SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต 
                  สาขาวิชารัฐศาสตร  ภาควิชารัฐศาสตร 
          คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 
                   หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๕๐ 


๑.  ชื่อหลักสูตร 
    ๑.๑  ชื่อหลักสูตรภาษาไทย          :  หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต 
                                         สาขาวิชารัฐศาสตร 
     ๑.๒  ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ  :  Bachelor of Arts Programme 
                                         in Political Science 
๒.  ชื่อปริญญา 
     ๒.๑  ชื่อเต็มภาษาไทย             :  พุทธศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร) 
            ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ        :  Bachelor of Arts (Political Science) 
     ๒.๒  ชื่อยอภาษาไทย              :  พธ.บ. (รัฐศาสตร) 
            ชื่อยอภาษาอังกฤษ         :  B.A. (Political Science) 
๓.  ชื่อหนวยงานรับผิดชอบ 
     ภาควิชารัฐศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย 
๔.  วัตถุประสงคของหลักสูตร 
     ๔.๑  เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีความรูความเขาใจในหลักการปกครองและการบริหารตามหลัก 
พุทธธรรมและทฤษฎีรัฐศาสตรสมัยใหม 
     ๔.๒  เพื่อผลิตบัณฑิตใหสามารถใชความรูทางดานการปกครองและการบริหารไดอยางมี 
ประสิทธิภาพ 
     ๔.๓  เพื่อผลิตบัณฑิตใหสามารถนําความรูทางดานการปกครองและการบริหารไป 
ประยุกตใชในการเผยแผพระพุทธศาสนาเพื่อแกปญหาและพัฒนาสังคม 
๕.  โครงสรางหลักสูตร 
     ๕.๑  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป                                             ๓๐  หนวยกิต 
     ๕.๒  หมวดวิชาเฉพาะ                                         ๑๐๔  หนวยกิต 
               ๕.๒.๑  วิชาแกนพระพุทธศาสนา                       ๓๐        หนวยกิต 
               ๕.๒.๒  วิชาเฉพาะดาน                              ๗๔       หนวยกิต 
                        ๑)  วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต            ๑๐        หนวยกิต
คณะสังคมศาสตร 

                     ๒)  วิชาเฉพาะสาขา                     ๖๔   หนวยกิต 
                            ก.  วิชาบังคับสาขา             ๒๗   หนวยกิต 
                            ข.  วิชาบังคับวิชาเอก          ๒๑   หนวยกิต 
                            ค.  วิชาเลือกวิชาเอก           ๑๖   หนวยกิต 
    ๕.๓  หมวดวิชาเลือกเสรี                                 ๖    หนวยกิต 
                         รวม                               ๑๔๐  หนวยกิต 
๖.  รายวิชา 
    ๖.๑  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  ๓๐  หนวยกิต 
    ดูรายละเอียดในหมวดวิชาศึกษาทัวไปในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา  คณะพุทธศาสตร 
                                      ่
    ๖.๒  หมวดวิชาเฉพาะ  ๑๐๔  หนวยกิต 
        ๑)  วิชาแกนพระพุทธศาสนา  ๓๐  หนวยกิต 
    ดูรายละเอียดในวิชาแกนพระพุทธศาสนา  ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา  คณะพุทธศาสตร 
        ๒)  วิชาเฉพาะดาน  ๗๔  หนวยกิต 
         ก.  วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต  ๑๐  หนวยกิต 
       ๔๐๑ ๓๐๑  พระพุทธศาสนากับการพัฒนาการเมืองการปกครอง  ๒(๒-๐-๔) 
       ๔๐๑ ๓๐๒  รัฐศาสตรตามแนวพระพุทธศาสนา                       ๒(๒-๐-๔) 
       ๔๐๑ ๔๐๓  พระพุทธศาสนากับความมั่นคงของมนุษย               ๒(๒-๐-๔) 
       ๔๐๑ ๔๐๔  รัฐศาสตรในวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา               ๒(๒-๐-๔) 
       ๔๐๑ ๔๐๕  พุทธธรรมกับการบริหาร                             ๒(๒-๐-๔) 
                     ข.  วิชาเฉพาะสาขา  ๖๔  หนวยกิต 
                     (๑)  วิชาบังคับสาขา  ๒๗  หนวยกิต 
       ๔๐๑  ๒๐๖  ปรัชญาการเมืองเบื้องตน                         ๓(๓-๐-๖) 
       ๔๐๑  ๒๐๗  ความรูเบื้องตนทางรัฐศาสตร                    ๓(๓-๐-๖) 
       ๔๐๑  ๓๐๘  ความรูเบื้องตนทางการบริหารรัฐกิจ              ๓(๓-๐-๖) 
       ๔๐๑  ๓๐๙  ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ  ๓(๓-๐-๖) 
       ๔๐๑  ๓๑๐  การเมืองการปกครองเปรียบเทียบ                    ๓(๓-๐-๖) 
       ๔๐๑  ๓๑๑  ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร                    ๓(๓-๐-๖) 
       ๔๐๑  ๓๑๒  การวิเคราะหการเมืองการปกครองของไทย             ๓(๓-๐-๖) 
       ๔๐๑  ๓๑๓  การเมืองการปกครองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต  ๓(๓-๐-๖) 
       ๔๐๑  ๓๑๔  ภาษาอังกฤษสําหรับนักรัฐศาสตร                   ๓(๓-๐-๖) 
                      (๒)  วิชาบังคับวิชาเอก  ๒๑  หนวยกิต
คณะสังคมศาสตร 

              (๒.๑)  วิชาเอกการปกครอง 
๔๐๑  ๓๑๕     เหตุการณปจจุบันในการเมืองไทย                 ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๑๖     พรรคการเมือง กลุมผลประโยชนและการเลือกตั้ง    ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๑๗     การเมืองการปกครองสวนภูมิภาค 
             และสวนทองถิ่นของไทย                          ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๑๘     ระบบราชการไทย                                  ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๑๙     ทฤษฎีวาดวยสังคมและการเมือง                   ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๒๐     สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ                    ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๒๑     ศึกษาอิสระทางการปกครอง                         ๓(๐-๖-๖) 
             (๒.๒)  วิชาเอกการบริหารรัฐกิจ 
๔๐๑  ๓๒๒     ทฤษฎีและพฤติกรรมองคการ                        ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๒๓     นโยบายสาธารณะและการวางแผน                      ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๒๔     การบริหารโครงการ                               ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๒๕     การพัฒนาทรัพยากรมนุษย                         ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๒๖     การบริหารงบประมาณและการคลังสาธารณะ             ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๒๗     การบริหารการพัฒนา                              ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๒๘     ศึกษาอิสระทางการบริหารรัฐกิจ                   ๓(๐-๖-๖) 
                       (๒.๓)  วิชาเอกการระหวางประเทศ 
๔๐๑ ๓๒๙     การทูต                                          ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑ ๓๓๐     การเมืองระหวางประเทศ                           ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑ ๓๓๑     กฎหมายระหวางประเทศ                             ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑ ๔๓๒     องคการระหวางประเทศ                            ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑ ๔๓๓     เศรษฐศาสตรการเมืองระหวางประเทศ                ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑ ๔๓๔     นโยบายตางประเทศของไทย                          ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑ ๔๓๕     ศึกษาอิสระทางการระหวางประเทศ                   (๐-๖-๖) 
            (๓)  วิชาเลือกวิชาเอก  ๑๖  หนวยกิต 
                   (๓.๑)  วิชาเอกการปกครอง 
๔๐๑  ๓๓๖     วิวัฒนาการทางชีววิทยาของมนุษยกับการเมือง      ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๓๗     แนวคิดทางการเมืองในอุดมคติ                     ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๓๘     ภาษากับการเมือง                                ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๓๙     จิตวิทยาการเมือง                               ๓(๓-๐-๖)
คณะสังคมศาสตร 

๔๐๑  ๓๔๐    ธุรกิจกับการเมือง                               ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๔๑    ศาสนากับการเมือง                                ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๔๒    จริยธรรมทางการเมือง                             ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๔๓    ธรรมาภิบาลเชิงพุทธ                              ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๔๔    สันติวิธีและสมานฉันทเชิงพุทธ                   ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๔๕    กฎหมายปกครอง                                    ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๔๖    กฎหมายอาญา                                      ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๔๗    กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา                       ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๔๘    กฎหมายลักษณะพยาน                                ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๔๙    การเปลี่ยนแปลงทางสังคม 
            และการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต             ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๕๐    การเมืองการปกครองของกลุมในประเทศเอเชียใต  ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๕๑    ประวัติความคิดทางการเมืองเบื้องตน              ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๕๒    ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ                     ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๕๓    การศึกษาคนควาตําราเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง  ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๕๔    สัมมนาแนวคิดทางการเมืองของนักคิดสําคัญ 
            ในตะวันออก                                      ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๕๕    สัมมนาปญหาทางการเมืองการปกครองของไทย  ๒(๒-๐-๔) 
๔๐๑  ๔๕๖    สัมมนาภาวะผูนําทางการเมือง                     ๒(๒-๐-๔) 
๔๐๑  ๔๕๗    แนวความคิดทางการเมืองไทย                        ๒(๒-๐-๔) 
๔๐๑  ๔๕๘    การเมืองของเพลโตและอริสโตเติล                   ๒(๒-๐-๔) 
๔๐๑  ๔๕๙    ความคิดทางการเมืองของมาคิอาเวลลี                ๒(๒-๐-๔) 
                      (๓.๒)  วิชาเอกการบริหารรัฐกิจ 
๔๐๑  ๓๖๐    วิทยาการบริหาร                                  ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๖๑    การจัดการสิ่งแวดลอม                            ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๖๒    การจัดการทรัพยสินของพระพุทธศาสนา               ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๖๓    จริยธรรมทางการบริหาร                            ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๖๔    ธรรมาภิบาลเพื่อการบริหาร                        ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๔๕    กฎหมายปกครอง                                    ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๔๖    กฎหมายอาญา                                      ๓(๓-๐-๖)
คณะสังคมศาสตร 

๔๐๑  ๔๔๗    กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา                       ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๔๘    กฎหมายลักษณะพยาน                                ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๖๕    การบริหารการคลังสาธารณะ                         ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๖๖    การปกครองและการบริหารในเขตนครหลวง               ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๖๗    การบริหารหนวยงานของรัฐ                         ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๖๘    การบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นของไทย         ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๖๙    การบริหารเชิงกลยุทธ                            ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๗๐    การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ                      ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๗๑    การศึกษาคนควาตําราเกี่ยวกับการบริหารรัฐกิจ    ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๗๒    สัมมนาปญหาการบริหารรัฐกิจ                      ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๗๓    สัมมนาการบริหารแรงงาน                           ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๗๔    ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการบริหารรัฐกิจ  ๒(๒-๐-๔) 
๔๐๑  ๔๗๕    การบริหารงานคณะสงฆ                             ๒(๒-๐-๔) 
๔๐๑  ๔๗๖    การจัดการสาธารณสมบัติ                           ๒(๒-๐-๔) 
๔๐๑  ๔๗๗    หลักในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย                   ๒(๒-๐-๔) 
๔๐๑  ๔๗๘    สัมมนาการบริหารงานคณะสงฆ                       ๒(๒-๐-๖) 
                    (๓.๓)  วิชาเอกการระหวางประเทศ 
๔๐๑  ๓๗๙    นโยบายตางประเทศของไทยตอประเทศเพื่อนบาน  ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๘๐    องคการสหประชาชาติและองคการ 
            ระหวางประเทศอื่นๆ                              ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๓๘๑    เศรษฐกิจและการเมืองระหวางประเทศ                ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๔๕    กฎหมายปกครอง                                    ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๔๖    กฎหมายอาญา                                      ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๔๗    กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา                       ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๔๘    กฎหมายลักษณะพยาน                                ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๘๒    ทฤษฎีการเมืองระหวางประเทศและเหตุการณปจจุบัน ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๘๓    ปญหาการเมืองระหวางประเทศปจจุบัน               ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๘๔    ความรวมมือสวนภูมิภาคในเอเชียตะวันออกเฉียงใต  ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๘๕    การเมืองระหวางประเทศในตะวันออกกลาง              ๓(๓-๐-๖) 
๔๐๑  ๔๘๖    สัมมนาประเทศมหาอํานาจกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต  ๓(๓-๐-๖)
คณะสังคมศาสตร 

          ๔๐๑  ๔๘๗  สัมมนาความสัมพันธและนโยบายตางประเทศ 
                          ของกลุมประเทศแอฟริกา                            ๓(๓-๐-๖) 
          ๔๐๑  ๔๘๘  สนธิสัญญาและอนุสนธิสัญญาระหวางประเทศ                  ๒(๒-๐-๔) 
          ๔๐๑  ๔๘๙  มหาอํานาจในการเมืองโลก                                 ๒(๒-๐-๔) 
          ๔๐๑  ๔๙๐  การรวมตัวของกลุมประเทศในยุโรปตะวันตก                   ๒(๒-๐-๔) 
          ๔๐๑  ๔๙๑  การเมืองระหวางประเทศในลาตินอเมริกา                    ๒(๒-๐-๔) 
          ๔๐๑  ๔๙๒  สัมมนาปญหาความขัดแยงระหวางประเทศ 
                          และการแกไข                                      ๒(๒-๐-๔) 
      ๖.๓  หมวดวิชาเลือกเสรี  ๖  หนวยกิต 
      นิสิตสาขาวิชารัฐศาสตร   ตองเลือกศึกษารายวิชาตาง ๆ   ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัย- 
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  เปนวิชาเลือกเสรี  จํานวนไมนอยกวา ๖ หนวยกิต  โดยความ 
เห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษา 
        ๖.๔  วิชาโท  ๑๘  หนวยกิต 
      นิสิตสาขาวิชาอื่นที่ประสงคจะศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตรเปนวิชาโท  ตองศึกษารายวิชา ใน 
สาขาวิชารัฐศาสตร  ไมนอยกวา ๑๘ หนวยกิต  ดังตอไปนี้ 
     (๑)  วิชาบังคับ  ๔  รายวิชา  ๑๒  หนวยกิต  คือ 
           ๔๐๑  ๒๐๖  ปรัชญาการเมืองเบื้องตน                               ๓(๓-๐-๖) 
           ๔๐๑  ๒๐๗  ความรูเบื้องตนทางรัฐศาสตร                          ๓(๓-๐-๖) 
           ๔๐๑  ๓๐๘  ความรูเบื้องตนทางการบริหารรัฐกิจ                    ๓(๓-๐-๖) 
           ๔๐๑  ๓๐๙  ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ  ๓(๓-๐-๖) 
          (๒)  วิชาเลือก  ๖  หนวยกิต 
           ใหเลือกศึกษารายวิชาตาง ๆ  ในสาขาวิชารัฐศาสตรอกไมนอยกวา ๖ หนวยกิต  โดย 
                                                           ี
ความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษา 
๗.  คําอธิบายรายวิชา 
      ๗.๑  วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต  ๑๐  หนวยกิต 
๔๐๑  ๓๐๑  พระพุทธศาสนากับการพัฒนาการเมืองการปกครอง                                ๒(๒-๐-๔) 
               (Buddhism and Political Development) 
        ศึกษาวิเคราะหบทบาทของพระพุทธศาสนาที่มีสวนรวมในการพัฒนาการเมืองการ 
ปกครองของไทยตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัยเปนตนมา    พุทธธรรมที่มีสวนเสริมสรางคุณธรรมใหแก 
การเมือง          องคกรทางคณะสงฆที่กอใหเกิดการพัฒนาทางดานการเมืองการปกครองของไทย
คณะสังคมศาสตร 

