SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
วรรณกรรมทางวรรณกรรมทาง
พระพุทธศาสนาในล้านพระพุทธศาสนาในล้าน
นานา
งานวิจัยและวรรรกรรม
ประวัติพระพุทธศาสนาในล้านประวัติพระพุทธศาสนาในล้าน
นานา
•ในพุทธศตวรรษที่ ๑๒ ภาคเหนือ
ของไทยสมัยปัจจุบันนั้น ในอดีต
เคยเป็นที่ตั้งแห่งอาณาจักรล้านนาอัน
รุ่งเรือง พระนางจามเทวี พระราช
ธิดาแห่งกษัตริย์มอญ ในอาณาจักร
ทวาราวดีได้ขึ้นมาครองเมืองหริภุญไชย
ทรงเป็นกษัตริย์องค์แรก 
งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
•  เมืองหริภุญไชย คือ ลำาพูนในปัจจุบัน เมืองหริภุญไชย คือ ลำาพูนในปัจจุบัน
๑๑.. ได้ทรงนำาเอาอารยธรรมแบบทวาราวดีขึ้นมา
เผยแผ่ เช่น การสร้างสถูป สุวรรณจังโกฏิเจดีย์
เป็นต้น 
๒.ทรงนำาเอาพระพุทธศาสนาเถรวาทมาเผยแผ่
ด้วย ทำาให้พุทธศาสนาประดิษฐานอย่างมั่นคง
ในสมัยนี้ 
๓. ทรงสร้างวัดไว้ ๔ มุมเมือง เรียกว่า เป็นจตุร
พุทธปราการ 
๔. เมื่อขอมมีอำานาจทำาให้อิทธิของศิลปะทวาราว
ดีสามารถกั้นวัฒนธรรมของขอมถึงแค่ลำานำ้าปิง
เท่านั้น  งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
เม็งรายเม็งราย
กษัตริย์แห่งนครเงินยางกษัตริย์แห่งนครเงินยาง
((เชียงเชียงแสนเก่าแสนเก่า))ได้รวบรวมเผ่าไทยในอาณาจักรล้านนาขึ้นเป็นปึก
แผ่นเพราะทรงขับไล่มอญ
 ออกจากกลุ่มนำ้าปิงสำาเร็จ
๑. เข้าตีเมืองหริภุญไชย ทอดพระเนตรเห็นวัด
พระบรมธาตุ โดนไฟไหม้ แต่วิหารที่ประดิษฐานพระ
เสตังคมณี(พระแก้วขาว สร้างในสมัยพระนางจาม
เทวี) ไม่ไหม้ไฟ ก็ทรงเลื่อมใส
๒. ทรงโปรดสร้างเมืองที่เชิงเขาสุเทวบรรพต (ดอยสุ
เทพ) บนฝั่งขวาแม่นำ้าปิง
ปัจจุบันนี้คือ เชียงใหม่(นวบุรี) 
๓.  เป็นกษัตริย์องค์แรกแห่งล้านนาไทยงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
๔. ทรงสร้างวัดเชียงมั่น เพื่อประดิษฐานพระ
เสตังคมณี
 โดยสถาปนาพระตำาหนักเป็นวัด
๕. ทรงรับพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทจาก
มอญ ศิลปกรรมทาง
 ศาสนา จึงมีอิทธิพลทวาราวดีอยู่มาก
พระเจ้าเม็งรายพระเจ้าเม็งราย ((ต่อต่อ))
งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
นักโบราณคดีแบ่งสมัย
พระพุทธรูปทางภาคเหนือ
เป็น ๒ สมัย
• ๑. เชียงแสนยุคต้น พระพุทธรูปเป็นแบบอินเดียสมัย
ราชวงศ์ปาละมหาวิทยาลัย นาลันทากำาลังรุ่งเรืองนัก
 ปราชญ์เดินทางไปมาอยู่เนืองๆ
 ลักษณะของพระพุทธรูป
พระองค์อวบอ้วน พระรัศมีเป็นต่อมกลม นั่งขัดสมาธิ
เพชร พระหัตถ์มารวิชัย (พระหัตถ์ซ้ายวางบน
พระเพลา พระหัตถ์ขวาวางห้อยลงมาทางพระชานุ
ขวา) พระอุระนูน ชายสังฆาฏิสั้นอยู่เหนือราวพระ
ถัน พระพักตร์กลมสั้น พระโขนงโก่ง พระนาสิกงุ้ม
พระโอษฐ์เล็ก พระหนุเป็นปม เส้นพระศกใหญ่เป็นต่อม
กลม หรือเป็นก้นหอย ไม่มีไรพระศก ฐานมีบัวรองมีทั้งงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
•๒. เชียงแสนรุ่นหลัง เป็นของไทย
ชาวล้านนาและลานช้างทำาอย่าง
สุโขทัย มีลักษณะต่างจากรุ่นแรก
มาก
•ลักษณะของพระพุทธรูป ทำารัศมี
เป็นเปลว นั่งขัดสมาธิราบ ชาย
สังฆาฏิยาว เส้นพระศกละเอียด มีไร
พระศกเอาอย่าง มาจากสุโขทัยซึ่ง
สุโขทัยก็เอาอย่างมาจากลังกา งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
 พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์สู่ล้านนา
•  สมัยพระเจ้ากือนา
ทรงเป็นธรรมิกราช ประชาชนอยู่เย็น
เป็นสุข พระองค์ทราบข่าวว่า พระชาวลังกา
ชื่อ พระอุทุมพรบุบผามหาสวามี มาอาศัย
อยู่ที่นครพัน (เมาะตะมะ) เผยแผ่ลัทธิลังกา
วงศ์อยู่ จึงส่งทูตไปนิมนต์แต่พระอุทุมพรฯ ทรง
ปฏิเสธว่าชรามากแล้ว จึงส่งพระหลานชายมา
แทน ชื่อ พระอนันทเถระพระอนันทเถระ 
งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
เหตุการณ์สำาคัญในสมัยพระ
 เจ้ากือนา
• ๑. ทรงบวชกุลบุตรชาวเชียงใหม่ตามแบบลังกาวงศ์
โดยพระอนันทเถระ ขอให้นิมนต์พระจากสุโขทัย(สมัย
พระเจ้าลือไทย)มาเป็นอุปัชฌาย์ คือ พระสุมนเถระ กับ
พระอโนมทัสสีเถระ ส่วนตัวพระอุทุมพร เป็นพระกรรม
วาจาจารย์ ทั้งสองมา จำาพรรษาที่วัดพระยืน ลำาพูน
อุปสมบทชาวลำาพูนเป็นจำานวนมาก เมื่อออกพรรษาจึง
 ขึ้นไปเชียงใหม่ จำาพรรษาอยู่ที่วัดสวนดอก
๒. ทรงสถาปนาพระสุมนะเถระ ขึ้นเป็นพระสังฆราช
 เป็นองค์แรกแห่งล้านนา
๓. พระเจ้ากือนา ทรงสร้างเจดีย์ที่วัดสวนดอกบรรจุ
พระบรมธาตุส่วนหนึ่ง เป็นศิลปะแบบลังกาองค์
 แรก และทรงสร้างพระธาตุดอยสุเทพ
งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
•  สมัยพระเจ้าแสนเมือง
เมื่อพระเจ้ากือนาเสด็จสวรรคตโอรส
ชื่อพระเจ้าแสนเมืองขึ้นครองราชย์ได้
พระพุทธสิหิงค์มาจากเชียงราย จึง
โปรดสร้าง วัดพระสิงค์ เป็นที่
ประดิษฐานจนถึงปัจจุบัน 
งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
 สมัยพระเจ้าติโลกราช
• ราชนัดดาของพระเจ้าแสนเมือง คณะสงฆ์แตกแยก
 ออกเป็น ๓ นิกาย คือ
         ๑.  นิกายเดิม
         ๒.  นิกายที่สืบเนื่องมาจากพระสุมนะ
         ๓. นิกายลังกาวงศ์ใหม่ มีพระเมธังกร เป็น
หัวหน้าตั้งสำานักที่วัดป่ากวางเชิงดอยสุเทพประพฤติ
เคร่งครัดกว่าลังกาวงศ์เดิมซึ่งตั้งอยู่ที่วัดสวนดอก พวก
อำามาตย์เลื่อมใสพระสงฆ์ลังกาวงศ์ใหม่ ทรงอุปถัมภ์
นานาประการ ได้ผนวช ในนิกายนี้เป็นเวลา ๗ วัน
เมื่อปี พ.ศ.๑๙๙๕ ทรงสถาปนาพระเมธังกร เป็นพระ
 สังฆราชแห่งล้านนา งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
เหตุการณ์สำาคัญในสมัยพระเจ้าติ
 โลกราช
• ๑. พ.ศ.๑๙๙๙ โปรดให้สร้างวัดชื่อมหา
โพธาราม ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเมือง
เชียงใหม่ จำาลองแบบวิหารพุทธคยา โลหะ
ปราสาทรัตนมาลีเจดีย์ขึ้น ซึ่งเรียกว่า วัดเจดีย์
เจ็ดยอด มาถึงทุกวันนี้ 
๒. พ.ศ.๒๐๒๐ โปรดให้มีการทำาสังคายนา พระ
ธรรมวินัยขึ้น ณ วัดมหาโพธาราม
หรือวัดเจ็ดยอด โดยมีพระธรรมทินนาเถระเป็น
ประธาน ทำาการสังคายนาอยู่ ๑ปี จึงแล้ว
เสร็จ 
๓. การศึกษาทางเมืองเหนือรุ่งเรืองกว่าทางงานวิจัยและวรรณกรรม
พระโพธิรังสีเถระ
• ในบรรดานักปราชญ์ชาวล้านนาที่เป็นพระเถระนั้น
พระโพธิรังสีเถระเป็นผู้ที่อาวุโสที่สุด เป็นชาว
เชียงใหม่ ผลงานของท่านปรากฏอยู่คู่กับวรรณคดี
ล้านนาเล่มอื่นๆ ที่มีผู้คนอ้างอิงและศึกษาทั้งทาง
ศาสนาและประวัติศาสตร์ คือ จามเทวีวงศ์ และ
สิหิงคนิทาน
• จามเทวีวงศ์ จัดเป็นหนังสือพงศาวดาร รจนาเป็น
