SlideShare a Scribd company logo
15-Aug-14 1
ความคลาดเคลื่อนทางยา
(Medication error)
 ความคลาดเคลื่อนทางยา คือ
– เหตุการณ์ซึ่งนาไปสู่การใช้ยาอย่างไม่เหมาะสม
หรือเกิดความเสียหายแก่ผู้ป่ วย
– ทั้งที่สามารถป้ องกันได้
15-Aug-14 2
ประเภทความคลาดเคลื่อนทางยา
1. ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (Prescription error)
2. ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคาสั่งใช้ยา (Transcribing
error)
3. ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing Error)
4. ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา (Administration Error)
15-Aug-14 3
รายงานความคลาดเคลื่อนทางยา
• ประมาณ ½ จากการสั่งใช้ยา ( พบมากที่สุด )
• ประมาณ ¼ จากการถ่ายทอดคาสั่ง+การจัดยา+การ
จ่ายยา
• ประมาณ ¼ จากขั้นตอนการบริหารยา
15-Aug-14 4
Category A : ไม่มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แต่มี
เหตุการณ์ที่อาจทาให้เกิดความคลาดเคลื่อนได้
15-Aug-14 5
ไม่มีความคลาดเคลื่อน
ลาดับชั้นของความคลาดเคลื่อนทางยา
(NCCMERP, 2008)
มีความคลาดเคลื่อนแต่ไม่เป็น
อันตราย
Category B  มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แต่ไม่เป็นอันตราย
ต่อผู้ป่ วย เนื่องจากความคลาดเคลื่อนไปไม่ถึง
ผู้ป่ วย
Category C  มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แต่ไม่เป็นอันตราย
ต่อผู้ป่ วย ถึงแม้ว่าความคลาดเคลื่อนนั้นจะไปถึง
ผู้ป่ วยแล้ว
Category D  มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แม้ไม่เป็นอันตราย
ต่อผู้ป่ วย แต่ยังจาเป็นต้องมีการติดตามผู้ป่ วย
เพิ่มเติม15-Aug-14 6
ลาดับชั้นของความคลาดเคลื่อนทางยา
(NCCMERP, 2008)
มีความคลาดเคลื่อนและ
เป็นอันตราย
Category E  มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และเป็นอันตรายต่อผู้ป่ วยเพียง
ชั่วคราว รวมถึงจาเป็นต้องได้รับการรักษาหรือแก้ไขเพิ่มเติม
Category F  มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และเป็นอันตรายต่อผู้ป่ วยเพียง
ชั่วคราว รวมถึงจาเป็นต้องได้รับการรักษาในโรงพยาบาลหรือยืด
ระยะเวลาในการรักษาตัวในโรงพยาบาลออกไป
Category G  มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และเป็นอันตรายต่อผู้ป่ วยถาวร
Category H  มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และเป็นอันตรายต่อผู้ป่ วยจนเกือบถึง
แก่ชีวิต (เช่น แพ้ยาแบบ anaphylaxis และหัวใจหยุดเต้น)
15-Aug-14 7
ลาดับชั้นของความคลาดเคลื่อนทางยา
(NCCMERP, 2008)
• Category I: มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และเป็น
อันตรายต่อผู้ป่ วยจนถึงแก่ชีวิต
15-Aug-14 8
มีความคลาดเคลื่อน และเป็นอันตรายจน
เสียชีวิต
สาเหตุหลักของ Medication error
• ด้านบุคคล
• ปัจจัยเชิงระบบ
15-Aug-14 9
การจาแนกชนิดของความคลาดเคลื่อนทางด้านยา
1. Prescribing Error คือ ความคลาดเคลื่อนที่พบในใบสั่งยา
(ใบ order)
–อาจเกิดจากแพทย์เขียนผิดพลาด หรือไม่ชัดเจน
–การเลือกใช้ยาผิด การเลือกขนาดยาผิด การเลือกรูปแบบยาผิด
–การสั่งยาในจานวนที่ผิด การเลือกวิถีทางให้ยาผิด การเลือกความ
เข้มข้นของยาผิด การเลือกอัตราเร็วในการให้ยาผิด
–การให้คาแนะนาการใช้ยาผิด การสั่งยาผิดตัวผู้ป่วย
–การไม่ระบุชื่อยา ความแรง ความเข้มข้น ความถี่ของการใช้ยาที่ทาให้
เกิดความคลาดเคลื่อนที่ส่งผลถึงตัวผู้ป่วย
15-Aug-14 10
การจาแนกชนิดของความคลาดเคลื่อนทางด้านยา
• ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา แบ่งเป็นประเภทดังนี้
–สั่งยาผิดขนาด
–สั่งยาผิดชนิด
–ผิดวิถีทาง
–ผิดความถี่
–สั่งยาที่มีประวัติแพ้
–ลายมือไม่ชัดเจน
15-Aug-14 11
การจาแนกชนิดของความคลาดเคลื่อนทางด้านยา
2. Transcribing error คือ ความคลาดเคลื่อนของกระบวนการคัดลอก
คาสั่งใช้ยาจากคาสั่งใช้ยาต้นฉบับที่ผู้สั่งใช้ยาเขียน จาแนกตามสถานที่ที่
เกิดความคลาดเคลื่อนขึ้น คือ
– หอผู้ป่ วย หมายถึง พยาบาลลอกคาสั่งแพทย์/ อ่านคาสั่งแพทย์ไม่ถูกต้อง
ไม่ตรงตามแพทย์สั่ง ทาให้ข้อมูลที่คัดลอกไว้นั้นมีความคลาดเคลื่อน
– ศูนย์คอมพิวเตอร์ หมายถึง เจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่คัดกรองการ
ลงข้อมูลยาในคอมพิวเตอร์ไม่ครอบคลุมหรือคัดกรองข้อมูลผิดพลาด
– เภสัชกรรม หมายถึง เจ้าหน้าที่ห้องยา/ เภสัชกร อ่านคาสั่งแพทย์ไม่ถูกต้อง ไม่
ตรงตามแพทย์สั่ง ส่งผลถึงการส่งต่อข้อมูลและการจ่ายยา
15-Aug-14 12
การจาแนกชนิดของความคลาดเคลื่อนทางด้านยา
3. Dispensing Error คือ การจัดจ่ายยาที่ไม่ถูกต้อง
–ไม่ได้ทบทวนใบสั่งยาก่อนการจัดยา
–จัดยาไม่ถูกตามใบสั่ง อาจจะผิดที่ตัวยา ขนาด รูปแบบ หรืออื่นๆ
–ปรุงยาด้วยเทคนิคที่ไม่ถูกต้อง
–เขียนฉลากยาผิดหรือไม่ครบถ้วน
–จ่ายยาที่หมดอายุหรือเสีย
–จ่ายยาไม่ตรงกับผู้ป่ วย
–ไม่ได้ให้คาแนะนาในการใช้ยา
15-Aug-14 13
การจาแนกชนิดของความคลาดเคลื่อนทางด้านยา
4. Administration error หมายถึง การบริหารยาที่
แตกต่างไปจากคาสั่งใช้ยาของผู้สั่งใช้ยา ที่เขียนไว้ในใบ
บันทึกประวัติการรักษาผู้ป่ วย หรือความคลาดเคลื่อนที่ทา
ให้ผู้ป่ วยได้รับยาผิดไปจากความตั้งใจในการสั่งยาของผู้สั่ง
ใช้ยา จาแนกได้ 11 ข้อ (11R) ดังนี้
15-Aug-14 14
การจาแนกชนิดของความคลาดเคลื่อนทางด้านยา
• จาแนกได้ 11 ข้อ (11R) ดังนี้ (ต่อ)
1. การให้ยาไม่ครบ (omission error)
2. การให้ยาผิดชนิด (wrong drug error)
3. การให้ยาซึ่งผู้สั่งใช้ยาไม่ได้สั่ง (unordered or unauthorized drug)
4. การให้ยาผู้ป่ วยผิดคน ( wrong patient)
5. การให้ยาผิดขนาด (wrong-dose or wrong-strength error)
6. การให้ยาผิดวิถีทาง (wrong-route error)
15-Aug-14 15
การจาแนกชนิดของความคลาดเคลื่อนทางด้านยา
• จาแนกได้ 11 ข้อ (11R) ดังนี้ (ต่อ)
7. การให้ยาผิดเวลา (wrong-time error)
8. การให้ยามากกว่าจานวนครั้งที่สั่ง (extra-dose error)
9. การให้ยาในอัตราเร็วที่ผิด (wrong rate of administration error)
10. การให้ยาผิดเทคนิค (wrong technique error)
11. การให้ยาผิดรูปแบบยา (wrong dosage-form error)
15-Aug-14 16
1. ผู้ป่ วยไม่หาย ไม่บรรเทา
2. ได้รับอันตราย อาจถึงชีวิต ( สถาบัน Insitituteof Medicine
สหรัฐอเมริกา ได้รายงานไว้ว่า ความคลาดเคลื่อนทาง
การแพทย์เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ผู้ป่ วยถึงแก่ความตายถึง
44,000-98,000 คนต่อปี ยาเป็นสาเหตุที่พบบ่อย ร้อยละ 3.7)
3. การสูญเสียอื่น ๆ : เงิน, ความเชื่อถือ, อาชีพ
15-Aug-14 17
แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา
(Medication error)
แพทย์
• ตรวจสอบรายชื่อที่ให้ใช้ตัวย่อได้
• ดูประวัติการแพ้ยาซึ่งจะเห็นได้เด่นชัดจากสติ๊กเกอร์สีแดงหน้าแฟ้ ม และจาก
แบบฟอร์มสีชมพูที่มีรายละเอียดการแพ้ยาของผู้ป่ วยอยู่ในแฟ้ มเวชระเบียน
หรือข้อมูลเตือนการแพ้ยาที่จะปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์กรณีแพทย์สั่งยาทาง
คอมพิวเตอร์
• ระบุวินิจฉัยโรคหลัก และโรครอง
• ระบุขนาด วิธีใช้ยา ระยะเวลา หรือจานวนเม็ด ให้ชัดเจน โดยเฉพาะกรณีต้องการ
ให้ผู้ป่ วยรับยาเดิมต่อเนื่อง
• ยาที่ใช้เมื่อมีอาการ ต้องระบุอาการไว้ด้วย เช่น ใช้เวลารู้สึกวิตกกังวล เวลานอนไม่
หลับ เวลาปวด
15-Aug-14 18
OPD
แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา
(Medication error)
พยาบาล
• ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลของผู้ป่ วยลงในคอมพิวเตอร์เทียบกับแฟ้ ม
• เตือนแพทย์กรณีผู้ป่ วยมีประวัติแพ้ยาก่อนให้ผู้ป่ วยพบแพทย์
• ให้แพทย์แก้ไขกรณีพบความคลาดเคลื่อน เช่น การใช้ตัวย่อที่ไม่อนุญาตให้ใช้
• ให้แพทย์พิจารณาซ้าเมื่อผู้ป่ วยใช้ยาในรายการที่ควบคุมระยะเวลาการใช้ยา
และแพทย์ไม่ได้ระบุ
• ระยะเวลาใช้ยาเอาไว้ เช่น ยาปฏิชีวนะ ยานอนหลับ ยารักษาอาการทางกาย
อื่นๆ
15-Aug-14 19
OPD
แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา
(Medication error)
ห้องยา : เมื่อรับใบสั่งยา
เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม
• ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลของผู้ป่วยลงในคอมพิวเตอร์เทียบกับคาสั่งการใช้ยา
ของแพทย์ในเวชระเบียน
• ตรวจสอบการแพ้ยากรณีผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา โอกาสเกิดการแพ้ยาข้ามกลุ่ม
• ตรวจสอบประวัติการเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงจากการใช้ยา หากแพทย์สั่ง
จ่ายยาที่เคยใช้แล้วเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงให้แจ้งแพทย์ทบทวนการสั่งจ่าย
ยา
• ตรวจสอบยา ขนาด วิธีใช้ระยะเวลาที่ใช้ยา มีความสอดคล้องเหมาะสมกับ
วินิจฉัยโรคหรือไม่
15-Aug-14 20
OPD
แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา
(Medication error)
ห้องยา : จัดยา
เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม
• เจ้าหน้าที่ที่หยิบหรือจัดยาในกลุ่ม high alert drug ให้คนที่นั่งจัดใกล้ๆ ช่วย
ตรวจสอบความถูกต้องของยา
• การแบ่งบรรจุล่วงหน้าเพื่อเตรียมไว้จ่ายให้ผู้ป่วย จะต้องบรรจุไว้เพียงพอให้ใช้
หมดภายในสัปดาห์
• ยาที่แบ่งบรรจุต้องเก็บรักษาตามเกณฑ์ของยานั้นๆ ห้ามแบ่งบรรจุยาที่ต้องเก็บในที่
เย็น
• ฉลากยาระบุชื่อ ความแรง จานวนเม็ด วันที่แบ่งบรรจุ วันหมดอายุ ให้ชัดเจน
• สุ่มตรวจสอบความถูกต้องของจานวนเม็ดยาเป็นระยะ
15-Aug-14 21
OPD
แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา
(Medication error)
ห้องยา : จ่ายยา
เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม
• เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม ตรวจสอบความถูกต้องของยาที่จ่าย โดยสามารถ
เทียบกับลักษณะเม็ดยา และรายละเอียดการใช้ยาของผู้ป่วยรายนั้นๆ จาก
จอคอมพิวเตอร์
• ให้เฉพาะเภสัชกรจ่ายยาในกลุ่ม high alert กรณีต้องจ่ายโดยเจ้าพนักงานเภสัช
กรรม เช่น การจ่ายยานอกเวลาราชการ ให้พยาบาลเวรช่วยตรวจสอบความถูกต้อง
ของยาเทียบกับลักษณะและรายละเอียดยาของผู้ป่วยรายนั้นที่ปรากฏบน
จอคอมพิวเตอร์
• ให้มีหลักฐานระบุตัวผู้ป่วยว่าตรงกับชื่อในใบสั่งยา
15-Aug-14 22
OPD
แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา
(Medication error)
ห้องยา : จ่ายยา
เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม
• กรณีผู้ป่วยรับยาเดิม ต้องประเมินอาการขั้นต้นของผู้ป่วย อาการอันไม่พึงประสงค์
ตามแบบฟอร์มที่ห้องยาได้แนบไว้ในเวชระเบียนหากผู้ป่วยมีการใช้ยาในกลุ่มที่
ต้องเฝ้าระวัง พร้อมทั้งประเมินการใช้ยาของผู้ป่วยจากระยะเวลารับยาต่อเนื่อง การ
ขาดยา ไม่ใช้ยาตามแพทย์สั่ง
• เภสัชกรให้คาปรึกษา แนะนาผู้ป่วยหรือญาติเกี่ยวกับการใช้ยา การเฝ้าระวังระหว่าง
ใช้ยาที่บ้านอาการสาคัญที่ผู้ป่วยจะต้องรีบมาพบแพทย์
15-Aug-14 23
OPD
แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา
(Medication error)
แพทย์
• ตรวจสอบรายชื่อยาที่สามารถใช้ตัวย่อได้
• ดูประวัติการแพ้ยาซึ่งจะเห็นได้เด่นชัดจากสติ๊กเกอร์สีชมพูหน้าแฟ้ ม และจาก
แบบฟอร์มสีชมพูที่มีรายละเอียดการแพ้ยาของผู้ป่ วยอยู่ในแฟ้ มเวชระเบียน
• ระบุวินิจฉัยโรคหลัก และโรครอง
• ระบุขนาด วิธีใช้ยา ระยะเวลา หรือจานวนเม็ด ให้ชัดเจน โดยเฉพาะกรณี
ต้องการให้ผู้ป่ วยรับยาเดิมต่อเนื่อง
• ยาที่ใช้เมื่อมีอาการ ต้องระบุอาการไว้ด้วย เช่น ใช้เวลารู้สึกวิตกกังวล เวลา
นอนไม่หลับ เวลาปวด
15-Aug-14 24
IPD
แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา
(Medication error)
พยาบาล
• เตือนแพทย์กรณีผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยาหรือมีอาการไม่พึงประสงค์จากยาก่อนให้
ผู้ป่วยพบแพทย์โดยแนบแฟ้มประวัติผู้ป่วยในการรายงานแพทย์ทุกราย
• ให้แพทย์พิจารณาซ้าเมื่อผู้ป่วยใช้ยาในรายการที่ควบคุมระยะเวลาการใช้ยาและ
แพทย์ไม่ได้ระบุระยะเวลาใช้ยาเอาไว้เช่น ยาปฏิชีวนะ ยานอนหลับ ยารักษาอาการ
ทางกายอื่นๆ
• ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของยาผู้ป่วยทันทีที่ได้รับจากห้องยา โดยเทียบกับ
ข้อมูลที่ปรากฏในจอคอมพิวเตอร์ หากพบความผิดพลาดให้รีบแจ้งให้ห้องยาทา
การแก้ไข
• ใช้Medical Sheet ที่ได้จากคอมพิวเตอร์ในการสรุปและส่งต่อข้อมูลการใช้ยาของ
ผู้ป่วย
15-Aug-14 25
IPD
แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา
(Medication error)
ศูนย์คอมพิวเตอร์
• บันทึกข้อมูลการใช้ยาของผู้ป่วยตามแบบบันทึกการจ่ายยาของหอผู้ป่วยเทียบ
กับสาเนาคาสั่งแพทย์เพื่อจัดทาเป็นรายงานขอเบิกยาจากห้องยา
• ให้พยาบาลแจ้งแพทย์แก้ไขกรณีพบความคลาดเคลื่อน เช่น การใช้ตัวย่อที่ไม่
อนุญาตให้ใช้
• ตรวจสอบการข้อมูลบันทึกการจ่ายยา วัสดุการแพทย์อื่นๆ ที่หอผู้ป่วยได้
บันทึกไว้เทียบกับสาเนาคาสั่งแพทย์หากพบว่าไม่สอดคล้อง เช่น ใช้ไปแต่
ไม่มีการบันทึก ให้แจ้งพยาบาลเพื่อหาสาเหตุ และให้ดาเนินการแก้ไขให้
ถูกต้อง
15-Aug-14 26
IPD
แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา
(Medication error)
ห้องยา : เมื่อรับใบสั่งยา
เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม
• ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลของผู้ป่วยลงในคอมพิวเตอร์เทียบกับสาเนา
การสั่งใช้ยาของแพทย์
• ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาหรืออาการไม่พึงประสงค์จากยา และพิมพ์