บทบาทของ  พระสงฆตอการเมืองไทย    บทบาทของพระสงฆกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย 
โดยมีกรณีศึกษาจากพระสงฆที่มีบทบาททางการเมือง  เชน  พระสงฆศรีลังกา  เปนตัวอยาง 
๔๐๑  ๓๐๒  รัฐศาสตรตามแนวพระพุทธศาสนา                                               ๒(๒-๐-๔) 
             (Political Science in Buddhism) 
       ศึกษาแนวคิดทางการเมือง    การบริหาร    และการปกครองของพระพุทธศาสนาจาก 
พระไตรปฎก  ตําราทางพระพุทธศาสนาและจากผลงานของนักวิชาการสมัยใหม 
๔๐๑  ๔๐๓  พระพุทธศาสนากับความมั่นคงของมนุษย                                        ๒(๒-๐-๔) 
             (Buddhism and Human Security) 
       ศึกษาความหมาย ความเปนมา  และแนวคิดเกี่ยวกับความมั่นคงของมนุษย   ความสําคัญ 
ของความมั่นคงของมนุษยที่มีตอการพัฒนาประเทศ                        ความมั่นคงของมนุษยตามแนว 
พระพุทธศาสนา  และศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่สงเสริมความมั่นคงของมนุษยในดาน 
ตางๆ 
๔๐๑  ๔๐๔  รัฐศาสตรในวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา                                                ๒(๒-๐-๔) 
             (Political Science in Buddhist Literature) 
       ศึกษาทฤษฎีการเมืองการปกครอง                      และการบริหารที่ปรากฏในวรรณกรรมทาง 
พระพุทธศาสนา    เชน    ไตรภูมิพระรวง    โลกนีติ    ราชนีติ    ธรรมนีติ    จักกวาฬทีปนี    ภูมวิลาสินี 
                                                                                               ิ
มงคลทีปนี    โลกทีปกสาร    โลกบัญญัต ิ   วิเคราะหการเมืองการปกครองและการบริหาร    ใน 
วรรณกรรมเหลานี้และวรรณกรรมอื่นๆ  ที่นาสนใจ 
๔๐๑  ๔๐๕  พุทธธรรมกับการบริหาร                                                              ๒(๒-๐-๔) 
             (Buddhadhamma and Administration) 
       ศึกษาความหมายและขอบขายของการบริหาร  บทบาทดานการบริหารของพระพุทธเจา 
วิเคราะหพุทธธรรมเกี่ยวกับหลักการและวิธีการบริหาร    คุณธรรมและจริยธรรมของนักบริหาร  การ 
ประยุกตพุทธวิธีบริหารเพื่อใชในการบริหาร 
       ๗.๒  วิชาเฉพาะสาขา  ๖๔  หนวยกิต 
        ก.  วิชาบังคับสาขา  ๒๗  หนวยกิต 
๔๐๑  ๒๐๖  ปรัชญาการเมืองเบื้องตน                                                   ๓(๓-๐-๖) 
             (Introduction to Political Philosophy) 
       ศึกษาความหมายและที่มาของวิชาปรัชญาการเมืองในประเด็นที่สําคัญ  เชน  จุดมุงหมาย 
ปลายทางของมนุษย  จุดมุงหมายของรัฐ  ความยุติธรรม  ปรัชญาการเมืองสมัยโบราณ  ปรัชญา 
การเมืองสมัยกลางและปรัชญาการเมืองสมัยใหม    ผลงานของนักปรัชญาตะวันตกและตะวันออก 
คนสําคัญ  รวมถึงพุทธปรัชญาทางการเมือง
คณะสังคมศาสตร 



๔๐๑  ๒๐๗  ความรูเบื้องตนทางรัฐศาสตร                                        ๓(๓-๐-๖) 
                (Introduction to Political Science) 
           ศึกษาธรรมชาติและวิธีการทางรัฐศาสตร    ความสัมพันธระหวางรัฐศาสตรกับศาสตร  ทาง 
สังคมอื่น ๆ  ทฤษฎีทางรัฐศาสตรและหลักเกี่ยวกับอํานาจ  การใชอํานาจ  ความสัมพันธระหวางรัฐ 
กับบุคคล   อํานาจกับกฎหมาย  สถาบันทางการเมืองการปกครอง  พลังและกระบวนการทางการ 
เมืองและประชาคมนานาชาติ 
๔๐๑  ๓๐๘  ความรูเบื้องตนทางการบริหารรัฐกิจ                                  ๓(๓-๐-๖) 
                (Introduction to Public Administration) 
           ศึกษาความหมาย  แนวคิด  ทฤษฎีและขอบเขตการบริหารรัฐกิจ  นโยบายของรัฐเกี่ยวกับ 
การบริหาร    พัฒนาการของการบริหาร    การบริหารรัฐกิจ    การบริหารธุรกิจ    การบริหารกับปจจัย 
แวดลอม  การบริหารการพัฒนา  การจัดการทรัพยากรมนุษย   การจัดและปรับปรุง       องคการ 
ของรัฐ  การวางแผน  การวินิจฉัยสั่งการ  การติดตอประสานงานและการติดตามผลงาน ภาวะผูนํา 
การบริหารราชการไทย  และการบริหารรัฐกิจเชิงพุทธ 
๔๐๑  ๓๐๙  ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ                             ๓(๓-๐-๖) 
                (Introduction to International Relations) 
           ศึกษาความรูพื้นฐานของการเมืองระหวางประเทศ        ธรรมชาติและโครงสรางของระบบ 
การเมืองระหวางประเทศ  ปจจัยทางดานการเมือง  เศรษฐกิจ  สังคม  และการทหาร  วัฒนธรรม 
อุดมการณที่มีผลตอแนวพฤติกรรมของรัฐ      เครื่องมือที่ใชในการดําเนินความสัมพันธระหวางรัฐ 
พัฒนาการความรวมมือระหวางประเทศในรูปแบบตาง ๆ  เชน  ระเบียบปฏิบัติ   กฎหมาย สถาบัน 
ระหวางประเทศ  ความสัมพันธระหวางประเทศตามแนวพระพุทธศาสนา 
๔๐๑  ๓๑๐  การเมืองการปกครองเปรียบเทียบ                                        ๓(๓-๐-๖) 
                (Comparative Politics and Government) 
           ศึกษาแนวคิดและวิธีการตาง  ๆ    ในการศึกษาเกี่ยวกับการเมืองการปกครองเปรียบเทียบ 
ทั้งนี้ใหศึกษาเปรียบเทียบของประเทศตาง ๆ  โดยเลือกเฉพาะบางประเทศที่สําคัญในกลุมประเทศ 
ประชาธิปไตย  กลุมประเทศคอมมิวนิสตและกลุมประเทศโลกที่สาม  โดยเนนศึกษาในรายละเอียด 
เกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมือง โครงสราง องคประกอบและหนาที่ของระบบการเมืองการปกครอง 
เหลานั้นเปนกรณีศึกษา 
๔๐๑  ๓๑๑  ระเบียบวิธีวิจยทางรัฐศาสตร 
                               ั                                              ๓(๓-๐-๖) 
                (Research Methodology in Political Science)
คณะสังคมศาสตร 

         ศึกษาระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร    ทั้งที่เปนการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ 
โดยครอบคลุมถึงการสรางแนวความคิด ประเด็นปญหา วัตถุประสงค  การตั้งสมมติฐาน การสราง 
ขอบขาย  บท  การประมวลผล  การวิเคราะหขอมูล  ตลอดจนการรายงานการวิจัย  ทั้งนี้      ใหมี 
การฝกหัดจัดทําโครงการวิจัยเสนอเปนภาคปฏิบัตดวย    ิ
๔๐๑  ๓๑๒  การวิเคราะหการเมืองการปกครองของไทย                                    ๓(๓-๐-๖) 
                (Analysis of Thai Politics and Government) 
         ศึกษาวิเคราะหปจจัยทางประวัติศาสตร  โครงสรางสังคม  วัฒนธรรมและเศรษฐกิจ 
วัฒนธรรมทางการเมืองของไทย  ลักษณะเฉพาะและอุดมการณประจําชาติ  บทบาทของทหารตอ 
การเมืองการปกครองของไทย 
๔๐๑  ๓๑๓  การเมืองการปกครองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต                                    ๓(๓-๐-๖) 
                (Politics and Government of Southeast Asia) 
         ศึกษาแนวคิดและพฤติกรรมทางการเมือง  สถาบันการเมือง  การจัดระเบียบการปกครอง 
รูปแบบของรัฐและองคกรแหงอํานาจของกลุมประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต                   เปรียบเทียบ 
ความสัมพันธระหวางประเทศที่มีผลกระทบตอการเมือง  เศรษฐกิจ  สังคม  และปญหาการพัฒนา 
การเมืองการปกครองของกลุมประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต 
๔๐๑  ๓๑๔  ภาษาอังกฤษสําหรับนักรัฐศาสตร                                          ๓(๓-๐-๖) 
                (English for Political Scientists) 
         ศึกษาโครงสราง      ศัพทและสํานวนที่ใชกันมากในสาขาวิชารัฐศาสตร      และฝกการ 
ใชศัพทและสํานวนเหลานั้นในการเขียนและการพูด   ตลอดทั้งฝกการอาน   วิเคราะหและตีความ 
งานเขียนรัฐศาสตร      การเขียนยอความ      เรียงความ      และอภิปรายเปนภาษาอังกฤษในเรื่องที่ 
เกี่ยวกับรัฐศาสตร 
         ข.  วิชาบังคับวิชาเอก  ๒๑  หนวยกิต 
         ๑)  วิชาเอกการปกครอง 
๔๐๑  ๓๑๕  เหตุการณปจจุบันในการเมืองไทย 
                                                                                ๓(๓-๐-๖) 
                (Current Affairs of Thai Politics) 
         ศึกษาเหตุการณสําคัญที่เกิดขึ้นในอดีตและปจจุบัน  ซึ่งมีสวนเกี่ยวของและกระทบตอการ 
เมืองไทย  โดยเนนเหตุการณทางการเมืองในปจจุบันเปนสําคัญ  และแนวโนมการเมืองไทยใน 
อนาคต 
๔๐๑  ๓๑๖  พรรคการเมือง กลุมผลประโยชนและการเลือกตั้ง 
                                                                                ๓(๓-๐-๖) 
                (Political Parties, Interest Groups and Elections)
คณะสังคมศาสตร 

        ศึกษาทฤษฎี  ความเปนมาของพรรคการเมือง  กลุมอิทธิพลและกลุมผลประโยชน  และ 
ระบบของการเลือกตั้ง    บทบาทและอิทธิพลของกลุมตาง  ๆ    และความสัมพันธกับรัฐบาล 
                                                      
พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง  และปญหาการเลือกตั้ง  เนนกรณีการเลือกตั้งของไทยโดย 
เปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ 
๔๐๑  ๓๑๗  การเมืองการปกครองสวนภูมิภาคและสวนทองถิ่นของไทย                      ๓(๓-๐-๖) 
              (Regional and Local Politics and Government in Thailand) 
        ศึกษารูปแบบและกระบวนการของการเมืองการปกครองสวนภูมิภาคและสวนทองถิ่นของ 
ไทยตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน  แนวคิดเกี่ยวกับการกระจายอํานาจในปจจุบัน  พฤติกรรมการเมือง และ 
แนวโนมของการเมืองการปกครองสวนภูมิภาคและสวนทองถิ่นในอนาคต 
๔๐๑  ๔๑๘  ระบบราชการไทย                                                    ๓(๓-๐-๖) 
              (Thai Bureaucracy) 
        ศึกษาการจัดองคการ    การบริหาร    การปฏิบัติงานของระบบราชการไทย    บทบาทและ 
อิทธิพลของขาราชการที่มีตอการกําหนดนโยบายของรัฐบาล    ทัศนคติและพฤติกรรมของ 
ขาราชการ  วัฒนธรรมทางการบริหาร  ความสัมพันธระหวางขาราชการกับประชาชน  ปญหาของ 
การควบคุมและความรับผิดชอบของระบบขาราชการไทย    การพัฒนาระบบราชการตามหลักธรร 
มาภิบาล  แนวโนมการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาของระบบราชการไทย 
๔๐๑  ๔๑๙  ทฤษฎีวาดวยสังคมและการเมือง                                     ๓(๓-๐-๖) 
              (Theories on Society and Politics) 
        ศึกษาทฤษฎีวาดวยสังคมและการเมืองเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางโครงสรางทาง 
เศรษฐกิจ  สังคม  และการเมือง  บทบาทและพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นและกลุมตาง ๆ ใน 
สังคม  การใชอานาจ  ความขัดแยงในเรื่องอํานาจ  ผลประโยชน  วิเคราะหสังคมและการเมืองไทย 
                ํ
โดยใชทฤษฎีดังกลาวเปนกรณีศึกษา 
๔๐๑  ๔๒๐  สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ                                            ๓(๓-๐-๖) 
              (Political Institutions and Constitutions) 
        ศึกษาสถาบันทางการเมืองและการเมืองรูปแบบตาง  ๆ    กลไกที่จําเปนตอเสถียรภาพ 
รัฐบาล    วัตถุประสงค    ความหมาย    ที่มาและรูปแบบของรัฐธรรมนูญ    การจัดทํา    การแกไข 
และการควบคุมไมใหขดกับรัฐธรรมนูญ      และสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญไทยฉบับปจจุบัน 
                       ั
แนวโนมของสถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญไทย 
๔๐๑  ๔๒๑  ศึกษาอิสระทางการปกครอง                                           ๓(๐-๖-๖) 
              (Independent Study on Government)
คณะสังคมศาสตร 