ภาษาบาลี มี ๑๕ ปริเฉท ปรากฏตอนท้ายทุกปริเฉท
ว่า อันมหาเถรมีนามว่า โพธิรังสี ได้แต่งตามคำา
มหาจารึก สันนิษฐานว่ารจนาราว พ.ศ. ๑๙๕๐-
๒๐๖๐ กรรมการหอพระสมุด วชิรญาณสำาหรับงานวิจัยและวรรณกรรม
• เนื้อเรื่องในจามเทวีวงศ์
ว่าด้วยวงศ์ของพระนางจามเมวีที่ได้ครอง
เมืองหริภุญชัยและประวัติ พระศาสนาในล้าน
 นา กล่าวถึงการสร้างเมืองหริภุญชัย ลำาปางและ
การสร้างวัดบรรจุพระธาตุคือ พระบรมธาตุหริ
ภุญชัยในสมัยราชวงศ์ของ พระนางจามเทวี กล่าว
ถึงธรรมะของกษัตริย์และความที่ไม่สมควร อันเป็น
เหตุให้บ้านเมืองเดือดร้อนล่มจม นับว่าพระโพธิรังสี
เถระสามารถนำาเอาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์มา
สัมพันธ์กับเรื่องราวทางพุทธศาสนาได้เป็นอย่างดี
จึงนับว่าหนังสือ จามเทวีวงศ์ เป็นหนังสือที่ทรงงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
•สิหิงคนิทาน หรือประวัติพระพุทธสิ
หิงค์
แม้มิได้ระบุปีที่รจนา แต่สันนิษฐานว่าเป็นระหว่าง
ปี พ.ศ. ๑๙๘๕-๒๐๖๘เพราะเป็นระยะที่วรรณกรรม
บาลีกำาลังเฟื่องฟู
•เนื้อเรื่องใน สิหิงคนิทาน ว่าด้วยประวัติ
ความเป็นมาของพระพุทธรูปสำาคัญ ซึ่งหล่อใน
ประเทศลังกาด้วย เงิน ตะกั่ว และทองเหลือง
ประวัติ การเดินทางมาสู่ประเทศไทยและจังหวัด
ต่างๆ รวมทั้งเชียงใหม่
งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
พระญาณกิตติเถระ
• พระญาณกิตติเถระ เป็นชาวเชียงใหม่ มีอาวุโสกว่าพระ
สิริมังคลาจารย์ จำาพรรษาอยู่วัดปนสาราม (สวนต้น
ขนุน) ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของนคร
เชียงใหม่ จากผลงานของท่านที่รจนาไว้ ทำาให้ทราบว่า
ท่านเป็นพระอาจารย์ของพระเจ้าติโลกราชเชื่อว่าท่าน
เคยไปศึกษาที่ประเทศลังกา ในรัชกาลกษัตริย์
กรุงลังกาปรักกรมพาหุที่ 6 และพระเจ้าภูวเนกพาหุที่ 6
(พ.ศ. 1955-2024) ครั้งนั้นศาสนสัมพันธ์
ระหว่างเชียงใหม่ อยุธยา ลังกา และพม่า ดำาเนินไป
ด้วยดี พระสงฆ์ล้านนาเดินทางไปประเทศเหล่านี้ได้
อย่างเสรี (ลิขิต ลิขิตานนท์, 2523 : 10) ท่านมีชีวิตอยู่ใน
สมัยพระเจ้าติโลกราชและพระเจ้ายอดเชียงราย งานที่งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
ผลงานของพระญาณกิตติเถระรจนาคัมภีร์
อธิบาย
เรื่องเกี่ยวกับพระวินัย และพระอภิธรรมและ
บาลีไวยากรณ์• พระวินัย
• 1. สมันตปาสาทิกา อัตถโยชนา อธิบายศัพท์ คำา
ข้อความยากในอรรถกถาวินัยปิฎกชื่อ สมันตปาสาทิกา
ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับบทบัญญัติ ข้อแนะนำาตักเตือนและบท
ลงโทษ สำาหรับพระภิกษุผู้ผิดวินัย เป็นต้น
• 2. ภิกขุปาฏิโมกขคัณฐีทีปนี มีเนื้อหาเกี่ยวกับพระปาฏิ
โมกข์ หรือศีลของพระภิกษุโดยเฉพาะ เช่น สงฆ์ควรปฏิบัติ
อย่างไรก่อนพิธีสวดปาฏิโมกข์ และอธิบายขยายความใน
พระปาฏิโมกข์ รจนาเมื่อ พ.ศ. 2035
• 3. สีมาสังกรวินิจฉัย วินัยปิฏกกล่าวถึงสถานที่ศักดิ์สิทธิ์
และสำาคัญที่สุดของพระสงฆ์ คือ สีมา ซึ่งคู่กับพระอุโบสถ
หรือโบสถ์เป็นที่ทำาสังฆกรรม กิจกรรมที่ต้องทำาโดยความงานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
พระอภิธรรม
• 4.อัฏฐสาลินีอัตถโยชนา คัมภีร์อธิบายอัฏฐสาลินี
อรรถกถาอภิธรรมธัมมสังคณี
• 5. สัมโมหวิโนทนี อัตถโยชนา คัมภีร์อธิบายอรรถกถา
อภิธรรม
• 6. ปัญจกรณัฏฐกถา อัตถโยชนา และเชื่อว่าท่าน
ญาณกิตติเถระคงรจนาคู่มืออธิบายอภิธรรมที่เหลืออีก
5 คัมภีร์ คือ ธาตุกถา ปุคคลปัญญัติ กถาวัตถุ ยมก
และปัฏฐาน รวมเรียกว่า ปัญจปกรณัฏฐกถา
• 7. อภิธัมมัตถวิภาวินี ปัญจิกา อัตถโยชนา คัมภีร์อธิบา
ยอภิธัมมัตถวิภาวินี
งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
•ไวยากรณ์
• 8. มูลกัจจายนอัตถโยชนา คู่มืออธิบายบาลี
ไวยากรณ์สายกัจจนะ ซึ่งพระกัจจายน
เถระ ภิกษุรุ่นหลังท่านพุทธโฆสาจารย์ (พุทธ
ศตวรรษที่ 11-12) รจนามูลกัจจายนวยากรณ
พระสิริมังคลาจารย์
• เดิมชื่อ ศรีปิงเมือง ต่อมาเมื่อบรรพชาเป็นสามเณรมี
ฉายาว่า สิริมังคละ บิดามีอาชีพ ค้าช้าง ท่านเกิด
ในสมัยราชวงศ์มังรายปกครองอาณาจักรล้านนา
ตรงกับรัชกาลพระเจ้าติโลกราช ระหว่าง
พ.ศ.๒๐๑๐ -๒๐๒๐มรณภาพในรัชกาลพระเจ้าเม
กุฏิสุทธิวงศ์ (พ.ศ.๒๐๙๔-๒๑๑๗) ท่านจำาพรรษา
อยู่ที่วัดสวนขวัญ ปัจจุบัน ชื่อ วัดตำาหนัก ซึ่งตั้งอยู่
ทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ของนครเชียงใหม่
ประมาณ ๔ กิโลเมตร เป็นปราชญ์ทางด้านภาษา
บาลี ผู้แตกฉานในอักขรวิธี วจีวิพาก วากยสัมพันธ์
และฉันทลักษณ์อย่างยากจะหาผู้เสมอเหมือนได้งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
พระสิริมังคลาจารย์รจนาผลงานไว้ 4
เรื่อง
ซึ่งอาจจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
• การอธิบายคัมภีร์ที่มีมาแต่เดิม ผลงานประเภทนี้มี
ด้วยกัน 3 เรื่อง ดังนี้
• 1. เวสสันตรทีปนี รจนาสำาเร็จเมื่อ พ.ศ. 2060
ในรัชกาลพระเมืองแก้ว อธิบายอรรถกถาเวสสันดร
ชาดก เกี่ยวกับความเบ็ดเตล็ดเกร็ดเล็กน้อยต่างๆ ที่
น่าสนใจ ตลอดจนวิธีแบ่งคาถาในเวสสันดรชาดก
อีกด้วย คัมภีร์นี้มีความยาวบั้นต้น 40 ผูก บั้นปลาย
10 ผูก
• 2.  สัขยาปกาสกฎีกา เป็นหนังสืออธิบายคัมภีร์
สังขยาปกาสกะ ที่พระญาณวิลาสเถระงานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
•3. มังคลัตถทีปนี หรือ มงคลทีปนี
เป็นวรรณกรรมเรื่องเอกที่มีชื่อเสียงยิ่งของ
พระสิริมังคลาจารย์
รจนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2067 เพื่อเป็นการอธิบายความใน
มงคลสูตร ที่ปรากฏใน
พระไตรปิฎก 2 แห่ง คือ ในขุททกปาฐะและสุตตนิบาต
ซึ่งทั้งสองนี้อยู่ใน
พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มีอรรถกถาชื่อ ปรมัตถ
โชติกา ซึ่งพระพุทธโฆสะ
เป็นผู้รจนาไว้อันเป็นพระสูตรที่แสดงถึงการปฏิบัติที่
เป็นมงคลรวม 38 ประการ
เช่น การไม่คบคนพาล การคบบัณฑิต ฯลฯ ท่านได้
อธิบายถึงความหมายของ
งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
• ส่วนคัมภีร์ที่รจนาขึ้นใหม่ มีเพียงเรื่องเดียว
คือ
• 4. จักกวาฬทีปนี ซึ่งเรื่องนี้ท่านได้ผูกโครงเรื่อง
ขึ้นก่อน โดยแบ่งเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับจักรวาล
ออกเป็นตอนๆ จากนั้นก็อธิบายเรื่องราวตอนนั้นๆ
อย่างละเอียดลออ โดยอ้างหลักฐานจากพระ
ไตรปิฎกและคัมภีร์ต่าง ๆ มาประกอบ รจนา
เสร็จเมื่อ พ.ศ. 2063 กล่าวถึงเรื่องราวในจักรวาล
