SlideShare a Scribd company logo
1ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชนและบุคลากรทางการแพทย์
1
ชุดควำมรู้
กำรตรวจสุขภำพ
ที่จ�ำเป็นและเหมำะสม
ส�ำหรับประชำชน
คณะกรรมการพัฒนาการตรวจสุขภาพ
ที่จําเปนและเหมาะสมสําหรับประชาชน
กระทรวงสาธารณสุข
2 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
ชุดควำมรู้
กำรตรวจสุขภำพที่จ�ำเป็นและเหมำะสม
ส�ำหรับประชำชน
ISBN 978-974-422-821-5
บรรณาธิการ
แพทย์หญิงจิตสุดา บัวขาว
ศาสตราจารย์คลินิกแพทย์หญิงวินัดดา ปิยะศิลป์
รองศาสตราจารย์เอกชัย โควาวิสารัช
นายแพทย์อรรถสิทธิ์ ศรีสุบัติ
จัดพิมพ์และเผยแพร่
สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์
กระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท์ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000
โทรศัพท์ 0 2590 6395
โทรสาร 0 2965 9844
www.dms.moph.go.th/imrta
พิมพ์ครั้งที่ 1 ธันวาคม 2559
จ�านวน 28,000 เล่ม
ออกแบบ/จัดพิมพ์ ส�านักพิมพ์หมอชาวบ้าน
3
คนไทยทุกคนมีสิท¸ิได้รับ
กำรตรวจสุขภำพขั้นพื้น°ำน
ที่จ�ำเป็นและเหมำะสมตำมช่วงวัย
4 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน
ค�ำน�ำ
การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมเป็นพื้นฐานส�ำคัญ
ของระบบสาธารณสุข ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รวม
ทั้งช่วยให้สามารถตรวจพบอาการผิดปกติต่างๆ ในระยะเริ่มต้น ซึ่งจะ
เป็นประโยชน์ในการรักษาให้ได้ผลดี ลดความรุนแรงและภาวะ
แทรกซ้อนต่างๆ อย่างไรก็ตาม การตรวจสุขภาพที่เกินจ�ำเป็นและ
ไม่สมเหตุผล ก่อให้เกิดผลกระทบในทางลบต่อสุขภาพกายและใจ อาทิ
การรักษาที่ไม่จ�ำเป็น ความวิตกกังวล นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบต่อ
เศรษฐกิจและสังคม ในขณะเดียวกันประชาชนบางส่วนยังไม่ได้รับ
การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็น เนื่องจากขาดความรู้ ความเข้าใจ หรือ
เข้าไม่ถึงบริการ ท�ำให้เสียโอกาสในการรักษาอย่างทันท่วงที
ดังนั้น เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชน มีความรู้
ความเข้าใจ และสามารถเข้าถึงการบริการการตรวจสุขภาพได้
อย่างถูกต้องและเหมาะสมตามกลุ่มวัย กรมการแพทย์จึงร่วมกับ
ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จัดท�ำ
ชุดความรู้ด้านการตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับ
ประชาชน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ
และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง
ขอขอบคุณ คณะกรรมการพัฒนาการตรวจสุขภาพที่
จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน กระทรวงสาธารณสุข และ
ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนที่สนับสนุนและร่วมด�ำเนินการจัดท�ำ
ชุดความรู้ด้านการตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับ
ประชาชนฉบับนี้ กรมการแพทย์หวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดความรู้นี้จะเป็น
ประโยชน์ต่อผู้อ่านและน�ำไปสู่การดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมต่อไป
		 นายแพทย์ธีรพล โตพันธานนท์
		 อธิบดีกรมการแพทย์
5
สารบัญ
1.	 การตรวจสุขภาพ คืออะไร?...........................................8