         ศึกษาคนควาวิจัยภาคสนามทางการปกครอง    ที่สามารถประยุกตใชในกิจการทาง 
พระพุทธศาสนา  โดยความเห็นชอบและควบคุมดูแลของอาจารยที่ปรึกษา 
              ๒)  วิชาเอกการบริหารรัฐกิจ 
๔๐๑  ๓๒๒  ทฤษฎีและพฤติกรรมองคการ                                              ๓(๓-๐-๖) 
                (Organizational Theory and Behavior) 
         ศึกษาทฤษฎีและพฤติกรรมองคการ  โดยเริ่มจากแนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับองคการ 
สมัยดั้งเดิมถึงสมัยปจจุบัน  ความหมายและองคประกอบขององคการ  ตัวแปรในองคการ  วิธีการ 
ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับองคการ  ปจจัยพื้นฐานที่กําหนดพฤติกรรมการทํางานของมนุษย  พฤติกรรม  ใน 
การบริหาร    อิทธิพลของโครงสรางและกระบวนการในองคการที่มีตอพฤติกรรมการทํางานของ 
มนุษย 
๔๐๑  ๓๒๓  นโยบายสาธารณะและการวางแผน                                            ๓(๓-๐-๖) 
                (Public Policy and Planning) 
         ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะและการวางแผน    ประเภทและวิธีการ 
กําหนดนโยบายของรัฐ    อิทธิพลของสิ่งแวดลอมตอนโยบาย    การนํานโยบายไปกําหนดเปน 
แผนงานและโครงการ    เทคนิคและหลักการของการวางแผน    และใหมีการศึกษาเฉพาะกรณี  โดย 
เนนการกําหนดนโยบายสาธารณะและการวางแผนของประเทศไทย 
๔๐๑  ๓๒๔  การบริหารโครงการ                                                     ๓(๓-๐-๖) 
                (Project Management) 
         ศึกษาแนวความคิดและวิธีการวิเคราะหโครงการ    การจัดทําโครงการ    การบริหาร 
ทรัพยากรของโครงการ  การแกปญหาและการปรับปรุงโครงการ  การประสานงานกับองคกรและ 
หนวยงาน  ที่เกี่ยวของ    การบริหารโครงการภายใตการมีสวนรวมจากผูที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและ 
เอกชน  การ กําหนดเปาหมายและวิธีการในการประเมินผลของโครงการ  และใหมีการศึกษากรณี 
เฉพาะเรื่อง  เนนการบริหารโครงการพัฒนาของประเทศไทย    โดยฝกใหมีการเขียนโครงการเพื่อ 
นําไปสูการบริหารโครงการไดอยางแทจริง 
๔๐๑  ๔๒๕  การพัฒนาทรัพยากรมนุษย                                               ๓(๓-๐-๖) 
                (Human Resources Development) 
         ศึกษาวิชาการวางแผนกําลังคน  เพื่อรองรับความกาวหนาดานนวัตกรรมและเทคโนโลยี 
สมัยใหม  เพื่อใหสอดคลองกับทิศทางการเปลี่ยนแปลงทางสังคม  เศรษฐกิจของประเทศและของ 
โลก  การรับบุคลากรภาครัฐ  การฝกอบรม  การเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน  คุณธรรมจริยธรรม 
ของผูปฏิบติงาน การประเมินผลการทํางาน สิทธิประโยชนและขวัญกําลังใจในการทํางาน 
            ั
๔๐๑  ๔๒๖  การบริหารงบประมาณและการคลังสาธารณะ                                   ๓(๓-๐-๖)
คณะสังคมศาสตร 

              (Public Budgeting and Fiscal Administration) 
        ศึกษาความหมาย  แนวคิด    ทฤษฎี    และนโยบายเกี่ยวกับงบประมาณและการคลัง 
สาธารณะ    บทบาทและอิทธิพลของการเมืองที่มีตองบประมาณและการคลังของประเทศ 
กระบวนการงบประมาณ  เทคนิคและวิธีการวิเคราะหงบประมาณ  การสรุปการใชจายงบประมาณ 
                                                                              
โดยเนนศึกษาการบริหารงบประมาณและการคลังสาธารณะของประเทศไทย 
๔๐๑  ๔๒๗  การบริหารการพัฒนา                                                 ๓(๓-๐-๖) 
              (Development Administration) 
        ศึกษาความหมาย  ทฤษฎี  หลักการ  และองคประกอบของการบริหารการพัฒนา  ปจจัย 
แวดลอมทางดานเศรษฐกิจ    สังคม    และการเมืองที่สงผลตอการบริหารการพัฒนา    องคการที่มี 
บทบาทสําคัญในการบริหารงานพัฒนาของประเทศ    ปญหาพื้นฐานในการบริหารโครงการพัฒนา 
โดยเนนการบริหารการพัฒนาในประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศพัฒนาแลวและประเทศกําลัง 
พัฒนา 
๔๐๑  ๔๒๘  ศึกษาอิสระทางการบริหารรัฐกิจ                                      ๓(๐-๖-๖) 
              (Independent Study on Public Administration) 
        ศึกษาคนควาวิจัยภาคสนามทางการบริหารรัฐกิจ    ที่สามารถประยุกตใชในกิจการทาง 
พระพุทธศาสนา  โดยความเห็นชอบและควบคุมดูแลของอาจารยที่ปรึกษา 
        ๓)  วิชาเอกการระหวางประเทศ 
๔๐๑  ๓๒๙  การทูต                                                            ๓(๓-๐-๖) 
              (Diplomacy) 
        ศึกษาประวัตความสัมพันธระหวางประเทศ    เนนเหตุการณและการตกลงทางการทูตครั้ง 
                      ิ
สําคัญที่มีผลกระทบตอความสัมพันธระหวางประเทศตั้งแตสมัยที่มีการประชุมระหวางชาติที่ 
เวียนนา  เมื่อป พ.ศ. ๒๓๕๘ (ค.ศ. ๑๘๑๕)  ถึงปจจุบน ั
๔๐๑  ๓๓๐  การเมืองระหวางประเทศ                                             ๓(๓-๐-๖) 
              (International Politics) 
        ศึกษาเหตุการณสําคัญในโลกที่มีผลกระทบตอความสัมพันธเชิงอํานาจในการเมืองระหวาง 
ประเทศ  ตั้งแตสมัยสงครามโลกครั้งที่สองถึงปจจุบัน  เชน  สงครามเย็น  สงครามเกาหลี  สงคราม 
เวียดนาม  ความขัดแยงระหวางจีนกับโซเวียต  ปญหาการลดกําลังอาวุธ  การผอนคลายความตึง 
เครียด 
๔๐๑  ๓๓๑  กฎหมายระหวางประเทศ                                               ๓(๓-๐-๖) 
              (International Law)
คณะสังคมศาสตร 

        ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีของกฎหมายระหวางประเทศ  ที่มีของกฎหมายระหวางประเทศ 
ความสัมพันธระหวางกฎหมายในบทกฎหมายระหวางประเทศ  บุคคลระหวางประเทศ  รัฐ อาณา 
เขตของรัฐ  สิทธิและความรับผิดชอบของรัฐ  ความสัมพันธระหวางรัฐตอรัฐและรัฐตอ      เอกชน 
ปญหาอื่น  ๆ    ในความสัมพันธระหวางประเทศทางดานเศรษฐกิจ    สังคม    วิทยาศาสตร  และ 
เทคโนโลยี 
๔๐๑  ๔๓๒  องคการระหวางประเทศ                                              ๓(๓-๐-๖) 
               (International Organizations) 
        ศึกษาประวัตองคการระหวางประเทศในระดับตาง ๆ  เริ่มจากการประชุมระหวางประเทศที่ 
                      ิ
กรุงเฮก    สันนิบชาติและสหประชาชาติ    ชีใหเห็นโครงสรางและอํานาจหนาที่  บทบาท    และการ 
                                           ้
ดําเนินงานขององคการเหลานี้ในการแกปญหาระหวางประเทศในมิติตาง  ๆ    ทั้งดานสังคม 
เศรษฐกิจ  และการเมือง  และวิเคราะหความสําเร็จและความลมเหลวขององคการระหวางประเทศ 
๔๐๑  ๔๓๓  เศรษฐศาสตรการเมืองระหวางประเทศ                                  ๓(๓-๐-๖) 
               (International Political Economy) 
        ศึกษาทฤษฎีเบื้องตนทางการคาระหวางประเทศ    ทฤษฎีและนโยบายการกีดกันการคา 
และผลที่มีตอระบบเศรษฐกิจ  ทฤษฎีและนโยบายการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ  ทฤษฎีและนโยบาย 
การลงทุนระหวางประเทศ  ตลาดเงินตรา  ดุลการคาและดุลการชําระเงิน  การแกไขดุลการคาและ 
ดุลการชําระเงิน    การคาและการเงินระหวางประเทศกับการพัฒนาเศรษฐกิจ    สถาบันและ 
โครงสรางของระบบการคาและการเงินที่สําคัญ  ความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ      ที่ 
พัฒนาแลวกับประเทศที่กําลังพัฒนา    โครงสรางสินคาเขาและสินคาออกที่สําคัญของไทย    และ 
ปญหาดุลการคาและดุลการชําระเงินของไทย 
๔๐๑  ๔๓๔  นโยบายตางประเทศของไทย                                            ๓(๓-๐-๖) 
               (Thai Foreign Policy) 
        ศึกษาความสัมพันธระหวางไทยกับตางประเทศ    ปจจัยและกระบวนการในการกําหนด 
นโยบาย    แบบแผนของนโยบาย    การดําเนินนโยบายตางประเทศและผลกระทบของนโยบาย 
ตางประเทศที่มีตอการเมืองภายในของไทย 
๔๐๑  ๔๓๕  ศึกษาอิสระทางการระหวางประเทศ                                     ๓(๐-๖-๖) 
               (Independent Study on International Relations) 
        ศึกษาคนควาวิจัยภาคสนามทางการระหวางประเทศ    ที่สามารถประยุกตใชในกิจการทาง 
พระพุทธศาสนา  โดยความเห็นชอบและควบคุมดูแลของอาจารยที่ปรึกษา 
        ค.  วิชาเลือกวิชาเอก  ๑๖  หนวยกิต 
            ๑)  วิชาเอกการปกครอง
คณะสังคมศาสตร 

๔๐๑  ๓๓๖  วิวัฒนาการทางชีววิทยาของมนุษยกับการเมือง                           ๓(๓-๐-๖) 
              (Human Biological Evolution and Politics) 
         ศึกษาทฤษฎีที่สําคัญทางชีววิทยาและมานุษยวิทยา   ที่มีผลกระทบตอการเขาใจธรรมชาติ 
ของมนุษย    และการใชแนวคิดดังกลาว    อธิบายพฤติกรรมทางสังคมและการเมือง      ของมนุษย 
เชน    ทฤษฎี  Social    Darwinism  และการผสมผสานระหวางพฤติกรรมศาสตร    ของสัตว 
(Ethnology)  กับรัฐศาสตร  เปรียบเทียบกับแนวคิดทํานองเดียวกันในงานเขียนของนักคิดทาง 
การเมืองคนสําคัญ ๆ  ในอดีตประกอบ 
๔๐๑  ๓๓๗  แนวคิดทางการเมืองในอุดมคติ                                                ๓(๓-๐-๖) 
              (Idealistic Political Thoughts) 
         ศึกษาแนวคิดทางการเมืองในอุดมคติของปรัชญาตะวันตก    ตั้งแตเพลโต    โธมัส  มอร 
แซงค  ซิมอง โรเบิรต โอเวน และคารล มารกซ  เปรียบเทียบกับแนวคิดทางปรัชญาตะวันออก เชน 
พุทธปรัชญาเรื่องพระศรีอาริยเมตไตรย  ปรัชญาฮินดูเรื่องอวตารปางที่สิบของพระนารายณ 
๔๐๑  ๓๓๘  ภาษากับการเมือง                                                     ๓(๓-๐-๖) 
              (Language and Politics) 
         ศึกษาความสําคัญของภาษาในทางการเมือง  การใชภาษาตามความหมายที่กวางที่สุดคือ 
สัญลักษณตาง ๆ  เพื่อประโยชนทางการเมือง  เชน  ภาษาในรัฐพิธีที่สําคัญ ๆ  ภาษาที่ใช  สําหรับ 
การโฆษณาชวนเชื่อทางการเมือง               ศัพทบัญญัติและศัพทที่แปลมาจากภาษาตางประเทศที่ 
เกี่ยวของกับการเมือง  เนนการนํามาปฏิบัติที่เกิดขึ้นในสังคมไทย 
๔๐๑  ๓๓๙  จิตวิทยาการเมือง                                                    ๓(๓-๐-๖) 
              (Political Psychology) 
         ศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองของบุคคลในสังคม              เชน    การเลือกระบบการเมือง 
ความสัมพันธระหวางบุคคลกับรัฐบาล  ทัศนคติของรัฐบาลที่มีตอประชาชนและของประชาชนที่มี 
                                                                 
ตอรัฐบาล  การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง  โดยใชทฤษฏีเกี่ยวกับสิ่งกําหนดพฤติกรรมของมนุษยจาก 
จิตวิทยามาเปนเครื่องมืออธิบาย 
๔๐๑  ๓๔๐  ธุรกิจกับการเมือง                                                   ๓(๓-๐-๖) 
              (Business and Politics) 
         ศึกษาวิเคราะหความสําคัญและบทบาทของภาคธุรกิจในกระบวนการทางการเมือง    เนน 
การสนับสนุนพรรคการเมือง  การเลือกตั้ง  กลุมผูปกครองประเทศ  การกําหนดนโยบายสาธารณะ 
                                                  
ผลลัพธของโครงสรางทางเศรษฐกิจ    และการเมืองที่เกิดจากความสัมพันธระหวางผูนําทาง 
การเมือง  และผูนําทางธุรกิจ  ความสัมพันธระหวางบรรดาผูนําทางธุรกิจในเชิงรวมมือ และแขงขัน
คณะสังคมศาสตร 

