SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา
ในสมัยสุโขทัยในสมัยสุโขทัย
 พ่อขุนรามคำาแหงมหาราช (พ.ศ.๑๘๒๐-
๑๘๕๐) ส่งเสริมให้มีการศึกษาจากพระ
ไตรปิฎก
 มีพระสงฆ์ ๒ ฝ่าย
ฝ่ายคามวาสี เรียนคัมภีร์ทางพระศาสนา และ
อบรมให้คนประพฤติดี เรียก คันถธุระ
ฝ่ายอรัญญวาสี ให้การอบรมสั่งสอนคนใน
การปฏิบัติสมถกรรมฐาน และวิปัสสนา
กรรมฐาน เรียกว่า วิปัสสนาธุระ
 ใช้อักษรพ่อขุนรามฯ (ทรงประดิษฐ์อักษร
ไทย) แทนอักษรขอม
วัด เป็นที่สอนบุตรหลานขุนนางและราษฎร
ทั่วไป
 พระไตรปิฎกเป็นหลักสูตรและตำารา
 วัดผลจากความจำาและความสามารถ
 ผู้เรียนมีทั้งพระและฆราวาส การพระ
ศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาก
 พระเจ้าลิไท (พ.ศ.๑๘๗๙-๑๘๙๙) ทรง
ศึกษาพระปริยัติธรรมจากผู้เชี่ยวชาญใน
พระไตรปิฎกจนแตกฉาน สามารถรจนา
เตภูมิกถา ที่เรียกว่า ไตรภูมิพระร่วง
มีชื่อเสียงตราบจนทุกวันนี้
 เตภูมิกถา ว่าด้วยเรื่อง ภูมิ ๓ ประกอบ
ด้วย
พญาลิไท หรือพระมหาธรรมราชาที่ ๑
เป็นพระโอรสของพระยาเลอไทหรือเลอลิ
ไท
เป็นพระนัดดาของพ่อขุนรามคำาแหง
มหาราช
เป็นกษัตริย์องค์ที่ ๕ แห่งราชวงศ์พระร่วง
กรุงสุโขทัย
มีพระนามเต็มว่า พระเจ้าศรีสุริยพงศราม
มหาธรรมราชาธิราช
สภาพแวดล้อมในสังคมสมัยพระเจ้าลิไท พบ
ว่า ความเป็นอยู่ของคนในกรุงสุโขทัย มี
ความอุดมสมบูรณ์ มีความสงบสุข มีเสรีภาพ
ในการทำามาหากิน มีเสรีภาพในการค้าขาย
และการทำาเกษตรกรรม
ซึ่งมีปรากฏในหลักศิลาจารึกที่ ๑ ของพ่อขุน
รามคำาแหงมหาราชที่ว่า “ ในนำ้ามีปลา ใน
นามีข้าว จูงวัวไปค้า จูงม้าไปขาย
”ใครใคร่ค้าช้างค้า ใครใคร่ค้าม้าค้า
เตภูมิกถา หรือ ไตรภูมิ
พระร่วง
เป็นหนังสือที่แสดงหลักธรรมที่มีอยู่ใน
พระพุทธศาสนา
เปลี่ยนชื่อเป็น “ ”ไตรภูมิพระร่วง เพื่อเป็น
เกียรติแก่ผู้นิพนธ์
เป็นวรรณกรรมเก่าแก่ มีอายุกว่า ๖๐๐ ปี
วรรณกรรมเรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ คติความ
เชื่อของชาวไทยเป็นจำานวนมาก เช่น นรก
สวรรค์ การเวียนว่ายตายเกิด ทวีปทั้งสี่
(เช่น ชมพูทวีป ฯลฯ) ระยะเวลากัปกัลป์
กลียุค การล้างโลก พระศรีอาริย์
วัตถุประสงค์ในการนิพนธ์
เพื่อเผยแพร่พระอภิธรรม
เพื่อเป็นบทเรียนอภิธรรมแก่
พระมารดาของท่าน
เพื่อเผยแผ่พระพุทธศาสนาแก่
ประชาชน
คัมภีร์มูลฐานของเตภูมิกถา
๑. พระอรรถกถาจตุราคม ๒. พระอรรถกถาฎีกาพระอภิ
ธรรมาวตาร.
๓. พระอภิธรรมสังคหะ ๔. พระสุมังคลวิสาลินี
๕. พระปปัญจสูทนี ๖. พระสารัตถปกาสินี
๗. พระมโนรถปูรณี ๘. พระนีลัตถปกาสินี
๙. พระอรรถกถาฎีกาพระ
วินัย
๑๐. พระธรรมบท
๑๑. พระมหาวัคค์ ๑๒. พระธรรมมหากถา
๑๓. พระมธุรัตนวิสาลินี ๑๔. พระธรรมชาดก
๑๕. พระชินาลังการ ๑๖. พระสารัตถทีปนี
๑๗. พระพุทธวงศ์ ๑๘. พระสารสังคหะ
๑๙. พระมิลินทปัญหา ๒๐. พระปาเลยยะ (พระ
ธรรมปาเลยยะ)
๒๑. พระมหานิทาน ๒๒. พระอนาคตวงศ์
๒๓. พระจริยาปิฎก ๒๔. พระโลกบัญญัติ