2.	 ท�ำไมต้องมีการตรวจสุขภาพ?......................................10
3.	 การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสม
	 เป็นอย่างไร?................................................................13
4.	 ใครบ้างที่ควรรับการตรวจสุขภาพ?.............................15
5.	 การตรวจสุขภาพแบบเหมารวม
	 หรือตามแพ็กเกจ ดีไหม?.............................................17
6.	 การตรวจสุขภาพยิ่งบ่อยยิ่งดี ใช่หรือไม่?.....................19
7.	 การตรวจสุขภาพมีประโยชน์และโทษอย่างไร?............21
8.	 การตรวจสุขภาพมีขั้นตอนอย่างไร?.............................25
9.	 ประชาชนสามารถตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง
	 หรือไม่ อย่างไร?..........................................................27
10. เมื่อทราบผลการตรวจสุขภาพแล้ว
	 ควรได้รับการดูแลต่อเนื่องอย่างไร?.............................29
11. กลุ่มหญิงมีครรภ์ควรได้รับการดูแลอย่างไร?................31
12. กลุ่มวัยเด็กและวัยรุ่น (0-18 ปี)
	 ควรได้รับการตรวจสุขภาพอย่างไร?.............................35
13. การตรวจสุขภาพพื้นฐานในกลุ่มวัยท�ำงาน
	 และกลุ่มวัยผู้สูงอายุมีอะไรบ้าง....................................39
14. กลุ่มวัยท�ำงาน (18-60 ปี)
	 ควรได้รับการตรวจสุขภาพอย่างไร?.............................42
6 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน
สารบัญ
15. กลุ่มวัยสูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป)
	 ควรได้รับการตรวจสุขภาพอย่างไร?.............................45
16. การตรวจวัดความดันโลหิต ระดับน�้ำตาล
	 และไขมันในเลือดมีความส�ำคัญอย่างไร?
	 และควรเริ่มตรวจเมื่อไร?.............................................48
17. การตรวจสุขภาพช่องปาก ตา และหู
	 มีความส�ำคัญอย่างไร และควรเริ่มตรวจเมื่อไหร่?........50
18. ในการตรวจสุขภาพจ�ำเป็นต้องตรวจ
	 ปัสสาวะหรือไม่ อย่างไร?.............................................53
19. ในการตรวจสุขภาพจ�ำเป็นต้องตรวจ
	 อุจจาระหรือไม่ อย่างไร?.............................................55
20. การตรวจคัดกรองโรคมะเร็ง
	 มีความจ�ำเป็นในกรณีใดบ้าง?......................................56
21. การตรวจคัดกรองภาวะกระดูกพรุน
	 มีความจ�ำเป็นในกรณีใด?.............................................59
22. การตรวจสุขภาพที่ไม่แนะน�ำหรือไม่จ�ำเป็น
	 มีอะไรบ้าง?..................................................................60
ภาคผนวก
กรณีตัวอย่างการตรวจสุขภาพ
	 ส�ำหรับกลุ่มคนปกติทั่วไปที่ไม่มีอาการ........................67
กรณีตัวอย่างการตรวจรักษาโรค.........................................78
7
รายชื่อผู้จัดท�ำ
1.	 แพทย์หญิงจิตสุดา บัวขาว	 ที่ปรึกษากรมการแพทย์
2.	 ศาสตราจารย์คลินิกแพทย์หญิงวินัดดา ปิยะศิลป์ ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย
3.	 ผู้ช่วยศาสตราจารย์วราภรณ์ แสงทวีสิน	 ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย
4.	 รองศาสตราจารย์เอกชัย โควาวิสารัช	 ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย
5.	 ศาสตราจารย์วรพงศ์ ภู่พงศ์	 คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
6.	 แพทย์หญิงสุธาทิพย์ เอมเปรมศิลป์	 คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี
			 มหาวิทยาลัยมหิดล
7.	 พันเอกนายแพทย์เพิ่มศักดิ์ สุเมฆศรี	 วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า
8.	 นายแพทย์ธีระ ศิวดุลย์	 โรงพยาบาลชลบุรี
9.	 นายแพทย์จิรัตน์ ตั้งฐิตวงศ์	 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
			 ศูนย์อนามัยที่ 13 กรมอนามัย
10.	 นายแพทย์สุรัตน์ สิรินนทกานต์	 โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ
			 ศูนย์อนามัยที่ 13 กรมอนามัย
11.	 แพทย์หญิงปิยะธิดา หาญสมบูรณ์	 โรงพยาบาลราชวิถี
12.	 แพทย์หญิงจีรภัทร วงศ์ชินศรี	 โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
13.	 นายแพทย์บุญส่ง ระหว่างบ้าน	 โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี
14.	 นายแพทย์สุวรรณ ชัยสัมฤทธิ์ผล	 โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
15.	 นายแพทย์พิจัย ชุณหเสวี	 โรงพยาบาลเลิดสิน
16.	 นายแพทย์กฤษณพงศ์ มโนธรรม	 โรงพยาบาลเลิดสิน
17.	 แพทย์หญิงอาวีพรรณ กมลศรี	 โรงพยาบาลเลิดสิน
18.	 แพทย์หญิงนัยนา ณีศะนันท์	 สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี
19.	 นายแพทย์สมชาย ธนะสิทธิชัย	 สถาบันมะเร็งแห่งชาติ	
20.	 นายแพทย์อรรถสิทธิ์ ศรีสุบัติ	 สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
21.	 นายแพทย์สุรศักดิ์ อำ�มาตย์โยธิน	 สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
22.	 นายแพทย์ธนะรัตน์ อิ่มสุวรรณศรี	 สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
23.	 นางสาวอมรรัตน์ วิจิตรลีลา	 สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
24.	 นางอรุณี ไทยะกุล	 สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
25.	 นางสาววรนุตร อรุณรัตนโชติ	 สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
26.	 นางรัชนีบูลย์ อุดมชัยรัตน์	 สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
27.	 นางสุรีพร คนละเอียด	 สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
28.	 นางสาวรติมา ศิลปสุวรรณ	 สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
29.	 นางสาวรัตติยากรณ์ อักษรศักดิ์	 สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
8 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
กำรตรวจสุขภำพ
1. คืออะไร ?
9
?
การตรวจสุขภาพ คือ การตรวจเช็กสุขภาพ
ในขณะที่ผู้รับการตรวจยังรู้สึกสบายดี ไม่มีอาการหรือความ
ผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการตรวจนั้นแต่อย่างใด
ส่วนคนที่ไปหาหมอเมื่อมีอาการเจ็บป่วยหรือรู้สึกมี
ความผิดปกติแล้ว หรือคนที่ไปหาหมอเพื่อตรวจรักษาโรค หรือ
ไปหาหมอตามนัดเพราะป่วยด้วยโรคเรื้อรัง (เช่น เบาหวาน
ความดันโลหิตสูง) นั้น ไม่เข้าข่ายว่าเป็นการตรวจสุขภาพ
หากแต่เป็น การตรวจวินิจฉัยโรค หรือ การตรวจรักษาโรค
ที่คนส่วนใหญ่รู้จักมักคุ้นและปฏิบัติกันอยู่แล้ว (ดูกรณีตัวอย่าง
เพิ่มเติมในภาคผนวก)
10 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
2. ท�ำไมต้องมี
กำรตรวจสุขภำพ?