หรือโลกธาตุ พรรณนาถึงภูมิที่เกิดของสัตว์ทั้ง
หลาย อาหารของสัตว์ ภูเขา แม่นำ้า เทวดา อสูร
ฯลฯ
งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
• จากวิธีการรจนาคัมภีร์ทั้ง 4 เรื่องแล้ว จะเห็นว่าพระสิริมังคลา
จารย์ รจนาคัมภีร์แต่ละเรื่องขึ้นเพื่ออธิบายขยายความที่
ยากหรือค่อนข้างยากให้คนทั่วไปเข้าใจรู้เรื่องอย่าง
แจ่มแจ้ง อันเป็นจุดประสงค์สำาคัญของผลงานกลุ่มแรก ส่วน
ผลงานที่รจนาใหม่คือ การอธิยายเรื่องจักรวาลนั้น ก็เพื่อ
ต้องการให้ชาวล้านนาที่สนใจและมิได้เป็นนักปราชญ์
ที่ต้องการ จะทราบเรื่องจักรวาลอย่างถ่องแท้
ละเอียดพิสดาร ตามแนวของพุทธศาสนาได้ สามารถ
เข้าใจเรื่องราวได้อย่างชัดเจนขึ้น โดยไม่ต้องค้นคว้าหาอ่าน
มากมาย
• นอกจากนี้ผลงานของพระสิริมังคลาจารย์ยังสะท้อนให้เห็น
ความสนใจและการใฝ่หาความรู้ด้านพุทธศาสนาและวิชาการ
แขนงต่างๆ ของชาวล้านนาในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 20-21งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
พระรัตนปัญญาเถระ หรือพระสิริรัตน
ปัญญาเถระ
• พระเถระชาวเชียงรายรูปนี้ เป็นพระภิกษุรุ่น
เดียวกันกับพระสิริมังคลาจารย์ เป็นเชื้อพระวงศ์ใน
ราชวงศ์มังราย อุปสมบทและพำานักอยู่ที่วัดป่าแก้ว
เชียงราย ต่อมาได้มาศึกษาต่อที่เชียงใหม่ และ
พำานักอยู่วัดสีหลาราม หรือวัดเจ็ดยอดในปัจจุบัน
ท่านเคยพำานักที่วัดฟ่อนสร้อย (เดินอยู่ใกล้ตลาด
ประตูเชียงใหม่) ก่อนจนได้เป็นเจ้าอาวาส จากนั้น
จึงย้ายไปเป็นเจ้าอาวาสวัดเจ็ดยอดในสมัยพระ
เมืองแก้ว ซึ่งเป็นพระอารามหลวง
งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
ผลงานของพระรัตนปัญญาเถระ
•1.มาติกัตถสรูปอภิธัมมสังคณี
– เป็นคัมภีร์อธิบายพระอภิธรรม ไม่ปรากฏปีที่
รจนา
•2.วชิรสารัตถสังคหะ
– รจนาเมื่อ พ.ศ. 2078 ที่วัดมหาวนาราม
เชียงใหม่ เป็นเรื่องศัพท์ย่อๆ ซึ่งเมื่อขยาย
ใจความออกมาแล้วจะทำาให้รู้ความหมายได้แจ่ม
ชัด หรืออาจเรียกว่าเป็นหัวใจของธรรมะต่างๆ
งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
• 3.ชินกาลมาลี หรือชินกาลมาลีปกรณ์
– คัมภีร์นี้เริ่มรจนาเมื่อ พ.ศ. 2060 ในพรรษาที่ 23 ของ
พระรัตนปัญญา รัชสมัยพระเมืองแก้ว เนื้อ
เรื่องกล่าวถึงกาลของพระพุทธเจ้า โดยเรียบเรียงอย่างมี
ระเบียบ จึงได้ชื่อว่า ชินกาลมาลีปกรณ์ รจนาถึงกาล
ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะตรัสรู้โดยพิศดาร ว่าด้วยพุทธกิจ
ว่าทรงทำาอะไร ประทับอยู่ที่ไหน จนกระทั่งดับขันธ์
ปรินิพพาน กาทำาสังคายนาครั้งต่างๆ การจำาแนก
พระบรมธาตุ การเผยแพร่ พุทธศาสนาไปยัง
ประเทศต่างๆ ให้เวลาและสถานที่อย่างชัดเจน บอก
กำาหนดปี โดยครบถ้วน นอกจากนี้ยังกล่าวถึงประวัติ
ของบุคคลและสถานที่ของเมืองสำาคัญ คือ เชียงแสน
เชียงราย ลำาพูน และเชียงใหม่ รจนาเสร็จสมบูรณ์ เมื่อ
พ.ศ. 2071 มีความยาว 14 ผูก กับ 14 ลาน
วรรณกรรมบาลีเล่มนี้ถือได้ว่าเป็นวรรณกรรมงานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
• ชินกาลมาลีปกรณ์ นับเป็นผลงานชิ้นเอกของนัก
ปราชญ์ชาวล้านนา ที่ได้รับการแปล
เป็นภาษาอื่นๆ มากมายหลายภาษา รัชกาลที่ 1
แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ได้ทรงพระกรุณาโปรด
เกล้าฯ ให้ราชบัณฑิตถึง 5 ท่าน ช่วยกันแปลเป็น
ภาษาไทยกลาง ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 5 จึงโปรด
เกล้าฯ ให้พิมพ์แจกเป็นครั้งแรกในงานพระศพ
ของพระราชวงศ์ เมื่อ พ.ศ. 2451
• ต่อมาเสฐียร พันธรังษี ได้แปลเป็นภาษาไทยเป็น
ครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2474 ใช้ชื่อว่า ชินกาลมาลินี
• และในราว พ.ศ. 2500 แสง มนวิทูร ได้แปลเป็น
ภาษาไทยขึ้นอีกเป็นครั้งที่ 3 มีเชิงอรรถ อธิบายงานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
• การแปลเป็นภาษาต่างประเทศเริ่มด้วย ยอร์ช เซเดส์
แปลเป็นภาษาฝรั่งเศส โดยตีพิมพ์คู่กับภาษาบาลี
ลงในวารสารวิชาการของฝรั่งเศสติดต่อกัน 6 ฉบับ
เมื่อ พ.ศ. 2468 สมาคมบาลีปกรณ์ ลอนดอน ประเทศ
อังกฤษ ได้พิมพ์เป็นภาษาบาลีด้วยอักษรโรมัน ต่อมา
ก็ได้พิมพ์เป็นภาษาอังกฤษด้วย
• ในประเทศลังกา พระภิกษุชื่อพุทธทัตก็ได้แปลเป็นภาษา
สิงหล พิมพ์คู่กับภาษาบาลี เมื่อ พ.ศ. 2498 
• นับได้ว่าเป็นวรรณคดีล้านนาที่ได้รับการแปลและพิมพ์
เผยแพร่มากที่สุด ชินกาลมาลีปกรณ์ จึง
เสมือนเป็นคู่มือที่นักศึกษาชาวต่างประเทศได้ใช้เป็น
หลัก ในการศึกษาประวัติศาสตร์และโบราณคดีของ
ไทย มานานแล้ว งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
พระพุทธพุกาม และพระพุทธญานเจ้า
ผลงานของท่านที่ปรากฏคือ มูลศาสนา ได้ระบุชื่อผู้
รจนาไว้ในตอนท้ายของเรื่องนี้ ระยะเวลาที่รจนาก็
ไม่ทราบแน่นอน เป็นหนังสือที่เก็บความรู้ ประวัติ
ทางศาสนาจากที่มาหลายคัมภีร์ นำามารจนาไว้โดย
ละเอียด รวมทั้งแทรกเรื่องราวประวัติศาสตร์ และ
ความเป็นไปของประชาชนในแหลมสุวรรณภูมิสมัย
โบราณด้วย นับเป็นหนังสือคู่กับ จามเทวีวงศ์
และ ชินกาลมาลีปกรณ์
(ประคอง นิมมานเหมินท์, 2517 : 52-56)
หนังสือเล่มนี้รจนาเป็นภาษาล้านนา
งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
พระสุวัณณรังสีเถระ
• พระภิกษุชาวเชียงใหม่รูปนี้ ต่อมาได้ไปจำาพรรษา
อยู่ที่วัดวิชยาราม นครเวียงจันทน์ประเทศลาว และ
ได้รับแต่งตั้งเป็นพระสังฆราช
• ท่านได้รจนาคัมภีร์ ๒ เรื่อง คือ
– ๑ คันถาภรณฎีกา ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายคัมภีร์ชื่อ
คันถาภรณะ ของชาวพม่า อันว่าด้วยหลักเกณฑ์ทาง
ภาษาบาลี รจนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๑๒๘
– ๒.ปฐมสัมโพธิกถา ซึ่งต่อมาใน พ.ศ. ๒๓๘๘ สมเด็จ
พระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส ได้ทรง
นิพนธ์เรื่อง ปฐมสมโพธิกถา โดยถือเอาปฐมสัมโพธิกถา
เป็นฉบับภาษาบาลีของพระสุวัณณรังสี เป็นหลักในการงานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
•พระพรหมราชปัญญา
–ได้รจนาคัมภีร์ชื่อ รัตนพิมพวงศ์ อันเป็น
ตำานานในการสร้างพระแก้วมรกต
•พระอุตตรารามเถระ
- ได้รจนาคัมภีร์ชื่อ วิสุทธิมัคคทีปนี อันเป็นการ
อธิบายความในวิสุทธิมรรคของพระพุทธโฆสา
จารย์ แต่ต้นฉบับยังค้นหาไม่พบ
งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
