมหาลิขิต รตนรํสี รองผู้อํานวยการวิทยาลัยสงฆ์เลย และ ผศ.ดร. ๔ ธันวาคม ๒๕๕๑ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได ้ออก ๔๐๗/ ๒๕๕๑ ๑๑๙ หมู่ ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย ๒๕๕๒ ในวงเงิน ๑๙,๐๐๐,๐๐๐ บาท โดยได ้รับความเมตตาอนุเคราะห์จากเจ ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ ประธานคณะผู้ “อาคารสมเด็จพระพุฒาจารย์ ( อุปเสโณ)” ๒๔ มิถุนายน ๒๕๕๒ – ๑๙ มิถุนายน ๒๕๕๓ ๑๕ มิถุนายน ๒๕๕๓ ๑๑๙ หมู่ ๕ ตําบลศรีสองรัก อําเภอเมือง จังหวัดเลย เป็ นการถาวร ปรัชญา ปณิธาน วิสัยทัศน์ และพันธกิจ ตรามหาวิทยาลัย ๑. ปรัชญาของมหาวิทยาลัย จัดการการศึกษาพระพุทธศาสนาบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ พัฒนาจิตใจและสังคม ๒. ปณิธานของมหาวิทยาลัย สําหรับพระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ ๓. วิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัย ผลิตคนดีและเก่ง อย่างมีสมรรถภาพ จัดการศึกษาและวิจัยดีอย่างมีคุณภาพ บริการวิชาการดีอย่างมีสุขภาพ และบริหารดีอย่างมีประสิทธิภาพ ๔. พันธกิจของมหาวิทยาลัย ๑) ผลิตบัณฑิต ผลิตและพัฒนาบัณฑิตให ้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ๙ ด เป็ น ผู้นําด ้านจิตใจและปัญญา คุณธรรมและจริยธรรม ๒) วิจัยและพัฒนา การวิจัยและค ้นคว ้า เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ใน พระไตรปิฎก และจริยธรรมของสังคม คุณภาพงานวิชาการด ้านพระพุทธศาสนา ๓) ส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม ส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม กิจกรรมต่างๆ ให ้ประสานสอดคล ้อง ความเข ้าใจหลักคํา สอนทางพระพุทธศาสนา สร้างจิตสํานึกด ้านคุณธรรม จริยธรรมแก่ประชาชน
  • 14. หนา ๓ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ พัฒนาพระสงฆ์และบุคลากรทางศาสนา ให ้มีศักยภาพในการธํารงรักษา เผยแผ่หลักคําสอน และเป็ นแกนหลักในการ พัฒนาจิตใจในวงกว ้าง ๔) ทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม เสริมสร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ด ้านการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม และความภาคภูมิใจในความเป็นไทย ภาพ ๕. เอกลักษณ์มหาวิทยาลัย อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย และอัตลักษณ์บัณฑิต สภามหาวิทยาลัย มีมติอนุมัติให ้กําหนดเอกลักษณ์มหาวิทยาลัย อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย และอัตลักษณ์ ๗/๒๕๕๔ ๒๘ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๔ ๑. เอกลักษณ์มหาวิทยาลัย คือ “บริการวิชาการด ้านพระพุทธศาสนา” ๒. อัตลักษณ์มหาวิทยาลัย คือ “ ” ๓. อัตลักษณ์บัณฑิต คือ “ ” โครงสร้างการแบ่งส่วนงานและการบริหารระดับวิทยาเขต - สาขาวิชา หลักสูตรและกา - สาขาวิชาพระพุทธศาสนา - สาขาหลักสูตรและการ สอน - สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน - สาขาวิชา รัฐศาสตร์ - สาขาวิชารัฐศาสตร์ -- สาขาวิชา พระพุทธศาสนา - สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ - สาขาวิชาสังคมวิทยาและฯ - โครงการขยายห ้องเรียน จ.ร้อยเอ็ด - ศูนย์วิทยบริการจังหวัดมหาสารคาม - บัณฑิตวิทยาลัยห ้องเรียนวิทยาเขตขอนแก่น สภาวิทยาเขต รองอธิการบดี คณะอนุกรรมการบริหารบุคคล ประจําวิทยาเขต คณะกรรมการประจําวิทยา เขตผูชวยอธิการบดีฝายกิจการ ทั่วไป ผูชวยอธิการบดีฝายวิชาการ ที่ปรึกษารองอธิการบดี สํานักงานวิทยาเขต วิทยาลัยสงฆขอนแกนสํานักวิชาการ วิทยาลัยสงฆเลย - ฝายบริหารงานทั่วไป - ฝายคลังและพัสดุ - ฝายนโยบายและแผน - ฝายวิชาการและวิจัย - ฝายทะเบียนและวัดผล - ฝายหองสมุดและ เทคโนโลยีสารสนเทศ - ฝายบริหารงานทั่วไป - ฝายวางแผนและวิชาการ - ฝายบริหารงานทั่วไป - ฝายวางแผนและวิชาการ