11
เพราะคนเราอาจมีโรค/ภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค
ที่ซ่อนอยู่ในตัว ซึ่งพบได้ในทุกกลุ่มวัยตั้งแต่แรกเกิดจนถึง
วัยผู้สูงอายุ ความผิดปกติที่ซ่อนอยู่นี้จะไม่แสดงอาการในระยะแรก
หรือระยะที่มีความรุนแรงน้อย ท�ำให้คนเหล่านี้ไม่ได้ไปรับการ
ตรวจสุขภาพ และปล่อยไว้นานเข้า (ซึ่งอาจกินเวลาเป็นแรมปี
หรือนับสิบๆ ปี) โรค/ภาวะเสี่ยงที่ซ่อนอยู่นั้นก็จะกลายเป็น
โรคที่ก�ำเริบหนักและเกิดภาวะแทรกซ้อนร้ายแรงตามมา
ในที่สุด
ดังนั้น การตรวจสุขภาพจึงท�ำเพื่อ
(1)	 ค้นหาโรคที่ซ่อนอยู่ในตัวโดยที่ยังไม่มีอาการ
ผิดปกติให้เห็น ซึ่งถือว่าเป็น “ภัยเงียบ” เช่น โรคเบาหวาน
ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง มะเร็งเต้านมในระยะแรก
มะเร็งปากมดลูกในระยะแรก เป็นต้น ซึ่งตามหลักการรักษาแล้ว
การตรวจพบโรคตั้งแต่ระยะแรกหรือระยะที่มีความรุนแรงน้อย
จะรักษาโรคได้ทัน ไม่ลุกลาม ลดภาวะแทรกซ้อน บางโรคอาจ
รักษาให้หายขาดได้
12 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
(2) หาปัจจัยหรือพฤติกรรมเสี่ยงที่ท�าให้เกิดโรค ซึ่ง
เจ้าตัวอาจไม่รู้สึกว่าเป็นปัญหา เช่น กรรมพันธุ์ ดื่มเหล้า
สูบบุหรี่ บริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกก�าลังกาย
การมีอารมณ์เครียด ภาวะน�้าหนักเกินหรือลงพุง สภาพแวดล้อม
หรือการท�างานที่เสี่ยงต่อการเจ็บป่วย หรือความผิดปกติ
ที่ซ่อนอยู่ในตัว (เช่น ความดันลูกตาสูง ซึ่งท�าให้เกิดโรคต้อหิน
ไวรัสตับอักเสบบีในเลือดซึ่งท�าให้เกิดโรคตับอักเสบเรื้อรังและ
มะเร็งตับ) เมื่อพบว่ามีปัจจัยหรือพฤติกรรมเสี่ยงอะไร หมอที่
ตรวจก็จะให้การดูแลและให้ค�าแนะน�าการปฏิบัติตัวป้องกัน
ไม่ให้เกิดโรคตามมา ที่ส�าคัญผู้ที่มีภาวะเสี่ยงควรแจ้งให้แพทย์
ทราบด้วย
13
3.กำรตรวจสุขภำพ
เป็นอย่ำงไร?
ที่จ�ำเป็นและเหมำะสม
14 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
เป็นการตรวจสุขภาพตามหลักวิชาการ
โดยแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข เน้นการซักถามประวัติ
สุขภาพและการตรวจร่างกายเป็นหลัก ส่วนการตรวจ
ทางห้องปฏิบัติการหรือการตรวจแล็บ จะท�าเฉพาะในรายที่มี
ข้อมูลหลักฐานบ่งชี้แล้วว่ามีความจ�าเป็นเท่านั้น ทั้งนี้เพื่อค้นหา
โรคและปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค และน�าไปสู่การป้องกัน
การส่งเสริมสุขภาพ และการบ�าบัดรักษาอย่างถูกต้อง
การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมไม่จ�าเป็นต้อง
มีการตรวจทางห้องปฏิบัติการเสมอไป
15
4. ใครบ้ำงที่ควร
สุขภำพ?
รับกำรตรวจ
อำยุ 0-18 ป‚
อำยุ 18-60 ป‚
อำยุ 60 ป‚ขÖ้นไป
หญิงมีครรภ
16 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
ทุกคนตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยชราควรได้รับ
การตรวจสุขภาพ ซึ่งคณะกรรมการพัฒนาการตรวจสุขภาพ
ที่จ�าเป็นและเหมาะสม กระทรวงสาธารณสุข ได้แบ่งเป็น
4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มวัยเด็กและวัยรุ่น (อายุ 0-18 ปี) กลุ่มวัย
ท�างาน (อายุ18-60 ปี) กลุ่มวัยผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป)
และกลุ่มหญิงมีครรภ์ แต่ละกลุ่มมีแนวทางการตรวจสุขภาพ
ที่แตกต่างกัน
17
5.หรือตำมแพçกเกจ
กำรตรวจสุขภำพ
แบบเหมำรวม
ดีไหม?