๒๕. พระมหากัลป์ ๒๖. พระอรุณวดี
๒๗. พระสมันตปาสาทิกา ๒๘. พระวิสุทธิมรรค
๒๙. พระลักษณาภิธรรม ๓๐. พระอนุฎีกาหิงสธรรม
๓๑. พระสาริกวินิจฉัย ๓๒. พระโลกุปปัตติ
พญาลิไท ทรงศึกษาพระไตรปิฎก จาก
พระสงฆ์หลายรูป
• พระมหาเถรมุนีพงศ์
• พระอโนมทัสสี
• พระมหาเถรธรรมปาละ
• พระมหาเถรสิทธัตถะ
• พระมหาเถรพุทธพงศ์
• พระมหาเถรปัญญานันทะ
• เรียนจากบัณฑิตชื่อ อุปเสนราชบัณฑิต
และ อทรายราชบัณฑิต
• พระมหาเถรพุทธโฆสาจารย์ในเมืองหริภุญ
เนื้อหา
ไตรภูมิพระร่วง เป็นวรรณกรรมทางพระพุทธ
ศาสนาที่กล่าวถึงภูมิ(แดน) ทั้ง ๓ คือ กามภูมิ
รูปภูมิ และอรูปภูมิ
เนื้อหาจะพรรณนาถึงที่อยู่ ที่ตั้ง และการเกิด
ของมนุษย์ สัตว์นรก เปรต อสุรกาย และเทวดา
ที่ตั้งจะมีเขาพระสุเมรุเป็นหลัก เขาพระสุเมรุนั้น
ตั้งอยู่ท่ามกลางจักรวาล มีทิวเขาและทะเลล้อม
ทิวเขามีชื่อว่า ยุคนธร อิสินธร กรวิก สุทัศน์
เนมินธร วินันตก และอัศกรรณ รวมเรียกว่า สัต
ตบริภัณฑ์ ทะเลที่ รายล้อมอยู่ ๗ ชั้น เรียกว่า
ไตรภูมิพระร่วง มี ๑๑ กัณฑ์
๑.        กามภูมิ มี ๖ กัณฑ์ คือ
      ๑.  ๑ ปฐมกัณฑ์ นรกภูมิ เป็นแดนนรก
      ๑.  ๒ ทุติยกัณฑ์ ดิรัจฉานภูมิ เป็นแดนของ
สัตว์ที่เจริญตามขวาง ได้แก่พวกไม่มีเท้า มีสองเท้า มี
สี่เท้า และพวกมีเท้าเกินสี่เท้า
      ๑.  ๓ ตติยกัณฑ์ เปตภูมิ เป็นแดนของเปรตที่
เคยเป็นมนุษย์และทำาความชั่วเกิดเป็นเปรต
      ๑.  ๔ จตุตถกัณฑ์ อสุรกายภูมิ เป็นแดนของ
ยักษ์มารหรือผีที่หลอกมนุษย์ให้ตกใจกลัว
      ๑.  ๕ ปัญจมกัณฑ์ มนุสสภูมิ เป็นแดนของ
มนุษย์
      ๑.  ๖ ฉัฏฐกัณฑ์ กามาวจรภูมิ เป็นแดนของ
        เทวดาที่ยังเกี่ยวข้องในกามมี ๖ ชั้น คือ จาตุมหา
๒.      รูปภูมิ หรือภูมิ ๒ มี ๑ กัณฑ์   คือ
 สัตตมกัณฑ์
•      เป็นแดนของพรหมที่มีรูป แบ่งเป็น ๑๖ ชั้น
   ตามภูมิธรรมเรียกว่า โสฬสพรหม
๓.         อรูปภูมิ หรือภูมิ ๓ มี ๑ กัณฑ์  คือ
 อัฎฐมกัณฑ์ 
•  เป็นแดนของพรหมไม่มีรูป มีแต่จิต แบ่งเป็น
๔ ชั้น
 อวินิโภครูป มี ๑ กัณฑ์ คือ นวมกัณฑ์ เป็น
แดนโลกแห่งวัตถุและ
ธรรมชาติแวดล้อม
ทสมกัณฑ์ ว่าด้วยโอภาสมหากัลป์สุญญตา
กัลปวินาศและอุบัติ
กล่าวถึงฝูงอันมีจิตและชีวิตอันเกิดในภูมิ
ทั้ง ๓๑ ชั้นนั้นไม่เที่ยงพินาศด้วยมัตยุราช สิ่ง
ทั้งหลายที่มีแต่รูป ไม่มีจิตในภูมิ ๑๒ ชั้น
ยกเว้นอสัญญีสัตว์ขึ้นไป ที่ตำ่ากว่าอสัญญี
สัตว์ลงมา พินาศด้วยนำ้า ลม ไฟ
เอกทสมกัณฑ์ คือนิพพานกถา หรือ โลกุ
ตตรภูมิ ว่าด้วย พระนิพพาน เป็นสิ่ง
จีรังยั่งยืน ไม่รู้เกิด แก่ เจ็บ ตาย กล่าวถึงวิธี
ปฏิบัติเพื่อบรรลุนิพพาน
ภูมิที่ ๑ กามาวจรภูมิ หรือกาม
ภูมิ
เป็นที่ตั้งแห่งความใคร่
ประกอบด้วย (๑). อบายภูมิหรือทุคติภูมิ ๔
(๒). กามาวจรภูมิ ๗
อบายภูมิ คือ แดนแห่งความเสื่อม ๔ ภูมิ คือ
• นรกภูมิ หรือนิรยะ สภาวะที่ไม่มีความสุข ความ
เจริญ