คัมภีร์มังคลัตถทีปนี
งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
•เป็นเรื่องราวที่ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับ
มงคล ๓๘ ประการ
•มงคล คือเหตุแห่งความสุข ความก้าวหน้าใน
การดำาเนินชีวิต ซึ่งพระพุทธเจ้าได้
ทรงแสดงไว้ให้พุทธศาสนิกชนได้พึงปฏิบัติ
นำามาจากบทมงคลสูตรที่พระพุทธเจ้าตรัส
ตอบปัญหาเทวดาที่ถามว่า คุณธรรม
อันใดที่ทำาให้ชีวิตประสบความ
เจริญหรือมี " “มงคลชีวิต
มงคล ๓๘ ประการ
• ๑. การไม่คบคนพาล ๒. การ
คบบัณฑิต
• ๓. การบูชาบุคคลที่ควรบูชา ๔. การอยู่
ในถิ่นอันสมควร
• ๕. เคยทำาบุญมาก่อน ๖. การ
ตั้งตนชอบ
• ๗. ความเป็นพหูสูต ๘. การ
รอบรู้ในศิลปะ
• ๙. มีวินัยดี ๑๐.
กล่าววาจาอันเป็นสุภาษิต
• ๑๑. การบำารุงบิดามารดา ๑๒. การ
สงเคราะห์บุตร งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
๒๑. ไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย ๒๒. มี
ความเคารพ ๒๓. มีความ
ถ่อมตน ๒๔. มีความ
สันโดษ ๒๕. มีความกตัญญู
๒๖. การฟังธรรมตามกาล
๒๗. มีความอดทน
๒๘. เป็นผู้ว่าง่าย
๒๙. การได้เห็นสมณะ ๓๐.
การสนทนาธรรมตามกาล ๓๑. การ
บำาเพ็ญตบะ ๓๒. การ
ประพฤติพรหมจรรย์ ๓๓. การเห็น
อริยสัจ ๓๔. การทำาให้แจ้ง
คุณค่าของวรรณกรรม
• ๑. คุณค่าทางศาสนา
– ให้คณะสงฆ์ได้เรียนรู้และนำาไปเผยแผ่
– ใช้เป็นหลักสูตรการศึกษาของคณะสงฆ์แผนกบาลี ภาคหนึ่ง
ใช้สำาหรับชั้นเปรียญธรรม ๔ ประโยค และภาค ๒ เป็น
หลักสูตรบาลีชั้นเปรียญธรรม ๕ ประโยค
• ๒. คุณค่าทางวรรณคดี
– ถือเป็นวรรณกรรมหรือวรรณคดีชั้นยอด ลักษณะการแต่ง
เป็นแบบร้อยแก้วผสมด้วยคาถา
– เป็นคัมภีร์ตัวอย่างที่อธิบายธรรมะให้เข้าใจง่าย ผู้อ่าน อ่าน
แล้วสนุกสนานเพลิดเพลินในรสพระธรรม มีนิทานนำามา
ประกอบได้เหมาะสมกลมกลืนกับหัวข้อธรรมนั้น
– เป็นวิทยานิพนธ์ชั้นบรมครู ถือว่ามีคุณค่าทางวรรณกรรมสูงงานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
• ๓. คุณค่าต่อวิถีชีวิต
– เนื้อหาสาระเน้นแนวทางการดำาเนินชีวิตของผู้คนที่
ต้องการความเป็นมงคล ดำาเนินชีวิตอย่างมีความสุข
ด้วยมงคล ๓๘ ประการ
– เป็นขอบเขตของการดำาเนินชีวิตมิให้ผิดพลาด ถ้าหาก
บุคคลในชุมชน สังคม และประเทศชาติปฏิบัติตามหลัก
มงคลสูตรนี้ สังคมชุมชนอยู่อย่างมีสันติสุข ประเทศ
ชาติเจริญเต็มไปด้วยผู้คนที่มีคุณธรรมและจริยธรรม
๔. คุณค่าทางภาษา
- เป็นคัมภีร์มีคุณค่าทางภาษาอย่างสูง โดยเฉพาะภาษา
บาลี
- เป็นแบบร้อยแก้วผสมด้วยคาถา การแต่งใช้ประโยคง่าย
ๆ ไม่ยากจนเกินไป
งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
อิทธิพลของคัมภีร์มังคลัตถทีปนี
•๑. ด้านเศรษฐกิจ ไม่มีผลโดยตรงแต่มีผล
ทางอ้อม
– ประเทศชาติจะเจริญเพราะมีเศรษฐกิจเป็นตัวชี้
วัดความเจริญของประเทศ
– การที่ประเทศจะเจริญหรือมีเศรษฐกิจดีขึ้นอยู่กับ
คนในประเทศ การพัฒนาคนที่ถูกต้อง
ทำาให้คนมีการกินดีอยู่ดี ประกอบสัมมาชีพ
ไม่เบียดเบียนคนอื่น ทำางานที่สุจริต เศรษฐกิจดี
ประเทศเจริญ ดังในมงคลข้อที่ ๒๘ การ
ทำางานที่ไม่มีโทษ การทำางานสุจริต ไม่งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
•๒. ด้านการเมืองการปกครอง
– มีผลต่อการเมืองทางอ้อมเพราะไม่ใช้หลักใน
การนำาไปใช้บริหารบ้านเมือง แต่เป็นหลักใน
การนำาไปประพฤติปฏิบัติของคนในชุมชน สังคม
และประเทศชาติ
– มงคลข้อที่ ๖ ตั้งตนไว้ชอบ ประพฤติดีด้วย
กาย วาจา ใจ มีความคิดที่ถูกต้องตามทำานอง
คลองธรรม
– บ้านเมืองจะมีความเจริญ การบริหารประเทศจะ
ดำาเนินไปด้วยดี เพราะผู้นำามี
การตั้งตนไว้ชอบ ผู้ใต้บังคับบัญชาประพฤติงานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
๓. ด้านการศึกษา ถือว่ามีอิทธิพลมาก
•๑. มีผลต่อการจัดการศึกษามังคลัตถทีป
นี
–เป็นคัมภีร์ที่พระสงฆ์ไทยแต่งขึ้น
–มีคุณค่าทางศาสนาให้คณะสงฆ์ได้ศึกษาเรียนรู้
และนำาไปเผยแผ่แก่ประชาชนทั่วไป
–คณะสงฆ์ไทยนำามาใช้เป็นหลักสูตรการศึกษา
ภาษาบาลีแก่พระภิกษุสามเณร
–เป็นหลักสูตรการศึกษาของคณะสงฆ์แผนกบาลี
ชั้นเปรียญธรรม ๔ ประโยค และเปรียญธรรม ๕
ประโยค งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
• ๒. มีอิทธิพลต่อบุคคลที่ศึกษาเล่าเรียนทั้งที่
เป็นพระสงฆ์และประชาชนทั่วไป
– ผู้ที่จะศึกษาเล่าเรียนสิ่งใดก็ตาม ถ้าหากปฏิบัติตาม
มงคลที่เกี่ยวข้องกับ การศึกษา จะประสบผลสำาเร็จใน
การศึกษาเล่าเรียน
– มงคลข้อที่ ๗ เป็นพหูสูต การศึกษาคือการเรียนรู้ สิ่งที่
บุคคลจะต้องเรียนรู้ มีทั้งวิชาการทางโลก ซึ่งเป็นสิ่ง
จำาเป็นที่บุคคลจะต้องเรียนรู้ เพื่อเป็นหลักในการดำารง
ชีวิต และการเรียนรู้ในทางศาสนา แสดงถึงทางเสื่อม
และทางเจริญ ทั้งทางด้านร่างกายและด้าน
จิตใจ
– มงคลข้อที่ ๘ มีศิลปะ คือความเป็นผู้ฉลาดในวิชาชีพ
ต่าง ๆ ได้แก่ งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
๔. ด้านสังคม
•มีอิทธิพลต่อสังคมโดยตรง เพราะเนื้อหาเป็น
เรื่องราวที่เกี่ยวกับสิ่งที่เป็นมงคล มนุษย์เป็น
สัตว์สังคมต้องมีความเกี่ยวข้องกันให้ความ
ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
•อิทธิพลของคัมภีร์มังคลัตถทีปนี มีต่อสังคม
ไทย ดังนี้
– ๑. ด้านคติธรรมคำาสอนในสังคม สังคมไทย
เน้นความกตัญญูกตเวที
•มงคลข้อที่ ๑๑ การเลี้ยงดูบิดามารดา
•มงคลข้อที่ ๑๒ การเลี้ยงดูบุตรงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
•๒. ด้านค่านิยมทางสังคม
– มงคลข้อที่ ๑๕ บำาเพ็ญทาน เป็นค่านิยมด้านความ
เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่
– มงคลข้อที่ ๑๘ ทำางานที่ไม่มีโทษ เป็นค่านิยมด้าน
การประกอบอาชีพสุจริต
• ๓. ด้านวัฒนธรรมประเพณี
– มงคลข้อที่ ๑ ไม่คบคนพาล เป็นวัฒนธรรมด้าน
ความเชื่อในการคบเพื่อนหรือมิตร
– มงคลข้อที่ ๒ การคบบัณฑิต เป็นความเชื่อด้านการ
คบเพื่อน คบเพื่อนดีถือเป็นมงคล เป็นความดี เป็น
ความเจริญ
งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
จุดเด่น
• มีจุดเด่นในเรื่องของลักษณะการแต่ง
• มีการแต่งเป็นร้อยแก้วผสมคาถา
• การอธิบายความหมายของข้อความในมงคล
สูตร แต่ละข้อละเอียด ชัดเจน
• มีการยกนิทานชาดกมาประกอบทำาให้อ่าน
เข้าใจได้ทันที
• มีการแสดงหลักฐานอ้างอิง หรือเชิงอรรถ
แต่ละข้อความที่อ้างอิงจะมีการบอกที่มาทุก
เรื่องว่ามาจากคัมภีร์เล่มไหน พระสูตรอะไร
งานวิจัยและวรรณกรรมทาง