ในระบบการเมืองทั้งที่พัฒนาแลวและดอยพัฒนาในประเทศตาง  ๆ    โดยเนนธุรกิจการเมืองใน 
ประเทศไทย 
๔๐๑  ๓๔๑  ศาสนากับการเมือง                                                 ๓(๓-๐-๖) 
              (Religions and Politics) 
         ศึกษาแนวคิดทางปรัชญาสังคมการเมืองและทัศนะของพระพุทธศาสนา  ศาสนาคริสต 
ศาสนาอิสลามและศาสนาฮินดู  สังคมในอุดมคติของศาสนาเหลานี้  วิธีการเขาถึงสังคมในอุดมคติ 
วิเคราะหการใชความรุนแรงในศาสนาตางๆ        เปนวิธีการทางการเมือง       และศาสนาในเชิง 
ความสัมพันธกับความรุนแรงเชิงโครงสราง      เนนความสัมพันธระหวางศาสนาและการเมืองใน 
ประเทศไทย 
๔๐๑  ๓๔๒  จริยธรรมทางการเมือง                                              ๓(๓-๐-๖) 
              (Political Ethics) 
         ศึกษาวัตถุประสงคของจริยธรรมทางการเมือง  แนวความคิดเกี่ยวกับอํานาจ  วิถีทางและ 
เปาหมายทางการเมือง  รวมทั้งการศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย  วิทยาศาสตรกับจริยธรรม 
ความจริงอันสูงสุด ความสําคัญของหลักอหิงสะธรรมและระเบียบทางการเมือง 
๔๐๑  ๓๔๓  ธรรมาภิบาลเชิงพุทธ                                               ๓(๓-๐-๖) 
              (Buddhist Good Governance) 
         ศึกษาความหมาย  ทฤษฎี  หลักการและองคประกอบของธรรมาภิบาล  หลักธรรมาภิบาล 
ในพระไตรปฎก    เปรียบเทียบหลักธรรมาภิบาลกับธรรมาภิบาลเชิงพุทธ    การประยุกตใชหลักธรร 
มาภิบาลเชิงพุทธสําหรับการบริหารจัดการภาครัฐภาคธุรกิจ ภาคเอกชนและประชาชน 
๔๐๑  ๓๔๔  สันติวิธีและสมานฉันทเชิงพุทธ                                    ๓(๓-๐-๖) 
              (Peaceful Means and Reconciliation in Buddhism) 
         ศึกษาสาเหตุและปญหาของความขัดแยง    วิธีระงับความขัดแยงโดยสันติวิธี    การสราง 
สันติวิธีและสมานฉันทตามหลักพุทธธรรม 
๔๐๑  ๔๔๕  กฎหมายปกครอง                                                     ๓(๓-๐-๖) 
              (Administrative Law) 
         ศึกษาประวัต ิ  แนวคิดและสาระสําคัญของกฎหมายปกครอง  การบริการสาธารณะ  การ 
จัดระเบียบราชการบริหารสวนกลาง    สวนภูมิภาค    และสวนทองถิ่น    ระบบขาราชการ    ความ 
เกี่ยวพันระหวางขาราชการกับรัฐตามกฎหมาย    ขาราชการพลเรือน    ขาราชการทหาร    บําเหน็จ 
บํานาญขาราชการ  และการจัดตั้งศาลปกครองของไทย 
๔๐๑  ๔๔๖  กฎหมายอาญา                                                       ๓(๓-๐-๖) 
              (Criminal Law)
คณะสังคมศาสตร 

        ศึกษาลักษณะกฎหมายอาญา  ทฤษฎีวาดวยความรับผิดชอบ  ขอบเขตบังคับกฎหมาย 
อาญา  การพยายามกระทําความผิด  ผูมสวนเกี่ยวของในการกระทําความผิดเหตุยกเวนความผิด 
                                            ี
ยกเวนโทษ  ลดโทษ  การกระทําความผิดหลายบทหรือหลายกระทง  การกระทําความผิดอีก อายุ 
ความอาญา    โทษในทางอาญาและวิธีการเพื่อความปลอดภัย    รวมทั้งศึกษาทฤษฎีอาชญาวิทยา 
และทัณฑวิทยา 
๔๐๑  ๔๔๗  กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา                                          ๓(๓-๐-๖) 
               (Law of Criminal Procedure) 
        ศึกษาหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา    ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ 
อาญา 
๔๐๑  ๔๔๘  กฎหมายลักษณะพยาน                                                   ๓(๓-๐-๖) 
               (Law of Witness) 
        ศึกษาความรูทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายลักษณะพยาน    หลักทั่วไปเกี่ยวกับการรับฟงพยาน 
หลักฐาน    การนําสืบ    ขอเท็จจริงที่ไมตองนําสืบดวยพยานหลักฐาน    พยานหลักฐานที่หามมิให 
รับฟง  พยานหลักฐานที่ตองหามโดยกฎหมายปดปาก  การนําสืบพยานบุคคลแทนเอกสาร พยาน 
ตาง ๆ  เชน  พยานบอกเลา  พยานบุคคล  พยานเอกสาร  พยานวัตถุ  พยานที่เปนความเห็น วิธีนํา 
สืบพยานโดยหลักฐานทั่วไป  มาตรฐานการชั่งน้ําหนักพยานหลักฐาน  และการคุมครองพยานตาม 
กฎหมาย 
๔๐๑  ๔๔๙  การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมือง 
               ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต                                      ๓(๓-๐-๖) 
               (Social and Political Changes in Southeast Asia) 
        ศึกษาปญหาสําคัญในกระบวนการพัฒนาการทางการเมือง      เศรษฐกิจ      และสังคม 
ในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต      วิเคราะหปญหาความเปลี่ยนแปลงที่กลุมประเทศเหลานี้ 
                                                      
เผชิญหนา    ซึ่งกอใหเกิดความลมเหลวในการพัฒนาการในอดีต    ปญหาดานโครงสรางทางสังคม 
เศรษฐกิจ    และการเมืองในปจจุบัน    แนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมืองในเอเชีย 
ตะวันออกเฉียงใต 
๔๐๑  ๔๕๐  การเมืองการปกครองของกลุมประเทศในเอเชียใต 
                                                                          ๓(๓-๐-๖) 
               (Politics and Government of South Asia Countries) 
        ศึกษาระบบการเมืองของแนวความคิดทางการเมือง  สถาบันทางการเมือง  และพฤติกรรม 
ทางการเมืองของกลุมประเทศเอเชียใต 
๔๐๑  ๔๕๑  ประวัติความคิดทางการเมืองเบื้องตน                                 ๓(๓-๐-๖) 
               (Introduction to History of Political Thoughts)
คณะสังคมศาสตร 

         ศึกษาแนวคิดทางการเมืองของนักคิดสําคัญของโลกในอดีตทั้งตะวันตกและตะวันออก 
เชน เพลโต อริสโตเติล มาคิอาเวลลี  รุสโซ เบอรก มารก เอ็งเกลส  เลนิน โกณฑัญญะ คานธี  เหมา 
เจอตุง โฮจิมินท 
๔๐๑  ๔๕๒  ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ                                              ๓(๓-๐-๖) 
               (Comparative Democracy) 
         ศึกษาแนวคิดประชาธิปไตย    ความเปนมาของประชาธิปไตย    เปรียบเทียบสมัยโบราณ 
และสมัยปจจุบัน  ประเภทของประชาธิปไตย    ประชาธิปไตยของอังกฤษ    อเมริกา    ฝรั่งเศส 
เยอรมนี  ญี่ปุน    เปรียบเทียบประชาธิปไตยระบบทุนนิยมกับประชาธิปไตยสังคมนิยม 
ประชาธิปไตย    ระบบอังกฤษกับอเมริกาและฝรั่งเศส    ประชาธิปไตยระบบไทยกับญี่ปุน    และ 
ประชาธิปไตยในศตวรรษ   ที่ ๒๑ 
๔๐๑  ๔๕๓  การศึกษาคนควาตําราเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง                                ๓(๓-๐-๖) 
               (Readings in Politics and Government) 
         ศึกษาโดยอิสระของนิสิตในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ผูเรียนมีความสนใจเปนพิเศษ  ภายใตการ 
แนะนําของอาจารยที่ปรึกษา    เรื่องที่เลือกศึกษาโดยอิสระตองเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการเมืองการ 
ปกครอง  โดยการแนะนําของอาจารยที่ปรึกษา 
๔๐๑  ๔๕๔  สัมมนาแนวคิดทางการเมืองของนักคิดสําคัญในตะวันออก                              ๓(๓-๐-๖) 
               (Seminar on Eastern Political Thoughts) 
         สัมมนาแนวคิดทางการเมืองของนักคิดสําคัญในตะวันออก ตามหัวขอที่กําหนดให 
๔๐๑  ๔๕๕  สัมมนาปญหาทางการเมืองการปกครองของไทย                                         ๒(๒-๐-๔) 
               (Seminar on Problems of Politics 
               and Government of Thailand) 
         สัมมนาปญหาทางการเมืองการปกครองของไทย ตามหัวขอที่กําหนดให 
๔๐๑  ๔๕๖  สัมมนาภาวะผูนําทางการเมือง                                              ๒(๒-๐-๔) 
               (Seminar on Political Leadership) 
         สัมมนาเรื่องภาวะผูนําทางการเมือง ตามหัวขอที่กําหนดให 
๔๐๑  ๔๕๗  แนวความคิดทางการเมืองไทย                                                 ๒(๒-๐-๔) 
               (Thai Political Thoughts) 
         ศึกษาลักษณะและปญหาเฉพาะของความคิดทางการเมืองไทยในเรื่องอิทธิพลของ 
วัฒนธรรมเดิม ที่กอใหเกิดความคิดทางการเมืองไทย อิทธิพลของความคิดทางการเมืองตะวันตกที่ 
มีตอความคิดทางการเมืองไทย  และความคิดทางการเมืองของนักคิดคนสําคัญ  ๆ  ในอดีตและ 
ปจจุบัน 
๔๐๑  ๔๕๘  การเมืองของเพลโตและอริสโตเติล                                            ๒(๒-๐-๔)
คณะสังคมศาสตร 

               (Politics of Plato and Aristotle) 
        ศึกษาวิเคราะหงานเขียนของเพลโตในเชิงปรัชญาและการเมือง  ความสัมพันธของงานเอก 
สองชิ้น คือ  อุดมรัฐ (Republic) และโพิติดส  (Politics) ใหเห็นความตอเนื่องของปรัชญาการเมือง 
คลาสสิคที่เริ่มตนโดยโสเครติสและเพลโตและถูกทําใหสมบูรณโดยอริสโตเติล 
๔๐๑  ๔๕๙  ความคิดทางการเมืองของมาคิอาเวลลี                                     ๒(๒-๐-๔) 
               (Politics Thoughts of Machiavelli) 
        ศึกษาความคิดของมาคิอาเวลลี  เนนความสําคัญของระบบวิธีคิดของมาคิอาเวลลี  ที่ 
ปรากฏในผลงานเรื่อง  Mandragola  The  Prince  The  Discourses  History  of  Florence 
และ  The  Art  of  War  และความคิดทางการเมืองของมาคิอาเวลลีที่มตอการนํามาประยุกตใชใน 
                                                                      ี
สังคมไทย 
        ๒)  วิชาเอกการบริหารรัฐกิจ 
๔๐๑  ๓๖๐  วิทยาการบริหาร                                                       ๓(๓-๐-๖) 
               (Administrative Technology) 
        ศึกษาผลการวิจัยและแนวคิดใหม  ๆ    ในการบริหาร    การใชเครื่องมือสมัยใหมในการ 
บริหารงานและการวิจัย    วิธีการทางคณิตศาสตรที่นํามาใชในการแกปญหาและการตัดสินใจ  การ 
วิเคราะหเกี่ยวกับความรูเบื้องตนในการใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือบริหาร    และพุทธวิธีเพื่อการ 
บริหารงานสมัยใหม 
๔๐๑  ๓๖๑  การจัดการสิ่งแวดลอม                                                 ๓(๓-๐-๖) 
               (Environmental Management) 
        ศึกษาความหมาย    แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม    หลักการบริหาร    การ 
ควบคุม    และการบํารุงรักษาสิ่งแวดลอม    ปจจัยทีมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม    ปญหาการใช 
                                                      ่
ประโยชนและความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม  บทบาทของหนวยงาน 
ภาครัฐ  เอกชน  ชุมชน  และองคกรตาง ๆ  ที่เกี่ยวของกับการจัดการสิ่งแวดลอม 
๔๐๑  ๓๖๒  การจัดการทรัพยสินของวัดในพระพุทธศาสนา                                    ๓(๓-๐-๖) 
               (Assets Management of Tempe in Buddhism) 
        ศึกษาวิธีการจัดการทรัพยสินของวัดใหเกิดประโยชนทั้งแกวัด  ชุมชน  และสังคมโดยทั่วไป 
การบริหารงานบุคคล    การบริหารทรัพยสินและการบริหารงานที่เกี่ยวของกับทรัพยสินของวัดใหมี 
ประสิทธิภาพ 
๔๐๑  ๓๖๓  จริยธรรมทางการบริหาร                                                 ๓ (๓-๐-๖) 
               (Administrative Ethics)
คณะสังคมศาสตร 

         ศึกษาจริยธรรมทางการบริหารที่มีมาตรฐานทางการสรางระบบ  กํากับ  และตรวจสอบ  ซึ่ง 
คํานึงถึงประโยชนที่จะเกิดขึ้นแกองคการ  โดยนําหลักการของพละ ๔ มาใช 
๔๐๑  ๓๖๔  ธรรมาภิบาลเพื่อการบริหาร                                        ๓(๓-๐-๖) 
              (Good Governance for the Administration) 
         ศึกษาความหมาย      ทฤษฎี      หลักการและองคประกอบของธรรมาภิบาล      หลัก 
ธรรมาภิบาลกับสังคมไทย    หลักการบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี    หลักธรรมาภิบาลกับ 
การบริหารจัดการภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคเอกชนและประชาชน การบริหารจัดการยุคใหมตามหลัก 
ธรรมาภิบาลและธรรมาภิบาลเชิงพุทธ 
๔๐๑  ๔๔๕  กฎหมายปกครอง                                                    ๓(๓-๐-๖) 
              (Administrative Law) 
         ศึกษาประวัต ิ  แนวคิดและสาระสําคัญของกฎหมายปกครอง  การบริการสาธารณะ  การ 
จัดระเบียบราชการบริหารสวนกลาง    สวนภูมิภาค    และสวนทองถิ่น  ระบบขาราชการ    ความ 
เกี่ยวพันระหวางขาราชการกับรัฐตามกฎหมาย    ขาราชการพลเรือน    ขาราชการทหาร    บําเหน็จ 
บํานาญขาราชการ  และการจัดตั้งศาลปกครองของไทย 
๔๐๑  ๔๔๖  กฎหมายอาญา                                                      ๓(๓-๐-๖) 
              (Criminal Law) 
         ศึกษาลักษณะกฎหมายอาญา  ทฤษฎีวาดวยความรับผิดชอบ  ขอบเขตบังคับกฎหมาย 
อาญา    การพยายามกระทําความผิด    ผูมีสวนเกี่ยวของในการกระทําความผิดเหตุยกเวน 
                                                 
ความผิด    ยกเวนโทษ    ลดโทษ    การกระทําความผิดหลายบทหรือหลายกระทง    การกระทํา 
ความผิดอีก อายุความอาญา โทษในทางอาญาและวิธีการเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งศึกษาทฤษฎี 
อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา 
๔๐๑  ๔๔๗  กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา                                       ๓(๓-๐-๖) 
              (Law of Criminal Procedure) 
         ศึกษาหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา  ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ 
อาญา 
๔๐๑  ๔๔๘  กฎหมายลักษณะพยาน                                                ๓(๓-๐-๖) 
              (Law of Witness) 
         ศึกษาความรูทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายลักษณะพยาน    หลักทั่วไปเกี่ยวกับการรับฟง 
พยานหลักฐาน  การนําสืบ  ขอเท็จจริงที่ไมตองนําสืบดวยพยานหลักฐาน  พยานหลักฐานที่หามมิ 
ใหรับฟง    พยานหลักฐานที่ตองหามโดยกฎหมายปดปาก    การนําสืบพยานบุคคลแทนเอกสาร 
พยานตาง ๆ  เชน  พยานบอกเลา  พยานบุคคล  พยานเอกสาร  พยานวัตถุ   พยาน         ที่เปน
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง

More Related Content

Viewers also liked

4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑
4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑
4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑Wataustin Austin
 
ไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdfไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ PdfMameaw Pawa
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทยniralai
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 

Viewers also liked (7)

4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑
4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑
4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑
 
ไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdfไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdf
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
038พระพุทธศาสนากับการเมืองไทย
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 

More from pentanino

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยpentanino
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมpentanino
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารpentanino
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555pentanino
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖pentanino
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555pentanino
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...pentanino
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...pentanino
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554pentanino
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรpentanino
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์pentanino
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 

More from pentanino (20)

การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนาการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
การพัฒนาคุณลักษณะภาวะผูนําทางจริยธรรมตามแนวพระพุทธศาสนา
 
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทยการพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
การพัฒนาภาวะผูนําของคณะสงฆไทย
 
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรมการบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
การบริหารจัดการในการปกครองคนตามแนวทางคุณธรรม
 
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหารการนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
การนําหลักสัปปุริสธรรมเพื่อเปนเครื่องมือในการวางแผนการบริหาร
 
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
รายงานการประเมินตนเองประจำปีการศึกษา 2555
 
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555   2559
แผนพัฒนาการวิจัย ปี 2555 2559
 
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
แผนปฏิบัติการประจำปี ๒๕๕๖
 
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555แผนปฏิบัติการประจำปี2555
แผนปฏิบัติการประจำปี2555
 
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
ทัศนคติของนิสิตที่มีตอการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาธรรมะภาคปฏิบัติของวิทยาลั...
 