• ดิรัจฉานภูมิ หรือ ดิรัจฉานโยนิ การเกิดเป็นสัตว์
ดิรัจฉาน พวกโง่เขลา
• เปรตภูมิ หรือ เปติวิสัย แดนเปรต ผู้หิวกระหาย
กามาวจรภูมิ ๗ หรือสุคติภูมิ ที่เกี่ยวข้องกับ
กาม มี ๗ ชั้น
ประกอบด้วย มนุษย์ และสวรรค์ ๖ ชั้น
ได้แก่
• จาตุมมหาราชิกา คือสวรรค์ที่ท้าวมหาราช ๔
หรือจตุโลกบาลปกครอง
• ดาวดึงส์ แดนที่อยู่แห่งเทพ มีท้าวสักกะเทวราช
เป็นจอมเทพ
• ยามา แดนที่อยู่แห่งเทพผู้ปราศจากทุกข์ มีท้าว
ยามาครอบครอง
• ดุสิตา แดนที่อยู่แห่งเทพผู้อิ่มเอมด้วยสิริสมบัติ
ของตน ท้าวสันตุสิตเป็นจอมเทพ ถือเป็นที่อุบัติ
ของพระโพธิสัตว์ชาติสุดท้ายก่อนเป็น
พระพุทธเจ้าและเป็นที่อุบัติของพระมารดา
ภูมิ ๒ รูปาวจรภูมิ ๑๖
คือชั้นที่ท่องเที่ยวอยู่ในรูปพรหม ๑๖
ชั้น
ปฐมภูมิ ๓ เป็นปฐมฌาน ภูมิสำาหรับผู้
สำาเร็จฌาน ๑
• พรหมปริสัชชา บริวารของพระพรหม
• พรหมปุโรหิต พรหมปุโรหิตของพระพรหม
• มหาพรหม พวกท้าวมหาพรหมทุติยฌานภูมิ ๓ สำาหรับผู้สำาเร็จฌาน ๒
• ปริตรตาภา พรหมที่มีรัศมีน้อย
• อัปปมาณาภา พวกที่มีรัศมีประมาณมิได้
• อาภัสสรา พวกที่มีรัศมีสุกปลั่ง
ตติฌานภูมิ ๓ สำาหรับผู้สำาเร็จฌาน ๓
• ปริตตสุภา พวกมีรัศมีงามน้อย
• อัปปมาณสุภา พวกที่มีลำารัศมีงาม
ประมาณมิได้
• สุภกิณหา พวกที่มีลำารัศมีงามกระจ่างจ้า
จตุตถฌานภูมิ ๗ สำาหรับผู้สำาเร็จ
ฌาน ๔
• เวหัปผลา พวกมีผลไพบูลย์
• อสัญญีสัตว์ พวกสัตว์ที่ไม่มีสัญญา
สุทธาวาส ๕ พวกมีที่อยู่อันบริสุทธิ์ คือที่
เกิดของพระอนาคามี
• อวิหา ผู้คงอยู่นาน
• อตัปปา ผู้ไม่มีความเดือดร้อน
• สุทัสสา ผู้ปรากฏโดยง่าย ผู้น่าชม
• สุทัสสี ผู้เห็นโดยง่าย ผู้เห็นชัด
• อกนิษฐา ผู้ไม่มีความด้อยหรือเล็กน้อย ผู้สูงสุด
รูปพรหมทั้ง ๑๖ ชั้น เป็นพรหมที่มีรูปร่าง
และมีชีวิตจิตใจ ผู้ที่ไปเกิดในรูปพรหม
๑๖ นี้ ได้แก่ ผู้ที่ยังต้องเกิดอีกต่อไป ยังไม่
ถึงนิพพาน
ภูมิ ๓ อรูปภูมิ ภูมิที่มีความสุข
เป็นภูมิของพรหมที่ไม่มีรูป มีแต่จิต ๔ แดน
๑. อากาสาณัญจายตนภูมิ ยึดหน่วงเอา
อากาศเป็นอารมณ์
๒. วิญญาณัญจายตนภูมิ ยึดหน่วงเอา
วิญญาณเป็นอารมณ์
๓. อากิญจัญญายตนภูมิ ยึดหน่วงเอา
ความไม่มีเป็นอารมณ์
๔. เนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ ยึดหน่วง
เอาฌานที่สามให้ละเอียดลงจนเป็นผู้มีสัญญา
การกำาเนิดและการตายของสัตว์
การกำาเนิดของสัตว์ การเกิดของสัตว์ใน
๓ ภูมิ มี ๔ อย่าง
๑. ชลาพุชะ เกิดในครรภ์ เช่น มนุษย์และ
สัตว์เดรัจฉานที่เลี้ยงลูกด้วยนม
๒. อัณฑชะ เกิดในไข่ เช่น นก สัตว์เลื้อย
คลานบางชนิด ปลา
๓. สังเสทชะ เกิดในเถ้าไคล เช่น สัตว์ชั้น
ตำ่าบางชนิดใช้การแบ่งตัว เช่น ไฮดรา อมิ
บา
การตายของสัตว์ มีสาเหตุ ๔
ประการ
๑. อายุขยะ เป็นการตายเพราะสิ้นอายุ
๒. กรรมขยะ เป็นการตายเพราะสิ้นกรรม
๓. อุภยขยะ เป็นการตายเพราะสิ้นทั้งอายุ
และสิ้นทั้งกรรม
๔. อุปัจฌฉทกรรมขยะ เป็นการตาย
เพราะอุบัติเหตุ