  • 15. หนา ๔ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ โครงสร้างการบริหารงานวิทยาลัยสงฆ์เลย - - - สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน - - กิจการนิสิต - สาขาวิชารัฐศาสตร์ -นักการภารโรง - ทะเบียนและวัดผล - สาขาวิชาพระพุทธศาสนา - - สนเทศ - พนักงานขับรถ - แม่บ ้าน - คนสวน ด้านการบริหาร คณะกรรมการประจําวิทยาลัยสงฆ์ ภายใน วิทยาลัยสงฆ์เลย ประกอบด ้วย ๑. พระมหาภิรัฐกรณ์ อํสุมาลี ประธานกรรมการ ๒. พระมหาลิขิต รตนรํสี รองประธานกรรมการ ๓. พระมหาสังเวช จนฺทโสภี กรรมการโดยตําแหน่ง ๔. พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺโต กรรมการโดยตําแหน่ง ๕. พระครูนิมิตวชิราภรณ์ กรรมการจากคณาจารย์ประจํา ๖. นายธงชัย สิงอุดม กรรมการจากคณาจารย์ประจํา ๗. ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ กรรมการจากคณาจารย์ประจํา ๘. ดร.ชาญชัย ฮวดศรี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ๙. ดร.วิทยา ทองดี กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ๑๐. นายประจวบ ศีลธรรม กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ๑๑. นายกวุฒิโชติ ทองสมบัติ กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ๑๒. พันเอกพิชิต สัตถาผล กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ ๑๓. พระมหาสุภวิชญ์ ปภสฺสโร กรรมการและเลขานุการ ผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆ เลย รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลยเลย(ฝาย บริหาร) ฝายบริหารงานทั่วไป ฝายวางแผนและวิชาการ สาขาวิชา รองผูอํานวยการวิทยาลัยสงฆเลยเลย(ฝาย วิชาการ)
  • 16. หนา ๕ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ ตาราง ๒๕๕๕ จําแนกตามสาขาวิชา สาขาวิชา ปริญญาตรี หมายเหตุ ๑. .สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน - การสอนภาษาไทย ๑ พุทธศาสตรบัณฑิต บรรพชิต/ คฤหัสถ์ ๒. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา - วิชาเอกพระพุทธศาสนา ๑ พุทธศาสตรบัณฑิต บรรพชิต ๓. สาขาวิชารัฐศาสตร์ - วิชาเอกการปกครอง ๑ พุทธศาสตรบัณฑิต บรรพชิต/ คฤหัสถ์ หลักสูตรประกาศนียบัตร - ประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.)*** ๑ ประกาศนียบัตร บรรพชิต ** หลักสูตรสูงกว่าปริญญาตรี ( : ฝ่ ายทะเบียนและ วัดผล) *** จํานวนนิสิต ปี การศึกษา ๒๕๕๕ ตาราง แสดง ๑ – ๔ แยกตามคณะ/สาขาวิชาเอก ประจําปีการศึกษา ๒๕๕๕ คณะ/สาขาวิชา ปี การศึกษา ๒๕๕๕ ปี ๑ ปี ๒ ปี ๓ ปี ๔ ปี ๕ รวม คณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๓๗ ๓๗ ๓๖ ๓๑ ๑๔๑ คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ๕๗ ๔๐ ๑๐ ๘ ๗ ๑๒๒ คณะสังคมศาสตร์ สาขาวิชาการเมืองการปกครอง (บรรพชิต) ๑๘ ๑๐ ๗ ๑๐ ๔๕ สาขาวิชารัฐศาสตร์ วิชาเอกการ ปกครอง(คฤหัสถ์) ๖๕ ๗๑ ๕๓ ๑๗๙ ๑๖๗ ๑๒๑ ๑๐๖ ๔๙ ๗ ๔๘๗ ( : งานทะเบียนและวัดผล) ตาราง แสดงจํานวนนิสิตแยกเป็นสาขาวิชา ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ หลักสูตร /สาขาวิชา ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ๑ พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย ๑๒๒ รูป/คน ๒ พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๑๔๑ รูป ๓ พุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ ๒๒๔ รูป/คน รวม ๔๘๗ รูป/คน ๒๕๕๕ ตารางแสดง ๒๕๕๕ สาขาวิชา จํานวน ๑. สาขาวิชาพระพุทธศาสนา(วิชาเอกพระพุทธศาสนา) ๔๕ ๒. สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน(วิชาเอกการสอนภาษาไทย) ๑ ๓. สาขาวิชารัฐศาสตร์(วิชาเอกการปกครอง) - บรรพชิต ๑๓ - คฤหัสถ์ ๒๓ รวม ๘๒ หลักสูตรประกาศนียบัตร - ประกาศนียบัตรการบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.) ๓๒ รวม ๓๒ บุคลากรของวิทยาลัยสงฆ์เลย ปี การศึกษา ๒๕๕๕
  • 17. หนา ๖ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ ตาราง แสดงจํานวนบุคลากร ปีการศึกษา ๒๕๕๕ บุคลากร จํานวน/รูป-คน ๑ สายอาจารย์ ๑๕ ๒ สายปฏิบัติการวิชาชีพ ๑๗ รวม ๓๒ ตาราง แสดงบุคลากรปี พ.ศ.๒๕๕๕ จําแนกตามตําแหน่งและวุฒิการศึกษา ตําแหน่ง จํานวน จําแนกตามคุณวุฒิการศึกษา . ตรี ป.ตรี ป.โท ป.เอก ตําแหน่งวิชาการ สายอาจารย์ ๑๕ - ๑๐ ๕ ๑ สายปฏิบัติการวิชาชีพ ๑๗ ๗ ๘ ๒ ( : ฝ่ ายวางแผนและวิชาการ) ตาราง แสดงจํานวนบุคลากร ประจําปี ๒๕๕๕ จําแนกตามประเภทบรรจุ-ลูกจ ้าง บุคลากร จํานวน ๑. อาจารย์ประจํา ๑๕ ๒. ๑ ๓. ๑๕ ( : ฝ่ ายวางแผนและวิชาการ)