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
แผนพัฒนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆเลย ระยะที่ ๑๑ (พ.ศ. ๒...
 
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
การติดตามพุทธศาสตรบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยสงฆ์เลย รุ่น 57 ปี 2554
 
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องกรรมในทางพระพุทธศาสนา
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
ระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจรระเบียบ+ครุย มจร
ระเบียบ+ครุย มจร
 
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
ปรัชญาการศึกษากับการเรียนรู้ของมนุษย์
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 

สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง

  • 1. หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต  สาขาวิชารัฐศาสตร  ภาควิชารัฐศาสตร  คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๕๐  ๑.  ชื่อหลักสูตร  ๑.๑  ชื่อหลักสูตรภาษาไทย  :  หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต  สาขาวิชารัฐศาสตร  ๑.๒  ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ  :  Bachelor of Arts Programme  in Political Science  ๒.  ชื่อปริญญา  ๒.๑  ชื่อเต็มภาษาไทย  :  พุทธศาสตรบัณฑิต (รัฐศาสตร)  ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ  :  Bachelor of Arts (Political Science)  ๒.๒  ชื่อยอภาษาไทย  :  พธ.บ. (รัฐศาสตร)  ชื่อยอภาษาอังกฤษ  :  B.A. (Political Science)  ๓.  ชื่อหนวยงานรับผิดชอบ  ภาควิชารัฐศาสตร คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  ๔.  วัตถุประสงคของหลักสูตร  ๔.๑  เพื่อผลิตบัณฑิตใหมีความรูความเขาใจในหลักการปกครองและการบริหารตามหลัก  พุทธธรรมและทฤษฎีรัฐศาสตรสมัยใหม  ๔.๒  เพื่อผลิตบัณฑิตใหสามารถใชความรูทางดานการปกครองและการบริหารไดอยางมี  ประสิทธิภาพ  ๔.๓  เพื่อผลิตบัณฑิตใหสามารถนําความรูทางดานการปกครองและการบริหารไป  ประยุกตใชในการเผยแผพระพุทธศาสนาเพื่อแกปญหาและพัฒนาสังคม  ๕.  โครงสรางหลักสูตร  ๕.๑  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  ๓๐  หนวยกิต  ๕.๒  หมวดวิชาเฉพาะ  ๑๐๔  หนวยกิต  ๕.๒.๑  วิชาแกนพระพุทธศาสนา  ๓๐  หนวยกิต  ๕.๒.๒  วิชาเฉพาะดาน  ๗๔  หนวยกิต  ๑)  วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต  ๑๐  หนวยกิต
  • 2. คณะสังคมศาสตร  ๒)  วิชาเฉพาะสาขา  ๖๔  หนวยกิต  ก.  วิชาบังคับสาขา  ๒๗  หนวยกิต  ข.  วิชาบังคับวิชาเอก  ๒๑  หนวยกิต  ค.  วิชาเลือกวิชาเอก  ๑๖  หนวยกิต  ๕.๓  หมวดวิชาเลือกเสรี  ๖  หนวยกิต  รวม  ๑๔๐  หนวยกิต  ๖.  รายวิชา  ๖.๑  หมวดวิชาศึกษาทั่วไป  ๓๐  หนวยกิต  ดูรายละเอียดในหมวดวิชาศึกษาทัวไปในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา  คณะพุทธศาสตร  ่ ๖.๒  หมวดวิชาเฉพาะ  ๑๐๔  หนวยกิต  ๑)  วิชาแกนพระพุทธศาสนา  ๓๐  หนวยกิต  ดูรายละเอียดในวิชาแกนพระพุทธศาสนา  ในสาขาวิชาพระพุทธศาสนา  คณะพุทธศาสตร  ๒)  วิชาเฉพาะดาน  ๗๔  หนวยกิต  ก.  วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต  ๑๐  หนวยกิต  ๔๐๑ ๓๐๑  พระพุทธศาสนากับการพัฒนาการเมืองการปกครอง  ๒(๒-๐-๔)  ๔๐๑ ๓๐๒  รัฐศาสตรตามแนวพระพุทธศาสนา  ๒(๒-๐-๔)  ๔๐๑ ๔๐๓  พระพุทธศาสนากับความมั่นคงของมนุษย  ๒(๒-๐-๔)  ๔๐๑ ๔๐๔  รัฐศาสตรในวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา  ๒(๒-๐-๔)  ๔๐๑ ๔๐๕  พุทธธรรมกับการบริหาร  ๒(๒-๐-๔)  ข.  วิชาเฉพาะสาขา  ๖๔  หนวยกิต  (๑)  วิชาบังคับสาขา  ๒๗  หนวยกิต  ๔๐๑  ๒๐๖  ปรัชญาการเมืองเบื้องตน  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๒๐๗  ความรูเบื้องตนทางรัฐศาสตร  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๐๘  ความรูเบื้องตนทางการบริหารรัฐกิจ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๐๙  ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๑๐  การเมืองการปกครองเปรียบเทียบ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๑๑  ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๑๒  การวิเคราะหการเมืองการปกครองของไทย  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๑๓  การเมืองการปกครองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๑๔  ภาษาอังกฤษสําหรับนักรัฐศาสตร  ๓(๓-๐-๖)  (๒)  วิชาบังคับวิชาเอก  ๒๑  หนวยกิต
  • 3. คณะสังคมศาสตร  (๒.๑)  วิชาเอกการปกครอง  ๔๐๑  ๓๑๕  เหตุการณปจจุบันในการเมืองไทย  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๑๖  พรรคการเมือง กลุมผลประโยชนและการเลือกตั้ง  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๑๗  การเมืองการปกครองสวนภูมิภาค  และสวนทองถิ่นของไทย  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๑๘  ระบบราชการไทย  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๑๙  ทฤษฎีวาดวยสังคมและการเมือง  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๒๐  สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๒๑  ศึกษาอิสระทางการปกครอง  ๓(๐-๖-๖)  (๒.๒)  วิชาเอกการบริหารรัฐกิจ  ๔๐๑  ๓๒๒  ทฤษฎีและพฤติกรรมองคการ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๒๓  นโยบายสาธารณะและการวางแผน  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๒๔  การบริหารโครงการ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๒๕  การพัฒนาทรัพยากรมนุษย  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๒๖  การบริหารงบประมาณและการคลังสาธารณะ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๒๗  การบริหารการพัฒนา  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๒๘  ศึกษาอิสระทางการบริหารรัฐกิจ  ๓(๐-๖-๖)  (๒.๓)  วิชาเอกการระหวางประเทศ  ๔๐๑ ๓๒๙  การทูต  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑ ๓๓๐  การเมืองระหวางประเทศ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑ ๓๓๑  กฎหมายระหวางประเทศ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑ ๔๓๒  องคการระหวางประเทศ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑ ๔๓๓  เศรษฐศาสตรการเมืองระหวางประเทศ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑ ๔๓๔  นโยบายตางประเทศของไทย  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑ ๔๓๕  ศึกษาอิสระทางการระหวางประเทศ  (๐-๖-๖)  (๓)  วิชาเลือกวิชาเอก  ๑๖  หนวยกิต  (๓.๑)  วิชาเอกการปกครอง  ๔๐๑  ๓๓๖  วิวัฒนาการทางชีววิทยาของมนุษยกับการเมือง  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๓๗  แนวคิดทางการเมืองในอุดมคติ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๓๘  ภาษากับการเมือง  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๓๙  จิตวิทยาการเมือง  ๓(๓-๐-๖)
  • 4. คณะสังคมศาสตร  ๔๐๑  ๓๔๐  ธุรกิจกับการเมือง  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๔๑  ศาสนากับการเมือง  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๔๒  จริยธรรมทางการเมือง  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๔๓  ธรรมาภิบาลเชิงพุทธ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๔๔  สันติวิธีและสมานฉันทเชิงพุทธ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๔๕  กฎหมายปกครอง  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๔๖  กฎหมายอาญา  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๔๗  กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๔๘  กฎหมายลักษณะพยาน  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๔๙  การเปลี่ยนแปลงทางสังคม  และการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียงใต  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๕๐  การเมืองการปกครองของกลุมในประเทศเอเชียใต  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๕๑  ประวัติความคิดทางการเมืองเบื้องตน  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๕๒  ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๕๓  การศึกษาคนควาตําราเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๕๔  สัมมนาแนวคิดทางการเมืองของนักคิดสําคัญ  ในตะวันออก  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๕๕  สัมมนาปญหาทางการเมืองการปกครองของไทย  ๒(๒-๐-๔)  ๔๐๑  ๔๕๖  สัมมนาภาวะผูนําทางการเมือง  ๒(๒-๐-๔)  ๔๐๑  ๔๕๗  แนวความคิดทางการเมืองไทย  ๒(๒-๐-๔)  ๔๐๑  ๔๕๘  การเมืองของเพลโตและอริสโตเติล  ๒(๒-๐-๔)  ๔๐๑  ๔๕๙  ความคิดทางการเมืองของมาคิอาเวลลี  ๒(๒-๐-๔)  (๓.๒)  วิชาเอกการบริหารรัฐกิจ  ๔๐๑  ๓๖๐  วิทยาการบริหาร  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๖๑  การจัดการสิ่งแวดลอม  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๖๒  การจัดการทรัพยสินของพระพุทธศาสนา  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๖๓  จริยธรรมทางการบริหาร  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๖๔  ธรรมาภิบาลเพื่อการบริหาร  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๔๕  กฎหมายปกครอง  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๔๖  กฎหมายอาญา  ๓(๓-๐-๖)
  • 5. คณะสังคมศาสตร  ๔๐๑  ๔๔๗  กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๔๘  กฎหมายลักษณะพยาน  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๖๕  การบริหารการคลังสาธารณะ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๖๖  การปกครองและการบริหารในเขตนครหลวง  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๖๗  การบริหารหนวยงานของรัฐ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๖๘  การบริหารองคกรปกครองสวนทองถิ่นของไทย  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๖๙  การบริหารเชิงกลยุทธ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๗๐  การบริหารรัฐกิจเปรียบเทียบ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๗๑  การศึกษาคนควาตําราเกี่ยวกับการบริหารรัฐกิจ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๗๒  สัมมนาปญหาการบริหารรัฐกิจ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๗๓  สัมมนาการบริหารแรงงาน  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๗๔  ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการในการบริหารรัฐกิจ  ๒(๒-๐-๔)  ๔๐๑  ๔๗๕  การบริหารงานคณะสงฆ  ๒(๒-๐-๔)  ๔๐๑  ๔๗๖  การจัดการสาธารณสมบัติ  ๒(๒-๐-๔)  ๔๐๑  ๔๗๗  หลักในการพัฒนาอสังหาริมทรัพย  ๒(๒-๐-๔)  ๔๐๑  ๔๗๘  สัมมนาการบริหารงานคณะสงฆ  ๒(๒-๐-๖)  (๓.๓)  วิชาเอกการระหวางประเทศ  ๔๐๑  ๓๗๙  นโยบายตางประเทศของไทยตอประเทศเพื่อนบาน  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๘๐  องคการสหประชาชาติและองคการ  ระหวางประเทศอื่นๆ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๘๑  เศรษฐกิจและการเมืองระหวางประเทศ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๔๕  กฎหมายปกครอง  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๔๖  กฎหมายอาญา  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๔๗  กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๔๘  กฎหมายลักษณะพยาน  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๘๒  ทฤษฎีการเมืองระหวางประเทศและเหตุการณปจจุบัน ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๘๓  ปญหาการเมืองระหวางประเทศปจจุบัน  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๘๔  ความรวมมือสวนภูมิภาคในเอเชียตะวันออกเฉียงใต  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๘๕  การเมืองระหวางประเทศในตะวันออกกลาง  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๘๖  สัมมนาประเทศมหาอํานาจกับเอเชียตะวันออกเฉียงใต  ๓(๓-๐-๖)