More Related Content

What's hot

ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานOnpa Akaradech
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 

What's hot (20)

ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 

Viewers also liked

ไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdfไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ PdfMameaw Pawa
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงพัน พัน
 
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยมังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยTongsamut vorasan
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองpentanino
 
4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑
4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑
4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑Wataustin Austin
 
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนาการจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒Wataustin Austin
 
วิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิ
วิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิวิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิ
วิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิdektupluang
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงSirintip Denduang
 
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยKamonchanok VrTen Poppy
 
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)พัน พัน
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 

Viewers also liked (16)

ไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdfไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdf
 
ภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนีภาวนาทีปนี
ภาวนาทีปนี
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัยมังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
มังคลัตถทีปนีแปล ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย
 
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
ไตรภูมิพระร่วงสมบูรณ์
 
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครองสาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
สาขาวิชารัฐศาสตร์การปกครอง
 
4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑
4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑
4 41+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๑
 
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนาการจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
 
วิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิ
วิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิวิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิ
วิเคราะห์จินตภาพในนรกภูมิ
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัยการเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
การเมืองการปกครองอาณาจักรสุโขทัย
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
ประวัติศาสตร์ไทย (อาณาจักรสุโขทัย)
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
รายวิชา 000 150 พระอภิธรรมปิฎก แนวข้อสอบ
รายวิชา  000 150  พระอภิธรรมปิฎก แนวข้อสอบรายวิชา  000 150  พระอภิธรรมปิฎก แนวข้อสอบ
รายวิชา 000 150 พระอภิธรรมปิฎก แนวข้อสอบ
 