ประวัติดังกล่าวแนบไปกับแฟ้มยา
• ตรวจสอบประวัติการเกิดการแพ้ยา หรืออาการไม่พึงประสงค์รุนแรงจาก
การใช้ยา หากแพทย์สั่งจ่ายยาที่เคยใช้แล้วเกิดอาการไม่พึงประสงค์
รุนแรงให้แจ้งแพทย์ทบทวนการสั่งจ่ายยา
15-Aug-14 27
IPD
แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา
(Medication error)
ห้องยา : เมื่อรับใบสั่งยา
เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม (ต่อ)
• ตรวจสอบยา ขนาด วิธีใช้ระยะเวลาที่ใช้ยา มีความสอดคล้องเหมาะสม
กับวินิจฉัยโรคหรือไม่
• แนบแบบฟอร์มการเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงไว้ในกล่องยา
unit dose กรณีผู้ป่วยได้รับยาในกลุ่มhigh alert หรือคู่ยาที่มี
โอกาสเกิดปฏิกิริยาระหว่างยาได้สูงและรุนแรง
15-Aug-14 28
IPD
แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา
(Medication error)
ห้องยา : จัดยา
เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม
• จัดยากลับบ้านใช้โดยมีระยะการจ่ายแต่ละรอบ 7 วัน
• เจ้าหน้าที่ที่หยิบหรือจัดยาในกลุ่ม high alert drug ต้องให้คนที่
นั่งจัดใกล้ๆ ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของยาก่อนจัด
• การจัดยาที่มีลักษณะคล้ายกัน ให้ปฏิบัติตามแนวทางจัดและจ่าย “ยาคู่
เหมือน”
• การรับคืนยาจากหอผู้ป่วยให้ปฏิบัติตามแนวทางที่กาหนด
15-Aug-14 29
IPD
แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา
(Medication error)
ห้องยา : จ่ายยา
เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม
• เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม ตรวจสอบความถูกต้องของยาที่จ่าย
• การจ่ายในกลุ่ม high alert หากจาเป็นต้องจ่ายโดยเจ้าพนักงานเภสัช
กรรม เช่น กรณีเภสัชกรเข้าไปดูผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหรือติดประชุม ให้เจ้า
พนักงานเภสัชกรรมอีกคนช่วยตรวจสอบความถูกต้องของยาซ้า
• ตรวจสอบยาที่เหลือค้างในกล่องยาผู้ป่วยเมื่อทางหอผู้ป่วยนามาแลกเพื่อ
เบิกยากล่องใหม่ พร้อมทั้งหาสาเหตุที่ผู้ป่วยไม่ได้รับยาในแต่ละครั้ง
15-Aug-14 30
IPD
แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา
(Medication error)
ห้องยา : จ่ายยา
เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม
• มีการส่งต่อข้อมูลสาคัญที่จาเป็นต่อการใช้ยาบางชนิดสาหรับผู้ป่วย
เฉพาะรายให้กับพยาบาลในหอผู้ป่วย เพื่อเตือนให้ระวังการใช้ยา เช่น
การใช้ยา cloxacillin ชนิดฉีดห้ามฉีดเข้าหลอดเลือดโดยตรงต้องเจือ
จางก่อนฉีด
• ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาหรืออาการไม่พึงประสงค์จากยาพร้อมแนบ
เอกสารไปกับแฟ้มยาและใบบันทึกการจ่ายยา
15-Aug-14 31
IPD
15-Aug-14 32
มาตรการป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา
แบบสหวิชาชีพ
15-Aug-14 33
Analysis of incidents
• แพทย์สั่งยาทางโทรศัพท์ให้เด็กอายุ 18 เดือนว่า “ให้ morphine
ขนาด 0.8 stat”พยาบาลรับคาสั่ง และฉีดยาให้กับเด็กในขนาด
0.8 มล. ทราบต่อมาภายหลังว่าแพทย์ต้องการให้ฉีด 0.8 มก. ผล
ที่เกิดขึ้น คือ เด็กเสียชีวิต
–ปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุได้แก่อะไรบ้าง
–จะวางแนวทางเพื่อลดอุบัติการณ์
ดังกล่าวอย่างไร
15-Aug-14 34
Analysis of incidents
• ผู้ป่ วยโรคเบาหวานได้รับยาผิดเป็น celecoxib เป็นเวลา 1
สัปดาห์ ผลคือเกิด Hyperglycemia และ Steven’s Johnson
Syndrome เนื่องจากผู้ป่ วยแพ้กลุ่มยาซัลฟาต้องรับการรักษาใน
โรงพยาบาล 2 เดือน
–ปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุได้แก่อะไรบ้าง
–จะวางแนวทางเพื่อลดอุบัติการณ์
ดังกล่าวอย่างไร
15-Aug-14 35
Analysis of incidents
• พยาบาลบริหารยา cloxacillin inj IV ช้าๆ พบว่า ผู้ป่ วยเกิดภาวะ
แสบร้อน ปวด และอีก 1ชั่วโมงเกิดเขียวบริเวณที่ต่ากว่าตาแหน่ง
ที่ฉีดยา มีการบาบัดตามอาการ สุดท้ายผู้ป่ วยเกิด gangrene และ
ตัดแขนในที่สุด
15-Aug-14 36
Pitfalls in Administration error
• นโยบายโดยรวมด้านความปลอดภัยยังไม่สามารถถ่ายทอดลงสู่
ผู้ปฏิบัติ
–คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงยังไม่สามารถเชื่อมโยงสู่ระดับ
หน่วยงาน
–ขาดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย เช่น การรายงานโดยไม่ถือ
ว่าเป็นความผิด ขาดแนวทางที่ชัดเจนในการสร้างความตระหนัก
เรื่องความปลอดภัย ตั้งแต่การเป็นบุคลากรใหม่
15-Aug-14 37
Pitfalls in Administration error
• พบว่ามีการรายงานน้อย บางโรงพยาบาลไม่มี
–ขาดความเข้าใจว่า administration error คืออะไร
–กลัวว่าความคลาดเคลื่อนคือความผิด และการขาด
ประสิทธิภาพ
–วัฒนธรรมของโรงพยาบาลยังไม่ชัดเจน เรื่องการรายงานโดย
ไม่ถือว่าเป็นความผิด ภาระงาน ระบบรายงานที่ยุ่งยาก ไม่
ชัดเจน
15-Aug-14 38
Pitfalls in Administration error
• ระบบที่เป็นจุดอ่อน และไม่เอื้อต่อการตรวจสอบความ
คลาดเคลื่อน
– มีการคัดลอกในระบบมาก มีการฝากงานจากวิชาชีพข้างเคียง
– ขาดการตรวจสอบความถูกต้องตั้งแต่แรก การสารองยาที่ไม่จาเป็น
– ขาดการวางแนวทางการรับคาสั่งโดยเฉพาะการจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง
– ขาดระบบการตรวจสอบอิสระโดยเฉพาะการบริหารยาที่ต้องระมัดระวังสูง
– การจัดยาก่อนการบริหารยาเป็นเวลานาน การลงนามบริหารยาที่ไม่ใช่เวลาจริง
15-Aug-14 39
Pitfalls in Administration error
• ขาดความเชื่อมโยงระหว่างวิชาชีพ
–ขาดการมองระบบยาโดยรวม
–ขาดการกาหนดแนวทางปฏิบัติในลักษณะการส่งต่อที่มี
ประสิทธิภาพ
–ขาดโครงสร้างที่ชัดเจนขององค์กรในการสร้างเสริมความ
ปลอดภัยทางยา
15-Aug-14 40
Pitfalls in Administration error
• ขาดระบบการตอบสนองและการจัดการผลที่เกิดขึ้นตามมาอย่าง
มีประสิทธิภาพ
–ขาดแนวทางที่ชัดเจนในการจัดการผลที่เกิดขึ้นตามมาที่มีระดับ
ความรุนแรงที่แตกต่างกัน
–ขาดการป้ อนกลับข้อมูล และแนวทางการจัดการเรื่องขวัญ กาลังใจ
–ขาดการวิเคราะห์สาเหตุแท้จริงและการวางระบบโดยยึดวงล้อ
คุณภาพ
15-Aug-14 41
6R & types of administration error
• หลักการที่ใช้เพื่อประกันความปลอดภัยในทุกขั้นตอนคือ 6R มี 5
ประเภท คือ
–Medication error
–Transcription error
–Dispensing error
–Administration error
–Monitoring error
15-Aug-14 42
Patient’s rights in administration
• สิทธิที่จะได้รับการประเมิน (right to assessment)
• สิทธิที่จะได้รับการบันทึกเอกสารที่ถูกต้องเหมาะสม (right to
documentation)
• สิทธิที่จะได้รับความรู้ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการรักษา (right to client’s
right to education)
• สิทธิที่จะได้รับการประเมินผล (right to evaluate)
• สิทธิในการปฏิเสธที่จะไม่รับการรักษาพยาบาลที่ไม่เหมาะสม
(right to refuse)
15-Aug-14 43
Patient’s rights in administration
15-Aug-14 44
Patient’s rights in administration
15-Aug-14 45
6R & types of administration error
หลักการที่ 1. การประกันความถูกต้องด้านผู้ป่ วย (Right patient)
15-Aug-14 46
ชนิดความคลาดเคลื่อน แนวทางการจัดการ
ชนิดที่พบ:
• การสั่งจ่าย การกระจาย การส่งมอบ
และการบริหารยาให้ผู้ป่ วยผิดคน
• การให้ยาที่แพทย์ไม่ได้สั่ง
1. ปรับระบบให้เทคโนโลยี
สารสนเทศ เอื้อต่อการจัดการ
ระบบยา เช่น CPOE การใช้
ฐานข้อมูลผู้ป่ วยร่วมกัน การใช้
รหัสแท่งในการระบุผู้ป่ วย
2. การระบุผู้ป่ วยอย่างน้อย 2 ตัวบ่งชี้
หลักการที่ 2. การประกันว่าผู้ป่ วยจะได้รับยาที่มีคุณภาพ เป็นไปตาม
เงื่อนไขผู้ป่ วย หรือถูกต้องตามที่แพทย์ต้องการ (Right drug)
15-Aug-14 47
หลักการที่ 3. การประกันว่าผู้ป่ วยจะได้รับยาที่มีความแรง ความเข้มข้น
ขนาดยาตามความเหมาะสม และเป็นไปตามที่แพทย์ต้องการ (Right dose)
15-Aug-14 48
หลักการที่ 4. การประกันว่าผู้ป่ วยจะได้รับยาถูกช่องทางหรือวิธีบริหาร
(Right route)
ยาที่เหมาะสม (Right route)
15-Aug-14 49
หลักการที่ 5. การประกันว่าผู้ป่ วยจะได้รับยาถูกต้องตามเวลาที่เหมาะสม
(Right time)
15-Aug-14 50
หลักการที่ 6. การประกันว่าผู้ป่ วยจะได้รับการบริหารยาด้วยเทคนิค
ที่เหมาะสม (Right technique)
15-Aug-14 51
Adverse Drug Reaction : ADR
อาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
• องค์การอนามัยโลก WHO ( 1970 ): กล่าวว่า ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดย
มิได้ตั้งใจและเป็นอันตรายต่อร่างกายของมนุษย์อันเกิดจากการใช้ยา
และเกิดขึ้นเมื่อใช้ยาในขนาดปกติ เพื่อป้องกัน วินิจฉัย บรรเทา
บาบัดรักษาโรค หรือเปลี่ยนแปลงการทางานของร่างกาย โดยไม่รวม
ปฏิกิริยาที่เกิดจากการใช้ยาเกินขนาดโดยอุบัติเหตุหรือตั้งใจ ตลอดจน
การใช้ยาในทางที่ผิด อุบัติเหตุ หรือจงใจใช้ยาเกินขนาดและผิดวิธี
15-Aug-14 52
Side Effect
อาการข้างเคียงจากการใช้ยา
• การตอบสนองของร่างกายที่เป็นผลจากฤทธิ์ทางเภสัช
ซึ่งอาจเกิดขึ้นได้แม้ในขนาดปกติสามารถทานายหรือบอก
อุบัติการณ์การเกิดได้
15-Aug-14 53
Side Effect
อาการข้างเคียงจากการใช้ยา
• ตัวอย่าง :
– อาการง่วงนอนจากการใช้ยากลุ่ม Antihistamine, Antidepressant
– เลือดออกในทางเดินอาหารจากการใช้ยา NSAIDs
– อาการไอจากการใช้ยา ACEIs
– อาการพิษต่อไตจากการใช้ยา Aminoglycosides, AmphotericinB
– เลือดออกผิดปกติจากการใช้ยา Warfarin, Antiplatelet
– Electrolyeimbalance จากการใช้ยาขับปัสสาวะ
– เต้านมโตจากการใช้ยา Spironolactone
15-Aug-14 54
Toxicity
พิษของยา
• การตอบสนองของร่างกาย ที่เป็นผลจากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
เนื่องจาก ได้รับยาเกินขนาด
15-Aug-14 55
Drug Allergy
อาการแพ้ยา
• เป็นอาการทางด้านปฏิกิริยาภูมิคุ้มกัน
ที่ร่างกายต่อต้านต่อ
สิ่งแปลกปลอม (ยา)
ที่ได้รับเข้าไป
15-Aug-14 56
Drug Allergy
อาการแพ้ยา
• ลักษณะอาการแพ้ยา
 ไม่สัมพันธ์กับฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
 ไม่สัมพันธ์กับขนาดของยาที่ได้รับ
 อาจเกิดอาการภายหลังได้รับยาไประยะหนึ่ง โดยทั่วไปใช้เวลา 1-2
สัปดาห์
 เมื่อหยุดยาอาการหาย ถ้าใช้ยาเกิดอาการใหม่
 อาการที่แสดงออกเป็นปฏิกิริยาทางภูมิคุ้มกัน เช่น ผื่น (rash),
Anaphylaxis, หอบหืด (Asthma), ผื่นลมพิษ (Urticaria),
Angioedema
15-Aug-14 57
Adverse Drug Events : ADEs
เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
15-Aug-14 58
การแบ่งประเภท ADR
 Type A (augmented) ADR Type ADR
 Type B (bizarre) ADR Type ADR
 Type C (continuous or Chronic) ADR
 Type D (delayed) ADR
 Type E (end of use) ADR
 Type F (unexpected failure of therapy)
15-Aug-14 59
Type A (augmented) ADR
• ทานายล่วงหน้าจากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
• อาการจะรุนแรงหรือไม่ขึ้น ขึ้นอยู่กับขนาดยาและการตอบสนอง
ของแต่ละบุคคล
• อุบัติการณ์การเกิดสูง (>80%) แต่อัตราการตายต่า
• แก้ไขโดยการลดขนาดยา หรือเปลี่ยนไปใช้ยาตัวอื่น เพื่อแก้ไข
อาการ
15-Aug-14 60
Type B (bizarre) ADR
• ไม่สามารถทานายได้ล่วงหน้าจากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
• อุบัติการณ์การเกิดต่า (<20%) แต่อัตราการตายสูง
• ต้องแก้ไข โดยการหยุดยาเท่านั้น
• การแพ้ยา ถือว่าเป็น Type B ADR
15-Aug-14 61
ความแตกต่างระหว่าง ADR Type A และ Type B
15-Aug-14 62
ตัวอย่างการเกิด ADR Type A และ Type B
15-Aug-14 63
Adverse Drug Reaction : ADR
• การแบ่งประเภทตามกลไกการเกิด
* Immunologic type
- Drug allergy
* Non-immunologic type
- Side effect
15-Aug-14 64
Adverse Drug Reaction : ADR
• Immunologic type
–กลไกการเกิดจะเกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน
–ร่างกายต้องอาศัยเวลาประมาณ 1-2 สัปดาห์ ในการสร้าง Antibody
หรือ sensitized lymphocyte ในการต่อต้านยา
–Lymphocyte บางส่วนจะเปลี่ยนแปลงเป็น memory cell เพื่อจดจา
ยาชนิดนั้น การได้รับยาครั้งที่ 2 จึงเกิดอาการได้รวดเร็ว
–มักตรวจพบภาวะ eosinophilia
–เมื่อหยุดยา อาการดีขึ้น ยกเว้นการแพ้นั้นเกิดจากยาจับกับโปรตีน
15-Aug-14 65
Adverse Drug Reaction : ADR
• Non-immunologic type
–กลไกการเกิดจะไม่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน
–เกิดอาการได้ตั้งแต่ครั้งแรกที่ได้รับยา เพราะเป็นผลมาจาก
ฤทธิ์ของยาโดยตรง
–แก้ไขได้โดยการปรับขนาดยา ลดความเร็วในการให้ยา หรือ
ให้ยาป้ องกัน
15-Aug-14 66
เกณฑ์การประเมิน ADR ที่ป้ องกันได้
( Preventable ADR )
หากตอบว่า “ ใช่ ” เพียง 1 ข้อถือว่าเป็น ADR ที่ป้ องกันได้
1. ยาที่สงสัยว่าเป็นสาเหตุของ ADR นั้น ผู้ป่ วยได้รับอย่างไม่เหมาะสมกับโรคหรือภาวะทาง
คลินิกของผู้ป่ วย
2. ขนาดยา วิธีการบริหารยา ความถี่การบริหารยาไม่เหมาะสมกับอายุ น้าหนัก และสภาวะ
โรคของผู้ป่ วย
3. ไม่ได้ทาการตรวจวัดระดับยาหรือค่าทางห้องปฏิบัติการที่จาเป็นในการประเมิน
ผลการรักษา
4. ผู้ป่ วยมีประวัติการแพ้หรือเกิดอาการจากยาดังกล่าวมาก่อน
5. มีปฏิกิริยาระหว่างยาที่เกี่ยวข้องกับ ADR ที่เกิดขึ้น
6. มีการบันทึกค่าระดับยาหรือค่าการทดสอบทางห้องปฏิบัติการที่บ่งบอกถึงความเป็นพิษ
ของยา
7. มีการใช้ยาที่ไม่เป็นไปตามคาสั่งของแพทย์
15-Aug-14 67
การประเมิน ADR อย่างเป็นระบบ
• คิดอย่างเป็นระบบ
• ความสัมพันธ์ระหว่าง onset ของการเกิด ADR กับยาที่ใช้ หายาที่
สงสัย
• หาสาเหตุอื่นที่เป็นไปได้