More Related Content

What's hot

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
พัน พัน
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
thnaporn999
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
Padvee Academy
 

What's hot (20)

พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 
ไตรสิกขา
ไตรสิกขาไตรสิกขา
ไตรสิกขา
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
ชีวประวัติและอุดมคติแห่งชีวิตของท่านพุทธทาสภิกขุ
 

Similar to วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา

งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
Chinnakorn Pawannay
 
เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่าน
krunoony
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
Gob_duangkamon
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1
Ning Rommanee
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
teacherhistory
 
อาณาจักรสมัยโบราณ
อาณาจักรสมัยโบราณอาณาจักรสมัยโบราณ
อาณาจักรสมัยโบราณ
yeanpean
 

Similar to วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา (20)

งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
 
Art
ArtArt
Art
 
เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่าน
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ยศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ย
 
มิลินทปัญหา
มิลินทปัญหามิลินทปัญหา
มิลินทปัญหา
 
1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.1.2 หลักฐานทางปวศ.
1.2 หลักฐานทางปวศ.
 
อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1อารยธรรมจีน1
อารยธรรมจีน1
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
รายงานโครงงานสังคมศึกษา
รายงานโครงงานสังคมศึกษารายงานโครงงานสังคมศึกษา
รายงานโครงงานสังคมศึกษา
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน2
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
อาณาจักรสมัยโบราณ
อาณาจักรสมัยโบราณอาณาจักรสมัยโบราณ
อาณาจักรสมัยโบราณ
 

More from พระอภิชัช ธมฺมโชโต

มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชนมูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระเทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา  คานธีชีวประวัติ มหาตมา  คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

More from พระอภิชัช ธมฺมโชโต (8)

มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชนมูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
 
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระเทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
 
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา  คานธีชีวประวัติ มหาตมา  คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
 
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนาการจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
 
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ  พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 

วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา

  • 2. ประวัติพระพุทธศาสนาในล้านประวัติพระพุทธศาสนาในล้าน นานา •ในพุทธศตวรรษที่ ๑๒ ภาคเหนือ ของไทยสมัยปัจจุบันนั้น ในอดีต เคยเป็นที่ตั้งแห่งอาณาจักรล้านนาอัน รุ่งเรือง พระนางจามเทวี พระราช ธิดาแห่งกษัตริย์มอญ ในอาณาจักร ทวาราวดีได้ขึ้นมาครองเมืองหริภุญไชย ทรงเป็นกษัตริย์องค์แรก  งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 3. •  เมืองหริภุญไชย คือ ลำาพูนในปัจจุบัน เมืองหริภุญไชย คือ ลำาพูนในปัจจุบัน ๑๑.. ได้ทรงนำาเอาอารยธรรมแบบทวาราวดีขึ้นมา เผยแผ่ เช่น การสร้างสถูป สุวรรณจังโกฏิเจดีย์ เป็นต้น  ๒.ทรงนำาเอาพระพุทธศาสนาเถรวาทมาเผยแผ่ ด้วย ทำาให้พุทธศาสนาประดิษฐานอย่างมั่นคง ในสมัยนี้  ๓. ทรงสร้างวัดไว้ ๔ มุมเมือง เรียกว่า เป็นจตุร พุทธปราการ  ๔. เมื่อขอมมีอำานาจทำาให้อิทธิของศิลปะทวาราว ดีสามารถกั้นวัฒนธรรมของขอมถึงแค่ลำานำ้าปิง เท่านั้น  งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 4. เม็งรายเม็งราย กษัตริย์แห่งนครเงินยางกษัตริย์แห่งนครเงินยาง ((เชียงเชียงแสนเก่าแสนเก่า))ได้รวบรวมเผ่าไทยในอาณาจักรล้านนาขึ้นเป็นปึก แผ่นเพราะทรงขับไล่มอญ  ออกจากกลุ่มนำ้าปิงสำาเร็จ ๑. เข้าตีเมืองหริภุญไชย ทอดพระเนตรเห็นวัด พระบรมธาตุ โดนไฟไหม้ แต่วิหารที่ประดิษฐานพระ เสตังคมณี(พระแก้วขาว สร้างในสมัยพระนางจาม เทวี) ไม่ไหม้ไฟ ก็ทรงเลื่อมใส ๒. ทรงโปรดสร้างเมืองที่เชิงเขาสุเทวบรรพต (ดอยสุ เทพ) บนฝั่งขวาแม่นำ้าปิง ปัจจุบันนี้คือ เชียงใหม่(นวบุรี)  ๓.  เป็นกษัตริย์องค์แรกแห่งล้านนาไทยงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 5. ๔. ทรงสร้างวัดเชียงมั่น เพื่อประดิษฐานพระ เสตังคมณี  โดยสถาปนาพระตำาหนักเป็นวัด ๕. ทรงรับพระพุทธศาสนาแบบเถรวาทจาก มอญ ศิลปกรรมทาง  ศาสนา จึงมีอิทธิพลทวาราวดีอยู่มาก พระเจ้าเม็งรายพระเจ้าเม็งราย ((ต่อต่อ)) งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 6. นักโบราณคดีแบ่งสมัย พระพุทธรูปทางภาคเหนือ เป็น ๒ สมัย • ๑. เชียงแสนยุคต้น พระพุทธรูปเป็นแบบอินเดียสมัย ราชวงศ์ปาละมหาวิทยาลัย นาลันทากำาลังรุ่งเรืองนัก  ปราชญ์เดินทางไปมาอยู่เนืองๆ  ลักษณะของพระพุทธรูป พระองค์อวบอ้วน พระรัศมีเป็นต่อมกลม นั่งขัดสมาธิ เพชร พระหัตถ์มารวิชัย (พระหัตถ์ซ้ายวางบน พระเพลา พระหัตถ์ขวาวางห้อยลงมาทางพระชานุ ขวา) พระอุระนูน ชายสังฆาฏิสั้นอยู่เหนือราวพระ ถัน พระพักตร์กลมสั้น พระโขนงโก่ง พระนาสิกงุ้ม พระโอษฐ์เล็ก พระหนุเป็นปม เส้นพระศกใหญ่เป็นต่อม กลม หรือเป็นก้นหอย ไม่มีไรพระศก ฐานมีบัวรองมีทั้งงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 7. •๒. เชียงแสนรุ่นหลัง เป็นของไทย ชาวล้านนาและลานช้างทำาอย่าง สุโขทัย มีลักษณะต่างจากรุ่นแรก มาก •ลักษณะของพระพุทธรูป ทำารัศมี เป็นเปลว นั่งขัดสมาธิราบ ชาย สังฆาฏิยาว เส้นพระศกละเอียด มีไร พระศกเอาอย่าง มาจากสุโขทัยซึ่ง สุโขทัยก็เอาอย่างมาจากลังกา งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 8.  พระพุทธศาสนาลังกาวงศ์สู่ล้านนา •  สมัยพระเจ้ากือนา ทรงเป็นธรรมิกราช ประชาชนอยู่เย็น เป็นสุข พระองค์ทราบข่าวว่า พระชาวลังกา ชื่อ พระอุทุมพรบุบผามหาสวามี มาอาศัย อยู่ที่นครพัน (เมาะตะมะ) เผยแผ่ลัทธิลังกา วงศ์อยู่ จึงส่งทูตไปนิมนต์แต่พระอุทุมพรฯ ทรง ปฏิเสธว่าชรามากแล้ว จึงส่งพระหลานชายมา แทน ชื่อ พระอนันทเถระพระอนันทเถระ  งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 9. เหตุการณ์สำาคัญในสมัยพระ  เจ้ากือนา • ๑. ทรงบวชกุลบุตรชาวเชียงใหม่ตามแบบลังกาวงศ์ โดยพระอนันทเถระ ขอให้นิมนต์พระจากสุโขทัย(สมัย พระเจ้าลือไทย)มาเป็นอุปัชฌาย์ คือ พระสุมนเถระ กับ พระอโนมทัสสีเถระ ส่วนตัวพระอุทุมพร เป็นพระกรรม วาจาจารย์ ทั้งสองมา จำาพรรษาที่วัดพระยืน ลำาพูน อุปสมบทชาวลำาพูนเป็นจำานวนมาก เมื่อออกพรรษาจึง  ขึ้นไปเชียงใหม่ จำาพรรษาอยู่ที่วัดสวนดอก ๒. ทรงสถาปนาพระสุมนะเถระ ขึ้นเป็นพระสังฆราช  เป็นองค์แรกแห่งล้านนา ๓. พระเจ้ากือนา ทรงสร้างเจดีย์ที่วัดสวนดอกบรรจุ พระบรมธาตุส่วนหนึ่ง เป็นศิลปะแบบลังกาองค์  แรก และทรงสร้างพระธาตุดอยสุเทพ งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 11.  สมัยพระเจ้าติโลกราช • ราชนัดดาของพระเจ้าแสนเมือง คณะสงฆ์แตกแยก  ออกเป็น ๓ นิกาย คือ          ๑.  นิกายเดิม          ๒.  นิกายที่สืบเนื่องมาจากพระสุมนะ          ๓. นิกายลังกาวงศ์ใหม่ มีพระเมธังกร เป็น หัวหน้าตั้งสำานักที่วัดป่ากวางเชิงดอยสุเทพประพฤติ เคร่งครัดกว่าลังกาวงศ์เดิมซึ่งตั้งอยู่ที่วัดสวนดอก พวก อำามาตย์เลื่อมใสพระสงฆ์ลังกาวงศ์ใหม่ ทรงอุปถัมภ์ นานาประการ ได้ผนวช ในนิกายนี้เป็นเวลา ๗ วัน เมื่อปี พ.ศ.๑๙๙๕ ทรงสถาปนาพระเมธังกร เป็นพระ  สังฆราชแห่งล้านนา งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 12. เหตุการณ์สำาคัญในสมัยพระเจ้าติ  โลกราช • ๑. พ.ศ.๑๙๙๙ โปรดให้สร้างวัดชื่อมหา โพธาราม ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของเมือง เชียงใหม่ จำาลองแบบวิหารพุทธคยา โลหะ ปราสาทรัตนมาลีเจดีย์ขึ้น ซึ่งเรียกว่า วัดเจดีย์ เจ็ดยอด มาถึงทุกวันนี้  ๒. พ.ศ.๒๐๒๐ โปรดให้มีการทำาสังคายนา พระ ธรรมวินัยขึ้น ณ วัดมหาโพธาราม หรือวัดเจ็ดยอด โดยมีพระธรรมทินนาเถระเป็น ประธาน ทำาการสังคายนาอยู่ ๑ปี จึงแล้ว เสร็จ  ๓. การศึกษาทางเมืองเหนือรุ่งเรืองกว่าทางงานวิจัยและวรรณกรรม
  • 13. พระโพธิรังสีเถระ • ในบรรดานักปราชญ์ชาวล้านนาที่เป็นพระเถระนั้น พระโพธิรังสีเถระเป็นผู้ที่อาวุโสที่สุด เป็นชาว เชียงใหม่ ผลงานของท่านปรากฏอยู่คู่กับวรรณคดี ล้านนาเล่มอื่นๆ ที่มีผู้คนอ้างอิงและศึกษาทั้งทาง ศาสนาและประวัติศาสตร์ คือ จามเทวีวงศ์ และ สิหิงคนิทาน • จามเทวีวงศ์ จัดเป็นหนังสือพงศาวดาร รจนาเป็น ภาษาบาลี มี ๑๕ ปริเฉท ปรากฏตอนท้ายทุกปริเฉท ว่า อันมหาเถรมีนามว่า โพธิรังสี ได้แต่งตามคำา มหาจารึก สันนิษฐานว่ารจนาราว พ.ศ. ๑๙๕๐- ๒๐๖๐ กรรมการหอพระสมุด วชิรญาณสำาหรับงานวิจัยและวรรณกรรม
  • 14. • เนื้อเรื่องในจามเทวีวงศ์ ว่าด้วยวงศ์ของพระนางจามเมวีที่ได้ครอง เมืองหริภุญชัยและประวัติ พระศาสนาในล้าน  นา กล่าวถึงการสร้างเมืองหริภุญชัย ลำาปางและ การสร้างวัดบรรจุพระธาตุคือ พระบรมธาตุหริ ภุญชัยในสมัยราชวงศ์ของ พระนางจามเทวี กล่าว ถึงธรรมะของกษัตริย์และความที่ไม่สมควร อันเป็น เหตุให้บ้านเมืองเดือดร้อนล่มจม นับว่าพระโพธิรังสี เถระสามารถนำาเอาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์มา สัมพันธ์กับเรื่องราวทางพุทธศาสนาได้เป็นอย่างดี จึงนับว่าหนังสือ จามเทวีวงศ์ เป็นหนังสือที่ทรงงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 15. •สิหิงคนิทาน หรือประวัติพระพุทธสิ หิงค์ แม้มิได้ระบุปีที่รจนา แต่สันนิษฐานว่าเป็นระหว่าง ปี พ.ศ. ๑๙๘๕-๒๐๖๘เพราะเป็นระยะที่วรรณกรรม บาลีกำาลังเฟื่องฟู •เนื้อเรื่องใน สิหิงคนิทาน ว่าด้วยประวัติ ความเป็นมาของพระพุทธรูปสำาคัญ ซึ่งหล่อใน ประเทศลังกาด้วย เงิน ตะกั่ว และทองเหลือง ประวัติ การเดินทางมาสู่ประเทศไทยและจังหวัด ต่างๆ รวมทั้งเชียงใหม่ งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 16. พระญาณกิตติเถระ • พระญาณกิตติเถระ เป็นชาวเชียงใหม่ มีอาวุโสกว่าพระ สิริมังคลาจารย์ จำาพรรษาอยู่วัดปนสาราม (สวนต้น ขนุน) ซึ่งตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของนคร เชียงใหม่ จากผลงานของท่านที่รจนาไว้ ทำาให้ทราบว่า ท่านเป็นพระอาจารย์ของพระเจ้าติโลกราชเชื่อว่าท่าน เคยไปศึกษาที่ประเทศลังกา ในรัชกาลกษัตริย์ กรุงลังกาปรักกรมพาหุที่ 6 และพระเจ้าภูวเนกพาหุที่ 6 (พ.ศ. 1955-2024) ครั้งนั้นศาสนสัมพันธ์ ระหว่างเชียงใหม่ อยุธยา ลังกา และพม่า ดำาเนินไป ด้วยดี พระสงฆ์ล้านนาเดินทางไปประเทศเหล่านี้ได้ อย่างเสรี (ลิขิต ลิขิตานนท์, 2523 : 10) ท่านมีชีวิตอยู่ใน สมัยพระเจ้าติโลกราชและพระเจ้ายอดเชียงราย งานที่งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 17. ผลงานของพระญาณกิตติเถระรจนาคัมภีร์ อธิบาย เรื่องเกี่ยวกับพระวินัย และพระอภิธรรมและ บาลีไวยากรณ์• พระวินัย • 1. สมันตปาสาทิกา อัตถโยชนา อธิบายศัพท์ คำา ข้อความยากในอรรถกถาวินัยปิฎกชื่อ สมันตปาสาทิกา ซึ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับบทบัญญัติ ข้อแนะนำาตักเตือนและบท ลงโทษ สำาหรับพระภิกษุผู้ผิดวินัย เป็นต้น • 2. ภิกขุปาฏิโมกขคัณฐีทีปนี มีเนื้อหาเกี่ยวกับพระปาฏิ โมกข์ หรือศีลของพระภิกษุโดยเฉพาะ เช่น สงฆ์ควรปฏิบัติ อย่างไรก่อนพิธีสวดปาฏิโมกข์ และอธิบายขยายความใน พระปาฏิโมกข์ รจนาเมื่อ พ.