Similar to วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย

ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้Theeraphisith Candasaro
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑Wataustin Austin
 
บาลี 67 80
บาลี 67 80บาลี 67 80
บาลี 67 80Rose Banioki
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑Tongsamut vorasan
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรSarod Paichayonrittha
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลYota Bhikkhu
 
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓Tongsamut vorasan
 
บาลี 21 80
บาลี 21 80บาลี 21 80
บาลี 21 80Rose Banioki
 
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓Tongsamut vorasan
 
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒Tongsamut vorasan
 
บาลี 42 80
บาลี 42 80บาลี 42 80
บาลี 42 80Rose Banioki
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapanaTongsamut vorasan
 

Similar to วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย (20)

ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
 
บาลี 67 80
บาลี 67 80บาลี 67 80
บาลี 67 80
 
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
8 67+วิสุทธิมรรคแปล+ภาค+๑+ตอน+๑
 
45 พรรษา
45 พรรษา45 พรรษา
45 พรรษา
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวรพระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร  พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนอะไร พระนิพนธ์ในสมเด็จพระญาณสังวร
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
 
Manomayitti 1-8
Manomayitti 1-8Manomayitti 1-8
Manomayitti 1-8
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
 
บาลี 21 80
บาลี 21 80บาลี 21 80
บาลี 21 80
 
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
2 21+พระธัมมปทัฏฐกถาแปล+ภาค+๓
 
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๓) พระสารีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
 
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
4 42+มังคลัตถทีปนีแปล+เล่ม+๒
 
บาลี 42 80
บาลี 42 80บาลี 42 80
บาลี 42 80
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
 

More from พระอภิชัช ธมฺมโชโต

บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ  พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

More from พระอภิชัช ธมฺมโชโต (8)

มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชนมูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
 
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระเทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
 
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา  คานธีชีวประวัติ มหาตมา  คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ  พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 

วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย

  • 2.  พ่อขุนรามคำาแหงมหาราช (พ.ศ.๑๘๒๐- ๑๘๕๐) ส่งเสริมให้มีการศึกษาจากพระ ไตรปิฎก  มีพระสงฆ์ ๒ ฝ่าย ฝ่ายคามวาสี เรียนคัมภีร์ทางพระศาสนา และ อบรมให้คนประพฤติดี เรียก คันถธุระ ฝ่ายอรัญญวาสี ให้การอบรมสั่งสอนคนใน การปฏิบัติสมถกรรมฐาน และวิปัสสนา กรรมฐาน เรียกว่า วิปัสสนาธุระ  ใช้อักษรพ่อขุนรามฯ (ทรงประดิษฐ์อักษร ไทย) แทนอักษรขอม วัด เป็นที่สอนบุตรหลานขุนนางและราษฎร ทั่วไป
  • 3.  พระไตรปิฎกเป็นหลักสูตรและตำารา  วัดผลจากความจำาและความสามารถ  ผู้เรียนมีทั้งพระและฆราวาส การพระ ศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาก  พระเจ้าลิไท (พ.ศ.๑๘๗๙-๑๘๙๙) ทรง ศึกษาพระปริยัติธรรมจากผู้เชี่ยวชาญใน พระไตรปิฎกจนแตกฉาน สามารถรจนา เตภูมิกถา ที่เรียกว่า ไตรภูมิพระร่วง มีชื่อเสียงตราบจนทุกวันนี้  เตภูมิกถา ว่าด้วยเรื่อง ภูมิ ๓ ประกอบ ด้วย
  • 4. พญาลิไท หรือพระมหาธรรมราชาที่ ๑ เป็นพระโอรสของพระยาเลอไทหรือเลอลิ ไท เป็นพระนัดดาของพ่อขุนรามคำาแหง มหาราช เป็นกษัตริย์องค์ที่ ๕ แห่งราชวงศ์พระร่วง กรุงสุโขทัย มีพระนามเต็มว่า พระเจ้าศรีสุริยพงศราม มหาธรรมราชาธิราช
  • 5. สภาพแวดล้อมในสังคมสมัยพระเจ้าลิไท พบ ว่า ความเป็นอยู่ของคนในกรุงสุโขทัย มี ความอุดมสมบูรณ์ มีความสงบสุข มีเสรีภาพ ในการทำามาหากิน มีเสรีภาพในการค้าขาย และการทำาเกษตรกรรม ซึ่งมีปรากฏในหลักศิลาจารึกที่ ๑ ของพ่อขุน รามคำาแหงมหาราชที่ว่า “ ในนำ้ามีปลา ใน นามีข้าว จูงวัวไปค้า จูงม้าไปขาย ”ใครใคร่ค้าช้างค้า ใครใคร่ค้าม้าค้า
  • 6. เตภูมิกถา หรือ ไตรภูมิ พระร่วง เป็นหนังสือที่แสดงหลักธรรมที่มีอยู่ใน พระพุทธศาสนา เปลี่ยนชื่อเป็น “ ”ไตรภูมิพระร่วง เพื่อเป็น เกียรติแก่ผู้นิพนธ์ เป็นวรรณกรรมเก่าแก่ มีอายุกว่า ๖๐๐ ปี วรรณกรรมเรื่องนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับ คติความ เชื่อของชาวไทยเป็นจำานวนมาก เช่น นรก สวรรค์ การเวียนว่ายตายเกิด ทวีปทั้งสี่ (เช่น ชมพูทวีป ฯลฯ) ระยะเวลากัปกัลป์ กลียุค การล้างโลก พระศรีอาริย์
  • 8. คัมภีร์มูลฐานของเตภูมิกถา ๑. พระอรรถกถาจตุราคม ๒. พระอรรถกถาฎีกาพระอภิ ธรรมาวตาร. ๓. พระอภิธรรมสังคหะ ๔. พระสุมังคลวิสาลินี ๕. พระปปัญจสูทนี ๖. พระสารัตถปกาสินี ๗. พระมโนรถปูรณี ๘. พระนีลัตถปกาสินี ๙. พระอรรถกถาฎีกาพระ วินัย ๑๐. พระธรรมบท ๑๑. พระมหาวัคค์ ๑๒. พระธรรมมหากถา ๑๓. พระมธุรัตนวิสาลินี ๑๔. พระธรรมชาดก ๑๕. พระชินาลังการ ๑๖. พระสารัตถทีปนี
  • 9. ๑๗. พระพุทธวงศ์ ๑๘. พระสารสังคหะ ๑๙. พระมิลินทปัญหา ๒๐. พระปาเลยยะ (พระ ธรรมปาเลยยะ) ๒๑. พระมหานิทาน ๒๒. พระอนาคตวงศ์ ๒๓. พระจริยาปิฎก ๒๔. พระโลกบัญญัติ ๒๕. พระมหากัลป์ ๒๖. พระอรุณวดี ๒๗. พระสมันตปาสาทิกา ๒๘. พระวิสุทธิมรรค ๒๙. พระลักษณาภิธรรม ๓๐. พระอนุฎีกาหิงสธรรม ๓๑. พระสาริกวินิจฉัย ๓๒. พระโลกุปปัตติ