– โรคร่วม
– ยาร่วม
– Co-incidence
• หยุดยาที่สงสัย อาการหาย / ดีขึ้นไหม
• ให้ยาใหม่แล้วเกิดอาการอีกหรือไม
15-Aug-14 68
สิ่งที่ต้องรู้ก่อนการประเมินADR
• ความรู้พื้นฐานที่จาเป็นเกี่ยวกับ ADR
– แพ้ยา VS อาการข้างเคียง
– กลไกของการเกิดอาการแพ้ยา
– ลักษณะของอาการไม่พึงประสงค์แบบต่างๆ
– ความรู้เกี่ยวกับอาการไม่พึงประสงค์ที่พบ
• สาเหตุที่เป็นไปได้มีอะไรบ้าง เกิดจากสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่ยาได้หรือไม่
• ข้อมูลที่บ่งชี้ว่าผู้ป่ วยเกิดอาการไม่พึงประสงค์
15-Aug-14 69
สิ่งที่ต้องรู้ก่อนการประเมินADR
• ความรู้พื้นฐานที่จาเป็นเกี่ยวกับโรคของผู้ป่ วย
– โรคของผู้ป่ วยมีอาการแสดงอะไรบ้าง
– โรคของผู้ป่ วยทาให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์นี้ได้หรือไม่
• ความรู้เกี่ยวกับ Algorithm ที่จาเป็นในการประเมิน ADR
15-Aug-14 70
Naranjo’salgorithm
15-Aug-14 71
ข้อมูลที่ต้องการ เพื่อประเมิน ADR
• อาการแสดงของอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา
• วัน-เวลาที่เริ่มเกิดอาการ
• ประวัติการแพ้ยา / อาหาร / สารเคมี
• ประวัติโรคประจาตัว
• ประวัติการใช้ยาในอดีต
• ประวัติการใช้ยาในปัจจุบัน
– ชื่อยาที่ใช้
– ขนาด-วิธีการบริหารยา-ความถี่/ จานวน dose ที่ใช้ก่อนเกิดอาการ และวันที่
เริ่มได้รับยาแต่ละชนิด
15-Aug-14 72
คาถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ผู้ป่ วยหรือญาติ
• เคยแพ้ยาหรือไม่? ถ้าแพ้ทราบชื่อยาที่แพ้หรือไม่ชื่ออะไร ทราบชื่อได้
อย่างไร
• กรณีเคยแพ้แต่ไม่ทราบชื่อยา ยาที่แพ้มีรูปร่างอย่างไรใช้ยาดังกล่าวเพื่อ
รักษาโรคอะไร ได้รับยามาจากที่ไหน รับประทานอย่างไร
• ลักษณะอาการที่แพ้เป็นอย่างไร
• เกิดอาการหลังจากรับประทานยา/ใช้ยานานเท่าไร รับประทานยาวันที่
เท่าไร หยุดใช้ยาเมื่อไร รับประทานยาไปทั้งหมดกี่มื้อ
• ภายหลังเกิดอาการ หยุดยาหรือไม่ถ้าหยุดยา อาการเป็นอย่างไร ดีขึ้น
หรือไม่และได้กลับมาใช้ยาซ้าไหม เกิดอาการหรือไม่
15-Aug-14 73
คาถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ผู้ป่ วยหรือญาติ
• ใคร? เป็นผู้บอกว่าท่านแพ้ยา เคยได้รับบัตรแพ้ยาไหม
• ลองซักประวัติชื่อยาในกลุ่มเดียวกันว่าเคยรับประทานหรือไม่ ถ้าเคยมี
อาการผิดปกติภายหลังรับประทานยาหรือไม่อย่างไร
• เคยแพ้อาหาร/ อากาศ / สารเคมีหรือไม่
• มีโรคประจาตัว หรือยาประจาตัวอะไรบ้าง รับประทานอย่างไร
• ปกติเวลาเจ็บป่ วย จะไปรักษาพยาบาลที่ไหน
• ขอดูยาที่ผู้ป่ วยใช้อยู่ทั้งหมด
15-Aug-14 74
WHO แบ่งเป็น 4 ระดับ
1. Certain ( ใช่แน่นอน ) อาการ ADR ต้องมีลักษณะ ดังนี้
* เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่สอดคล้องกับการใช้ยา และ
* ไมสามารถอธิบายด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือยา หรือสารเคมีอื่นๆ ที่ใช้ร่วม
และ
* เมื่อหยดใช้ยา อาการ ADR จะต้องดีขึ้น หรือหายจากอาการอย่างเห็น
ได้ชัดและ
* หากมีการใช้ซ้า จะต้องเกิด ADR
15-Aug-14 75
Naranjo’sScoring System = ≥9
WHO แบ่งเป็น 4 ระดับ
2. Probable( น่าจะใช่ ) อาการ ADR ต้องมีลักษณะ ดังนี้
* เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่สอดคล้องกับการใช้ยา และ
* ไม่สามารถอธิบายด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือยา หรือสารเคมีอื่นๆ ที่
ใช้ร่วม และ
* เมื่อหยดใช้ยา อาการ ADR จะต้องดีขึ้น หรือหายจากอาการ
อย่างเห็นไดัชัด แต่
* อาจไม่มีข้อมูลการให้ยาซ้า
15-Aug-14 76
Naranjo’sScoring System = 5-8
WHO แบ่งเป็น 4 ระดับ
3. Possible( อาจจะใช่) อาการ ADR ต้องมีลักษณะ ดังนี้
* เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่สอดคล้องกับการใช้ยา แต่
* ไม่สามารถอธิบายด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือยา หรือสารเคมีอื่น ๆ
ที่ใช้ร่วม และ
* ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับการหยุดใช้ยา หรือมีแต่ข้อมูลไม่สมบูรณ์
15-Aug-14 77
Naranjo’sScoring System = 1-4
WHO แบ่งเป็น 4 ระดับ
4. Unlikely( ไม่น่าใช่ ) อาการ ADR ต้องมีลักษณะ ดังนี้
* เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ไม่สอดคล้องกับเวลาการใช้ยา และ
* ไม่สามารถอธิบายด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือยา หรือสารเคมีอื่นๆ
ที่ใช้ร่วมได้อย่างชัดเจน
15-Aug-14 78
Naranjo’sScoring System = ≤ 0
การจัดการดูแลผู้ป่ วย
• Consult แพทย์เพื่อหาข้อสรุป ก่อนออกบัตรแพ้ยา
• บันทึกประวัติการเกิด ADR เพื่อป้ องกันการเกิดซ้า
• ให้คาแนะนาแก่ผู้ป่ วย
• นัดผู้ป่ วยมาติดตาม ( กรณีที่ทาได้)
• รายงานตามระบบรายงาน
15-Aug-14 79
คาแนะนาแก่ผู้ป่ วย เมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา
• กลไกและโอกาสในการเกิด ADR
• จดจาชื่อยา กลุ่มยาที่ทาให้เกิดอาการอันไม่พึงประสงค์และแจ้ง
ให้ผู้ใกล้ชิดทราบด้วย
• พกบัตรแพ้ยาเสมอ
• ควรแสดงบัตรทุกครั้งที่รับการตรวจรักษา หรือรับยา
15-Aug-14 80
คาแนะนาแก่ผู้ป่ วย เมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา
• หลีกเลี่ยงยา หรือกลุ่มยาที่เคยแพ้หรือเกิดอาการอันไม่พึง
ประสงค์
• หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ไม่ทราบชื่อ ชนิด สรรพคุณ รวมทั้งยาชุด
ยาซอง โดยเด็ดขาด
• สอบถามชื่อยา สรรพคุณ วิธีใช้อย่างละเอียดทุกครั้ง เมื่อต้องใช้
ยาใด ๆ
15-Aug-14 81
ประโยชน์จากการดาเนินกิจกรรม ADR
 ทาให้มีการประสานงานในการดูแลผู้ป่ วยเพิ่มขึ้น ในทีมสหสาขาวิชาชีพ
 มีความระมัดระวังในการใช้ยาเพิ่มมากขึ้น
 ผู้ป่ วยได้รับการรักษาที่รวดเร็วและเหมาะสม
 ลดภาระของแพทย์ เภสัชกรสามารถมีส่วนร่วมในการติดตาม
Progessnote ของผู้ป่ วยแล้วรายงานให้แพทย์ทราบ
 ผู้ป่ วยได้รับความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง สามารถป้ องกันการเกิด ADR
ซ้าจากยาเดิมหรือยาอื่นที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน
15-Aug-14 82
ยาที่เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด
1.กลุ่มยาเพนนิซิลิน ( Penicillins)
2.ยากลุ่มซัลโฟนาไมด์ ( Sulfonamides )
3.ยารักษาวัณโรค ( AntituberculousDrugs )
4.ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ ( NSAIDs)
5.ยากันชัก ( Antiepileptic drugs )
15-Aug-14 83
ลักษณะผื่นแพ้ยาที่พบบ่อย
1. MaculopapularRash 46%
2. Urticaria 22.8%
3. Fixed Drug Eruption 14%
4. Eczematous eruption 5.1%
5. ErythemaMultiforme 3.3%
6. Bullouseruption 1.7%
7. Exfoliativedermatitis 1.3%
8. อื่น ๆ 5.5%
15-Aug-14 84
Skin Rash
15-Aug-14 85
Maculo-papularrash (MP rash)
• พบบ่อยมากที่สุด
• ยาเกือบทุกชนิดสามารถทาให้เกิดผื่นได้
• ประกอบด้วย ผื่น 2 ชนิด คือ
– Macule คือ ผื่นราบเกิดจากสีของผิว
เปลี่ยนแปลงโดยที่ผิวหนังไม่นูนหรือบุ๋ม
ขอบเขตของผื่นอาจเห็นได้ชัดหรือไม่ชัด
มีขนาดละรูปร่างต่างๆ มีขนาดใหญ่กว่า 1cm.
– Papule คือ ตุ่มนูน มีขนาดเล็กมาก
ไปจนถึงเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 5 มม.
มีสีต่าง ๆ เมื่อคลาดูอาจจะรู้สึกนุ่ม หยุ่น หรือแข็ง
15-Aug-14 86
Maculo-papularrash (MP rash)
• ผื่นจะมีสีแดงชัดเจน เมื่อเอามือหรือกระจกใส ๆ กดลงไปที่ผื่น จะซีดจาง
ลง
• บริเวณที่พบผื่นมากที่สุด คือ ลาตัว และกระจายไปทั่ว ๆ กันทั้ง 2 ข้าง
15-Aug-14 87
Maculo-papularrash (MP rash)
• แสดงผื่นแพ้ยาที่เกิดบริเวณฝ่ ามือและฝ่ าเท้า เป็นตาแหน่งที่ช่วยให้คิดถึง
ว่า น่าจะเป็นผื่นที่เกิดจากยา
• บริเวณที่ไม่พบผื่นชนิดนี้คือ บริเวณเยื่อบุต่างๆ เช่น ในช่องปาก เยื่อบุตา
หรือที่อวัยวะเพศ
15-Aug-14 88
Urticaria
( ผื่นลมพิษ )
• ผื่นที่มีอาการในระยะแรกเป็นรอยนูนแดงขนาดเล็ก คันมาก ผื่นค่อย ๆ
ขยายออก มีขอบยกนูน ตรงกลางของผื่นจะมีสีซีดจางกว่าบริเวณรอบๆ
มักมีรูปร่างแปลกๆ ไม่แน่นอน มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บางครั้ง
รูปร่างเหมือนวงกลม แต่มักไม่ครบวง บางครั้งดูคล้ายแผนที่มีขอบหยัก
หยักมา ผื่นกระจายทั่วร่างกาย
15-Aug-14 89
Urticaria
( ผื่นลมพิษ )
• ผื่นลมพิษ มักไม่ทาให้เกิดอันตราย นอกจาก มีอาการคัน แต่ถ้าพบผู้ป่ วย
ที่มีลมพิษขึ้นชนิดเฉียบพลัน จะต้องระวังอาจมีอาการของอวัยวะส่วน
อื่นร่วมด้วย เช่น หลอดลมตีบ หายใจหอบ หายใจเสียงดัง ความดันโลหิต
ต่า ซึ่งเป็นอาการของ Anaphylactic shock หากได้รับการ
รักษาไม่ทันท่วงที อาจเสียชีวิตได้
• ผื่นลมพิษอาจเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ ได้อีก เช่น การแพ้อาหาร ฝุ่ น การ
เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิความร้อนความเย็น และโรคบางอย่าง เช่น SLE ,
มะเร็ง เป็นต้น ดังนั้นเมื่อพบผื่นชนิดนี้จึงควรสอบถามถึงสาเหตุอื่นๆ
ด้วยทุกครั้ง
15-Aug-14 90
Angioedema
• ผื่นลมพิษ ที่เกิดใต้ชั้นผิวหนังส่วนลึก หรือชั้นไขมันใต้ผิวหนัง ซึ่งมัก
เกิดตามเยื่อบุเช่นเปลือกตา ริมฝีปาก อวัยวะเพศ ซึ่งบวมนูน ไม่มี
ขอบเขตชัดเจน อาจใช้เวลา 2-5 วัน จึงจะยุบ
15-Aug-14 91
Fixed Drug Eruption
• ผื่นมีรูปร่างกลม ขอบชัด สีแดงจัด ระยะแรกเริ่มจะมีสีแดงจัด ต่อมาตรง
กลางของผื่นอาจมีการเปลี่ยนแปลงเป็นสีแดงคล้าหรือม่วง ถ้าแพ้มาก
ตรงกลางของผื่นอาจพองเป็นตุ่มน้าก็ได้
• ผื่นมักมีจานวน 1-2 ผื่น แต่อาจเพิ่มจานวนมากขึ้นในการแพ้ครั้งต่อๆ
มา จนอาจมากว่า 10 ผื่น
• มักมีอาการแสบร้อน เจ็บ ๆ คัน ๆ
15-Aug-14 92
Fixed Drug Eruption
• ลักษณะสาคัญ คือ หากผู้ป่ วยได้รับยาเดิมที่แพ้ครั้งต่อๆ มาอีก จะปรากฏ
ผื่น Fixed Drug Eruption ที่บริเวณเดิมทุกครั้ง
• ผื่นแพ้ยาเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ที่ยังไม่พบว่ามีสาเหตุการเกิดจากปัจจัย
อื่นๆ นอกจากยา เมื่อพบผื่นชนิดนี้ จะต้องพยายามหายาที่เป็นสาเหตุให้
ได้
15-Aug-14 93
Eczematous drug eruption
• ผื่นมีอาการคันมาก ระยะแรกๆ ผื่นจะมีลักษณะเป็นตุ่มสีแดง หรือเป็น
ผื่นแดง รูปร่างไม่แน่นอน ผื่นส่วนมากมักมีขนดใหญ่ ผื่นหลายแห่งอาจ
บวมเป็นตุ่มน้าใสๆ แตกออกเป็นน้าเหลืองไหลและตกสะเก็ด
15-Aug-14 94
Eczematous drug eruption
• ถ้ายาที่แพ้เป็นยาทา ก็จะเกิดผื่น eczema เฉพาะที่ทายา ส่วนมากจะใช้
เวลา∼2 วัน นับตั้งแต่ทายาจนเกิดอาการแพ้ขึ้น ซึ่งแพทย์อาจเรียก
อาการแพ้แบบนี้ว่า “ ผื่นแพ้สัมผัส ”
• ยาที่แพ้เป็นยากิน / ฉีดเข้าร่างกาย ผื่นจะเกิดทั่วร่างกาย
15-Aug-14 95
Exfoliative Dermatitis
• ระยะเริ่มแรกมีลักษณะคล้าย MP rash ต่อมาผื่น
• จะค่อยๆ ลุกลามอย่างช้าๆ และลอกหลุดเป็นขุยแห้งๆ จนทั่วร่างกาย
• ผิวหนังจะแดงและดูเป็นเงา บางแห่งตกสะเก็ด
• รู้สึกคัน แต่ไม่แสบร้อนหรือเจ็บที่ผิวหนัง
15-Aug-14 96
Exfoliative Dermatitis
• เมื่อเป็นนานๆ ผิวหนังจะหนา ด้าน แข็ง เล็บมือ และเท้าจะหนาและเป็น
สีคล้า ค่อยๆ หลุดออก
• ศีรษะมีอาการลอกคล้ายรังแค
• อาจมีไข้ รู้สึกหนาวๆ ร่วมด้วย
15-Aug-14 97
ERYTHEMA MULTIFORM
• ผื่นที่มีรูปร่างคล้ายเป้ ายิงธนู (target lesion หรือ iris lesion )
ผื่นมีรูปร่างกลม เป็นวงสามชั้น ชั้นในสุดจะมีสีแดงเข้มจัดหรือเป็น
ตุ่มน้าพองๆ ชั้นต่อมามีสีซีดจาง และชั้นนอกสุดจะมีสีแดงจางๆ
• ขนาดของผื่น ∼2 มล.-2 ซม.
• พบบริเวณปลายมือปลายเท้า เหนือข้อศอก
ข้อต่อต่างๆ และบริเวณใบหน้า ลามไปที่ลาตัว
ผื่นมักจะเป็น 2 ข้างของร่างกาย เท่าๆ กัน
15-Aug-14 98
ERYTHEMA MULTIFORM
• ผิวหนังที่เป็นผื่นทั้งหมดมักจะ < 10% ของพื้นที่ผิวหนังทั้งหมด
• ผู้ป่ วยจะต้องมีแผลตามเยื่อบุต่างๆ 1 แห่งร่วมด้วยเสมอ ( ริมฝีปาก
เพดาน เหงือก ลิ้น เยื่อบุตา อวัยวะเพศ) เป็นแผลถลอกตื้นๆ เจ็บ มี
เลือดออกและเป็นสะเก็ดสีคล้า
• ผู้ป่ วยอาจมีอาการปวดเมื่อยตามตัวอ่อนเพลีย ปวดข้อ เจ็บคอ ร่วมด้วย
15-Aug-14 99
Steven Johnson Syndrome : SJS
• ผู้ป่ วยจะมีอาการผิดปกติขึ้นอย่างเฉียบพลัน เช่น มีไข้สูง ปวดเมื่อยตาม
ตัว ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน เจ็บคอ ปวดข้อ ผื่นที่ขึ้นระยะแรก
อาจเป็นผื่นแดงบริเวณกว้างๆ เป็นจุดเล็กและเป็นปื้นใหญ่ตรงกลางผื่น
มักเป็นสีเข้มกว่า ต่อมาเริ่มมีตุ่มน้าและผิวหนังมีการหลุดลอก
• ผู้ป่ วยจะต้องมีรอยโรคที่บริเวณเยื่อบุ >11 แห่งขึ้นไป
15-Aug-14 100
Toxic Epidermal necrosis : TEN
• ผื่นแพ้ยาที่รุนแรงมากที่สุด
• อาการเริ่มแรก คล้ายจะเป็นหวัดเหมือน SJS ผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสี
แดงและเจ็บ จากนั้นจะพองเป็นตุ่มน้าและหลุดลอกออกอย่างง่ายดาย
• ผิวหนังมักจะลอกออกเป็นแผ่นใหญ่ๆ
• ดูคล้ายกับผู้ป่ วยที่โดนน้าร้อนลวกชนิดรุนแรง
15-Aug-14 101
Toxic Epidermal necrosis : TEN
• หากเอามือถูที่ผิวหนังทั้งที่บริเวณปกติหรือบริเวณที่ผิวหนังก็จะหลุด
ออกตามรอยที่ถูอย่างง่ายดาย
• บริเวณเยอบุต่างๆ เช่น ริมฝีปาก เยื่อบุตา หรือ มักมีการหลุดลอกร่วม
ด้วย มีเลือดออกซึม และเมื่อแห้งก็จะเป็นแผ่นสีดาคล้าที่อวัยวะเพศ
• อวัยวะภายในต่างๆ อาจเกิดความผิดปกติได้เช่น กลืนลาบาก อาเจียนเป็น
เลือด ถ่ายเป็นเลือด ตับอักเสบ ปอดอักเสบ
15-Aug-14 102
เปรียบเทียบความแตกต่าง EM และ SJS-TEN
15-Aug-14 103
อยู่ที่ใจ
“ หากใจคิดว่าทาไม่ได้
แค่เอื้อมมือไปเด็ดใบไม้สักใบก็ยังยาก
หากแต่ใจคิดว่าทาได้
แม้งานขุดเขาถมทะเลที่แสนยาก
ก็จะทาสาเร็จให้จงได้ ”
15-Aug-14 104
15-Aug-14 105