  • 18. หนา ๗ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ บุคลากรวิทยาลัยสงฆ์เลย ตาราง แสดงตําแหน่ง จํานวน เลขประจํา ตําแหน่ง -ฉายา/นามสกุล ว/ด/ป/บรรจุ สายวิชาการ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน(การสอนภาษาไทย) ๗๘๔ อาจารย์/หน.สว.ภาษาไทย พระมหาสังเวช จนฺทโสภี,ดร. ,ผศ. ๑๖ พ.ค.๒๕๔๙ ๓ ๗๑๙ อาจารย์ พระมหาลิขิต รตนรํสี ๒ พ.ค.๒๕๔๘ ๑๐ - อาจารย์ พระสุบรรณ จนฺทสุวณฺโณ ลูกจ ้าง ๑๓ - อาจารย์ พระมหาจินดา ถีรเมธี ลูกจ ้าง ๑๕ - อาจารย์ พระสุคํา ถิรจิตฺโต ลูกจ ้าง สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ๔ ๗๘๓ อาจารย์/หน.สว. พระพุทธศาสนา พระมหาสุภวิชญ์ ปภสฺสโร ๑๖ พ.ค.๒๕๔๙ ๑ ๗๙๓ อาจารย์ พระมหาภิรัฐกรณ์ อํสุมาลี ๑ พ.ค.๒๕๕๔ ๑๑ - อาจารย์ พระมหาธานินทร์ อาทิตวโร, ดร. ลูกจ ้าง ๑๒ - อาจารย์ พระบุญเพ็ง วรธมฺโม, ดร. ลูกจ ้าง ๒ ๔๕๙ อาจารย์ ผศ.ดร.จักรพรรณ วงศ์พรพวัณ ๒ ๒ มิ.ย.๒๕๔๗ สาขาวิชารัฐศาสตร์ ๖ ๗๑๘ อาจารย์/หน.สว.รัฐศาสตร์ พระไพรเวศน์ จิตฺตทนฺโต ๑ เม.ย.๒๕๕๑ ๙ - อาจารย์ ลูกจ ้าง ๑ ๘๖๘ อาจารย์ นายธงชัย สิงอุดม ๑ ส.ค.๒๕๓๔ ๘ - อาจารย์ ดร.ชาลภณ วงศ์คง ลูกจ ้าง ๑๔ - อาจารย์ นางสาวอาภาภรณ์ เลิศไผ่รอด ลูกจ ้าง ๒ ๔๘๐ นายประสงค์ หัสรินทร์ ๒ พ.ค.๒๕๔๘ ๑ - นางสาวยาติมา วงค์อินทร์ ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕ ๒ - นายศราวุธ สารพิมพา ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕ ๓ - นางสาวมุทิตา โลขันสา ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕ ๙ - นายเจียระไน แจ ้งกระจ่าง ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕ ๑๐ - ในโรงเรียน นายนพพล ทองพูล ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕ ๑๑ - นางมัทนาวดี แจ ้งกระจ่าง ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕ ๑๒ - นางสาวทัศนีย์ ราชูโส ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕ ๑๓ - วัดผล นางสาวภัทราวดี กินรีสี ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕ ๑๔ - ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕ ๑๕ - สารสนเทศ นายพัทธนันท์ นวลน้อย ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕ ๔ - นักการภารโรง นายสุระชัย อุปัญญา ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕ ๕ - นักการภารโรง นายสัญญา ปิตุโส ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕ ๖ - พนักงานขับรถ นายต่อ ผิวสิริ ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕ ๗ - แม่บ ้าน นางอรพิน รักแม่ ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕ ๘ - คนสวน นายเสด็จ พรมพุทธา ๑ ต.ค.๕๔– ๓๐ก.ย.๕๕ งบประมาณ ตาราง แสดงงบประมาณรายได ้และหมวดรายจ่าย ประจําปี ๒๕๕๕ หมวดงบประมาณ งบประมาณปี ๒๕๕๕ ๑. หมวดรายได้ ๑.๑ รายได ้จากเงินงบประมาณ ๒๓,๒๗๐,๕๖๐ ๑.๒ รายได ้จากการจัดการศึกษา ๓,๐๕๘,๙๕๐
  • 19. หนา ๘ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ หมวดงบประมาณ งบประมาณปี ๒๕๕๕ ๑.๓ รายได ้จากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย ๑.๔ รายได ้จากการบริจาค ๑.๕ รายได ้จากการให ้บริการวิชาการ ๖,๑๖,๑๙๑.๔๓ ๑.๖ ๗๘,๘๑๗.๗๘ ๑.๗ ๑.๘ ๑๕๑,๑๒๕ รวมรายได้ ๒๗,๑๗๕,๖๔๔.๒๑ ๒. หมวดค่าใช้จ่าย ๒.๑ ค่าใช ้จ่ายด ้านบุคลากร ๒,๔๙๑,๕๘๐ ๒.๒ ค่าใช ้จ่ายในการดําเนินงาน ๓,๓๓๙,๗๗๒.๔๒ ๒.๓ เงินอุดหนุนโครงการสนับสนุนการศึกษา ๗๒๙,๙๖๐ ๒.๔ เงินสําหรับพัฒนาคณาจารย์ ๒๒๕,๐๐๐ ๒.๕ เงินสําหรับพัฒนาบุคลากรสายปฏิบัติการ ๒.๖ ๑,๔๒๓,๐๗๑.๒๓ ๒.๗ ๒.๘ เงินอุดหนุนวิทยาเขต วิทยาลัยสงฆ์ห ้องเรียน รวมค่าใช้จ่าย ๘,๒๐๙,๓๘๓.๖๕ รายได้สูงกว่าค่าใช้จ่าย ๑๘,๙๖๖,๒๖๐.