  • 10. พญาลิไท ทรงศึกษาพระไตรปิฎก จาก พระสงฆ์หลายรูป • พระมหาเถรมุนีพงศ์ • พระอโนมทัสสี • พระมหาเถรธรรมปาละ • พระมหาเถรสิทธัตถะ • พระมหาเถรพุทธพงศ์ • พระมหาเถรปัญญานันทะ • เรียนจากบัณฑิตชื่อ อุปเสนราชบัณฑิต และ อทรายราชบัณฑิต • พระมหาเถรพุทธโฆสาจารย์ในเมืองหริภุญ
  • 11. เนื้อหา ไตรภูมิพระร่วง เป็นวรรณกรรมทางพระพุทธ ศาสนาที่กล่าวถึงภูมิ(แดน) ทั้ง ๓ คือ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภูมิ เนื้อหาจะพรรณนาถึงที่อยู่ ที่ตั้ง และการเกิด ของมนุษย์ สัตว์นรก เปรต อสุรกาย และเทวดา ที่ตั้งจะมีเขาพระสุเมรุเป็นหลัก เขาพระสุเมรุนั้น ตั้งอยู่ท่ามกลางจักรวาล มีทิวเขาและทะเลล้อม ทิวเขามีชื่อว่า ยุคนธร อิสินธร กรวิก สุทัศน์ เนมินธร วินันตก และอัศกรรณ รวมเรียกว่า สัต ตบริภัณฑ์ ทะเลที่ รายล้อมอยู่ ๗ ชั้น เรียกว่า
  • 12. ไตรภูมิพระร่วง มี ๑๑ กัณฑ์ ๑.        กามภูมิ มี ๖ กัณฑ์ คือ       ๑.  ๑ ปฐมกัณฑ์ นรกภูมิ เป็นแดนนรก       ๑.  ๒ ทุติยกัณฑ์ ดิรัจฉานภูมิ เป็นแดนของ สัตว์ที่เจริญตามขวาง ได้แก่พวกไม่มีเท้า มีสองเท้า มี สี่เท้า และพวกมีเท้าเกินสี่เท้า       ๑.  ๓ ตติยกัณฑ์ เปตภูมิ เป็นแดนของเปรตที่ เคยเป็นมนุษย์และทำาความชั่วเกิดเป็นเปรต       ๑.  ๔ จตุตถกัณฑ์ อสุรกายภูมิ เป็นแดนของ ยักษ์มารหรือผีที่หลอกมนุษย์ให้ตกใจกลัว       ๑.  ๕ ปัญจมกัณฑ์ มนุสสภูมิ เป็นแดนของ มนุษย์       ๑.  ๖ ฉัฏฐกัณฑ์ กามาวจรภูมิ เป็นแดนของ         เทวดาที่ยังเกี่ยวข้องในกามมี ๖ ชั้น คือ จาตุมหา
  • 13. ๒.      รูปภูมิ หรือภูมิ ๒ มี ๑ กัณฑ์   คือ  สัตตมกัณฑ์ •      เป็นแดนของพรหมที่มีรูป แบ่งเป็น ๑๖ ชั้น    ตามภูมิธรรมเรียกว่า โสฬสพรหม ๓.         อรูปภูมิ หรือภูมิ ๓ มี ๑ กัณฑ์  คือ  อัฎฐมกัณฑ์  •  เป็นแดนของพรหมไม่มีรูป มีแต่จิต แบ่งเป็น ๔ ชั้น  อวินิโภครูป มี ๑ กัณฑ์ คือ นวมกัณฑ์ เป็น แดนโลกแห่งวัตถุและ ธรรมชาติแวดล้อม
  • 14. ทสมกัณฑ์ ว่าด้วยโอภาสมหากัลป์สุญญตา กัลปวินาศและอุบัติ กล่าวถึงฝูงอันมีจิตและชีวิตอันเกิดในภูมิ ทั้ง ๓๑ ชั้นนั้นไม่เที่ยงพินาศด้วยมัตยุราช สิ่ง ทั้งหลายที่มีแต่รูป ไม่มีจิตในภูมิ ๑๒ ชั้น ยกเว้นอสัญญีสัตว์ขึ้นไป ที่ตำ่ากว่าอสัญญี สัตว์ลงมา พินาศด้วยนำ้า ลม ไฟ เอกทสมกัณฑ์ คือนิพพานกถา หรือ โลกุ ตตรภูมิ ว่าด้วย พระนิพพาน เป็นสิ่ง จีรังยั่งยืน ไม่รู้เกิด แก่ เจ็บ ตาย กล่าวถึงวิธี ปฏิบัติเพื่อบรรลุนิพพาน
  • 15. ภูมิที่ ๑ กามาวจรภูมิ หรือกาม ภูมิ เป็นที่ตั้งแห่งความใคร่ ประกอบด้วย (๑). อบายภูมิหรือทุคติภูมิ ๔ (๒). กามาวจรภูมิ ๗ อบายภูมิ คือ แดนแห่งความเสื่อม ๔ ภูมิ คือ • นรกภูมิ หรือนิรยะ สภาวะที่ไม่มีความสุข ความ เจริญ • ดิรัจฉานภูมิ หรือ ดิรัจฉานโยนิ การเกิดเป็นสัตว์ ดิรัจฉาน พวกโง่เขลา • เปรตภูมิ หรือ เปติวิสัย แดนเปรต ผู้หิวกระหาย