More Related Content

What's hot

ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
Junee Sara
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
Junee Sara
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
Rachanont Hiranwong
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
Sirinoot Jantharangkul
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
Latthapol Winitmanokul
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
Rachanont Hiranwong
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
Utai Sukviwatsirikul
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
โรงพยาบาลสารภี
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
Utai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
Utai Sukviwatsirikul
 
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
Utai Sukviwatsirikul
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
Pa'rig Prig
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
Rachanont Hiranwong
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

Rdu
RduRdu
Rdu
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญกนิษฐา) 19/6/58
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09Adverse drug reaction 09
Adverse drug reaction 09
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยาอาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
อาการไม่พึงประสงค์จากยา ร้านยา
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 

Viewers also liked

Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
Lek Suthida
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Prachaya Sriswang
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่duangkaew
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Prachaya Sriswang
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
Rachanont Hiranwong
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
Thaialgorithm Slide
Thaialgorithm SlideThaialgorithm Slide
Thaialgorithm Slide
Rachanont Hiranwong
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
Sutthiluck Kaewboonrurn
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
amy69
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
Rachanont Hiranwong
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
Suradet Sriangkoon
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
Prachaya Sriswang
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
Utai Sukviwatsirikul
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
SlideShare
 

Viewers also liked (19)

12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวนPpt 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt 12 กิจกรรมทบทวน
 
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
ป้องกันความคลาดเคลิ่อนทางยาจากยาเข้าใหม่
 
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวนPpt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน
 
Adr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoringAdr assessment and monitoring
Adr assessment and monitoring
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
Thaialgorithm Slide
Thaialgorithm SlideThaialgorithm Slide
Thaialgorithm Slide
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยาคู่มือการใช้งานระบบคลังยา
คู่มือการใช้งานระบบคลังยา
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
การวิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา ( Root Cause Analysis)
 
Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์ มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
มาตรการการพัฒนาประสิทธิภาพระบบบริหารเวชภัณฑ์
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 

Similar to Ppt. med error.2

antidote y57
antidote y57antidote y57
MTM (JC 16/8/59)
MTM (JC 16/8/59)MTM (JC 16/8/59)
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacists
Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
dentyomaraj
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
Aiman Sadeeyamu
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...MedicineAndHealth
 
A003
A003A003
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
dentyomaraj
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Utai Sukviwatsirikul
 
Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560
Utai Sukviwatsirikul
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
Paradee Plodpai
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
Utai Sukviwatsirikul
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาadriamycin
 
Cpg Allergic Rhinitis 2011
Cpg  Allergic Rhinitis 2011Cpg  Allergic Rhinitis 2011
Cpg Allergic Rhinitis 2011
Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to Ppt. med error.2 (20)

antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 
MTM (JC 16/8/59)
MTM (JC 16/8/59)MTM (JC 16/8/59)
MTM (JC 16/8/59)
 
Psychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacistsPsychiatry for community pharmacists
Psychiatry for community pharmacists
 
บทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidaseบทที่ 10 serratiopeptidase
บทที่ 10 serratiopeptidase
 
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
แนวทางการรักษาผู้ป่วยด้วยยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดรับประทาน 2553
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
 
วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖วพบ นครราชสีมา๕๖
วพบ นครราชสีมา๕๖
 
Integrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical careIntegrated pharmaceutical care
Integrated pharmaceutical care
 
A003
A003A003
A003
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 
Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560
 
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
อบรม Srrt ชายแดนช่องจอม 5 กค 60
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555Goverment gazette 2555
Goverment gazette 2555
 
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษาความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
ความคงตัวของเภสัชภัณฑ์และการเก็บรักษา
 
Cpg Allergic Rhinitis 2011
Cpg  Allergic Rhinitis 2011Cpg  Allergic Rhinitis 2011
Cpg Allergic Rhinitis 2011
 

More from Prachaya Sriswang

ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
Prachaya Sriswang
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
Prachaya Sriswang
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
Prachaya Sriswang
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
Prachaya Sriswang
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
Prachaya Sriswang
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
Prachaya Sriswang
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
Prachaya Sriswang
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1Prachaya Sriswang
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
Prachaya Sriswang
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
Prachaya Sriswang
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
Prachaya Sriswang
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
Prachaya Sriswang
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
Prachaya Sriswang
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
Prachaya Sriswang
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
Prachaya Sriswang
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe

More from Prachaya Sriswang (20)

ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 
Ppt.hfe
Ppt.hfePpt.hfe
Ppt.hfe
 