ศ. 2035 • 3. สีมาสังกรวินิจฉัย วินัยปิฏกกล่าวถึงสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ และสำาคัญที่สุดของพระสงฆ์ คือ สีมา ซึ่งคู่กับพระอุโบสถ หรือโบสถ์เป็นที่ทำาสังฆกรรม กิจกรรมที่ต้องทำาโดยความงานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 18. พระอภิธรรม • 4.อัฏฐสาลินีอัตถโยชนา คัมภีร์อธิบายอัฏฐสาลินี อรรถกถาอภิธรรมธัมมสังคณี • 5. สัมโมหวิโนทนี อัตถโยชนา คัมภีร์อธิบายอรรถกถา อภิธรรม • 6. ปัญจกรณัฏฐกถา อัตถโยชนา และเชื่อว่าท่าน ญาณกิตติเถระคงรจนาคู่มืออธิบายอภิธรรมที่เหลืออีก 5 คัมภีร์ คือ ธาตุกถา ปุคคลปัญญัติ กถาวัตถุ ยมก และปัฏฐาน รวมเรียกว่า ปัญจปกรณัฏฐกถา • 7. อภิธัมมัตถวิภาวินี ปัญจิกา อัตถโยชนา คัมภีร์อธิบา ยอภิธัมมัตถวิภาวินี งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง •ไวยากรณ์ • 8. มูลกัจจายนอัตถโยชนา คู่มืออธิบายบาลี ไวยากรณ์สายกัจจนะ ซึ่งพระกัจจายน เถระ ภิกษุรุ่นหลังท่านพุทธโฆสาจารย์ (พุทธ ศตวรรษที่ 11-12) รจนามูลกัจจายนวยากรณ
  • 19. พระสิริมังคลาจารย์ • เดิมชื่อ ศรีปิงเมือง ต่อมาเมื่อบรรพชาเป็นสามเณรมี ฉายาว่า สิริมังคละ บิดามีอาชีพ ค้าช้าง ท่านเกิด ในสมัยราชวงศ์มังรายปกครองอาณาจักรล้านนา ตรงกับรัชกาลพระเจ้าติโลกราช ระหว่าง พ.ศ.๒๐๑๐ -๒๐๒๐มรณภาพในรัชกาลพระเจ้าเม กุฏิสุทธิวงศ์ (พ.ศ.๒๐๙๔-๒๑๑๗) ท่านจำาพรรษา อยู่ที่วัดสวนขวัญ ปัจจุบัน ชื่อ วัดตำาหนัก ซึ่งตั้งอยู่ ทางทิศ ตะวันตกเฉียงใต้ของนครเชียงใหม่ ประมาณ ๔ กิโลเมตร เป็นปราชญ์ทางด้านภาษา บาลี ผู้แตกฉานในอักขรวิธี วจีวิพาก วากยสัมพันธ์ และฉันทลักษณ์อย่างยากจะหาผู้เสมอเหมือนได้งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 20. พระสิริมังคลาจารย์รจนาผลงานไว้ 4 เรื่อง ซึ่งอาจจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ • การอธิบายคัมภีร์ที่มีมาแต่เดิม ผลงานประเภทนี้มี ด้วยกัน 3 เรื่อง ดังนี้ • 1. เวสสันตรทีปนี รจนาสำาเร็จเมื่อ พ.ศ. 2060 ในรัชกาลพระเมืองแก้ว อธิบายอรรถกถาเวสสันดร ชาดก เกี่ยวกับความเบ็ดเตล็ดเกร็ดเล็กน้อยต่างๆ ที่ น่าสนใจ ตลอดจนวิธีแบ่งคาถาในเวสสันดรชาดก อีกด้วย คัมภีร์นี้มีความยาวบั้นต้น 40 ผูก บั้นปลาย 10 ผูก • 2.  สัขยาปกาสกฎีกา เป็นหนังสืออธิบายคัมภีร์ สังขยาปกาสกะ ที่พระญาณวิลาสเถระงานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 21. •3. มังคลัตถทีปนี หรือ มงคลทีปนี เป็นวรรณกรรมเรื่องเอกที่มีชื่อเสียงยิ่งของ พระสิริมังคลาจารย์ รจนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. 2067 เพื่อเป็นการอธิบายความใน มงคลสูตร ที่ปรากฏใน พระไตรปิฎก 2 แห่ง คือ ในขุททกปาฐะและสุตตนิบาต ซึ่งทั้งสองนี้อยู่ใน พระสุตตันตปิฎก ขุททกนิกาย มีอรรถกถาชื่อ ปรมัตถ โชติกา ซึ่งพระพุทธโฆสะ เป็นผู้รจนาไว้อันเป็นพระสูตรที่แสดงถึงการปฏิบัติที่ เป็นมงคลรวม 38 ประการ เช่น การไม่คบคนพาล การคบบัณฑิต ฯลฯ ท่านได้ อธิบายถึงความหมายของ งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 22. • ส่วนคัมภีร์ที่รจนาขึ้นใหม่ มีเพียงเรื่องเดียว คือ • 4. จักกวาฬทีปนี ซึ่งเรื่องนี้ท่านได้ผูกโครงเรื่อง ขึ้นก่อน โดยแบ่งเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวกับจักรวาล ออกเป็นตอนๆ จากนั้นก็อธิบายเรื่องราวตอนนั้นๆ อย่างละเอียดลออ โดยอ้างหลักฐานจากพระ ไตรปิฎกและคัมภีร์ต่าง ๆ มาประกอบ รจนา เสร็จเมื่อ พ.ศ. 2063 กล่าวถึงเรื่องราวในจักรวาล หรือโลกธาตุ พรรณนาถึงภูมิที่เกิดของสัตว์ทั้ง หลาย อาหารของสัตว์ ภูเขา แม่นำ้า เทวดา อสูร ฯลฯ งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 23. • จากวิธีการรจนาคัมภีร์ทั้ง 4 เรื่องแล้ว จะเห็นว่าพระสิริมังคลา จารย์ รจนาคัมภีร์แต่ละเรื่องขึ้นเพื่ออธิบายขยายความที่ ยากหรือค่อนข้างยากให้คนทั่วไปเข้าใจรู้เรื่องอย่าง แจ่มแจ้ง อันเป็นจุดประสงค์สำาคัญของผลงานกลุ่มแรก ส่วน ผลงานที่รจนาใหม่คือ การอธิยายเรื่องจักรวาลนั้น ก็เพื่อ ต้องการให้ชาวล้านนาที่สนใจและมิได้เป็นนักปราชญ์ ที่ต้องการ จะทราบเรื่องจักรวาลอย่างถ่องแท้ ละเอียดพิสดาร ตามแนวของพุทธศาสนาได้ สามารถ เข้าใจเรื่องราวได้อย่างชัดเจนขึ้น โดยไม่ต้องค้นคว้าหาอ่าน มากมาย • นอกจากนี้ผลงานของพระสิริมังคลาจารย์ยังสะท้อนให้เห็น ความสนใจและการใฝ่หาความรู้ด้านพุทธศาสนาและวิชาการ แขนงต่างๆ ของชาวล้านนาในระหว่างพุทธศตวรรษที่ 20-21งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 24. พระรัตนปัญญาเถระ หรือพระสิริรัตน ปัญญาเถระ • พระเถระชาวเชียงรายรูปนี้ เป็นพระภิกษุรุ่น เดียวกันกับพระสิริมังคลาจารย์ เป็นเชื้อพระวงศ์ใน ราชวงศ์มังราย อุปสมบทและพำานักอยู่ที่วัดป่าแก้ว เชียงราย ต่อมาได้มาศึกษาต่อที่เชียงใหม่ และ พำานักอยู่วัดสีหลาราม หรือวัดเจ็ดยอดในปัจจุบัน ท่านเคยพำานักที่วัดฟ่อนสร้อย (เดินอยู่ใกล้ตลาด ประตูเชียงใหม่) ก่อนจนได้เป็นเจ้าอาวาส จากนั้น จึงย้ายไปเป็นเจ้าอาวาสวัดเจ็ดยอดในสมัยพระ เมืองแก้ว ซึ่งเป็นพระอารามหลวง งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 25. ผลงานของพระรัตนปัญญาเถระ •1.มาติกัตถสรูปอภิธัมมสังคณี – เป็นคัมภีร์อธิบายพระอภิธรรม ไม่ปรากฏปีที่ รจนา •2.วชิรสารัตถสังคหะ – รจนาเมื่อ พ.ศ. 2078 ที่วัดมหาวนาราม เชียงใหม่ เป็นเรื่องศัพท์ย่อๆ ซึ่งเมื่อขยาย ใจความออกมาแล้วจะทำาให้รู้ความหมายได้แจ่ม ชัด หรืออาจเรียกว่าเป็นหัวใจของธรรมะต่างๆ งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 26. • 3.ชินกาลมาลี หรือชินกาลมาลีปกรณ์ – คัมภีร์นี้เริ่มรจนาเมื่อ พ.ศ. 2060 ในพรรษาที่ 23 ของ พระรัตนปัญญา รัชสมัยพระเมืองแก้ว เนื้อ เรื่องกล่าวถึงกาลของพระพุทธเจ้า โดยเรียบเรียงอย่างมี ระเบียบ จึงได้ชื่อว่า ชินกาลมาลีปกรณ์ รจนาถึงกาล ก่อนที่พระพุทธเจ้าจะตรัสรู้โดยพิศดาร ว่าด้วยพุทธกิจ ว่าทรงทำาอะไร ประทับอยู่ที่ไหน จนกระทั่งดับขันธ์ ปรินิพพาน กาทำาสังคายนาครั้งต่างๆ การจำาแนก พระบรมธาตุ การเผยแพร่ พุทธศาสนาไปยัง ประเทศต่างๆ ให้เวลาและสถานที่อย่างชัดเจน บอก กำาหนดปี โดยครบถ้วน นอกจากนี้ยังกล่าวถึงประวัติ ของบุคคลและสถานที่ของเมืองสำาคัญ คือ เชียงแสน เชียงราย ลำาพูน และเชียงใหม่ รจนาเสร็จสมบูรณ์ เมื่อ พ.ศ. 2071 มีความยาว 14 ผูก กับ 14 ลาน วรรณกรรมบาลีเล่มนี้ถือได้ว่าเป็นวรรณกรรมงานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 27. • ชินกาลมาลีปกรณ์ นับเป็นผลงานชิ้นเอกของนัก ปราชญ์ชาวล้านนา ที่ได้รับการแปล เป็นภาษาอื่นๆ มากมายหลายภาษา รัชกาลที่ 1 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ได้ทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ให้ราชบัณฑิตถึง 5 ท่าน ช่วยกันแปลเป็น ภาษาไทยกลาง ต่อมาสมัยรัชกาลที่ 5 จึงโปรด เกล้าฯ ให้พิมพ์แจกเป็นครั้งแรกในงานพระศพ ของพระราชวงศ์ เมื่อ พ.ศ. 2451 • ต่อมาเสฐียร พันธรังษี ได้แปลเป็นภาษาไทยเป็น ครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2474 ใช้ชื่อว่า ชินกาลมาลินี • และในราว พ.ศ. 2500 แสง มนวิทูร ได้แปลเป็น ภาษาไทยขึ้นอีกเป็นครั้งที่ 3 มีเชิงอรรถ อธิบายงานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 28. • การแปลเป็นภาษาต่างประเทศเริ่มด้วย ยอร์ช เซเดส์ แปลเป็นภาษาฝรั่งเศส โดยตีพิมพ์คู่กับภาษาบาลี ลงในวารสารวิชาการของฝรั่งเศสติดต่อกัน 6 ฉบับ เมื่อ พ.ศ. 2468 สมาคมบาลีปกรณ์ ลอนดอน ประเทศ อังกฤษ ได้พิมพ์เป็นภาษาบาลีด้วยอักษรโรมัน ต่อมา ก็ได้พิมพ์เป็นภาษาอังกฤษด้วย • ในประเทศลังกา พระภิกษุชื่อพุทธทัตก็ได้แปลเป็นภาษา สิงหล พิมพ์คู่กับภาษาบาลี เมื่อ พ.