  • 16. กามาวจรภูมิ ๗ หรือสุคติภูมิ ที่เกี่ยวข้องกับ กาม มี ๗ ชั้น ประกอบด้วย มนุษย์ และสวรรค์ ๖ ชั้น ได้แก่ • จาตุมมหาราชิกา คือสวรรค์ที่ท้าวมหาราช ๔ หรือจตุโลกบาลปกครอง • ดาวดึงส์ แดนที่อยู่แห่งเทพ มีท้าวสักกะเทวราช เป็นจอมเทพ • ยามา แดนที่อยู่แห่งเทพผู้ปราศจากทุกข์ มีท้าว ยามาครอบครอง • ดุสิตา แดนที่อยู่แห่งเทพผู้อิ่มเอมด้วยสิริสมบัติ ของตน ท้าวสันตุสิตเป็นจอมเทพ ถือเป็นที่อุบัติ ของพระโพธิสัตว์ชาติสุดท้ายก่อนเป็น พระพุทธเจ้าและเป็นที่อุบัติของพระมารดา
  • 17. ภูมิ ๒ รูปาวจรภูมิ ๑๖ คือชั้นที่ท่องเที่ยวอยู่ในรูปพรหม ๑๖ ชั้น ปฐมภูมิ ๓ เป็นปฐมฌาน ภูมิสำาหรับผู้ สำาเร็จฌาน ๑ • พรหมปริสัชชา บริวารของพระพรหม • พรหมปุโรหิต พรหมปุโรหิตของพระพรหม • มหาพรหม พวกท้าวมหาพรหมทุติยฌานภูมิ ๓ สำาหรับผู้สำาเร็จฌาน ๒ • ปริตรตาภา พรหมที่มีรัศมีน้อย • อัปปมาณาภา พวกที่มีรัศมีประมาณมิได้ • อาภัสสรา พวกที่มีรัศมีสุกปลั่ง
  • 18. ตติฌานภูมิ ๓ สำาหรับผู้สำาเร็จฌาน ๓ • ปริตตสุภา พวกมีรัศมีงามน้อย • อัปปมาณสุภา พวกที่มีลำารัศมีงาม ประมาณมิได้ • สุภกิณหา พวกที่มีลำารัศมีงามกระจ่างจ้า จตุตถฌานภูมิ ๗ สำาหรับผู้สำาเร็จ ฌาน ๔ • เวหัปผลา พวกมีผลไพบูลย์ • อสัญญีสัตว์ พวกสัตว์ที่ไม่มีสัญญา
  • 19. สุทธาวาส ๕ พวกมีที่อยู่อันบริสุทธิ์ คือที่ เกิดของพระอนาคามี • อวิหา ผู้คงอยู่นาน • อตัปปา ผู้ไม่มีความเดือดร้อน • สุทัสสา ผู้ปรากฏโดยง่าย ผู้น่าชม • สุทัสสี ผู้เห็นโดยง่าย ผู้เห็นชัด • อกนิษฐา ผู้ไม่มีความด้อยหรือเล็กน้อย ผู้สูงสุด รูปพรหมทั้ง ๑๖ ชั้น เป็นพรหมที่มีรูปร่าง และมีชีวิตจิตใจ ผู้ที่ไปเกิดในรูปพรหม ๑๖ นี้ ได้แก่ ผู้ที่ยังต้องเกิดอีกต่อไป ยังไม่ ถึงนิพพาน
  • 20. ภูมิ ๓ อรูปภูมิ ภูมิที่มีความสุข เป็นภูมิของพรหมที่ไม่มีรูป มีแต่จิต ๔ แดน ๑. อากาสาณัญจายตนภูมิ ยึดหน่วงเอา อากาศเป็นอารมณ์ ๒. วิญญาณัญจายตนภูมิ ยึดหน่วงเอา วิญญาณเป็นอารมณ์ ๓. อากิญจัญญายตนภูมิ ยึดหน่วงเอา ความไม่มีเป็นอารมณ์ ๔. เนวสัญญานาสัญญายตนภูมิ ยึดหน่วง เอาฌานที่สามให้ละเอียดลงจนเป็นผู้มีสัญญา
  • 21. การกำาเนิดและการตายของสัตว์ การกำาเนิดของสัตว์ การเกิดของสัตว์ใน ๓ ภูมิ มี ๔ อย่าง ๑. ชลาพุชะ เกิดในครรภ์ เช่น มนุษย์และ สัตว์เดรัจฉานที่เลี้ยงลูกด้วยนม ๒. อัณฑชะ เกิดในไข่ เช่น นก สัตว์เลื้อย คลานบางชนิด ปลา ๓. สังเสทชะ เกิดในเถ้าไคล เช่น สัตว์ชั้น ตำ่าบางชนิดใช้การแบ่งตัว เช่น ไฮดรา อมิ บา
  • 22. การตายของสัตว์ มีสาเหตุ ๔ ประการ ๑. อายุขยะ เป็นการตายเพราะสิ้นอายุ ๒. กรรมขยะ เป็นการตายเพราะสิ้นกรรม ๓. อุภยขยะ เป็นการตายเพราะสิ้นทั้งอายุ และสิ้นทั้งกรรม ๔. อุปัจฌฉทกรรมขยะ เป็นการตาย เพราะอุบัติเหตุ