Ppt. med error.2

  • 2. ความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error)  ความคลาดเคลื่อนทางยา คือ – เหตุการณ์ซึ่งนาไปสู่การใช้ยาอย่างไม่เหมาะสม หรือเกิดความเสียหายแก่ผู้ป่ วย – ทั้งที่สามารถป้ องกันได้ 15-Aug-14 2
  • 3. ประเภทความคลาดเคลื่อนทางยา 1. ความคลาดเคลื่อนในการสั่งใช้ยา (Prescription error) 2. ความคลาดเคลื่อนในการคัดลอกคาสั่งใช้ยา (Transcribing error) 3. ความคลาดเคลื่อนในการจ่ายยา (Dispensing Error) 4. ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยา (Administration Error) 15-Aug-14 3
  • 4. รายงานความคลาดเคลื่อนทางยา • ประมาณ ½ จากการสั่งใช้ยา ( พบมากที่สุด ) • ประมาณ ¼ จากการถ่ายทอดคาสั่ง+การจัดยา+การ จ่ายยา • ประมาณ ¼ จากขั้นตอนการบริหารยา 15-Aug-14 4
  • 5. Category A : ไม่มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แต่มี เหตุการณ์ที่อาจทาให้เกิดความคลาดเคลื่อนได้ 15-Aug-14 5 ไม่มีความคลาดเคลื่อน
  • 6. ลาดับชั้นของความคลาดเคลื่อนทางยา (NCCMERP, 2008) มีความคลาดเคลื่อนแต่ไม่เป็น อันตราย Category B  มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แต่ไม่เป็นอันตราย ต่อผู้ป่ วย เนื่องจากความคลาดเคลื่อนไปไม่ถึง ผู้ป่ วย Category C  มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แต่ไม่เป็นอันตราย ต่อผู้ป่ วย ถึงแม้ว่าความคลาดเคลื่อนนั้นจะไปถึง ผู้ป่ วยแล้ว Category D  มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น แม้ไม่เป็นอันตราย ต่อผู้ป่ วย แต่ยังจาเป็นต้องมีการติดตามผู้ป่ วย เพิ่มเติม15-Aug-14 6
  • 7. ลาดับชั้นของความคลาดเคลื่อนทางยา (NCCMERP, 2008) มีความคลาดเคลื่อนและ เป็นอันตราย Category E  มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และเป็นอันตรายต่อผู้ป่ วยเพียง ชั่วคราว รวมถึงจาเป็นต้องได้รับการรักษาหรือแก้ไขเพิ่มเติม Category F  มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และเป็นอันตรายต่อผู้ป่ วยเพียง ชั่วคราว รวมถึงจาเป็นต้องได้รับการรักษาในโรงพยาบาลหรือยืด ระยะเวลาในการรักษาตัวในโรงพยาบาลออกไป Category G  มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และเป็นอันตรายต่อผู้ป่ วยถาวร Category H  มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และเป็นอันตรายต่อผู้ป่ วยจนเกือบถึง แก่ชีวิต (เช่น แพ้ยาแบบ anaphylaxis และหัวใจหยุดเต้น) 15-Aug-14 7
  • 8. ลาดับชั้นของความคลาดเคลื่อนทางยา (NCCMERP, 2008) • Category I: มีความคลาดเคลื่อนเกิดขึ้น และเป็น อันตรายต่อผู้ป่ วยจนถึงแก่ชีวิต 15-Aug-14 8 มีความคลาดเคลื่อน และเป็นอันตรายจน เสียชีวิต
  • 9. สาเหตุหลักของ Medication error • ด้านบุคคล • ปัจจัยเชิงระบบ 15-Aug-14 9
  • 10. การจาแนกชนิดของความคลาดเคลื่อนทางด้านยา 1. Prescribing Error คือ ความคลาดเคลื่อนที่พบในใบสั่งยา (ใบ order) –อาจเกิดจากแพทย์เขียนผิดพลาด หรือไม่ชัดเจน –การเลือกใช้ยาผิด การเลือกขนาดยาผิด การเลือกรูปแบบยาผิด –การสั่งยาในจานวนที่ผิด การเลือกวิถีทางให้ยาผิด การเลือกความ เข้มข้นของยาผิด การเลือกอัตราเร็วในการให้ยาผิด –การให้คาแนะนาการใช้ยาผิด การสั่งยาผิดตัวผู้ป่วย –การไม่ระบุชื่อยา ความแรง ความเข้มข้น ความถี่ของการใช้ยาที่ทาให้ เกิดความคลาดเคลื่อนที่ส่งผลถึงตัวผู้ป่วย 15-Aug-14 10
  • 12. การจาแนกชนิดของความคลาดเคลื่อนทางด้านยา 2. Transcribing error คือ ความคลาดเคลื่อนของกระบวนการคัดลอก คาสั่งใช้ยาจากคาสั่งใช้ยาต้นฉบับที่ผู้สั่งใช้ยาเขียน จาแนกตามสถานที่ที่ เกิดความคลาดเคลื่อนขึ้น คือ – หอผู้ป่ วย หมายถึง พยาบาลลอกคาสั่งแพทย์/ อ่านคาสั่งแพทย์ไม่ถูกต้อง ไม่ตรงตามแพทย์สั่ง ทาให้ข้อมูลที่คัดลอกไว้นั้นมีความคลาดเคลื่อน – ศูนย์คอมพิวเตอร์ หมายถึง เจ้าหน้าที่ศูนย์คอมพิวเตอร์ ทาหน้าที่คัดกรองการ ลงข้อมูลยาในคอมพิวเตอร์ไม่ครอบคลุมหรือคัดกรองข้อมูลผิดพลาด – เภสัชกรรม หมายถึง เจ้าหน้าที่ห้องยา/ เภสัชกร อ่านคาสั่งแพทย์ไม่ถูกต้อง ไม่ ตรงตามแพทย์สั่ง ส่งผลถึงการส่งต่อข้อมูลและการจ่ายยา 15-Aug-14 12
  • 13. การจาแนกชนิดของความคลาดเคลื่อนทางด้านยา 3. Dispensing Error คือ การจัดจ่ายยาที่ไม่ถูกต้อง –ไม่ได้ทบทวนใบสั่งยาก่อนการจัดยา –จัดยาไม่ถูกตามใบสั่ง อาจจะผิดที่ตัวยา ขนาด รูปแบบ หรืออื่นๆ –ปรุงยาด้วยเทคนิคที่ไม่ถูกต้อง –เขียนฉลากยาผิดหรือไม่ครบถ้วน –จ่ายยาที่หมดอายุหรือเสีย –จ่ายยาไม่ตรงกับผู้ป่ วย –ไม่ได้ให้คาแนะนาในการใช้ยา 15-Aug-14 13
  • 14. การจาแนกชนิดของความคลาดเคลื่อนทางด้านยา 4. Administration error หมายถึง การบริหารยาที่ แตกต่างไปจากคาสั่งใช้ยาของผู้สั่งใช้ยา ที่เขียนไว้ในใบ บันทึกประวัติการรักษาผู้ป่ วย หรือความคลาดเคลื่อนที่ทา ให้ผู้ป่ วยได้รับยาผิดไปจากความตั้งใจในการสั่งยาของผู้สั่ง ใช้ยา จาแนกได้ 11 ข้อ (11R) ดังนี้ 15-Aug-14 14
  • 15. การจาแนกชนิดของความคลาดเคลื่อนทางด้านยา • จาแนกได้ 11 ข้อ (11R) ดังนี้ (ต่อ) 1. การให้ยาไม่ครบ (omission error) 2. การให้ยาผิดชนิด (wrong drug error) 3. การให้ยาซึ่งผู้สั่งใช้ยาไม่ได้สั่ง (unordered or unauthorized drug) 4. การให้ยาผู้ป่ วยผิดคน ( wrong patient) 5. การให้ยาผิดขนาด (wrong-dose or wrong-strength error) 6. การให้ยาผิดวิถีทาง (wrong-route error) 15-Aug-14 15
  • 16. การจาแนกชนิดของความคลาดเคลื่อนทางด้านยา • จาแนกได้ 11 ข้อ (11R) ดังนี้ (ต่อ) 7. การให้ยาผิดเวลา (wrong-time error) 8. การให้ยามากกว่าจานวนครั้งที่สั่ง (extra-dose error) 9. การให้ยาในอัตราเร็วที่ผิด (wrong rate of administration error) 10. การให้ยาผิดเทคนิค (wrong technique error) 11. การให้ยาผิดรูปแบบยา (wrong dosage-form error) 15-Aug-14 16
  • 17. 1. ผู้ป่ วยไม่หาย ไม่บรรเทา 2. ได้รับอันตราย อาจถึงชีวิต ( สถาบัน Insitituteof Medicine สหรัฐอเมริกา ได้รายงานไว้ว่า ความคลาดเคลื่อนทาง การแพทย์เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ผู้ป่ วยถึงแก่ความตายถึง 44,000-98,000 คนต่อปี ยาเป็นสาเหตุที่พบบ่อย ร้อยละ 3.7) 3. การสูญเสียอื่น ๆ : เงิน, ความเชื่อถือ, อาชีพ 15-Aug-14 17
  • 18. แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) แพทย์ • ตรวจสอบรายชื่อที่ให้ใช้ตัวย่อได้ • ดูประวัติการแพ้ยาซึ่งจะเห็นได้เด่นชัดจากสติ๊กเกอร์สีแดงหน้าแฟ้ ม และจาก แบบฟอร์มสีชมพูที่มีรายละเอียดการแพ้ยาของผู้ป่ วยอยู่ในแฟ้ มเวชระเบียน หรือข้อมูลเตือนการแพ้ยาที่จะปรากฏบนจอคอมพิวเตอร์กรณีแพทย์สั่งยาทาง คอมพิวเตอร์ • ระบุวินิจฉัยโรคหลัก และโรครอง • ระบุขนาด วิธีใช้ยา ระยะเวลา หรือจานวนเม็ด ให้ชัดเจน โดยเฉพาะกรณีต้องการ ให้ผู้ป่ วยรับยาเดิมต่อเนื่อง • ยาที่ใช้เมื่อมีอาการ ต้องระบุอาการไว้ด้วย เช่น ใช้เวลารู้สึกวิตกกังวล เวลานอนไม่ หลับ เวลาปวด 15-Aug-14 18 OPD
  • 19. แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) พยาบาล • ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลของผู้ป่ วยลงในคอมพิวเตอร์เทียบกับแฟ้ ม • เตือนแพทย์กรณีผู้ป่ วยมีประวัติแพ้ยาก่อนให้ผู้ป่ วยพบแพทย์ • ให้แพทย์แก้ไขกรณีพบความคลาดเคลื่อน เช่น การใช้ตัวย่อที่ไม่อนุญาตให้ใช้ • ให้แพทย์พิจารณาซ้าเมื่อผู้ป่ วยใช้ยาในรายการที่ควบคุมระยะเวลาการใช้ยา และแพทย์ไม่ได้ระบุ • ระยะเวลาใช้ยาเอาไว้ เช่น ยาปฏิชีวนะ ยานอนหลับ ยารักษาอาการทางกาย อื่นๆ 15-Aug-14 19 OPD
  • 20. แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) ห้องยา : เมื่อรับใบสั่งยา เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม • ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลของผู้ป่วยลงในคอมพิวเตอร์เทียบกับคาสั่งการใช้ยา ของแพทย์ในเวชระเบียน • ตรวจสอบการแพ้ยากรณีผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยา โอกาสเกิดการแพ้ยาข้ามกลุ่ม • ตรวจสอบประวัติการเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงจากการใช้ยา หากแพทย์สั่ง จ่ายยาที่เคยใช้แล้วเกิดอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงให้แจ้งแพทย์ทบทวนการสั่งจ่าย ยา • ตรวจสอบยา ขนาด วิธีใช้ระยะเวลาที่ใช้ยา มีความสอดคล้องเหมาะสมกับ วินิจฉัยโรคหรือไม่ 15-Aug-14 20 OPD
  • 21. แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) ห้องยา : จัดยา เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม • เจ้าหน้าที่ที่หยิบหรือจัดยาในกลุ่ม high alert drug ให้คนที่นั่งจัดใกล้ๆ ช่วย ตรวจสอบความถูกต้องของยา • การแบ่งบรรจุล่วงหน้าเพื่อเตรียมไว้จ่ายให้ผู้ป่วย จะต้องบรรจุไว้เพียงพอให้ใช้ หมดภายในสัปดาห์ • ยาที่แบ่งบรรจุต้องเก็บรักษาตามเกณฑ์ของยานั้นๆ ห้ามแบ่งบรรจุยาที่ต้องเก็บในที่ เย็น • ฉลากยาระบุชื่อ ความแรง จานวนเม็ด วันที่แบ่งบรรจุ วันหมดอายุ ให้ชัดเจน • สุ่มตรวจสอบความถูกต้องของจานวนเม็ดยาเป็นระยะ 15-Aug-14 21 OPD
  • 22. แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) ห้องยา : จ่ายยา เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม • เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม ตรวจสอบความถูกต้องของยาที่จ่าย โดยสามารถ เทียบกับลักษณะเม็ดยา และรายละเอียดการใช้ยาของผู้ป่วยรายนั้นๆ จาก จอคอมพิวเตอร์ • ให้เฉพาะเภสัชกรจ่ายยาในกลุ่ม high alert กรณีต้องจ่ายโดยเจ้าพนักงานเภสัช กรรม เช่น การจ่ายยานอกเวลาราชการ ให้พยาบาลเวรช่วยตรวจสอบความถูกต้อง ของยาเทียบกับลักษณะและรายละเอียดยาของผู้ป่วยรายนั้นที่ปรากฏบน จอคอมพิวเตอร์ • ให้มีหลักฐานระบุตัวผู้ป่วยว่าตรงกับชื่อในใบสั่งยา 15-Aug-14 22 OPD
  • 23. แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) ห้องยา : จ่ายยา เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม • กรณีผู้ป่วยรับยาเดิม ต้องประเมินอาการขั้นต้นของผู้ป่วย อาการอันไม่พึงประสงค์ ตามแบบฟอร์มที่ห้องยาได้แนบไว้ในเวชระเบียนหากผู้ป่วยมีการใช้ยาในกลุ่มที่ ต้องเฝ้าระวัง พร้อมทั้งประเมินการใช้ยาของผู้ป่วยจากระยะเวลารับยาต่อเนื่อง การ ขาดยา ไม่ใช้ยาตามแพทย์สั่ง • เภสัชกรให้คาปรึกษา แนะนาผู้ป่วยหรือญาติเกี่ยวกับการใช้ยา การเฝ้าระวังระหว่าง ใช้ยาที่บ้านอาการสาคัญที่ผู้ป่วยจะต้องรีบมาพบแพทย์ 15-Aug-14 23 OPD
  • 24. แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) แพทย์ • ตรวจสอบรายชื่อยาที่สามารถใช้ตัวย่อได้ • ดูประวัติการแพ้ยาซึ่งจะเห็นได้เด่นชัดจากสติ๊กเกอร์สีชมพูหน้าแฟ้ ม และจาก แบบฟอร์มสีชมพูที่มีรายละเอียดการแพ้ยาของผู้ป่ วยอยู่ในแฟ้ มเวชระเบียน • ระบุวินิจฉัยโรคหลัก และโรครอง • ระบุขนาด วิธีใช้ยา ระยะเวลา หรือจานวนเม็ด ให้ชัดเจน โดยเฉพาะกรณี ต้องการให้ผู้ป่ วยรับยาเดิมต่อเนื่อง • ยาที่ใช้เมื่อมีอาการ ต้องระบุอาการไว้ด้วย เช่น ใช้เวลารู้สึกวิตกกังวล เวลา นอนไม่หลับ เวลาปวด 15-Aug-14 24 IPD
  • 25. แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) พยาบาล • เตือนแพทย์กรณีผู้ป่วยมีประวัติแพ้ยาหรือมีอาการไม่พึงประสงค์จากยาก่อนให้ ผู้ป่วยพบแพทย์โดยแนบแฟ้มประวัติผู้ป่วยในการรายงานแพทย์ทุกราย • ให้แพทย์พิจารณาซ้าเมื่อผู้ป่วยใช้ยาในรายการที่ควบคุมระยะเวลาการใช้ยาและ แพทย์ไม่ได้ระบุระยะเวลาใช้ยาเอาไว้เช่น ยาปฏิชีวนะ ยานอนหลับ ยารักษาอาการ ทางกายอื่นๆ • ตรวจสอบความถูกต้อง ครบถ้วนของยาผู้ป่วยทันทีที่ได้รับจากห้องยา โดยเทียบกับ ข้อมูลที่ปรากฏในจอคอมพิวเตอร์ หากพบความผิดพลาดให้รีบแจ้งให้ห้องยาทา การแก้ไข • ใช้Medical Sheet ที่ได้จากคอมพิวเตอร์ในการสรุปและส่งต่อข้อมูลการใช้ยาของ ผู้ป่วย 15-Aug-14 25 IPD
  • 26. แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) ศูนย์คอมพิวเตอร์ • บันทึกข้อมูลการใช้ยาของผู้ป่วยตามแบบบันทึกการจ่ายยาของหอผู้ป่วยเทียบ กับสาเนาคาสั่งแพทย์เพื่อจัดทาเป็นรายงานขอเบิกยาจากห้องยา • ให้พยาบาลแจ้งแพทย์แก้ไขกรณีพบความคลาดเคลื่อน เช่น การใช้ตัวย่อที่ไม่ อนุญาตให้ใช้ • ตรวจสอบการข้อมูลบันทึกการจ่ายยา วัสดุการแพทย์อื่นๆ ที่หอผู้ป่วยได้ บันทึกไว้เทียบกับสาเนาคาสั่งแพทย์หากพบว่าไม่สอดคล้อง เช่น ใช้ไปแต่ ไม่มีการบันทึก ให้แจ้งพยาบาลเพื่อหาสาเหตุ และให้ดาเนินการแก้ไขให้ ถูกต้อง 15-Aug-14 26 IPD
  • 27. แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) ห้องยา : เมื่อรับใบสั่งยา เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม • ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลของผู้ป่วยลงในคอมพิวเตอร์เทียบกับสาเนา การสั่งใช้ยาของแพทย์ • ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาหรืออาการไม่พึงประสงค์จากยา และพิมพ์ ประวัติดังกล่าวแนบไปกับแฟ้มยา • ตรวจสอบประวัติการเกิดการแพ้ยา หรืออาการไม่พึงประสงค์รุนแรงจาก การใช้ยา หากแพทย์สั่งจ่ายยาที่เคยใช้แล้วเกิดอาการไม่พึงประสงค์ รุนแรงให้แจ้งแพทย์ทบทวนการสั่งจ่ายยา 15-Aug-14 27 IPD