โปรโมชั่นสุขภำพ
ตรวจ 20 รำยกำร
ตรวจ 34 รำยกำร
✔	✘
18 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
การตรวจสุขภาพควรตรวจตามความจ�าเป็น
และให้เหมาะสมส�าหรับแต่ละบุคคล ซึ่งขึ้นอยู่กับอายุ เพศ
และปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ไม่ใช่ตรวจเหมารวมแบบเดียวกันหมด
ทุกคนและทุกครั้ง การตรวจแบบเหมารวมเป็นการตรวจเกิน
ความจ�าเป็น นอกจากท�าให้สิ้นเปลืองแล้วยังมีความเสี่ยงต่อ
การเกิดผลข้างเคียงจากวิธีตรวจบางอย่างได้อีกด้วย
19
6.กำรตรวจสุขภำพ
ยิ่งบ่อยยิ่งดี ใช่หรือไม่?
20 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน
ไม่ใช่ ร่างกายเราไม่ใช่เครื่องยนต์ จึงไม่จ�ำเป็นต้อง
ตรวจทุกปี แต่ควรตรวจตามระยะเวลาและความจ�ำเป็น ซึ่งขึ้น
อยู่กับอายุ เพศ และโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย อาทิ
●	 ระดับน�้ำตาลและไขมันในเลือด ไม่แนะน�ำให้ตรวจ
ในเด็กทุกคน ยกเว้นเด็กที่อ้วน หรือในผู้ใหญ่ที่เคย
ตรวจแล้วไม่ได้เป็นเบาหวาน/ไขมันในเลือดปกติ
ก็ไม่จ�ำเป็นต้องตรวจทุกปี ส�ำหรับน�้ำตาลในเลือด
สามารถเว้นไปตรวจทุก 3 ปี (ยกเว้นอายุมากกว่า
60 ปี ควรตรวจทุกปี) และส�ำหรับไขมันในเลือด
ตรวจทุก 5 ปี
●	 สตรีที่เคยตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีที่
เรียกว่า “การเก็บเซลล์โดยวิธีพื้นฐาน (conventional
pap smear)” แล้วพบว่าปกติ ก็สามารถเว้นไป
ตรวจทุก 3 ปี
21
7. กำรตรวจสุขภำพ
มีประโยชน
และโทÉอย่ำงไร?
ผลตรวจเลือด
+ -
22 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน
การตรวจสุขภาพหากท�ำอย่างถูกต้องตาม
หลักการ จะท�ำให้อาจค้นพบโรคที่ซ่อนอยู่ และยังช่วยหา
ปัจจัยเสี่ยงที่อาจท�ำให้เกิดโรค ท�ำให้สามารถหาทางป้องกัน
และรักษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และทันท่วงที
แต่ถ้าการตรวจสุขภาพนั้นท�ำอย่างไม่ถูกต้องเหมาะสม
นอกจากท�ำให้สิ้นเปลืองโดยไม่จ�ำเป็นแล้ว ยังอาจก่อให้เกิดผล
ข้างเคียงจากการตรวจได้อีกด้วย
การตรวจหลายชนิดที่ใช้กันในปัจจุบันยังขาดความ
ถูกต้องแม่นย�ำ 100 เปอร์เซ็นต์ ผลการตรวจที่ได้อาจไม่ตรง
กับความจริง ท�ำให้เกิดผลเสียใน 2 ลักษณะ ดังนี้
1.	 ผลการตรวจบอกว่าผิดปกติ/เป็นโรค ทั้งที่ความจริง
ไม่มีความผิดปกติ/ไม่เป็นโรค ซึ่งทางแพทย์เรียกว่า “ผลบวก
ลวง” อาทิ
●	 ผลการตรวจเลือดหาโรคเอดส์บอกว่าเป็นเอดส์
(ให้ผลเป็นบวก) ทั้งที่ความจริงไม่ได้เป็น ท�ำให้ผู้รับ
การตรวจเกิดความเครียด กลัว กังวลใจ ถูกรังเกียจ
บางรายถึงคิดฆ่าตัวตาย
23
●	 ผลการตรวจหาระดับสารพีเอสเอ (PSA) ในเลือด
ส�ำหรับตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมาก พบว่ามี
ค่าสูงผิดปกติ (ให้ผลเป็นบวก) ทั้งที่ความจริงไม่ได้
เป็นโรคนี้ แต่เมื่อผลเป็นบวก ตามหลักทางแพทย์
ก็จ�ำเป็นต้องท�ำการตรวจยืนยันให้แน่ชัดด้วยวิธีที่