๕๖ ๓.ค่าใช้จ่ายในงบลงทุน - ค่าครุภัณฑ์ ๒,๙๒๙,๓๐๐ - รวมค่าใช้จ่าย ๔. สินทรัพย์ถาวร ๔.๑ ๔.๒ ค่าครุภัณฑ์ รวมสินทรัพย์ - - ค่าครุภัณฑ์ รวมสินทรัพย์ ( : ฝ่ ายการเงินและบัญชี) ตาราง อาคาร (ตร.ม.) ๑ อาคารเรียน ๑,๓๘๐ ๒ อาคารสํานักงาน ๑๙๒ ๓ อาคารโรงอาหาร ๑๔๔ ๔ ๓๐ ๕ อาคารสถานีวิทยุ ๖๕ ๖ อาคารบรรณาคาร ๙๖ ทรัพยากรสารสนเทศ ตาราง แสดงทรัพยากรสารสนเทศ ประเภท ปี ๒๕๕๔ ปี ๒๕๕๕ หนังสือตําราภาษาไทย ๖,๑๗๙ ๗,๒๖๒ หนังสือตําราภาษาอังกฤษ ๘๐๐ ๘๐๐ วารสารภาษาไทย ๔๐ ๔๕ งานวิจัย ๕๗ ๕๗ วิทยานิพนธ์ ๒๖ ๒๖ ๙๘ ๙๘ ( : ฝ่ ายห ้องสมุดและเทคโนโลยี)
  • 21. ๑๑ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ สวนที่ ๓ ผลการประเมินตามตัวบงชี้ องคประกอบที่ ๑ ปรัชญา ปณิธาน วัตถุประสงค และแผนดําเนินการ ตัวบงชี้ที่ ๑.๑ กระบวนการพัฒนาแผน(สกอ. ๑.๑) ชนิดของตัวบงชี้ กระบวนการ ชวงเวลาขอมูล ปการศึกษา เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน ๑. มีการจัดทําแผนพัฒนาที่ สอดคลองกับนโยบายของสภา มหาวิทยาลัย โดยการมีสวนรวม ของบุคลากร ในมหาวิทยาลัย และไดรับความเห็นชอบจากสภา มหาวิทยาลัย โดยเปนแผนที่ เชื่อมโยงกับปรัชญาหรือปณิธาน และพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ตลอดจนสอดคลองกับจุดเนน ของกลุมสถาบัน กรอบแผน อุดมศึกษาระยะยาว ๑๕ ป ฉบับ ที่ ๒ (พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๖๕) และแผนพัฒนาการศึกษา ระดับอุดมศึกษาฉบับที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) วิทยาลัยสงฆเลย ดําเนินการจัดทํา แผนพัฒนามหาวิทยาลัยในชวงแผนพัฒนา การศึกษาระดับอุดมศึกษาระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕–๒๕๕๙)โดยมีปรัชญา “จัดการศึกษา พระพุทธศาสนาบูรณาการกับศาสตร สมัยใหมพัฒนาจิตใจและสังคม” สอดคลอง กับนโยบายของสภามหาวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลยมีกระบวนการสรางการ มีสวนรวมของบุคลากรในการจัดทําแผน พัฒนาฯ จัดทํารางแผน ยึดพันธกิจหลักของ มหาวิทยาลัย นํามาจําแนกเปนยุทธศาสตร กลยุทธและตัวชี้วัดในการดําเนินงาน เสนอ คณะกรรมการวิทยาลัยสงฆเลยพิจารณา หลังจากนั้น รวบรวมขอมูลมาวิเคราะห จัดทํารางแผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย เสนอ คณะกรรมการวิทยาลัยสงฆเลยพิจารณา และประกาศใชเปนแนวทางในการ ดําเนินงานของวิทยาลัยสงฆเลย วิทยาลัยสงฆเลยมีกระบวนการทบทวน แผนพัฒนาโดยวิเคราะหความสอดคลองของ แผนพัฒนากับปรัชญาหรือปณิธานและ พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง กรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ วิทยาลัยสงฆเลยมีการวิเคราะหความ สอด คลองของแผนพัฒนากับจุดเนนของ สถาบัน มียุทธศาสตรการผลิตบัณฑิตที่ รองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ดาน ๑.๑.๑-๑ แผนพัฒนาวิทยาลัย สงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ๑.๑.๑-๒ คําสั่งแตงตั้ง คณะกรรมการจัดทํา แผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ๑.๑.๑-๓ พระราชบัญญัติ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ ๑.๑.๑-๔ นโยบายวิทยาลัย ปรัชญา ปณิธาน
  • 22. ๑๒ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน ประชากร สิ่งแวดลอม การจัดการความ ขัดแยง และการขัดเกลาเยาวชนใหเปน บัณฑิตที่มีคุณภาพในอนาคต นอกจากนี้ยังมี วัตถุประสงคในการพัฒนาไปพรอมกับการ ดํารงคุณคาทางศาสนาและวัฒนธรรม ทองถิ่น นอกจากนี้วิทยาลัยสงฆเลยยังไดวิเคราะห ผ ล ก า ร ดํ า เ นิ น ง า น ที่ ผ า น ม า แ ล ะ สภาพแวดลอมในปจจุบัน(SWOT) เพื่อ นํ า ไ ป สู ก า ร จั ด ทํ า ร า ง แ ผ น พั ฒ น า มหาวิทยาลัยระยะที่ ๑๑(พ.ศ.๒๕๕๕– ๒๕๕๙) โดยเนนการมีสวนรวมของบุคลากร ๒. มีการถายทอดแผนพัฒนา ระดับมหาวิทยาลัยไปสูทุกสวน งานภายใน วิทยาลัยสงฆเลย จัดประชุมคณาจารย และเจาหนาที่วิทยาลัยสงฆเลย เพื่อชี้แจงทํา ความเขาใจวิสัยทัศน กลยุทธ และเปาหมาย แผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ระยะ ๑๑ และ ปรับปรุงแผนและกําหนดภาระงานให สอดคลองกับแผนพัฒนามหาวิทยาลัย นําแผนพัฒนามหาวิทยาลัยเผยแพรเปน เอกสารและทางเว็บไซต ๑.