  • 6. คณะสังคมศาสตร  ๔๐๑  ๔๘๗  สัมมนาความสัมพันธและนโยบายตางประเทศ  ของกลุมประเทศแอฟริกา  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๔๘๘  สนธิสัญญาและอนุสนธิสัญญาระหวางประเทศ  ๒(๒-๐-๔)  ๔๐๑  ๔๘๙  มหาอํานาจในการเมืองโลก  ๒(๒-๐-๔)  ๔๐๑  ๔๙๐  การรวมตัวของกลุมประเทศในยุโรปตะวันตก  ๒(๒-๐-๔)  ๔๐๑  ๔๙๑  การเมืองระหวางประเทศในลาตินอเมริกา  ๒(๒-๐-๔)  ๔๐๑  ๔๙๒  สัมมนาปญหาความขัดแยงระหวางประเทศ  และการแกไข  ๒(๒-๐-๔)  ๖.๓  หมวดวิชาเลือกเสรี  ๖  หนวยกิต  นิสิตสาขาวิชารัฐศาสตร   ตองเลือกศึกษารายวิชาตาง ๆ   ที่เปดสอนในมหาวิทยาลัย-  มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  เปนวิชาเลือกเสรี  จํานวนไมนอยกวา ๖ หนวยกิต  โดยความ  เห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษา  ๖.๔  วิชาโท  ๑๘  หนวยกิต  นิสิตสาขาวิชาอื่นที่ประสงคจะศึกษาสาขาวิชารัฐศาสตรเปนวิชาโท  ตองศึกษารายวิชา ใน  สาขาวิชารัฐศาสตร  ไมนอยกวา ๑๘ หนวยกิต  ดังตอไปนี้  (๑)  วิชาบังคับ  ๔  รายวิชา  ๑๒  หนวยกิต  คือ  ๔๐๑  ๒๐๖  ปรัชญาการเมืองเบื้องตน  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๒๐๗  ความรูเบื้องตนทางรัฐศาสตร  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๐๘  ความรูเบื้องตนทางการบริหารรัฐกิจ  ๓(๓-๐-๖)  ๔๐๑  ๓๐๙  ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ  ๓(๓-๐-๖)  (๒)  วิชาเลือก  ๖  หนวยกิต  ใหเลือกศึกษารายวิชาตาง ๆ  ในสาขาวิชารัฐศาสตรอกไมนอยกวา ๖ หนวยกิต  โดย  ี ความเห็นชอบของอาจารยที่ปรึกษา  ๗.  คําอธิบายรายวิชา  ๗.๑  วิชาพระพุทธศาสนาประยุกต  ๑๐  หนวยกิต  ๔๐๑  ๓๐๑  พระพุทธศาสนากับการพัฒนาการเมืองการปกครอง  ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism and Political Development)  ศึกษาวิเคราะหบทบาทของพระพุทธศาสนาที่มีสวนรวมในการพัฒนาการเมืองการ  ปกครองของไทยตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัยเปนตนมา    พุทธธรรมที่มีสวนเสริมสรางคุณธรรมใหแก  การเมือง  องคกรทางคณะสงฆที่กอใหเกิดการพัฒนาทางดานการเมืองการปกครองของไทย
  • 7. คณะสังคมศาสตร  บทบาทของ  พระสงฆตอการเมืองไทย    บทบาทของพระสงฆกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย  โดยมีกรณีศึกษาจากพระสงฆที่มีบทบาททางการเมือง  เชน  พระสงฆศรีลังกา  เปนตัวอยาง  ๔๐๑  ๓๐๒  รัฐศาสตรตามแนวพระพุทธศาสนา  ๒(๒-๐-๔)  (Political Science in Buddhism)  ศึกษาแนวคิดทางการเมือง    การบริหาร    และการปกครองของพระพุทธศาสนาจาก  พระไตรปฎก  ตําราทางพระพุทธศาสนาและจากผลงานของนักวิชาการสมัยใหม  ๔๐๑  ๔๐๓  พระพุทธศาสนากับความมั่นคงของมนุษย  ๒(๒-๐-๔)  (Buddhism and Human Security)  ศึกษาความหมาย ความเปนมา  และแนวคิดเกี่ยวกับความมั่นคงของมนุษย   ความสําคัญ  ของความมั่นคงของมนุษยที่มีตอการพัฒนาประเทศ    ความมั่นคงของมนุษยตามแนว  พระพุทธศาสนา  และศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่สงเสริมความมั่นคงของมนุษยในดาน  ตางๆ  ๔๐๑  ๔๐๔  รัฐศาสตรในวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา  ๒(๒-๐-๔)  (Political Science in Buddhist Literature)  ศึกษาทฤษฎีการเมืองการปกครอง    และการบริหารที่ปรากฏในวรรณกรรมทาง  พระพุทธศาสนา    เชน    ไตรภูมิพระรวง    โลกนีติ    ราชนีติ    ธรรมนีติ    จักกวาฬทีปนี    ภูมวิลาสินี  ิ มงคลทีปนี    โลกทีปกสาร    โลกบัญญัต ิ   วิเคราะหการเมืองการปกครองและการบริหาร    ใน  วรรณกรรมเหลานี้และวรรณกรรมอื่นๆ  ที่นาสนใจ  ๔๐๑  ๔๐๕  พุทธธรรมกับการบริหาร  ๒(๒-๐-๔)  (Buddhadhamma and Administration)  ศึกษาความหมายและขอบขายของการบริหาร  บทบาทดานการบริหารของพระพุทธเจา  วิเคราะหพุทธธรรมเกี่ยวกับหลักการและวิธีการบริหาร    คุณธรรมและจริยธรรมของนักบริหาร  การ  ประยุกตพุทธวิธีบริหารเพื่อใชในการบริหาร  ๗.๒  วิชาเฉพาะสาขา  ๖๔  หนวยกิต  ก.  วิชาบังคับสาขา  ๒๗  หนวยกิต  ๔๐๑  ๒๐๖  ปรัชญาการเมืองเบื้องตน  ๓(๓-๐-๖)  (Introduction to Political Philosophy)  ศึกษาความหมายและที่มาของวิชาปรัชญาการเมืองในประเด็นที่สําคัญ  เชน  จุดมุงหมาย  ปลายทางของมนุษย  จุดมุงหมายของรัฐ  ความยุติธรรม  ปรัชญาการเมืองสมัยโบราณ  ปรัชญา  การเมืองสมัยกลางและปรัชญาการเมืองสมัยใหม    ผลงานของนักปรัชญาตะวันตกและตะวันออก  คนสําคัญ  รวมถึงพุทธปรัชญาทางการเมือง
  • 8. คณะสังคมศาสตร  ๔๐๑  ๒๐๗  ความรูเบื้องตนทางรัฐศาสตร  ๓(๓-๐-๖)  (Introduction to Political Science)  ศึกษาธรรมชาติและวิธีการทางรัฐศาสตร    ความสัมพันธระหวางรัฐศาสตรกับศาสตร  ทาง  สังคมอื่น ๆ  ทฤษฎีทางรัฐศาสตรและหลักเกี่ยวกับอํานาจ  การใชอํานาจ  ความสัมพันธระหวางรัฐ  กับบุคคล   อํานาจกับกฎหมาย  สถาบันทางการเมืองการปกครอง  พลังและกระบวนการทางการ  เมืองและประชาคมนานาชาติ  ๔๐๑  ๓๐๘  ความรูเบื้องตนทางการบริหารรัฐกิจ  ๓(๓-๐-๖)  (Introduction to Public Administration)  ศึกษาความหมาย  แนวคิด  ทฤษฎีและขอบเขตการบริหารรัฐกิจ  นโยบายของรัฐเกี่ยวกับ  การบริหาร    พัฒนาการของการบริหาร    การบริหารรัฐกิจ    การบริหารธุรกิจ    การบริหารกับปจจัย  แวดลอม  การบริหารการพัฒนา  การจัดการทรัพยากรมนุษย   การจัดและปรับปรุง       องคการ  ของรัฐ  การวางแผน  การวินิจฉัยสั่งการ  การติดตอประสานงานและการติดตามผลงาน ภาวะผูนํา  การบริหารราชการไทย  และการบริหารรัฐกิจเชิงพุทธ  ๔๐๑  ๓๐๙  ความรูเบื้องตนทางความสัมพันธระหวางประเทศ  ๓(๓-๐-๖)  (Introduction to International Relations)  ศึกษาความรูพื้นฐานของการเมืองระหวางประเทศ  ธรรมชาติและโครงสรางของระบบ  การเมืองระหวางประเทศ  ปจจัยทางดานการเมือง  เศรษฐกิจ  สังคม  และการทหาร  วัฒนธรรม  อุดมการณที่มีผลตอแนวพฤติกรรมของรัฐ      เครื่องมือที่ใชในการดําเนินความสัมพันธระหวางรัฐ  พัฒนาการความรวมมือระหวางประเทศในรูปแบบตาง ๆ  เชน  ระเบียบปฏิบัติ   กฎหมาย สถาบัน  ระหวางประเทศ  ความสัมพันธระหวางประเทศตามแนวพระพุทธศาสนา  ๔๐๑  ๓๑๐  การเมืองการปกครองเปรียบเทียบ  ๓(๓-๐-๖)  (Comparative Politics and Government)  ศึกษาแนวคิดและวิธีการตาง  ๆ    ในการศึกษาเกี่ยวกับการเมืองการปกครองเปรียบเทียบ  ทั้งนี้ใหศึกษาเปรียบเทียบของประเทศตาง ๆ  โดยเลือกเฉพาะบางประเทศที่สําคัญในกลุมประเทศ  ประชาธิปไตย  กลุมประเทศคอมมิวนิสตและกลุมประเทศโลกที่สาม  โดยเนนศึกษาในรายละเอียด  เกี่ยวกับพฤติกรรมทางการเมือง โครงสราง องคประกอบและหนาที่ของระบบการเมืองการปกครอง  เหลานั้นเปนกรณีศึกษา  ๔๐๑  ๓๑๑  ระเบียบวิธีวิจยทางรัฐศาสตร  ั ๓(๓-๐-๖)  (Research Methodology in Political Science)
  • 9. คณะสังคมศาสตร  ศึกษาระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร    ทั้งที่เปนการวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ  โดยครอบคลุมถึงการสรางแนวความคิด ประเด็นปญหา วัตถุประสงค  การตั้งสมมติฐาน การสราง  ขอบขาย  บท  การประมวลผล  การวิเคราะหขอมูล  ตลอดจนการรายงานการวิจัย  ทั้งนี้      ใหมี  การฝกหัดจัดทําโครงการวิจัยเสนอเปนภาคปฏิบัตดวย  ิ ๔๐๑  ๓๑๒  การวิเคราะหการเมืองการปกครองของไทย  ๓(๓-๐-๖)  (Analysis of Thai Politics and Government)  ศึกษาวิเคราะหปจจัยทางประวัติศาสตร  โครงสรางสังคม  วัฒนธรรมและเศรษฐกิจ  วัฒนธรรมทางการเมืองของไทย  ลักษณะเฉพาะและอุดมการณประจําชาติ  บทบาทของทหารตอ  การเมืองการปกครองของไทย  ๔๐๑  ๓๑๓  การเมืองการปกครองของเอเชียตะวันออกเฉียงใต  ๓(๓-๐-๖)  (Politics and Government of Southeast Asia)  ศึกษาแนวคิดและพฤติกรรมทางการเมือง  สถาบันการเมือง  การจัดระเบียบการปกครอง  รูปแบบของรัฐและองคกรแหงอํานาจของกลุมประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต  เปรียบเทียบ  ความสัมพันธระหวางประเทศที่มีผลกระทบตอการเมือง  เศรษฐกิจ  สังคม  และปญหาการพัฒนา  การเมืองการปกครองของกลุมประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต  ๔๐๑  ๓๑๔  ภาษาอังกฤษสําหรับนักรัฐศาสตร  ๓(๓-๐-๖)  (English for Political Scientists)  ศึกษาโครงสราง      ศัพทและสํานวนที่ใชกันมากในสาขาวิชารัฐศาสตร      และฝกการ  ใชศัพทและสํานวนเหลานั้นในการเขียนและการพูด   ตลอดทั้งฝกการอาน   วิเคราะหและตีความ  งานเขียนรัฐศาสตร      การเขียนยอความ      เรียงความ      และอภิปรายเปนภาษาอังกฤษในเรื่องที่  เกี่ยวกับรัฐศาสตร  ข.  วิชาบังคับวิชาเอก  ๒๑  หนวยกิต  ๑)  วิชาเอกการปกครอง  ๔๐๑  ๓๑๕  เหตุการณปจจุบันในการเมืองไทย   ๓(๓-๐-๖)  (Current Affairs of Thai Politics)  ศึกษาเหตุการณสําคัญที่เกิดขึ้นในอดีตและปจจุบัน  ซึ่งมีสวนเกี่ยวของและกระทบตอการ  เมืองไทย  โดยเนนเหตุการณทางการเมืองในปจจุบันเปนสําคัญ  และแนวโนมการเมืองไทยใน  อนาคต  ๔๐๑  ๓๑๖  พรรคการเมือง กลุมผลประโยชนและการเลือกตั้ง   ๓(๓-๐-๖)  (Political Parties, Interest Groups and Elections)