ซับซ้อนขึ้น (เช่น การตัดชิ้นเนื้อพิสูจน์) ต่อไป ซึ่งอาจ
ท�ำให้เกิดผลข้างเคียงที่มีอันตราย (เช่น เลือดออก
ติดเชื้อ) ตามมาได้ (ดูเพิ่มเติมในข้อ 22.2)
2.	 ผลการตรวจบอกว่าปกติ/ไม่ได้เป็นโรค ทั้งที่ความ
จริงมีความผิดปกติ/เป็นโรค ซึ่งทางแพทย์เรียกว่า “ผลลบลวง”
อาทิ
●	 ผลการตรวจคัดกรองเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี
(เชื้อก่อเกิดโรคเอดส์) บอกว่าเป็นปกติ (ให้ผลเป็น
ลบ) ทั้งที่ความจริงเป็นโรคนี้ ท�ำให้ผู้รับการตรวจ
ไม่ได้รับการบ�ำบัดรักษา เกิดความประมาทและ
แพร่โรคให้คนอื่นต่อไป
24 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
●	 ผลการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจบอกว่าปกติ (ให้ผล
เป็นลบ) ทั้งที่ความจริงเป็นโรคหัวใจ ท�าให้ผู้รับ
การตรวจไม่ได้รับการบ�าบัดรักษา จนโรคลุกลาม
รุนแรงถึงขั้นเป็นอันตรายได้
นอกจากนี้ การตรวจที่ไม่จ�าเป็นเพราะไม่ได้ประโยชน์
ในการค้นหาโรคที่ซ่อนอยู่ เช่น การถ่ายภาพรังสีปอด หรือ
เอกซเรย์ปอด หากคนที่สูบบุหรี่จัดไปตรวจเอกซเรย์ปอด
แล้วไม่พบเป็นโรคมะเร็งปอดและถุงลมปอดโป่งพอง ซึ่งเป็น
โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ ก็จะเกิดความประมาทและยัง
สูบบุหรี่ต่อไป ซึ่งในระยะยาวอาจเกิดโรคจากพิษบุหรี่ตามมา
ได้ เช่น มะเร็งปอด ถุงลมปอดโป่งพอง โรคหลอดเลือด
หัวใจตีบ เป็นต้น
25
8.กำรตรวจสุขภำพ
มีขั้นตอนอย่ำงไร?
26 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน
ปัจจุบันการตรวจสุขภาพที่มักให้ความส�ำคัญกับ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการหรือการตรวจแล็บ ท�ำให้คนทั่วไป
เมื่อต้องการตรวจสุขภาพ มักคิดมุ่งไปที่การตรวจเลือดหรือ
การตรวจพิเศษชนิดต่างๆ เลย เพราะเข้าใจว่าการตรวจสุขภาพ
ต้องมีการตรวจทางห้องปฏิบัติการหรือแล็บควบคู่กันไปด้วย
แต่ความจริงแล้วการตรวจสุขภาพจะมีล�ำดับขั้นตอน คือ
ขั้นตอนที่ 1 การประเมินหาความเสี่ยงต่างๆ จากการ
ซักประวัติ ทั้งประวัติครอบครัว กรรมพันธุ์ พฤติกรรม (เช่น
สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ไม่ออกก�ำลังกาย บริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม)
รวมทั้งอาชีพที่ท�ำ (เนื่องเพราะคนที่มีอาชีพต่างกัน เช่น
คนท�ำงานส�ำนักงาน คนท�ำงานโรงงาน เกษตรกร ย่อมมีความเสี่ยง
ต่อสุขภาพต่างกัน)
ขั้นตอนที่ 2 การตรวจร่างกายเบื้องต้น เช่น ชั่งน�้ำหนัก
วัดส่วนสูง วัดเส้นรอบเอว ความดันโลหิต ชีพจร และตรวจดู
ระบบต่างๆ ของร่างกาย เช่น ผิวหนัง ตา หู คอ ช่องปาก ปอด
หัวใจ ท้อง เป็นต้น
ขั้นตอนที่ 3 การตรวจทางห้องปฏิบัติการหรือห้องแล็บ
หากมีความจ�ำเป็น โดยน�ำข้อมูลที่ได้จากข้อ 1 และ 2
มาประเมินการตรวจเพิ่มเติม
27
9.ประชำชนสำมำร¶
ตรวจสุขภำพด้วยตัวเอง
หรือไม่ อย่ำงไร?