๑.๒-๑ รายงานการประชุม ชี้แจงวิสัยทัศน กลยุทธ เปาหมายตอบุคลากร ๑.๑.๒-๒ เอกสารแบงภาระ งานคณาจารย เจาหนาที่ วิทยาลัยสงฆ ๑.๑.๒-๓ เขาถึงเว็บไซต http://loei2.mcu.ac.th ๑.๑.๒-๔ หลักฐานการ มอบหมายภาระงาน ๓. มีกระบวนการแปลง แผนพัฒนาฯเปนแผนปฏิบัติการ ประจําปครบ ๔ พันธกิจ คือ ดานการเรียนการสอน การวิจัย การบริการทางวิชาการ และการ ทํานุบํารุงศิลปะและวัฒนธรรม วิทยาลัยสงฆเลยมีกระบวนการจัดทํา แผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ระยะ ๑๑ โดย จัดทําแผนที่กลยุทธ (strategic map) เพื่อ ชวยในการแปลงแผนพัฒนาไปสูแผนปฏิบัติ การประจําป๒๕๕๕ ทั้ง ๔ พันธกิจ คือ ดาน การเรียนการสอน การวิจัย การบริการทาง วิชาการ และการทํานุบํารุงศิลปะและ วัฒนธรรม ๑.๑.๓-๑ แผนพัฒนาวิทยาลัย สงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) แผนที่กล ยุทธ (strategic map) หนา ๘๘ – ๙๐ ๑.๑.๓-๒ รายงานผลการ วิเคราะหความสอดคลอง ระหวางแผนพัฒนาวิทยาลัย สงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (หนา ๙๑ –๙๖) กับแผนปฏิบัติการ ประจําป ๒๕๕๕ ๑.๑.๓-๓ แผนปฏิบัติการ ประจําป ๒๕๕๕
  • 23. ๑๓ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน ๔. มีตัวบงชี้ของแผนพัฒนา แผนปฏิบัติการประจําป และคา เปาหมายของแตละตัวบงชี้ เพื่อ วั ด ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ข อ ง ก า ร ดําเนินงานตามแผนพัฒนาและ แผนปฏิบัติการประจําป มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ไดกําหนดตัวบงชี้ และคาเปาหมายของแตละตัวบงชี้ของ แผนพัฒนา และมีการชี้แจงวิสัยทัศน กล ยุทธ เปาหมายแผนพัฒนาวิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ๑.๑.๔-๑ แผนพัฒนาวิทยาลัย สงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) หนา ๔๐ – ๗๘ ๑.๑.๔-๒ แผนปฏิบัติการ ประจําป ๒๕๕๕ ๕. มีการดําเนินงานตาม แผนปฏิบัติการประจําปครบ ๔ พันธกิจ วิทยาลัยสงฆเลย มีการดําเนินงานตาม แผนปฏิบัติการประจําปครบทั้ง ๔ พันธกิจ ดังนี้ ๑. ดานการเรียนการสอน ๒. ดานการวิจัย ๓. ดานการบริการวิชาการ ๔. ดานการทํานุบํารุงศิลปวัฒนธรรม ๑.๑.๕-๑ แผนการปฏิบัติการ ประจําป ๒๕๕๕ ๑.๑.๕.๒ ปฏิทินการ ดําเนินการตามแผน (แผนปฏิบัติการประจําป งบประมาณ ๒๕๕๕ (หนา ๑๔) ๑.๑.๕-๓ รายงานประจําป ๒๕๕๕ ๖ . มี ก า ร ติ ด ต า ม ผ ล ก า ร ดําเนินงานตามตัวบงชี้ของ แผนปฏิบัติการประจําป อยาง นอยปละ ๒ ครั้ง และรายงานผล ตอผูบริหารเพื่อพิจารณา วิทยาลัยสงฆเลยไดกําหนดใหฝาย วางแผนและวิชาการเปนผูรับผิดชอบในการ ติดตามผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ใน แผนปฏิบัติการประจําปของสวนงานตางๆ โดยกําหนดใหมีการติดตามผลทุก ๖ เดือนมี การประชุมเพื่อติดตามผลการดําเนินงาน และมีการรายงานผลการบรรลุเปาหมายของ แตละตัวบงชี้ของแผนปฏิบัติการประจําป ๑.๑.๖-๑ รายงานประจําป ๒๕๕๕ ๑.๑.๖-๒ รายงานการประชุม ผูบริหาร คณาจารย ๗. มีการประเมินผลการ ดําเนินงานตามตัวบงชี้ของ แผนพัฒนา อยางนอยปละ ๑ ครั้งและรายงานผลตอผูบริหาร และสภามหาวิทยาลัยเพื่อ พิจารณา วิทยาลัยสงฆเลยแตงตั้งคณะกรรมการ ประเมินผลแผนพัฒนาวิทยาลัย เพื่อ ประเมินผลการดําเนินงานตามตัวบงชี้ของ แผนพัฒนา โดยดําเนินการรวบรวมขอมูล ประกอบการประเมินจากสวนงานตาง ๆ จําแนกตามยุทธศาสตร กลยุทธและตัวชี้วัด ทั้ง๕ ยุทธศาสตร ผลการประเมินแผนพัฒนา ไดนําเขาสูที่ประชุมคณะกรรมการวิทยาลัย เพื่อพิจารณาใหขอเสนอแนะ ๑.๑.๗-๑ รายงานประจําป ๒๕๕๕ ๑.๑.๗-๒ รายงานการประชุม คณะกรรมการประจํา วิทยาลัยสงฆเลย ๘. มีการนําผลการพิจารณา ขอคิดเห็น และขอเสนอแนะของ สภามหาวิทยาลัยไปปรับปรุง คณะกรรมการจัดทําแผนพัฒนาวิทยาลัย สงฆเลยนําขอเสนอแนะของคณะกรรมการ วิทยาลัยสงฆเลย ไปปรับปรุงแผนพัฒนา ๑.๑.๘-๑ รายงานการประชุม คณะกรรมการประจํา วิทยาลัยสงฆเลย