  • 10. คณะสังคมศาสตร  ศึกษาทฤษฎี  ความเปนมาของพรรคการเมือง  กลุมอิทธิพลและกลุมผลประโยชน  และ  ระบบของการเลือกตั้ง    บทบาทและอิทธิพลของกลุมตาง  ๆ    และความสัมพันธกับรัฐบาล   พฤติกรรมการลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง  และปญหาการเลือกตั้ง  เนนกรณีการเลือกตั้งของไทยโดย  เปรียบเทียบกับประเทศอื่น ๆ  ๔๐๑  ๓๑๗  การเมืองการปกครองสวนภูมิภาคและสวนทองถิ่นของไทย  ๓(๓-๐-๖)  (Regional and Local Politics and Government in Thailand)  ศึกษารูปแบบและกระบวนการของการเมืองการปกครองสวนภูมิภาคและสวนทองถิ่นของ  ไทยตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน  แนวคิดเกี่ยวกับการกระจายอํานาจในปจจุบัน  พฤติกรรมการเมือง และ  แนวโนมของการเมืองการปกครองสวนภูมิภาคและสวนทองถิ่นในอนาคต  ๔๐๑  ๔๑๘  ระบบราชการไทย  ๓(๓-๐-๖)  (Thai Bureaucracy)  ศึกษาการจัดองคการ    การบริหาร    การปฏิบัติงานของระบบราชการไทย    บทบาทและ  อิทธิพลของขาราชการที่มีตอการกําหนดนโยบายของรัฐบาล    ทัศนคติและพฤติกรรมของ  ขาราชการ  วัฒนธรรมทางการบริหาร  ความสัมพันธระหวางขาราชการกับประชาชน  ปญหาของ  การควบคุมและความรับผิดชอบของระบบขาราชการไทย    การพัฒนาระบบราชการตามหลักธรร  มาภิบาล  แนวโนมการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาของระบบราชการไทย  ๔๐๑  ๔๑๙  ทฤษฎีวาดวยสังคมและการเมือง  ๓(๓-๐-๖)  (Theories on Society and Politics)  ศึกษาทฤษฎีวาดวยสังคมและการเมืองเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางโครงสรางทาง  เศรษฐกิจ  สังคม  และการเมือง  บทบาทและพฤติกรรมทางการเมืองของชนชั้นและกลุมตาง ๆ ใน  สังคม  การใชอานาจ  ความขัดแยงในเรื่องอํานาจ  ผลประโยชน  วิเคราะหสังคมและการเมืองไทย  ํ โดยใชทฤษฎีดังกลาวเปนกรณีศึกษา  ๔๐๑  ๔๒๐  สถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญ  ๓(๓-๐-๖)  (Political Institutions and Constitutions)  ศึกษาสถาบันทางการเมืองและการเมืองรูปแบบตาง  ๆ    กลไกที่จําเปนตอเสถียรภาพ  รัฐบาล    วัตถุประสงค    ความหมาย    ที่มาและรูปแบบของรัฐธรรมนูญ    การจัดทํา    การแกไข  และการควบคุมไมใหขดกับรัฐธรรมนูญ      และสาระสําคัญของรัฐธรรมนูญไทยฉบับปจจุบัน  ั แนวโนมของสถาบันการเมืองและรัฐธรรมนูญไทย  ๔๐๑  ๔๒๑  ศึกษาอิสระทางการปกครอง  ๓(๐-๖-๖)  (Independent Study on Government)
  • 11. คณะสังคมศาสตร  ศึกษาคนควาวิจัยภาคสนามทางการปกครอง    ที่สามารถประยุกตใชในกิจการทาง  พระพุทธศาสนา  โดยความเห็นชอบและควบคุมดูแลของอาจารยที่ปรึกษา  ๒)  วิชาเอกการบริหารรัฐกิจ  ๔๐๑  ๓๒๒  ทฤษฎีและพฤติกรรมองคการ  ๓(๓-๐-๖)  (Organizational Theory and Behavior)  ศึกษาทฤษฎีและพฤติกรรมองคการ  โดยเริ่มจากแนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับองคการ  สมัยดั้งเดิมถึงสมัยปจจุบัน  ความหมายและองคประกอบขององคการ  ตัวแปรในองคการ  วิธีการ  ศึกษาวิจัยเกี่ยวกับองคการ  ปจจัยพื้นฐานที่กําหนดพฤติกรรมการทํางานของมนุษย  พฤติกรรม  ใน  การบริหาร    อิทธิพลของโครงสรางและกระบวนการในองคการที่มีตอพฤติกรรมการทํางานของ  มนุษย  ๔๐๑  ๓๒๓  นโยบายสาธารณะและการวางแผน  ๓(๓-๐-๖)  (Public Policy and Planning)  ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับนโยบายสาธารณะและการวางแผน    ประเภทและวิธีการ  กําหนดนโยบายของรัฐ    อิทธิพลของสิ่งแวดลอมตอนโยบาย    การนํานโยบายไปกําหนดเปน  แผนงานและโครงการ    เทคนิคและหลักการของการวางแผน    และใหมีการศึกษาเฉพาะกรณี  โดย  เนนการกําหนดนโยบายสาธารณะและการวางแผนของประเทศไทย  ๔๐๑  ๓๒๔  การบริหารโครงการ  ๓(๓-๐-๖)  (Project Management)  ศึกษาแนวความคิดและวิธีการวิเคราะหโครงการ    การจัดทําโครงการ    การบริหาร  ทรัพยากรของโครงการ  การแกปญหาและการปรับปรุงโครงการ  การประสานงานกับองคกรและ  หนวยงาน  ที่เกี่ยวของ    การบริหารโครงการภายใตการมีสวนรวมจากผูที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐและ  เอกชน  การ กําหนดเปาหมายและวิธีการในการประเมินผลของโครงการ  และใหมีการศึกษากรณี  เฉพาะเรื่อง  เนนการบริหารโครงการพัฒนาของประเทศไทย    โดยฝกใหมีการเขียนโครงการเพื่อ  นําไปสูการบริหารโครงการไดอยางแทจริง  ๔๐๑  ๔๒๕  การพัฒนาทรัพยากรมนุษย  ๓(๓-๐-๖)  (Human Resources Development)  ศึกษาวิชาการวางแผนกําลังคน  เพื่อรองรับความกาวหนาดานนวัตกรรมและเทคโนโลยี  สมัยใหม  เพื่อใหสอดคลองกับทิศทางการเปลี่ยนแปลงทางสังคม  เศรษฐกิจของประเทศและของ  โลก  การรับบุคลากรภาครัฐ  การฝกอบรม  การเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางาน  คุณธรรมจริยธรรม  ของผูปฏิบติงาน การประเมินผลการทํางาน สิทธิประโยชนและขวัญกําลังใจในการทํางาน  ั ๔๐๑  ๔๒๖  การบริหารงบประมาณและการคลังสาธารณะ  ๓(๓-๐-๖)
  • 12. คณะสังคมศาสตร  (Public Budgeting and Fiscal Administration)  ศึกษาความหมาย  แนวคิด    ทฤษฎี    และนโยบายเกี่ยวกับงบประมาณและการคลัง  สาธารณะ    บทบาทและอิทธิพลของการเมืองที่มีตองบประมาณและการคลังของประเทศ  กระบวนการงบประมาณ  เทคนิคและวิธีการวิเคราะหงบประมาณ  การสรุปการใชจายงบประมาณ   โดยเนนศึกษาการบริหารงบประมาณและการคลังสาธารณะของประเทศไทย  ๔๐๑  ๔๒๗  การบริหารการพัฒนา  ๓(๓-๐-๖)  (Development Administration)  ศึกษาความหมาย  ทฤษฎี  หลักการ  และองคประกอบของการบริหารการพัฒนา  ปจจัย  แวดลอมทางดานเศรษฐกิจ    สังคม    และการเมืองที่สงผลตอการบริหารการพัฒนา    องคการที่มี  บทบาทสําคัญในการบริหารงานพัฒนาของประเทศ    ปญหาพื้นฐานในการบริหารโครงการพัฒนา  โดยเนนการบริหารการพัฒนาในประเทศไทยเปรียบเทียบกับประเทศพัฒนาแลวและประเทศกําลัง  พัฒนา  ๔๐๑  ๔๒๘  ศึกษาอิสระทางการบริหารรัฐกิจ  ๓(๐-๖-๖)  (Independent Study on Public Administration)  ศึกษาคนควาวิจัยภาคสนามทางการบริหารรัฐกิจ    ที่สามารถประยุกตใชในกิจการทาง  พระพุทธศาสนา  โดยความเห็นชอบและควบคุมดูแลของอาจารยที่ปรึกษา  ๓)  วิชาเอกการระหวางประเทศ  ๔๐๑  ๓๒๙  การทูต  ๓(๓-๐-๖)  (Diplomacy)  ศึกษาประวัตความสัมพันธระหวางประเทศ    เนนเหตุการณและการตกลงทางการทูตครั้ง  ิ สําคัญที่มีผลกระทบตอความสัมพันธระหวางประเทศตั้งแตสมัยที่มีการประชุมระหวางชาติที่  เวียนนา  เมื่อป พ.ศ. ๒๓๕๘ (ค.ศ. ๑๘๑๕)  ถึงปจจุบน ั ๔๐๑  ๓๓๐  การเมืองระหวางประเทศ  ๓(๓-๐-๖)  (International Politics)  ศึกษาเหตุการณสําคัญในโลกที่มีผลกระทบตอความสัมพันธเชิงอํานาจในการเมืองระหวาง  ประเทศ  ตั้งแตสมัยสงครามโลกครั้งที่สองถึงปจจุบัน  เชน  สงครามเย็น  สงครามเกาหลี  สงคราม  เวียดนาม  ความขัดแยงระหวางจีนกับโซเวียต  ปญหาการลดกําลังอาวุธ  การผอนคลายความตึง  เครียด  ๔๐๑  ๓๓๑  กฎหมายระหวางประเทศ  ๓(๓-๐-๖)  (International Law)
  • 13. คณะสังคมศาสตร  ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีของกฎหมายระหวางประเทศ  ที่มีของกฎหมายระหวางประเทศ  ความสัมพันธระหวางกฎหมายในบทกฎหมายระหวางประเทศ  บุคคลระหวางประเทศ  รัฐ อาณา  เขตของรัฐ  สิทธิและความรับผิดชอบของรัฐ  ความสัมพันธระหวางรัฐตอรัฐและรัฐตอ      เอกชน  ปญหาอื่น  ๆ    ในความสัมพันธระหวางประเทศทางดานเศรษฐกิจ    สังคม    วิทยาศาสตร  และ  เทคโนโลยี  ๔๐๑  ๔๓๒  องคการระหวางประเทศ  ๓(๓-๐-๖)  (International Organizations)  ศึกษาประวัตองคการระหวางประเทศในระดับตาง ๆ  เริ่มจากการประชุมระหวางประเทศที่  ิ กรุงเฮก    สันนิบชาติและสหประชาชาติ    ชีใหเห็นโครงสรางและอํานาจหนาที่  บทบาท    และการ  ้ ดําเนินงานขององคการเหลานี้ในการแกปญหาระหวางประเทศในมิติตาง  ๆ    ทั้งดานสังคม  เศรษฐกิจ  และการเมือง  และวิเคราะหความสําเร็จและความลมเหลวขององคการระหวางประเทศ  ๔๐๑  ๔๓๓  เศรษฐศาสตรการเมืองระหวางประเทศ  ๓(๓-๐-๖)  (International Political Economy)  ศึกษาทฤษฎีเบื้องตนทางการคาระหวางประเทศ    ทฤษฎีและนโยบายการกีดกันการคา  และผลที่มีตอระบบเศรษฐกิจ  ทฤษฎีและนโยบายการรวมกลุมทางเศรษฐกิจ  ทฤษฎีและนโยบาย  การลงทุนระหวางประเทศ  ตลาดเงินตรา  ดุลการคาและดุลการชําระเงิน  การแกไขดุลการคาและ  ดุลการชําระเงิน    การคาและการเงินระหวางประเทศกับการพัฒนาเศรษฐกิจ    สถาบันและ  โครงสรางของระบบการคาและการเงินที่สําคัญ  ความสัมพันธทางเศรษฐกิจระหวางประเทศ      ที่  พัฒนาแลวกับประเทศที่กําลังพัฒนา    โครงสรางสินคาเขาและสินคาออกที่สําคัญของไทย    และ  ปญหาดุลการคาและดุลการชําระเงินของไทย  ๔๐๑  ๔๓๔  นโยบายตางประเทศของไทย  ๓(๓-๐-๖)  (Thai Foreign Policy)  ศึกษาความสัมพันธระหวางไทยกับตางประเทศ    ปจจัยและกระบวนการในการกําหนด  นโยบาย    แบบแผนของนโยบาย    การดําเนินนโยบายตางประเทศและผลกระทบของนโยบาย  ตางประเทศที่มีตอการเมืองภายในของไทย  ๔๐๑  ๔๓๕  ศึกษาอิสระทางการระหวางประเทศ  ๓(๐-๖-๖)  (Independent Study on International Relations)  ศึกษาคนควาวิจัยภาคสนามทางการระหวางประเทศ    ที่สามารถประยุกตใชในกิจการทาง  พระพุทธศาสนา  โดยความเห็นชอบและควบคุมดูแลของอาจารยที่ปรึกษา  ค.  วิชาเลือกวิชาเอก  ๑๖  หนวยกิต  ๑)  วิชาเอกการปกครอง
  • 14. คณะสังคมศาสตร  ๔๐๑  ๓๓๖  วิวัฒนาการทางชีววิทยาของมนุษยกับการเมือง  ๓(๓-๐-๖)  (Human Biological Evolution and Politics)  ศึกษาทฤษฎีที่สําคัญทางชีววิทยาและมานุษยวิทยา   ที่มีผลกระทบตอการเขาใจธรรมชาติ  ของมนุษย    และการใชแนวคิดดังกลาว    อธิบายพฤติกรรมทางสังคมและการเมือง      ของมนุษย  เชน    ทฤษฎี  Social    Darwinism  และการผสมผสานระหวางพฤติกรรมศาสตร    ของสัตว  (Ethnology)  กับรัฐศาสตร  เปรียบเทียบกับแนวคิดทํานองเดียวกันในงานเขียนของนักคิดทาง  การเมืองคนสําคัญ ๆ  ในอดีตประกอบ  ๔๐๑  ๓๓๗  แนวคิดทางการเมืองในอุดมคติ  ๓(๓-๐-๖)  (Idealistic Political Thoughts)  ศึกษาแนวคิดทางการเมืองในอุดมคติของปรัชญาตะวันตก    ตั้งแตเพลโต    โธมัส  มอร  แซงค  ซิมอง โรเบิรต โอเวน และคารล มารกซ  เปรียบเทียบกับแนวคิดทางปรัชญาตะวันออก เชน  พุทธปรัชญาเรื่องพระศรีอาริยเมตไตรย  ปรัชญาฮินดูเรื่องอวตารปางที่สิบของพระนารายณ  ๔๐๑  ๓๓๘  ภาษากับการเมือง  ๓(๓-๐-๖)  (Language and Politics)  ศึกษาความสําคัญของภาษาในทางการเมือง  การใชภาษาตามความหมายที่กวางที่สุดคือ  สัญลักษณตาง ๆ  เพื่อประโยชนทางการเมือง  เชน  ภาษาในรัฐพิธีที่สําคัญ ๆ  ภาษาที่ใช  สําหรับ  การโฆษณาชวนเชื่อทางการเมือง  ศัพทบัญญัติและศัพทที่แปลมาจากภาษาตางประเทศที่  เกี่ยวของกับการเมือง  เนนการนํามาปฏิบัติที่เกิดขึ้นในสังคมไทย  ๔๐๑  ๓๓๙  จิตวิทยาการเมือง  ๓(๓-๐-๖)  (Political Psychology)  ศึกษาพฤติกรรมทางการเมืองของบุคคลในสังคม  เชน  การเลือกระบบการเมือง  ความสัมพันธระหวางบุคคลกับรัฐบาล  ทัศนคติของรัฐบาลที่มีตอประชาชนและของประชาชนที่มี   ตอรัฐบาล  การลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง  โดยใชทฤษฏีเกี่ยวกับสิ่งกําหนดพฤติกรรมของมนุษยจาก  จิตวิทยามาเปนเครื่องมืออธิบาย  ๔๐๑  ๓๔๐  ธุรกิจกับการเมือง  ๓(๓-๐-๖)  (Business and Politics)  ศึกษาวิเคราะหความสําคัญและบทบาทของภาคธุรกิจในกระบวนการทางการเมือง    เนน  การสนับสนุนพรรคการเมือง  การเลือกตั้ง  กลุมผูปกครองประเทศ  การกําหนดนโยบายสาธารณะ   ผลลัพธของโครงสรางทางเศรษฐกิจ    และการเมืองที่เกิดจากความสัมพันธระหวางผูนําทาง  การเมือง  และผูนําทางธุรกิจ  ความสัมพันธระหวางบรรดาผูนําทางธุรกิจในเชิงรวมมือ และแขงขัน