28 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน
ประชาชนทั่วไปสามารถตรวจสุขภาพง่ายๆ
ด้วยตัวเองได้ เช่น ชั่งน�้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดเส้นรอบเอว
วัดความดันโลหิต (ถ้ามีเครื่องวัด) การเช็กประวัติครอบครัว
ว่ามีโรคทางกรรมพันธุ์อะไรบ้าง (เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
ไขมันในเลือดสูง โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ อัมพาต อัมพฤกษ์
เป็นต้น) หรือตัวเองมีพฤติกรรมสุขภาพใดที่ไม่เหมาะสมบ้าง
(เช่น สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ไม่ออกก�ำลังกาย เป็นต้น)
ข้อส�ำคัญ คือ นอกเหนือจากการตรวจสุขภาพแล้ว
เราต้องรู้จักดูแลตัวเองด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ
ที่เหมาะสม เพราะจุดมุ่งหมายของการตรวจสุขภาพนั้น
ต้องการเน้นให้เราหันมาส่งเสริมสุขภาพตัวเอง ไม่มุ่งแต่พึ่งหมอ
อย่างเดียว
29
10. เมื่อทรำบผล
กำรตรวจสุขภำพแล้ว
ควรได้รับกำรดูแล
ต่อเนื่องอย่ำงไร?ต่อเนื่องอย่ำงไร?
30 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน
เมื่อทราบผลการตรวจสุขภาพ หากพบ
ความผิดปกติ ก็จ�ำเป็นต้องท�ำการตรวจเพิ่มเติมด้วยวิธีที่มี
ความแม่นย�ำมากขึ้นในการวินิจฉัยโรค ได้รับค�ำแนะน�ำและ
การดูแลที่ถูกต้องเหมาะสมและต่อเนื่องโดยแพทย์/บุคลากร
สาธารณสุข เพื่อการรักษาและควบคุมโรคไม่ให้ลุกลามหรือ
เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา
แต่ถ้าหากไม่พบความผิดปกติใดๆ ก็ไม่ควรประมาท
หรือปล่อยปละละเลยเรื่องสุขภาพ หากแต่ควรดูแลสุขภาพ
ของตัวเอง ลดละพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม (เช่น สูบบุหรี่
ดื่มสุรา) เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงของการเกิดโรค
31
11. กลุ่มหญิงมีครรภ
ควรได้รับกำรดูแล
อย่ำงไร?
32 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน
หญิงมีครรภ์ควรได้รับการดูแลจากแพทย์หรือ
บุคลากรสาธารณสุขตั้งแต่แรกที่ทราบหรือสงสัยว่าตั้งครรภ์
หรือตั้งแต่อายุครรภ์ 5 สัปดาห์ และควรไปตรวจตามนัด
เป็นระยะและปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำอย่างจริงจัง
โดยทั่วไป แพทย์/บุคลากรสาธารณสุขจะนัดให้หญิงมีครรภ์
มาตรวจสุขภาพที่คลินิกฝากครรภ์อย่างน้อย 5 ครั้ง เมื่อ
อายุครรภ์ 5-12, 13-18, 19-26, 27-32 และ 33-38 สัปดาห์
กล่าวโดยสังเขป การตรวจสุขภาพส�ำหรับหญิงมีครรภ์
ในแต่ละครั้งมีรายละเอียดและจุดเน้นที่ต่างกัน โดยรวมๆ
ประกอบด้วยกระบวนการ ดังต่อไปนี้
●	 การซักประวัติ : ข้อมูลส่วนบุคคลและสภาวะ
แวดล้อม ประวัติการเจ็บป่วย (โรค/ภาวะผิดปกติที่
เคยเป็น ประวัติการใช้ยาและการผ่าตัด ประวัติ