  • 24. ๑๔ เกณฑมาตรฐาน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน แผนพัฒนาและแผนปฏิบัติการ ประจําป วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ และ แผนปฏิบัติการประจําป ๑.๑.๘-๒ แผนพัฒนา วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒๕๕๕ – ๒๕๕๙) ๑.๑.๘-๓ แผนปฏิบัติการ ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๖ เกณฑการประเมิน การประเมินตนเอง คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ มีการดําเนินการ ๑ ขอ มีการดําเนินการ ๒หรือ ๓ ขอ มีการดําเนินการ ๔ หรือ ๕ ขอ มีการดําเนินการ ๖ หรือ ๗ ขอ มีการดําเนินการ ๘ ขอ เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย ๖ ขอ ๘ ขอ ๕ คะแนน บรรลุเปาหมาย
  • 25. ๑๕ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ ตัวบงชี้ที่ ๑.๒ ผลการบริหารสถาบันใหเกิดอัตลักษณ(สมศ. ๑๖.๑) ชนิดของตัวบงชี้ ผลผลิต/ผลกระทบ ชวงเวลาขอมูล ปการศึกษา เกณฑการประเมิน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน ๑.มีการกําหนดกลยุทธและแผนการ ปฏิบัติงานที่สอดคลองกับอัตลักษณ ของมหาวิทยาลัย โดยไดรับการ เห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย ๒. มีการสรางระบบการมีสวน รวมของผูเรียนและบุคลากรใน การปฏิบัติตามกลยุทธที่กําหนด อยางครบถวนสมบูรณ ๓. ผลการประเมินของผูเรียน และบุคลากรเกี่ยวกับการ ปฏิบัติงานของมหาวิทยาลัยที่ สอดคลองกับอัตลักษณไมต่ํากวา ๓.๕๑ จากคะแนนเต็ม ๕ ๔. ผลการดําเนินงานกอใหเกิด ผลกระทบที่เปนประโยชนและ/ หรือสรางคุณคาตอสังคม ๕. ผูเรียน/บุคลากร/คณะ/ สถาบัน ไดรับการยกยองใน ระดับชาติและ/หรือนานาชาติ ใน ประเด็นที่เกี่ยวกับอัตลักษณ เกณฑการใหคะแนน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ปฏิบัติได ๑ ขอ ปฏิบัติได ๒ ขอ ปฏิบัติได ๓ ขอ ปฏิบัติได ๔ ขอ ปฏิบัติได ๕ ขอ การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย ๔ ขอ ไมประเมิน
  • 26. ๑๖ ตัวบงชี้ที่ ๑.๓ ผลการพัฒนาบัณฑิตตามอัตลักษณ (สมศ. ๑๖.๒) ชนิดของตัวบงชี้ ผลผลิต/ผลกระทบ ชวงเวลาขอมูล ปการศึกษา เกณฑการใหคะแนน ผลรวมของคาคะแนนที่ไดจากการประเมินบัณฑิตที่มีคุณลักษณะตามอัตลักษณ หารดวยจํานวนบัณฑิตที่ไดรับการประเมินทั้งหมด ขอมูลพื้นฐาน จํานวน รอยละ เอกสาร/หลักฐาน ๑. ผลรวมของคาคะแนนที่ไดจากการประเมินบัณฑิต ๒,๔๕๔ ๑๐๐.๐ ๑.๓.๑-๑ การติดตามพุทธ ศาสตรบัณฑิตที่สําเร็จ การศึกษาจากมหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาสงฆเลย ป ๒๕๕๕ ๑.๓.๑-๒ แบบสอบถามการ วิจัยติดตามพุทธศาสตร บัณฑิต ป ๒๕๕๕ ๑.๓.๑-๓ สูจิบัตรรับ ปริญญา ป ๒๕๕๕ ๒. จํานวนบัณฑิตที่ไดรับการประเมิน ๖๗ ๘๑.๗๐ ๓. จํานวนบัณฑิตที่จบการศึกษาทั้งหมด(ป ๒๕๕๕) ๘๒ ๑๐๐.๐ ๔. คาเฉลี่ยของคะแนนการประเมินบัณฑิต ๔.๑๘ ๘๒.๔๐ การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย ๓.๕๑ ๔.๑๘ ๕ คะแนน บรรลุ
  • 27. ๑๗ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ ตัวบงชี้ที่ ๑.๔ ผลการพัฒนาตามจุดเนนและจุดเดนที่สงผลสะทอนเปนเอกลักษณของ มหาวิทยาลัย(สมศ. ๑๗) ชนิดของตัวบงชี้ ผลผลิต/ผลกระทบ ชวงเวลาขอมูล ปการศึกษา เกณฑการประเมิน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน ๑.มีการกําหนดกลยุทธการปฏิบัติงานที่สอดคลองกับ จุดเนน จุดเดน หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของ มหาวิทยาลัยโดยไดรับความเห็นชอบจากสภา มหาวิทยาลัย ๒. มีการสรางระบบการมีสวนรวมของผูเรียนและ บุคลากรในการปฏิบัติตามกลยุทธที่กําหนดอยาง ครบถวนสมบูรณ ๓. ผลการประเมินความพึงพอใจของบุคลากรที่ เกี่ยวกับการดําเนินการตามจุดเนน และจุดเดน หรือ ความเชี่ยวชาญเฉพาะของมหาวิทยาลัยไมต่ํากวา ๓.๕๑ จากคะแนนเต็ม ๕ ๔.ผลการดําเนินงานบรรลุตามจุดเนน จุดเดน หรือ ความเชี่ยวชาญเฉพาะของมหาวิทยาลัยและเกิดผล กระทบที่เกิดประโยชนและสรางคุณคาตอสังคม ๕. ผูเรียน/บุคลากร/คณะ/มหาวิทยาลัยมีเอกลักษณ ตามจุดเนน จุดเดน หรือความเชี่ยวชาญเฉพาะที่ กําหนด และไดรับการยอมรับในระดับชาติและ/หรือ นานาชาติ เกณฑการประเมิน คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ มีการดําเนินการ ๑ ขอ มีการดําเนินการ ๒ ขอ มีการดําเนินการ ๓ ขอ มีการดําเนินการ ๔ ขอ มีการดําเนินการ ๕ ขอ การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย ไมประเมิน