  • 15. คณะสังคมศาสตร  ในระบบการเมืองทั้งที่พัฒนาแลวและดอยพัฒนาในประเทศตาง  ๆ    โดยเนนธุรกิจการเมืองใน  ประเทศไทย  ๔๐๑  ๓๔๑  ศาสนากับการเมือง  ๓(๓-๐-๖)  (Religions and Politics)  ศึกษาแนวคิดทางปรัชญาสังคมการเมืองและทัศนะของพระพุทธศาสนา  ศาสนาคริสต  ศาสนาอิสลามและศาสนาฮินดู  สังคมในอุดมคติของศาสนาเหลานี้  วิธีการเขาถึงสังคมในอุดมคติ  วิเคราะหการใชความรุนแรงในศาสนาตางๆ  เปนวิธีการทางการเมือง  และศาสนาในเชิง  ความสัมพันธกับความรุนแรงเชิงโครงสราง  เนนความสัมพันธระหวางศาสนาและการเมืองใน  ประเทศไทย  ๔๐๑  ๓๔๒  จริยธรรมทางการเมือง  ๓(๓-๐-๖)  (Political Ethics)  ศึกษาวัตถุประสงคของจริยธรรมทางการเมือง  แนวความคิดเกี่ยวกับอํานาจ  วิถีทางและ  เปาหมายทางการเมือง  รวมทั้งการศึกษาเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย  วิทยาศาสตรกับจริยธรรม  ความจริงอันสูงสุด ความสําคัญของหลักอหิงสะธรรมและระเบียบทางการเมือง  ๔๐๑  ๓๔๓  ธรรมาภิบาลเชิงพุทธ  ๓(๓-๐-๖)  (Buddhist Good Governance)  ศึกษาความหมาย  ทฤษฎี  หลักการและองคประกอบของธรรมาภิบาล  หลักธรรมาภิบาล  ในพระไตรปฎก    เปรียบเทียบหลักธรรมาภิบาลกับธรรมาภิบาลเชิงพุทธ    การประยุกตใชหลักธรร  มาภิบาลเชิงพุทธสําหรับการบริหารจัดการภาครัฐภาคธุรกิจ ภาคเอกชนและประชาชน  ๔๐๑  ๓๔๔  สันติวิธีและสมานฉันทเชิงพุทธ  ๓(๓-๐-๖)  (Peaceful Means and Reconciliation in Buddhism)  ศึกษาสาเหตุและปญหาของความขัดแยง    วิธีระงับความขัดแยงโดยสันติวิธี    การสราง  สันติวิธีและสมานฉันทตามหลักพุทธธรรม  ๔๐๑  ๔๔๕  กฎหมายปกครอง  ๓(๓-๐-๖)  (Administrative Law)  ศึกษาประวัต ิ  แนวคิดและสาระสําคัญของกฎหมายปกครอง  การบริการสาธารณะ  การ  จัดระเบียบราชการบริหารสวนกลาง    สวนภูมิภาค    และสวนทองถิ่น    ระบบขาราชการ    ความ  เกี่ยวพันระหวางขาราชการกับรัฐตามกฎหมาย    ขาราชการพลเรือน    ขาราชการทหาร    บําเหน็จ  บํานาญขาราชการ  และการจัดตั้งศาลปกครองของไทย  ๔๐๑  ๔๔๖  กฎหมายอาญา  ๓(๓-๐-๖)  (Criminal Law)
  • 16. คณะสังคมศาสตร  ศึกษาลักษณะกฎหมายอาญา  ทฤษฎีวาดวยความรับผิดชอบ  ขอบเขตบังคับกฎหมาย  อาญา  การพยายามกระทําความผิด  ผูมสวนเกี่ยวของในการกระทําความผิดเหตุยกเวนความผิด  ี ยกเวนโทษ  ลดโทษ  การกระทําความผิดหลายบทหรือหลายกระทง  การกระทําความผิดอีก อายุ  ความอาญา    โทษในทางอาญาและวิธีการเพื่อความปลอดภัย    รวมทั้งศึกษาทฤษฎีอาชญาวิทยา  และทัณฑวิทยา  ๔๐๑  ๔๔๗  กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา  ๓(๓-๐-๖)  (Law of Criminal Procedure)  ศึกษาหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา    ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ  อาญา  ๔๐๑  ๔๔๘  กฎหมายลักษณะพยาน  ๓(๓-๐-๖)  (Law of Witness)  ศึกษาความรูทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายลักษณะพยาน    หลักทั่วไปเกี่ยวกับการรับฟงพยาน  หลักฐาน    การนําสืบ    ขอเท็จจริงที่ไมตองนําสืบดวยพยานหลักฐาน    พยานหลักฐานที่หามมิให  รับฟง  พยานหลักฐานที่ตองหามโดยกฎหมายปดปาก  การนําสืบพยานบุคคลแทนเอกสาร พยาน  ตาง ๆ  เชน  พยานบอกเลา  พยานบุคคล  พยานเอกสาร  พยานวัตถุ  พยานที่เปนความเห็น วิธีนํา  สืบพยานโดยหลักฐานทั่วไป  มาตรฐานการชั่งน้ําหนักพยานหลักฐาน  และการคุมครองพยานตาม  กฎหมาย  ๔๐๑  ๔๔๙  การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมือง  ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต  ๓(๓-๐-๖)  (Social and Political Changes in Southeast Asia)  ศึกษาปญหาสําคัญในกระบวนการพัฒนาการทางการเมือง      เศรษฐกิจ      และสังคม  ในประเทศเอเชียตะวันออกเฉียงใต      วิเคราะหปญหาความเปลี่ยนแปลงที่กลุมประเทศเหลานี้   เผชิญหนา    ซึ่งกอใหเกิดความลมเหลวในการพัฒนาการในอดีต    ปญหาดานโครงสรางทางสังคม  เศรษฐกิจ    และการเมืองในปจจุบัน    แนวโนมการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและการเมืองในเอเชีย  ตะวันออกเฉียงใต  ๔๐๑  ๔๕๐  การเมืองการปกครองของกลุมประเทศในเอเชียใต   ๓(๓-๐-๖)  (Politics and Government of South Asia Countries)  ศึกษาระบบการเมืองของแนวความคิดทางการเมือง  สถาบันทางการเมือง  และพฤติกรรม  ทางการเมืองของกลุมประเทศเอเชียใต  ๔๐๑  ๔๕๑  ประวัติความคิดทางการเมืองเบื้องตน  ๓(๓-๐-๖)  (Introduction to History of Political Thoughts)
  • 17. คณะสังคมศาสตร  ศึกษาแนวคิดทางการเมืองของนักคิดสําคัญของโลกในอดีตทั้งตะวันตกและตะวันออก  เชน เพลโต อริสโตเติล มาคิอาเวลลี  รุสโซ เบอรก มารก เอ็งเกลส  เลนิน โกณฑัญญะ คานธี  เหมา  เจอตุง โฮจิมินท  ๔๐๑  ๔๕๒  ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ  ๓(๓-๐-๖)  (Comparative Democracy)  ศึกษาแนวคิดประชาธิปไตย    ความเปนมาของประชาธิปไตย    เปรียบเทียบสมัยโบราณ  และสมัยปจจุบัน  ประเภทของประชาธิปไตย    ประชาธิปไตยของอังกฤษ    อเมริกา    ฝรั่งเศส  เยอรมนี  ญี่ปุน    เปรียบเทียบประชาธิปไตยระบบทุนนิยมกับประชาธิปไตยสังคมนิยม  ประชาธิปไตย    ระบบอังกฤษกับอเมริกาและฝรั่งเศส    ประชาธิปไตยระบบไทยกับญี่ปุน    และ  ประชาธิปไตยในศตวรรษ   ที่ ๒๑  ๔๐๑  ๔๕๓  การศึกษาคนควาตําราเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง  ๓(๓-๐-๖)  (Readings in Politics and Government)  ศึกษาโดยอิสระของนิสิตในเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่ผูเรียนมีความสนใจเปนพิเศษ  ภายใตการ  แนะนําของอาจารยที่ปรึกษา    เรื่องที่เลือกศึกษาโดยอิสระตองเปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการเมืองการ  ปกครอง  โดยการแนะนําของอาจารยที่ปรึกษา  ๔๐๑  ๔๕๔  สัมมนาแนวคิดทางการเมืองของนักคิดสําคัญในตะวันออก  ๓(๓-๐-๖)  (Seminar on Eastern Political Thoughts)  สัมมนาแนวคิดทางการเมืองของนักคิดสําคัญในตะวันออก ตามหัวขอที่กําหนดให  ๔๐๑  ๔๕๕  สัมมนาปญหาทางการเมืองการปกครองของไทย  ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Problems of Politics  and Government of Thailand)  สัมมนาปญหาทางการเมืองการปกครองของไทย ตามหัวขอที่กําหนดให  ๔๐๑  ๔๕๖  สัมมนาภาวะผูนําทางการเมือง  ๒(๒-๐-๔)  (Seminar on Political Leadership)  สัมมนาเรื่องภาวะผูนําทางการเมือง ตามหัวขอที่กําหนดให  ๔๐๑  ๔๕๗  แนวความคิดทางการเมืองไทย  ๒(๒-๐-๔)  (Thai Political Thoughts)  ศึกษาลักษณะและปญหาเฉพาะของความคิดทางการเมืองไทยในเรื่องอิทธิพลของ  วัฒนธรรมเดิม ที่กอใหเกิดความคิดทางการเมืองไทย อิทธิพลของความคิดทางการเมืองตะวันตกที่  มีตอความคิดทางการเมืองไทย  และความคิดทางการเมืองของนักคิดคนสําคัญ  ๆ  ในอดีตและ  ปจจุบัน  ๔๐๑  ๔๕๘  การเมืองของเพลโตและอริสโตเติล  ๒(๒-๐-๔)
  • 18. คณะสังคมศาสตร  (Politics of Plato and Aristotle)  ศึกษาวิเคราะหงานเขียนของเพลโตในเชิงปรัชญาและการเมือง  ความสัมพันธของงานเอก  สองชิ้น คือ  อุดมรัฐ (Republic) และโพิติดส  (Politics) ใหเห็นความตอเนื่องของปรัชญาการเมือง  คลาสสิคที่เริ่มตนโดยโสเครติสและเพลโตและถูกทําใหสมบูรณโดยอริสโตเติล  ๔๐๑  ๔๕๙  ความคิดทางการเมืองของมาคิอาเวลลี  ๒(๒-๐-๔)  (Politics Thoughts of Machiavelli)  ศึกษาความคิดของมาคิอาเวลลี  เนนความสําคัญของระบบวิธีคิดของมาคิอาเวลลี  ที่  ปรากฏในผลงานเรื่อง  Mandragola  The  Prince  The  Discourses  History  of  Florence  และ  The  Art  of  War  และความคิดทางการเมืองของมาคิอาเวลลีที่มตอการนํามาประยุกตใชใน  ี สังคมไทย  ๒)  วิชาเอกการบริหารรัฐกิจ  ๔๐๑  ๓๖๐  วิทยาการบริหาร  ๓(๓-๐-๖)  (Administrative Technology)  ศึกษาผลการวิจัยและแนวคิดใหม  ๆ    ในการบริหาร    การใชเครื่องมือสมัยใหมในการ  บริหารงานและการวิจัย    วิธีการทางคณิตศาสตรที่นํามาใชในการแกปญหาและการตัดสินใจ  การ  วิเคราะหเกี่ยวกับความรูเบื้องตนในการใชคอมพิวเตอรเปนเครื่องมือบริหาร    และพุทธวิธีเพื่อการ  บริหารงานสมัยใหม  ๔๐๑  ๓๖๑  การจัดการสิ่งแวดลอม  ๓(๓-๐-๖)  (Environmental Management)  ศึกษาความหมาย    แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม    หลักการบริหาร    การ  ควบคุม    และการบํารุงรักษาสิ่งแวดลอม    ปจจัยทีมีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม    ปญหาการใช  ่ ประโยชนและความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม  บทบาทของหนวยงาน  ภาครัฐ  เอกชน  ชุมชน  และองคกรตาง ๆ  ที่เกี่ยวของกับการจัดการสิ่งแวดลอม  ๔๐๑  ๓๖๒  การจัดการทรัพยสินของวัดในพระพุทธศาสนา  ๓(๓-๐-๖)  (Assets Management of Tempe in Buddhism)  ศึกษาวิธีการจัดการทรัพยสินของวัดใหเกิดประโยชนทั้งแกวัด  ชุมชน  และสังคมโดยทั่วไป  การบริหารงานบุคคล    การบริหารทรัพยสินและการบริหารงานที่เกี่ยวของกับทรัพยสินของวัดใหมี  ประสิทธิภาพ  ๔๐๑  ๓๖๓  จริยธรรมทางการบริหาร  ๓ (๓-๐-๖)  (Administrative Ethics)
  • 19. คณะสังคมศาสตร  ศึกษาจริยธรรมทางการบริหารที่มีมาตรฐานทางการสรางระบบ  กํากับ  และตรวจสอบ  ซึ่ง  คํานึงถึงประโยชนที่จะเกิดขึ้นแกองคการ  โดยนําหลักการของพละ ๔ มาใช  ๔๐๑  ๓๖๔  ธรรมาภิบาลเพื่อการบริหาร  ๓(๓-๐-๖)  (Good Governance for the Administration)  ศึกษาความหมาย      ทฤษฎี      หลักการและองคประกอบของธรรมาภิบาล      หลัก  ธรรมาภิบาลกับสังคมไทย    หลักการบริหารกิจการบานเมืองและสังคมที่ดี    หลักธรรมาภิบาลกับ  การบริหารจัดการภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคเอกชนและประชาชน การบริหารจัดการยุคใหมตามหลัก  ธรรมาภิบาลและธรรมาภิบาลเชิงพุทธ  ๔๐๑  ๔๔๕  กฎหมายปกครอง  ๓(๓-๐-๖)  (Administrative Law)  ศึกษาประวัต ิ  แนวคิดและสาระสําคัญของกฎหมายปกครอง  การบริการสาธารณะ  การ  จัดระเบียบราชการบริหารสวนกลาง    สวนภูมิภาค    และสวนทองถิ่น  ระบบขาราชการ    ความ  เกี่ยวพันระหวางขาราชการกับรัฐตามกฎหมาย    ขาราชการพลเรือน    ขาราชการทหาร    บําเหน็จ  บํานาญขาราชการ  และการจัดตั้งศาลปกครองของไทย  ๔๐๑  ๔๔๖  กฎหมายอาญา  ๓(๓-๐-๖)  (Criminal Law)  ศึกษาลักษณะกฎหมายอาญา  ทฤษฎีวาดวยความรับผิดชอบ  ขอบเขตบังคับกฎหมาย  อาญา    การพยายามกระทําความผิด    ผูมีสวนเกี่ยวของในการกระทําความผิดเหตุยกเวน   ความผิด    ยกเวนโทษ    ลดโทษ    การกระทําความผิดหลายบทหรือหลายกระทง    การกระทํา  ความผิดอีก อายุความอาญา โทษในทางอาญาและวิธีการเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งศึกษาทฤษฎี  อาชญาวิทยาและทัณฑวิทยา  ๔๐๑  ๔๔๗  กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา  ๓(๓-๐-๖)  (Law of Criminal Procedure)  ศึกษาหลักกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา  ตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความ  อาญา  ๔๐๑  ๔๔๘  กฎหมายลักษณะพยาน  ๓(๓-๐-๖)  (Law of Witness)  ศึกษาความรูทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายลักษณะพยาน    หลักทั่วไปเกี่ยวกับการรับฟง  พยานหลักฐาน  การนําสืบ  ขอเท็จจริงที่ไมตองนําสืบดวยพยานหลักฐาน  พยานหลักฐานที่หามมิ  ใหรับฟง    พยานหลักฐานที่ตองหามโดยกฎหมายปดปาก    การนําสืบพยานบุคคลแทนเอกสาร  พยานตาง ๆ  เชน  พยานบอกเลา  พยานบุคคล  พยานเอกสาร  พยานวัตถุ   พยาน         ที่เปน