  • 28. แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) ห้องยา : เมื่อรับใบสั่งยา เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม (ต่อ) • ตรวจสอบยา ขนาด วิธีใช้ระยะเวลาที่ใช้ยา มีความสอดคล้องเหมาะสม กับวินิจฉัยโรคหรือไม่ • แนบแบบฟอร์มการเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์รุนแรงไว้ในกล่องยา unit dose กรณีผู้ป่วยได้รับยาในกลุ่มhigh alert หรือคู่ยาที่มี โอกาสเกิดปฏิกิริยาระหว่างยาได้สูงและรุนแรง 15-Aug-14 28 IPD
  • 29. แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) ห้องยา : จัดยา เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม • จัดยากลับบ้านใช้โดยมีระยะการจ่ายแต่ละรอบ 7 วัน • เจ้าหน้าที่ที่หยิบหรือจัดยาในกลุ่ม high alert drug ต้องให้คนที่ นั่งจัดใกล้ๆ ช่วยตรวจสอบความถูกต้องของยาก่อนจัด • การจัดยาที่มีลักษณะคล้ายกัน ให้ปฏิบัติตามแนวทางจัดและจ่าย “ยาคู่ เหมือน” • การรับคืนยาจากหอผู้ป่วยให้ปฏิบัติตามแนวทางที่กาหนด 15-Aug-14 29 IPD
  • 30. แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) ห้องยา : จ่ายยา เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม • เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม ตรวจสอบความถูกต้องของยาที่จ่าย • การจ่ายในกลุ่ม high alert หากจาเป็นต้องจ่ายโดยเจ้าพนักงานเภสัช กรรม เช่น กรณีเภสัชกรเข้าไปดูผู้ป่วยในหอผู้ป่วยหรือติดประชุม ให้เจ้า พนักงานเภสัชกรรมอีกคนช่วยตรวจสอบความถูกต้องของยาซ้า • ตรวจสอบยาที่เหลือค้างในกล่องยาผู้ป่วยเมื่อทางหอผู้ป่วยนามาแลกเพื่อ เบิกยากล่องใหม่ พร้อมทั้งหาสาเหตุที่ผู้ป่วยไม่ได้รับยาในแต่ละครั้ง 15-Aug-14 30 IPD
  • 31. แนวปฏิบัติเพื่อป้ องกันความคลาดเคลื่อนทางยา (Medication error) ห้องยา : จ่ายยา เภสัชกร/เจ้าพนักงานเภสัชกรรม • มีการส่งต่อข้อมูลสาคัญที่จาเป็นต่อการใช้ยาบางชนิดสาหรับผู้ป่วย เฉพาะรายให้กับพยาบาลในหอผู้ป่วย เพื่อเตือนให้ระวังการใช้ยา เช่น การใช้ยา cloxacillin ชนิดฉีดห้ามฉีดเข้าหลอดเลือดโดยตรงต้องเจือ จางก่อนฉีด • ตรวจสอบประวัติการแพ้ยาหรืออาการไม่พึงประสงค์จากยาพร้อมแนบ เอกสารไปกับแฟ้มยาและใบบันทึกการจ่ายยา 15-Aug-14 31 IPD
  • 34. Analysis of incidents • แพทย์สั่งยาทางโทรศัพท์ให้เด็กอายุ 18 เดือนว่า “ให้ morphine ขนาด 0.8 stat”พยาบาลรับคาสั่ง และฉีดยาให้กับเด็กในขนาด 0.8 มล. ทราบต่อมาภายหลังว่าแพทย์ต้องการให้ฉีด 0.8 มก. ผล ที่เกิดขึ้น คือ เด็กเสียชีวิต –ปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุได้แก่อะไรบ้าง –จะวางแนวทางเพื่อลดอุบัติการณ์ ดังกล่าวอย่างไร 15-Aug-14 34
  • 35. Analysis of incidents • ผู้ป่ วยโรคเบาหวานได้รับยาผิดเป็น celecoxib เป็นเวลา 1 สัปดาห์ ผลคือเกิด Hyperglycemia และ Steven’s Johnson Syndrome เนื่องจากผู้ป่ วยแพ้กลุ่มยาซัลฟาต้องรับการรักษาใน โรงพยาบาล 2 เดือน –ปัจจัยที่อาจเป็นสาเหตุได้แก่อะไรบ้าง –จะวางแนวทางเพื่อลดอุบัติการณ์ ดังกล่าวอย่างไร 15-Aug-14 35
  • 36. Analysis of incidents • พยาบาลบริหารยา cloxacillin inj IV ช้าๆ พบว่า ผู้ป่ วยเกิดภาวะ แสบร้อน ปวด และอีก 1ชั่วโมงเกิดเขียวบริเวณที่ต่ากว่าตาแหน่ง ที่ฉีดยา มีการบาบัดตามอาการ สุดท้ายผู้ป่ วยเกิด gangrene และ ตัดแขนในที่สุด 15-Aug-14 36
  • 37. Pitfalls in Administration error • นโยบายโดยรวมด้านความปลอดภัยยังไม่สามารถถ่ายทอดลงสู่ ผู้ปฏิบัติ –คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงยังไม่สามารถเชื่อมโยงสู่ระดับ หน่วยงาน –ขาดนโยบายที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัย เช่น การรายงานโดยไม่ถือ ว่าเป็นความผิด ขาดแนวทางที่ชัดเจนในการสร้างความตระหนัก เรื่องความปลอดภัย ตั้งแต่การเป็นบุคลากรใหม่ 15-Aug-14 37
  • 38. Pitfalls in Administration error • พบว่ามีการรายงานน้อย บางโรงพยาบาลไม่มี –ขาดความเข้าใจว่า administration error คืออะไร –กลัวว่าความคลาดเคลื่อนคือความผิด และการขาด ประสิทธิภาพ –วัฒนธรรมของโรงพยาบาลยังไม่ชัดเจน เรื่องการรายงานโดย ไม่ถือว่าเป็นความผิด ภาระงาน ระบบรายงานที่ยุ่งยาก ไม่ ชัดเจน 15-Aug-14 38
  • 39. Pitfalls in Administration error • ระบบที่เป็นจุดอ่อน และไม่เอื้อต่อการตรวจสอบความ คลาดเคลื่อน – มีการคัดลอกในระบบมาก มีการฝากงานจากวิชาชีพข้างเคียง – ขาดการตรวจสอบความถูกต้องตั้งแต่แรก การสารองยาที่ไม่จาเป็น – ขาดการวางแนวทางการรับคาสั่งโดยเฉพาะการจัดการยาที่มีความเสี่ยงสูง – ขาดระบบการตรวจสอบอิสระโดยเฉพาะการบริหารยาที่ต้องระมัดระวังสูง – การจัดยาก่อนการบริหารยาเป็นเวลานาน การลงนามบริหารยาที่ไม่ใช่เวลาจริง 15-Aug-14 39
  • 40. Pitfalls in Administration error • ขาดความเชื่อมโยงระหว่างวิชาชีพ –ขาดการมองระบบยาโดยรวม –ขาดการกาหนดแนวทางปฏิบัติในลักษณะการส่งต่อที่มี ประสิทธิภาพ –ขาดโครงสร้างที่ชัดเจนขององค์กรในการสร้างเสริมความ ปลอดภัยทางยา 15-Aug-14 40
  • 41. Pitfalls in Administration error • ขาดระบบการตอบสนองและการจัดการผลที่เกิดขึ้นตามมาอย่าง มีประสิทธิภาพ –ขาดแนวทางที่ชัดเจนในการจัดการผลที่เกิดขึ้นตามมาที่มีระดับ ความรุนแรงที่แตกต่างกัน –ขาดการป้ อนกลับข้อมูล และแนวทางการจัดการเรื่องขวัญ กาลังใจ –ขาดการวิเคราะห์สาเหตุแท้จริงและการวางระบบโดยยึดวงล้อ คุณภาพ 15-Aug-14 41
  • 42. 6R & types of administration error • หลักการที่ใช้เพื่อประกันความปลอดภัยในทุกขั้นตอนคือ 6R มี 5 ประเภท คือ –Medication error –Transcription error –Dispensing error –Administration error –Monitoring error 15-Aug-14 42
  • 43. Patient’s rights in administration • สิทธิที่จะได้รับการประเมิน (right to assessment) • สิทธิที่จะได้รับการบันทึกเอกสารที่ถูกต้องเหมาะสม (right to documentation) • สิทธิที่จะได้รับความรู้ ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการรักษา (right to client’s right to education) • สิทธิที่จะได้รับการประเมินผล (right to evaluate) • สิทธิในการปฏิเสธที่จะไม่รับการรักษาพยาบาลที่ไม่เหมาะสม (right to refuse) 15-Aug-14 43
  • 44. Patient’s rights in administration 15-Aug-14 44
  • 45. Patient’s rights in administration 15-Aug-14 45
  • 46. 6R & types of administration error หลักการที่ 1. การประกันความถูกต้องด้านผู้ป่ วย (Right patient) 15-Aug-14 46 ชนิดความคลาดเคลื่อน แนวทางการจัดการ ชนิดที่พบ: • การสั่งจ่าย การกระจาย การส่งมอบ และการบริหารยาให้ผู้ป่ วยผิดคน • การให้ยาที่แพทย์ไม่ได้สั่ง 1. ปรับระบบให้เทคโนโลยี สารสนเทศ เอื้อต่อการจัดการ ระบบยา เช่น CPOE การใช้ ฐานข้อมูลผู้ป่ วยร่วมกัน การใช้ รหัสแท่งในการระบุผู้ป่ วย 2. การระบุผู้ป่ วยอย่างน้อย 2 ตัวบ่งชี้
  • 47. หลักการที่ 2. การประกันว่าผู้ป่ วยจะได้รับยาที่มีคุณภาพ เป็นไปตาม เงื่อนไขผู้ป่ วย หรือถูกต้องตามที่แพทย์ต้องการ (Right drug) 15-Aug-14 47
  • 48. หลักการที่ 3. การประกันว่าผู้ป่ วยจะได้รับยาที่มีความแรง ความเข้มข้น ขนาดยาตามความเหมาะสม และเป็นไปตามที่แพทย์ต้องการ (Right dose) 15-Aug-14 48
  • 49. หลักการที่ 4. การประกันว่าผู้ป่ วยจะได้รับยาถูกช่องทางหรือวิธีบริหาร (Right route) ยาที่เหมาะสม (Right route) 15-Aug-14 49
  • 50. หลักการที่ 5. การประกันว่าผู้ป่ วยจะได้รับยาถูกต้องตามเวลาที่เหมาะสม (Right time) 15-Aug-14 50
  • 51. หลักการที่ 6. การประกันว่าผู้ป่ วยจะได้รับการบริหารยาด้วยเทคนิค ที่เหมาะสม (Right technique) 15-Aug-14 51
  • 52. Adverse Drug Reaction : ADR อาการอันไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา • องค์การอนามัยโลก WHO ( 1970 ): กล่าวว่า ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดย มิได้ตั้งใจและเป็นอันตรายต่อร่างกายของมนุษย์อันเกิดจากการใช้ยา และเกิดขึ้นเมื่อใช้ยาในขนาดปกติ เพื่อป้องกัน วินิจฉัย บรรเทา บาบัดรักษาโรค หรือเปลี่ยนแปลงการทางานของร่างกาย โดยไม่รวม ปฏิกิริยาที่เกิดจากการใช้ยาเกินขนาดโดยอุบัติเหตุหรือตั้งใจ ตลอดจน การใช้ยาในทางที่ผิด อุบัติเหตุ หรือจงใจใช้ยาเกินขนาดและผิดวิธี 15-Aug-14 52
  • 54. Side Effect อาการข้างเคียงจากการใช้ยา • ตัวอย่าง : – อาการง่วงนอนจากการใช้ยากลุ่ม Antihistamine, Antidepressant – เลือดออกในทางเดินอาหารจากการใช้ยา NSAIDs – อาการไอจากการใช้ยา ACEIs – อาการพิษต่อไตจากการใช้ยา Aminoglycosides, AmphotericinB – เลือดออกผิดปกติจากการใช้ยา Warfarin, Antiplatelet – Electrolyeimbalance จากการใช้ยาขับปัสสาวะ – เต้านมโตจากการใช้ยา Spironolactone 15-Aug-14 54
  • 57. Drug Allergy อาการแพ้ยา • ลักษณะอาการแพ้ยา  ไม่สัมพันธ์กับฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา  ไม่สัมพันธ์กับขนาดของยาที่ได้รับ  อาจเกิดอาการภายหลังได้รับยาไประยะหนึ่ง โดยทั่วไปใช้เวลา 1-2 สัปดาห์  เมื่อหยุดยาอาการหาย ถ้าใช้ยาเกิดอาการใหม่  อาการที่แสดงออกเป็นปฏิกิริยาทางภูมิคุ้มกัน เช่น ผื่น (rash), Anaphylaxis, หอบหืด (Asthma), ผื่นลมพิษ (Urticaria), Angioedema 15-Aug-14 57
  • 58. Adverse Drug Events : ADEs เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา 15-Aug-14 58
  • 59. การแบ่งประเภท ADR  Type A (augmented) ADR Type ADR  Type B (bizarre) ADR Type ADR  Type C (continuous or Chronic) ADR  Type D (delayed) ADR  Type E (end of use) ADR  Type F (unexpected failure of therapy) 15-Aug-14 59
  • 60. Type A (augmented) ADR • ทานายล่วงหน้าจากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา • อาการจะรุนแรงหรือไม่ขึ้น ขึ้นอยู่กับขนาดยาและการตอบสนอง ของแต่ละบุคคล • อุบัติการณ์การเกิดสูง (>80%) แต่อัตราการตายต่า • แก้ไขโดยการลดขนาดยา หรือเปลี่ยนไปใช้ยาตัวอื่น เพื่อแก้ไข อาการ 15-Aug-14 60
  • 61. Type B (bizarre) ADR • ไม่สามารถทานายได้ล่วงหน้าจากฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา • อุบัติการณ์การเกิดต่า (<20%) แต่อัตราการตายสูง • ต้องแก้ไข โดยการหยุดยาเท่านั้น • การแพ้ยา ถือว่าเป็น Type B ADR 15-Aug-14 61
  • 64. Adverse Drug Reaction : ADR • การแบ่งประเภทตามกลไกการเกิด * Immunologic type - Drug allergy * Non-immunologic type - Side effect 15-Aug-14 64
  • 65. Adverse Drug Reaction : ADR • Immunologic type –กลไกการเกิดจะเกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน –ร่างกายต้องอาศัยเวลาประมาณ 1-2 สัปดาห์ ในการสร้าง Antibody หรือ sensitized lymphocyte ในการต่อต้านยา –Lymphocyte บางส่วนจะเปลี่ยนแปลงเป็น memory cell เพื่อจดจา ยาชนิดนั้น การได้รับยาครั้งที่ 2 จึงเกิดอาการได้รวดเร็ว –มักตรวจพบภาวะ eosinophilia –เมื่อหยุดยา อาการดีขึ้น ยกเว้นการแพ้นั้นเกิดจากยาจับกับโปรตีน 15-Aug-14 65
  • 66. Adverse Drug Reaction : ADR • Non-immunologic type –กลไกการเกิดจะไม่เกี่ยวข้องกับระบบภูมิคุ้มกัน –เกิดอาการได้ตั้งแต่ครั้งแรกที่ได้รับยา เพราะเป็นผลมาจาก ฤทธิ์ของยาโดยตรง –แก้ไขได้โดยการปรับขนาดยา ลดความเร็วในการให้ยา หรือ ให้ยาป้ องกัน 15-Aug-14 66
  • 67. เกณฑ์การประเมิน ADR ที่ป้ องกันได้ ( Preventable ADR ) หากตอบว่า “ ใช่ ” เพียง 1 ข้อถือว่าเป็น ADR ที่ป้ องกันได้ 1. ยาที่สงสัยว่าเป็นสาเหตุของ ADR นั้น ผู้ป่ วยได้รับอย่างไม่เหมาะสมกับโรคหรือภาวะทาง คลินิกของผู้ป่ วย 2. ขนาดยา วิธีการบริหารยา ความถี่การบริหารยาไม่เหมาะสมกับอายุ น้าหนัก และสภาวะ โรคของผู้ป่ วย 3. ไม่ได้ทาการตรวจวัดระดับยาหรือค่าทางห้องปฏิบัติการที่จาเป็นในการประเมิน ผลการรักษา 4. ผู้ป่ วยมีประวัติการแพ้หรือเกิดอาการจากยาดังกล่าวมาก่อน 5. มีปฏิกิริยาระหว่างยาที่เกี่ยวข้องกับ ADR ที่เกิดขึ้น 6. มีการบันทึกค่าระดับยาหรือค่าการทดสอบทางห้องปฏิบัติการที่บ่งบอกถึงความเป็นพิษ ของยา 7. มีการใช้ยาที่ไม่เป็นไปตามคาสั่งของแพทย์ 15-Aug-14 67
  • 68. การประเมิน ADR อย่างเป็นระบบ • คิดอย่างเป็นระบบ • ความสัมพันธ์ระหว่าง onset ของการเกิด ADR กับยาที่ใช้ หายาที่ สงสัย • หาสาเหตุอื่นที่เป็นไปได้ – โรคร่วม – ยาร่วม – Co-incidence • หยุดยาที่สงสัย อาการหาย / ดีขึ้นไหม • ให้ยาใหม่แล้วเกิดอาการอีกหรือไม 15-Aug-14 68