  • 28. ๑๘ วิเคราะหจุดแข็งและจุดที่ควรพัฒนา องคประกอบที่ ๑ จุดแข็ง วิทยาลัยสงฆเลยผลิตบัณฑิตเปนไปตามปรัชญา ปณิธานและวัตถุประสงคของมหาวิทยาลัย และ มี เอกลักษณตามจุดเนน คือการบริการวิชาการทางพระพุทธศาสนาแกสังคมที่ไดรับการยอมรับ จุดที่ควรพัฒนา การบริการวิชาการทางพระพุทธศาสนาแกสังคมที่ไดรับการยอมรับในระดับภูมิภาค ระดับชาติและ นานาชาติ แนวทางเสริมจุดแข็งและปรับปรุงจุดที่ควรพัฒนา ๑. ควรพัฒนาทักษะอาจารยและนิสิต เพื่อสนับสนุนการบริการวิชาการดานพระพุทธศาสนา โดย บรรจุไวในแผนซึ่งระบุผูรับผิดชอบและระยะเวลาไวอยางชัดเจน ๒. ควรสนับสนุนการมีสวนรวมของบุคลากรในการปฏิบัติตามกลยุทธที่กําหนดไวเพื่อใหครอบคลุม และสามารถนําไปสูการปฏิบัติของบุคลากรอยางเปนรูปธรรม
  • 29. ๑๙ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ องคประกอบที่ ๒ การผลิตบัณฑิต ตัวบงชี้ที่ ๒.๑ ระบบและกลไกการพัฒนาและบริหารหลักสูตร (สกอ.๒.๑) ชนิดของตัวบงชี้ กระบวนการ ชวงเวลาขอมูล ปการศึกษา เกณฑการประเมิน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน ๑. มีระบบและกลไกการ เปดหลักสูตรใหมและ ปรับปรุงหลักสูตรตาม แนวทางปฏิบัติที่กําหนด โดยคณะกรรมการการ อุดมศึกษา และดําเนินการ ตามระบบที่กําหนด วิทยาลัยสงฆเลยมีระบบและกลไกการเปด หลักสูตรใหม สอดคลองกับแนวทางการปฏิบัติที่ กําหนดโดยคณะกรรมการการอุดมศึกษา และ ตาม ประกาศมหาวิทยาลัย เรื่อง ขั้นตอนในการเปดและ ปดหลักสูตร พุทธศักราช ๒๕๕๔ ในการปรับปรุงหลักสูตร วิทยาลัยสงฆเลยได ดําเนินรวมกับมหาวิทยาลัยในสวนกลาง ตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๒.๑.๑-๑ ประกาศ มหาวิทยาลัย เรื่อง ขั้นตอนใน การเปดและปดหลักสูตร พุทธศักราช ๒๕๕๔ ๒.๑.๑-๒ แผนภูมิขั้นตอนการ เสนอเปดหลักสูตร ๒.๑.๑-๓ โครงการเปด หลักสูตรพุทธศาสตร มหาบัณฑิต สาขา พระพุทธศาสนา ๒.๑.๑-๔ พ.ร.บ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๔๐ ๒.๑.๑-๕ คําสั่งแตงตั้ง คณะกรรมการประจํา หลักสูตร ๒.๑.๑-๖ รายงานการประชุม คณะกรรมการประจํา วิทยาลัยสงฆเลยขออนุมัติเปด หลักสูตร ๒.๑.๑-๗ ประกาศ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ราชวิทยาลัย เรื่อง อนุมัติให เปดหลักสูตรพุทธศาสตร มหาบัณฑิต สาขา พระพุทธศาสนา
  • 30. ๒๐ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ เกณฑการประเมิน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน ๒. มีระบบและกลไกการ ปดหลักสูตรตามแนวทาง ป ฏิ บั ติ ที่ กํ า ห น ด โ ด ย ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ก า ร อุดมศึกษา และดําเนินการ ตามระบบที่กําหนด วิทยาลัยสงฆเลยมีระบบและกลไกการปด หลักสูตรตามแนวทางปฏิบัติที่กําหนดโดย คณะกรรมการการอุดมศึกษา และประกาศ มหาวิทยาลัย เรื่อง ขั้นตอนในการเปดและปด หลักสูตร พุทธศักราช ๒๕๕๔ ๒.๑.๒-๑ ประกาศ มหาวิทยาลัย เรื่อง ขั้นตอนใน การเปดและปดหลักสูตร พุทธศักราช ๒๕๕๔ ๒.๑.๒-๒ แผนภูมิขั้นตอนการ เสนอปดหลักสูตร ๒.๑.๒-๓ พ.ร.บ มหาวิทยาลัย มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ.๒๕๔๐ ๓. ทุกหลักสูตรมีการ ดําเนินงานใหเปนไปตาม เกณฑมาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา และกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิ ระดับ อุดมศึกษาแหงชาติ (การ ดําเนินงาน ตามกรอบมาตร ฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษา แหงชาติ หมายถึงตองมีการ ประเมินผลตาม“ตัวบงชี้ผล การดําเนินงานตามประกาศ มาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือ สาขาวิชา เพื่อการประกัน คุณภาพหลักสูตรและการ เรียนการสอน” กรณีที่ หลักสูตรใดยังไมมีประกาศ มาตรฐานคุณวุฒิสาขาหรือ สาขาวิชาใหประเมินตามตัว บงชี้กลางที่กําหนด)สําหรับ หลักสูตรสาขาวิชาชีพตอง