ศ. 2498  • นับได้ว่าเป็นวรรณคดีล้านนาที่ได้รับการแปลและพิมพ์ เผยแพร่มากที่สุด ชินกาลมาลีปกรณ์ จึง เสมือนเป็นคู่มือที่นักศึกษาชาวต่างประเทศได้ใช้เป็น หลัก ในการศึกษาประวัติศาสตร์และโบราณคดีของ ไทย มานานแล้ว งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 29. พระพุทธพุกาม และพระพุทธญานเจ้า ผลงานของท่านที่ปรากฏคือ มูลศาสนา ได้ระบุชื่อผู้ รจนาไว้ในตอนท้ายของเรื่องนี้ ระยะเวลาที่รจนาก็ ไม่ทราบแน่นอน เป็นหนังสือที่เก็บความรู้ ประวัติ ทางศาสนาจากที่มาหลายคัมภีร์ นำามารจนาไว้โดย ละเอียด รวมทั้งแทรกเรื่องราวประวัติศาสตร์ และ ความเป็นไปของประชาชนในแหลมสุวรรณภูมิสมัย โบราณด้วย นับเป็นหนังสือคู่กับ จามเทวีวงศ์ และ ชินกาลมาลีปกรณ์ (ประคอง นิมมานเหมินท์, 2517 : 52-56) หนังสือเล่มนี้รจนาเป็นภาษาล้านนา งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 30. พระสุวัณณรังสีเถระ • พระภิกษุชาวเชียงใหม่รูปนี้ ต่อมาได้ไปจำาพรรษา อยู่ที่วัดวิชยาราม นครเวียงจันทน์ประเทศลาว และ ได้รับแต่งตั้งเป็นพระสังฆราช • ท่านได้รจนาคัมภีร์ ๒ เรื่อง คือ – ๑ คันถาภรณฎีกา ซึ่งเป็นหนังสืออธิบายคัมภีร์ชื่อ คันถาภรณะ ของชาวพม่า อันว่าด้วยหลักเกณฑ์ทาง ภาษาบาลี รจนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๑๒๘ – ๒.ปฐมสัมโพธิกถา ซึ่งต่อมาใน พ.ศ. ๒๓๘๘ สมเด็จ พระมหาสมณเจ้ากรมพระปรมานุชิตชิโนรส ได้ทรง นิพนธ์เรื่อง ปฐมสมโพธิกถา โดยถือเอาปฐมสัมโพธิกถา เป็นฉบับภาษาบาลีของพระสุวัณณรังสี เป็นหลักในการงานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 31. •พระพรหมราชปัญญา –ได้รจนาคัมภีร์ชื่อ รัตนพิมพวงศ์ อันเป็น ตำานานในการสร้างพระแก้วมรกต •พระอุตตรารามเถระ - ได้รจนาคัมภีร์ชื่อ วิสุทธิมัคคทีปนี อันเป็นการ อธิบายความในวิสุทธิมรรคของพระพุทธโฆสา จารย์ แต่ต้นฉบับยังค้นหาไม่พบ งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 32. คัมภีร์มังคลัตถทีปนี งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง •เป็นเรื่องราวที่ประกอบด้วยเนื้อหาเกี่ยวกับ มงคล ๓๘ ประการ •มงคล คือเหตุแห่งความสุข ความก้าวหน้าใน การดำาเนินชีวิต ซึ่งพระพุทธเจ้าได้ ทรงแสดงไว้ให้พุทธศาสนิกชนได้พึงปฏิบัติ นำามาจากบทมงคลสูตรที่พระพุทธเจ้าตรัส ตอบปัญหาเทวดาที่ถามว่า คุณธรรม อันใดที่ทำาให้ชีวิตประสบความ เจริญหรือมี " “มงคลชีวิต
  • 33. มงคล ๓๘ ประการ • ๑. การไม่คบคนพาล ๒. การ คบบัณฑิต • ๓. การบูชาบุคคลที่ควรบูชา ๔. การอยู่ ในถิ่นอันสมควร • ๕. เคยทำาบุญมาก่อน ๖. การ ตั้งตนชอบ • ๗. ความเป็นพหูสูต ๘. การ รอบรู้ในศิลปะ • ๙. มีวินัยดี ๑๐. กล่าววาจาอันเป็นสุภาษิต • ๑๑. การบำารุงบิดามารดา ๑๒. การ สงเคราะห์บุตร งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 34. งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง ๒๑. ไม่ประมาทในธรรมทั้งหลาย ๒๒. มี ความเคารพ ๒๓. มีความ ถ่อมตน ๒๔. มีความ สันโดษ ๒๕. มีความกตัญญู ๒๖. การฟังธรรมตามกาล ๒๗. มีความอดทน ๒๘. เป็นผู้ว่าง่าย ๒๙. การได้เห็นสมณะ ๓๐. การสนทนาธรรมตามกาล ๓๑. การ บำาเพ็ญตบะ ๓๒. การ ประพฤติพรหมจรรย์ ๓๓. การเห็น อริยสัจ ๓๔. การทำาให้แจ้ง
  • 35. คุณค่าของวรรณกรรม • ๑. คุณค่าทางศาสนา – ให้คณะสงฆ์ได้เรียนรู้และนำาไปเผยแผ่ – ใช้เป็นหลักสูตรการศึกษาของคณะสงฆ์แผนกบาลี ภาคหนึ่ง ใช้สำาหรับชั้นเปรียญธรรม ๔ ประโยค และภาค ๒ เป็น หลักสูตรบาลีชั้นเปรียญธรรม ๕ ประโยค • ๒. คุณค่าทางวรรณคดี – ถือเป็นวรรณกรรมหรือวรรณคดีชั้นยอด ลักษณะการแต่ง เป็นแบบร้อยแก้วผสมด้วยคาถา – เป็นคัมภีร์ตัวอย่างที่อธิบายธรรมะให้เข้าใจง่าย ผู้อ่าน อ่าน แล้วสนุกสนานเพลิดเพลินในรสพระธรรม มีนิทานนำามา ประกอบได้เหมาะสมกลมกลืนกับหัวข้อธรรมนั้น – เป็นวิทยานิพนธ์ชั้นบรมครู ถือว่ามีคุณค่าทางวรรณกรรมสูงงานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 36. • ๓. คุณค่าต่อวิถีชีวิต – เนื้อหาสาระเน้นแนวทางการดำาเนินชีวิตของผู้คนที่ ต้องการความเป็นมงคล ดำาเนินชีวิตอย่างมีความสุข ด้วยมงคล ๓๘ ประการ – เป็นขอบเขตของการดำาเนินชีวิตมิให้ผิดพลาด ถ้าหาก บุคคลในชุมชน สังคม และประเทศชาติปฏิบัติตามหลัก มงคลสูตรนี้ สังคมชุมชนอยู่อย่างมีสันติสุข ประเทศ ชาติเจริญเต็มไปด้วยผู้คนที่มีคุณธรรมและจริยธรรม ๔. คุณค่าทางภาษา - เป็นคัมภีร์มีคุณค่าทางภาษาอย่างสูง โดยเฉพาะภาษา บาลี - เป็นแบบร้อยแก้วผสมด้วยคาถา การแต่งใช้ประโยคง่าย ๆ ไม่ยากจนเกินไป งานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 37. อิทธิพลของคัมภีร์มังคลัตถทีปนี •๑. ด้านเศรษฐกิจ ไม่มีผลโดยตรงแต่มีผล ทางอ้อม – ประเทศชาติจะเจริญเพราะมีเศรษฐกิจเป็นตัวชี้ วัดความเจริญของประเทศ – การที่ประเทศจะเจริญหรือมีเศรษฐกิจดีขึ้นอยู่กับ คนในประเทศ การพัฒนาคนที่ถูกต้อง ทำาให้คนมีการกินดีอยู่ดี ประกอบสัมมาชีพ ไม่เบียดเบียนคนอื่น ทำางานที่สุจริต เศรษฐกิจดี ประเทศเจริญ ดังในมงคลข้อที่ ๒๘ การ ทำางานที่ไม่มีโทษ การทำางานสุจริต ไม่งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 38. •๒. ด้านการเมืองการปกครอง – มีผลต่อการเมืองทางอ้อมเพราะไม่ใช้หลักใน การนำาไปใช้บริหารบ้านเมือง แต่เป็นหลักใน การนำาไปประพฤติปฏิบัติของคนในชุมชน สังคม และประเทศชาติ – มงคลข้อที่ ๖ ตั้งตนไว้ชอบ ประพฤติดีด้วย กาย วาจา ใจ มีความคิดที่ถูกต้องตามทำานอง คลองธรรม – บ้านเมืองจะมีความเจริญ การบริหารประเทศจะ ดำาเนินไปด้วยดี เพราะผู้นำามี การตั้งตนไว้ชอบ ผู้ใต้บังคับบัญชาประพฤติงานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 39. ๓. ด้านการศึกษา ถือว่ามีอิทธิพลมาก •๑. มีผลต่อการจัดการศึกษามังคลัตถทีป นี –เป็นคัมภีร์ที่พระสงฆ์ไทยแต่งขึ้น –มีคุณค่าทางศาสนาให้คณะสงฆ์ได้ศึกษาเรียนรู้ และนำาไปเผยแผ่แก่ประชาชนทั่วไป –คณะสงฆ์ไทยนำามาใช้เป็นหลักสูตรการศึกษา ภาษาบาลีแก่พระภิกษุสามเณร –เป็นหลักสูตรการศึกษาของคณะสงฆ์แผนกบาลี ชั้นเปรียญธรรม ๔ ประโยค และเปรียญธรรม ๕ ประโยค งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 40. • ๒. มีอิทธิพลต่อบุคคลที่ศึกษาเล่าเรียนทั้งที่ เป็นพระสงฆ์และประชาชนทั่วไป – ผู้ที่จะศึกษาเล่าเรียนสิ่งใดก็ตาม ถ้าหากปฏิบัติตาม มงคลที่เกี่ยวข้องกับ การศึกษา จะประสบผลสำาเร็จใน การศึกษาเล่าเรียน – มงคลข้อที่ ๗ เป็นพหูสูต การศึกษาคือการเรียนรู้ สิ่งที่ บุคคลจะต้องเรียนรู้ มีทั้งวิชาการทางโลก ซึ่งเป็นสิ่ง จำาเป็นที่บุคคลจะต้องเรียนรู้ เพื่อเป็นหลักในการดำารง ชีวิต และการเรียนรู้ในทางศาสนา แสดงถึงทางเสื่อม และทางเจริญ ทั้งทางด้านร่างกายและด้าน จิตใจ – มงคลข้อที่ ๘ มีศิลปะ คือความเป็นผู้ฉลาดในวิชาชีพ ต่าง ๆ ได้แก่ งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 41. ๔. ด้านสังคม •มีอิทธิพลต่อสังคมโดยตรง เพราะเนื้อหาเป็น เรื่องราวที่เกี่ยวกับสิ่งที่เป็นมงคล มนุษย์เป็น สัตว์สังคมต้องมีความเกี่ยวข้องกันให้ความ ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน •อิทธิพลของคัมภีร์มังคลัตถทีปนี มีต่อสังคม ไทย ดังนี้ – ๑. ด้านคติธรรมคำาสอนในสังคม สังคมไทย เน้นความกตัญญูกตเวที •มงคลข้อที่ ๑๑ การเลี้ยงดูบิดามารดา •มงคลข้อที่ ๑๒ การเลี้ยงดูบุตรงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 42. •๒. ด้านค่านิยมทางสังคม – มงคลข้อที่ ๑๕ บำาเพ็ญทาน เป็นค่านิยมด้านความ เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ – มงคลข้อที่ ๑๘ ทำางานที่ไม่มีโทษ เป็นค่านิยมด้าน การประกอบอาชีพสุจริต • ๓. ด้านวัฒนธรรมประเพณี – มงคลข้อที่ ๑ ไม่คบคนพาล เป็นวัฒนธรรมด้าน ความเชื่อในการคบเพื่อนหรือมิตร – มงคลข้อที่ ๒ การคบบัณฑิต เป็นความเชื่อด้านการ คบเพื่อน คบเพื่อนดีถือเป็นมงคล เป็นความดี เป็น ความเจริญ งานวิจัยและวรรณกรรมทางงานวิจัยและวรรณกรรมทาง
  • 43. จุดเด่น • มีจุดเด่นในเรื่องของลักษณะการแต่ง • มีการแต่งเป็นร้อยแก้วผสมคาถา • การอธิบายความหมายของข้อความในมงคล สูตร แต่ละข้อละเอียด ชัดเจน • มีการยกนิทานชาดกมาประกอบทำาให้อ่าน เข้าใจได้ทันที • มีการแสดงหลักฐานอ้างอิง หรือเชิงอรรถ แต่ละข้อความที่อ้างอิงจะมีการบอกที่มาทุก เรื่องว่ามาจากคัมภีร์เล่มไหน พระสูตรอะไร งานวิจัยและวรรณกรรมทาง