  • 69. สิ่งที่ต้องรู้ก่อนการประเมินADR • ความรู้พื้นฐานที่จาเป็นเกี่ยวกับ ADR – แพ้ยา VS อาการข้างเคียง – กลไกของการเกิดอาการแพ้ยา – ลักษณะของอาการไม่พึงประสงค์แบบต่างๆ – ความรู้เกี่ยวกับอาการไม่พึงประสงค์ที่พบ • สาเหตุที่เป็นไปได้มีอะไรบ้าง เกิดจากสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่ยาได้หรือไม่ • ข้อมูลที่บ่งชี้ว่าผู้ป่ วยเกิดอาการไม่พึงประสงค์ 15-Aug-14 69
  • 70. สิ่งที่ต้องรู้ก่อนการประเมินADR • ความรู้พื้นฐานที่จาเป็นเกี่ยวกับโรคของผู้ป่ วย – โรคของผู้ป่ วยมีอาการแสดงอะไรบ้าง – โรคของผู้ป่ วยทาให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์นี้ได้หรือไม่ • ความรู้เกี่ยวกับ Algorithm ที่จาเป็นในการประเมิน ADR 15-Aug-14 70
  • 72. ข้อมูลที่ต้องการ เพื่อประเมิน ADR • อาการแสดงของอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา • วัน-เวลาที่เริ่มเกิดอาการ • ประวัติการแพ้ยา / อาหาร / สารเคมี • ประวัติโรคประจาตัว • ประวัติการใช้ยาในอดีต • ประวัติการใช้ยาในปัจจุบัน – ชื่อยาที่ใช้ – ขนาด-วิธีการบริหารยา-ความถี่/ จานวน dose ที่ใช้ก่อนเกิดอาการ และวันที่ เริ่มได้รับยาแต่ละชนิด 15-Aug-14 72
  • 73. คาถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ผู้ป่ วยหรือญาติ • เคยแพ้ยาหรือไม่? ถ้าแพ้ทราบชื่อยาที่แพ้หรือไม่ชื่ออะไร ทราบชื่อได้ อย่างไร • กรณีเคยแพ้แต่ไม่ทราบชื่อยา ยาที่แพ้มีรูปร่างอย่างไรใช้ยาดังกล่าวเพื่อ รักษาโรคอะไร ได้รับยามาจากที่ไหน รับประทานอย่างไร • ลักษณะอาการที่แพ้เป็นอย่างไร • เกิดอาการหลังจากรับประทานยา/ใช้ยานานเท่าไร รับประทานยาวันที่ เท่าไร หยุดใช้ยาเมื่อไร รับประทานยาไปทั้งหมดกี่มื้อ • ภายหลังเกิดอาการ หยุดยาหรือไม่ถ้าหยุดยา อาการเป็นอย่างไร ดีขึ้น หรือไม่และได้กลับมาใช้ยาซ้าไหม เกิดอาการหรือไม่ 15-Aug-14 73
  • 74. คาถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์ผู้ป่ วยหรือญาติ • ใคร? เป็นผู้บอกว่าท่านแพ้ยา เคยได้รับบัตรแพ้ยาไหม • ลองซักประวัติชื่อยาในกลุ่มเดียวกันว่าเคยรับประทานหรือไม่ ถ้าเคยมี อาการผิดปกติภายหลังรับประทานยาหรือไม่อย่างไร • เคยแพ้อาหาร/ อากาศ / สารเคมีหรือไม่ • มีโรคประจาตัว หรือยาประจาตัวอะไรบ้าง รับประทานอย่างไร • ปกติเวลาเจ็บป่ วย จะไปรักษาพยาบาลที่ไหน • ขอดูยาที่ผู้ป่ วยใช้อยู่ทั้งหมด 15-Aug-14 74
  • 75. WHO แบ่งเป็น 4 ระดับ 1. Certain ( ใช่แน่นอน ) อาการ ADR ต้องมีลักษณะ ดังนี้ * เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่สอดคล้องกับการใช้ยา และ * ไมสามารถอธิบายด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือยา หรือสารเคมีอื่นๆ ที่ใช้ร่วม และ * เมื่อหยดใช้ยา อาการ ADR จะต้องดีขึ้น หรือหายจากอาการอย่างเห็น ได้ชัดและ * หากมีการใช้ซ้า จะต้องเกิด ADR 15-Aug-14 75 Naranjo’sScoring System = ≥9
  • 76. WHO แบ่งเป็น 4 ระดับ 2. Probable( น่าจะใช่ ) อาการ ADR ต้องมีลักษณะ ดังนี้ * เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่สอดคล้องกับการใช้ยา และ * ไม่สามารถอธิบายด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือยา หรือสารเคมีอื่นๆ ที่ ใช้ร่วม และ * เมื่อหยดใช้ยา อาการ ADR จะต้องดีขึ้น หรือหายจากอาการ อย่างเห็นไดัชัด แต่ * อาจไม่มีข้อมูลการให้ยาซ้า 15-Aug-14 76 Naranjo’sScoring System = 5-8
  • 77. WHO แบ่งเป็น 4 ระดับ 3. Possible( อาจจะใช่) อาการ ADR ต้องมีลักษณะ ดังนี้ * เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่สอดคล้องกับการใช้ยา แต่ * ไม่สามารถอธิบายด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือยา หรือสารเคมีอื่น ๆ ที่ใช้ร่วม และ * ไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับการหยุดใช้ยา หรือมีแต่ข้อมูลไม่สมบูรณ์ 15-Aug-14 77 Naranjo’sScoring System = 1-4
  • 78. WHO แบ่งเป็น 4 ระดับ 4. Unlikely( ไม่น่าใช่ ) อาการ ADR ต้องมีลักษณะ ดังนี้ * เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ไม่สอดคล้องกับเวลาการใช้ยา และ * ไม่สามารถอธิบายด้วยโรคที่เป็นอยู่ หรือยา หรือสารเคมีอื่นๆ ที่ใช้ร่วมได้อย่างชัดเจน 15-Aug-14 78 Naranjo’sScoring System = ≤ 0
  • 79. การจัดการดูแลผู้ป่ วย • Consult แพทย์เพื่อหาข้อสรุป ก่อนออกบัตรแพ้ยา • บันทึกประวัติการเกิด ADR เพื่อป้ องกันการเกิดซ้า • ให้คาแนะนาแก่ผู้ป่ วย • นัดผู้ป่ วยมาติดตาม ( กรณีที่ทาได้) • รายงานตามระบบรายงาน 15-Aug-14 79
  • 80. คาแนะนาแก่ผู้ป่ วย เมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา • กลไกและโอกาสในการเกิด ADR • จดจาชื่อยา กลุ่มยาที่ทาให้เกิดอาการอันไม่พึงประสงค์และแจ้ง ให้ผู้ใกล้ชิดทราบด้วย • พกบัตรแพ้ยาเสมอ • ควรแสดงบัตรทุกครั้งที่รับการตรวจรักษา หรือรับยา 15-Aug-14 80
  • 81. คาแนะนาแก่ผู้ป่ วย เมื่อเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยา • หลีกเลี่ยงยา หรือกลุ่มยาที่เคยแพ้หรือเกิดอาการอันไม่พึง ประสงค์ • หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ไม่ทราบชื่อ ชนิด สรรพคุณ รวมทั้งยาชุด ยาซอง โดยเด็ดขาด • สอบถามชื่อยา สรรพคุณ วิธีใช้อย่างละเอียดทุกครั้ง เมื่อต้องใช้ ยาใด ๆ 15-Aug-14 81
  • 82. ประโยชน์จากการดาเนินกิจกรรม ADR  ทาให้มีการประสานงานในการดูแลผู้ป่ วยเพิ่มขึ้น ในทีมสหสาขาวิชาชีพ  มีความระมัดระวังในการใช้ยาเพิ่มมากขึ้น  ผู้ป่ วยได้รับการรักษาที่รวดเร็วและเหมาะสม  ลดภาระของแพทย์ เภสัชกรสามารถมีส่วนร่วมในการติดตาม Progessnote ของผู้ป่ วยแล้วรายงานให้แพทย์ทราบ  ผู้ป่ วยได้รับความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง สามารถป้ องกันการเกิด ADR ซ้าจากยาเดิมหรือยาอื่นที่อยู่ในกลุ่มเดียวกัน 15-Aug-14 82
  • 83. ยาที่เป็นสาเหตุที่พบบ่อยที่สุด 1.กลุ่มยาเพนนิซิลิน ( Penicillins) 2.ยากลุ่มซัลโฟนาไมด์ ( Sulfonamides ) 3.ยารักษาวัณโรค ( AntituberculousDrugs ) 4.ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ ( NSAIDs) 5.ยากันชัก ( Antiepileptic drugs ) 15-Aug-14 83
  • 84. ลักษณะผื่นแพ้ยาที่พบบ่อย 1. MaculopapularRash 46% 2. Urticaria 22.8% 3. Fixed Drug Eruption 14% 4. Eczematous eruption 5.1% 5. ErythemaMultiforme 3.3% 6. Bullouseruption 1.7% 7. Exfoliativedermatitis 1.3% 8. อื่น ๆ 5.5% 15-Aug-14 84
  • 86. Maculo-papularrash (MP rash) • พบบ่อยมากที่สุด • ยาเกือบทุกชนิดสามารถทาให้เกิดผื่นได้ • ประกอบด้วย ผื่น 2 ชนิด คือ – Macule คือ ผื่นราบเกิดจากสีของผิว เปลี่ยนแปลงโดยที่ผิวหนังไม่นูนหรือบุ๋ม ขอบเขตของผื่นอาจเห็นได้ชัดหรือไม่ชัด มีขนาดละรูปร่างต่างๆ มีขนาดใหญ่กว่า 1cm. – Papule คือ ตุ่มนูน มีขนาดเล็กมาก ไปจนถึงเส้นผ่าศูนย์กลางไม่เกิน 5 มม. มีสีต่าง ๆ เมื่อคลาดูอาจจะรู้สึกนุ่ม หยุ่น หรือแข็ง 15-Aug-14 86
  • 87. Maculo-papularrash (MP rash) • ผื่นจะมีสีแดงชัดเจน เมื่อเอามือหรือกระจกใส ๆ กดลงไปที่ผื่น จะซีดจาง ลง • บริเวณที่พบผื่นมากที่สุด คือ ลาตัว และกระจายไปทั่ว ๆ กันทั้ง 2 ข้าง 15-Aug-14 87
  • 88. Maculo-papularrash (MP rash) • แสดงผื่นแพ้ยาที่เกิดบริเวณฝ่ ามือและฝ่ าเท้า เป็นตาแหน่งที่ช่วยให้คิดถึง ว่า น่าจะเป็นผื่นที่เกิดจากยา • บริเวณที่ไม่พบผื่นชนิดนี้คือ บริเวณเยื่อบุต่างๆ เช่น ในช่องปาก เยื่อบุตา หรือที่อวัยวะเพศ 15-Aug-14 88
  • 89. Urticaria ( ผื่นลมพิษ ) • ผื่นที่มีอาการในระยะแรกเป็นรอยนูนแดงขนาดเล็ก คันมาก ผื่นค่อย ๆ ขยายออก มีขอบยกนูน ตรงกลางของผื่นจะมีสีซีดจางกว่าบริเวณรอบๆ มักมีรูปร่างแปลกๆ ไม่แน่นอน มีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา บางครั้ง รูปร่างเหมือนวงกลม แต่มักไม่ครบวง บางครั้งดูคล้ายแผนที่มีขอบหยัก หยักมา ผื่นกระจายทั่วร่างกาย 15-Aug-14 89
  • 90. Urticaria ( ผื่นลมพิษ ) • ผื่นลมพิษ มักไม่ทาให้เกิดอันตราย นอกจาก มีอาการคัน แต่ถ้าพบผู้ป่ วย ที่มีลมพิษขึ้นชนิดเฉียบพลัน จะต้องระวังอาจมีอาการของอวัยวะส่วน อื่นร่วมด้วย เช่น หลอดลมตีบ หายใจหอบ หายใจเสียงดัง ความดันโลหิต ต่า ซึ่งเป็นอาการของ Anaphylactic shock หากได้รับการ รักษาไม่ทันท่วงที อาจเสียชีวิตได้ • ผื่นลมพิษอาจเกิดจากสาเหตุอื่น ๆ ได้อีก เช่น การแพ้อาหาร ฝุ่ น การ เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิความร้อนความเย็น และโรคบางอย่าง เช่น SLE , มะเร็ง เป็นต้น ดังนั้นเมื่อพบผื่นชนิดนี้จึงควรสอบถามถึงสาเหตุอื่นๆ ด้วยทุกครั้ง 15-Aug-14 90
  • 91. Angioedema • ผื่นลมพิษ ที่เกิดใต้ชั้นผิวหนังส่วนลึก หรือชั้นไขมันใต้ผิวหนัง ซึ่งมัก เกิดตามเยื่อบุเช่นเปลือกตา ริมฝีปาก อวัยวะเพศ ซึ่งบวมนูน ไม่มี ขอบเขตชัดเจน อาจใช้เวลา 2-5 วัน จึงจะยุบ 15-Aug-14 91
  • 92. Fixed Drug Eruption • ผื่นมีรูปร่างกลม ขอบชัด สีแดงจัด ระยะแรกเริ่มจะมีสีแดงจัด ต่อมาตรง กลางของผื่นอาจมีการเปลี่ยนแปลงเป็นสีแดงคล้าหรือม่วง ถ้าแพ้มาก ตรงกลางของผื่นอาจพองเป็นตุ่มน้าก็ได้ • ผื่นมักมีจานวน 1-2 ผื่น แต่อาจเพิ่มจานวนมากขึ้นในการแพ้ครั้งต่อๆ มา จนอาจมากว่า 10 ผื่น • มักมีอาการแสบร้อน เจ็บ ๆ คัน ๆ 15-Aug-14 92
  • 93. Fixed Drug Eruption • ลักษณะสาคัญ คือ หากผู้ป่ วยได้รับยาเดิมที่แพ้ครั้งต่อๆ มาอีก จะปรากฏ ผื่น Fixed Drug Eruption ที่บริเวณเดิมทุกครั้ง • ผื่นแพ้ยาเพียงชนิดเดียวเท่านั้น ที่ยังไม่พบว่ามีสาเหตุการเกิดจากปัจจัย อื่นๆ นอกจากยา เมื่อพบผื่นชนิดนี้ จะต้องพยายามหายาที่เป็นสาเหตุให้ ได้ 15-Aug-14 93
  • 94. Eczematous drug eruption • ผื่นมีอาการคันมาก ระยะแรกๆ ผื่นจะมีลักษณะเป็นตุ่มสีแดง หรือเป็น ผื่นแดง รูปร่างไม่แน่นอน ผื่นส่วนมากมักมีขนดใหญ่ ผื่นหลายแห่งอาจ บวมเป็นตุ่มน้าใสๆ แตกออกเป็นน้าเหลืองไหลและตกสะเก็ด 15-Aug-14 94
  • 95. Eczematous drug eruption • ถ้ายาที่แพ้เป็นยาทา ก็จะเกิดผื่น eczema เฉพาะที่ทายา ส่วนมากจะใช้ เวลา∼2 วัน นับตั้งแต่ทายาจนเกิดอาการแพ้ขึ้น ซึ่งแพทย์อาจเรียก อาการแพ้แบบนี้ว่า “ ผื่นแพ้สัมผัส ” • ยาที่แพ้เป็นยากิน / ฉีดเข้าร่างกาย ผื่นจะเกิดทั่วร่างกาย 15-Aug-14 95
  • 96. Exfoliative Dermatitis • ระยะเริ่มแรกมีลักษณะคล้าย MP rash ต่อมาผื่น • จะค่อยๆ ลุกลามอย่างช้าๆ และลอกหลุดเป็นขุยแห้งๆ จนทั่วร่างกาย • ผิวหนังจะแดงและดูเป็นเงา บางแห่งตกสะเก็ด • รู้สึกคัน แต่ไม่แสบร้อนหรือเจ็บที่ผิวหนัง 15-Aug-14 96
  • 97. Exfoliative Dermatitis • เมื่อเป็นนานๆ ผิวหนังจะหนา ด้าน แข็ง เล็บมือ และเท้าจะหนาและเป็น สีคล้า ค่อยๆ หลุดออก • ศีรษะมีอาการลอกคล้ายรังแค • อาจมีไข้ รู้สึกหนาวๆ ร่วมด้วย 15-Aug-14 97
  • 98. ERYTHEMA MULTIFORM • ผื่นที่มีรูปร่างคล้ายเป้ ายิงธนู (target lesion หรือ iris lesion ) ผื่นมีรูปร่างกลม เป็นวงสามชั้น ชั้นในสุดจะมีสีแดงเข้มจัดหรือเป็น ตุ่มน้าพองๆ ชั้นต่อมามีสีซีดจาง และชั้นนอกสุดจะมีสีแดงจางๆ • ขนาดของผื่น ∼2 มล.-2 ซม. • พบบริเวณปลายมือปลายเท้า เหนือข้อศอก ข้อต่อต่างๆ และบริเวณใบหน้า ลามไปที่ลาตัว ผื่นมักจะเป็น 2 ข้างของร่างกาย เท่าๆ กัน 15-Aug-14 98
  • 99. ERYTHEMA MULTIFORM • ผิวหนังที่เป็นผื่นทั้งหมดมักจะ < 10% ของพื้นที่ผิวหนังทั้งหมด • ผู้ป่ วยจะต้องมีแผลตามเยื่อบุต่างๆ 1 แห่งร่วมด้วยเสมอ ( ริมฝีปาก เพดาน เหงือก ลิ้น เยื่อบุตา อวัยวะเพศ) เป็นแผลถลอกตื้นๆ เจ็บ มี เลือดออกและเป็นสะเก็ดสีคล้า • ผู้ป่ วยอาจมีอาการปวดเมื่อยตามตัวอ่อนเพลีย ปวดข้อ เจ็บคอ ร่วมด้วย 15-Aug-14 99
  • 100. Steven Johnson Syndrome : SJS • ผู้ป่ วยจะมีอาการผิดปกติขึ้นอย่างเฉียบพลัน เช่น มีไข้สูง ปวดเมื่อยตาม ตัว ปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน เจ็บคอ ปวดข้อ ผื่นที่ขึ้นระยะแรก อาจเป็นผื่นแดงบริเวณกว้างๆ เป็นจุดเล็กและเป็นปื้นใหญ่ตรงกลางผื่น มักเป็นสีเข้มกว่า ต่อมาเริ่มมีตุ่มน้าและผิวหนังมีการหลุดลอก • ผู้ป่ วยจะต้องมีรอยโรคที่บริเวณเยื่อบุ >11 แห่งขึ้นไป 15-Aug-14 100
  • 101. Toxic Epidermal necrosis : TEN • ผื่นแพ้ยาที่รุนแรงมากที่สุด • อาการเริ่มแรก คล้ายจะเป็นหวัดเหมือน SJS ผิวหนังจะเปลี่ยนเป็นสี แดงและเจ็บ จากนั้นจะพองเป็นตุ่มน้าและหลุดลอกออกอย่างง่ายดาย • ผิวหนังมักจะลอกออกเป็นแผ่นใหญ่ๆ • ดูคล้ายกับผู้ป่ วยที่โดนน้าร้อนลวกชนิดรุนแรง 15-Aug-14 101
  • 102. Toxic Epidermal necrosis : TEN • หากเอามือถูที่ผิวหนังทั้งที่บริเวณปกติหรือบริเวณที่ผิวหนังก็จะหลุด ออกตามรอยที่ถูอย่างง่ายดาย • บริเวณเยอบุต่างๆ เช่น ริมฝีปาก เยื่อบุตา หรือ มักมีการหลุดลอกร่วม ด้วย มีเลือดออกซึม และเมื่อแห้งก็จะเป็นแผ่นสีดาคล้าที่อวัยวะเพศ • อวัยวะภายในต่างๆ อาจเกิดความผิดปกติได้เช่น กลืนลาบาก อาเจียนเป็น เลือด ถ่ายเป็นเลือด ตับอักเสบ ปอดอักเสบ 15-Aug-14 102