ไดรับการรับรองหลักสูตรจาก สภาหรือองคกรวิชาชีพที่ เกี่ยวของดวย (หมายเหตุ:สําหรับหลักสูตร เกาหรือหลักสูตรปรับปรุงที่ ยังไมไดดําเนินการตามกรอบ มาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดม ศึกษาแหงชาติ กอนปการ วิทยาลัยสงฆเลย เปดการเรียนการสอนจํานวน ๓ หลักสูตร คือสาขาวิชาการสอนภาษาไทย สาขาวิชา รัฐศาสตร และสาขาวิชาพระพุทธศาสนา ทุกหลักสูตรมีการดําเนินงานใหเปนไปตามเกณฑ มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษาและกรอบมาตรฐาน คุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ ๒.๑.๓-๑ หลักสูตรระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยมหา จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๕๕ ๒.๑.๓-๒ มคอ.๒ ๒.๑.๓-๓ มคอ.๓ ๒.๑.๓-๔ มคอ.๕ ๒.๑.๓-๕ มคอ.๗ ๒.๑.๓-๖ มคอ.๔
  • 31. ๒๑ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ เกณฑการประเมิน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน ศึกษา ๒๕๕๕ ใหยึดตาม เกณฑมาตรฐาน หลักสูตร ระดับอุดม ศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘) ๔. มีคณะกรรมการรับ ผิดชอบควบคุมกํากับใหมี การดําเนินการไดครบถวน ทั้งขอ ๑ ขอ ๒ และ ขอ ๓ ขางตนตลอดเวลาที่จัด กา ร ศึ กษา แล ะมี กา ร ประเมิน หลักสูตรทุก หลักสูตรอยางนอยตาม กรอบเวลาที่กําหนดใน เกณฑมาตรฐานหลักสูตรฯ กรณีหลักสูตรที่ดําเนินงาน ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ จะตองควบคุมกํากับใหการ ดําเนินงานตามตัวบงชี้ใน ขอ ๓ ผานเกณฑการ ประเมิน ๕ ขอแรกและ อยางนอยรอยละ ๘๐ ของ ตัวบงชี้ที่กําหนดในแตละป ทุกหลักสูตร ทุกห ลักสู ตรของวิ ทยา ลัย ส งฆเ ลย มี คณะกรรมการรับผิดชอบควบคุมกํากับใหมีการ ดําเนินการในการเปด/ปดหลักสูตร และดําเนินงาน ใหเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตร ระดับอุดมศึกษา รวมทั้งการปรับปรุงหลักสูตร ตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา ๒.๑.๔-๑ คําสั่งแตงตั้ง คณะกรรมการควบคุมและ ดูแลหลักสูตร ๒.๑.๔-๒ มคอ.๗ ๒.๑.๔-๓ คําสั่งแตงตั้ง คณะกรรมการวิทยาลัยสงฆ เลย ๕. มีคณะกรรมการ รับผิดชอบควบคุมกํากับ ใหมีการดําเนินการได ครบถวนทั้งขอ ๑ ขอ ๒ แล ะ ข อ ๓ ข า งต น ตลอดเวลาที่จัดการศึกษา และมีการพัฒนาหลักสูตร ทุกหลักสูตรตามผลการ ประเมินในขอ ๔ กรณี หลักสูตรที่ดําเนินงานตาม กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ จะตองควบคุมกํากับให วิทยาลัยสงฆเลย มีคณะกรรมการรับผิดชอบ ควบคุมกํากับใหมีการดําเนินการในการเปด/ปด หลักสูตร และดําเนินงานใหเปนไปตามเกณฑ มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา ตลอดเวลาที่จัด การศึกษาและมีการประเมิน หลักสูตรทุกหลักสูตร อยางนอยตามกรอบเวลาที่กําหนดในเกณฑ มาตรฐานหลักสูตรฯ ๒.๑.๕-๑ รายชื่อ คณะกรรมการประจํา วิทยาลัยสงฆเลย ๒.๑.๕-๒ หลักสูตรระดับ ปริญญาตรี ประจําป ๒๕๕๕ ๒.๑.๕-๓ มคอ.๗
  • 32. ๒๒ รายงานการประเมินตนเองวิทยาลัยสงฆเลย ป ๒๕๕๕ เกณฑการประเมิน ผลการดําเนินงาน เอกสาร/หลักฐาน การดําเนินงานตามตัวบงชี้ ในขอ ๓ ผานเกณฑการ ประเมินครบทุกตัวบงชี้ และทุกหลักสูตร ๖. มีความรวมมือในการ พั ฒ น า แ ล ะ บ ริ ห า ร ห ลั ก สู ต ร ร ะ ห ว า ง มหาวิทยาลัยกับภาครัฐ ห รื อ ภ า ค เ อ ก ช น ที่ เกี่ยวของกับวิชาชีพของ หลักสูตรมากกวารอยละ ๓๐ของจํานวนหลักสูตร วิชาชีพทั้งหมดทุกระดับ การศึกษา วิทยาลัยสงฆแตงตั้งคณะกรรมการประจํา วิทยาลัยสงฆเลย โดยมีผูทรงคุณวุฒิภายนอกที่มา จากหนวยงานภาครัฐ/เอกชนที่เกี่ยวของกับวิชาชีพ รวมเปนกรรมการ ๒.๑.๖-๑ คําสั่งแตงตั้ง คณะกรรมการประจํา วิทยาลัยสงฆเลย ๒.๑.๖-๑ รายงานผล การศึกษาดูงานของนิสิตครุ ศาสตร เกณฑการประเมิน การประเมินตนเอง เปาหมาย ผลการดําเนินงาน คะแนนการประเมินตนเอง การบรรลุเปาหมาย ๔ ขอ ๖ ขอ ๕ คะแนน บรรลุเปาหมาย คะแนน ๑ คะแนน ๒ คะแนน ๓ คะแนน ๔ คะแนน ๕ มีการดําเนินการ ๑ ขอ มีการดําเนินการ ๒ ขอ มีการดําเนินการ ๓ ขอ มีการดําเนินการ ๔ หรือ ๕ ขอ มีการดําเนินการ ๖ ขอ