การให้เลือด ฯลฯ) ประวัติทางสูติกรรม (จ�ำนวนครั้ง
ที่เคยตั้งครรภ์ ประวัติการคลอด ภาวะแทรกซ้อน
ของการตั้งครรภ์และการคลอด ประวัติการเป็น
เบาหวานขณะตั้งครรภ์ ประวัติการตั้งครรภ์ใน
ปัจจุบัน ฯลฯ) พฤติกรรมสุขภาพ (การสูบบุหรี่
การดื่มสุรา การใช้ยาและสารเสพติด)
33
●	 การตรวจร่างกาย : ชั่งน�้าหนัก วัดส่วนสูง วัด
ความดันโลหิต ตรวจชีพจร ตรวจการหายใจ และ
ฟังเสียงหัวใจของหญิงมีครรภ์ ตรวจดูภาวะซีดและ
อาการผิดปกติอื่นๆ ตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน
ตรวจลักษณะหัวนมและลานนม เพื่อดูความพร้อม
ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
●	 การตรวจครรภ์ : ตรวจ
ภายใน วัดความสูงของยอด
มดลูก ฟังเสียงหัวใจทารก
●	 การประเมินสภาวะสุขภาพ
: ประเมินความเครียดและ
ภาวะซึมเศร้า ตรวจคัดกรอง
การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา การใช้ยา
และสารเสพติด
●	 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ตรวจเลือด (ตรวจ
หาหมู่เลือด ความเข้มข้นของเลือด คัดกรองโรค
เบาหวาน) ตรวจปัสสาวะ (ตรวจคัดกรองการติดเชื้อ
ในทางเดินปัสสาวะ สารโปรตีนในปัสสาวะ)
34 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน
●	 การตรวจคัดกรองการติดเชื้อ/ภาวะผิดปกติที่
ถ่ายทอดจากแม่สู่ลูก : ตรวจคัดกรองโรคธาลัสซีเมีย
(โรคโลหิตจางเนื่องจากการสร้างเม็ดเลือดแดง
ที่ผิดปกติ ซึ่งถ่ายทอดทางพันธุกรรม) การติดเชื้อ
ไวรัสตับอักเสบบี/เอชไอวี/ซิฟิลิส
●	 การตรวจอัลตราซาวด์ : เพื่อช่วยค�ำนวณอายุครรภ์
ครรภ์แฝด ภาวะพิการและความผิดปกติบางอย่าง
ของทารก
●	 การให้ยาเสริม : ยาโฟลิก ไอโอดีน ธาตุเหล็ก
บ�ำรุงเลือด แคลเซียม
●	 การให้วัคซีน : การป้องกันคอตีบ-บาดทะยัก
ไข้หวัดใหญ่
●	 การให้ความรู้ : เรื่องทันตสุขภาพ การใช้ยา
พัฒนาการของทารก โภชนาการ การออกก�ำลังกาย
การนวดกระชับความผูกพัน การดูแลสุขภาพแม่
และลูกในครรภ์ การเตรียมตัวก่อนคลอด การคลอด
และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
●	 การตรวจหลังคลอด : แนะน�ำให้มาตรวจหลังคลอด
เมื่อครบ 6 สัปดาห์
35
12. กลุ่มวัยเดçก
และวัยรุ่น
(0-18 ป‚)
ควรได้รับกำรตรวจ
สุขภำพอย่ำงไร?
36 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน
กล่าวโดยสังเขป การตรวจสุขภาพส�ำหรับ
กลุ่มวัยเด็กและวัยรุ่น โดยการนัดเด็กมาตรวจสุขภาพเป็นระยะ
เพื่อตรวจร่างกายทั่วไป ประเมินการเจริญเติบโต และติดตาม
เฝ้าระวังด้านพัฒนาการเป็นระยะๆ ตามแนวทางในคู่มือ
สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กเล่มสีชมพู ค้นหาและป้องกัน
ภาวะซีด ให้วัคซีนต่างๆ ตามก�ำหนดเวลา แนะน�ำการเลี้ยงดู
การส่งเสริมทักษะส�ำคัญและสุขนิสัยที่ดี การป้องกันอุบัติเหตุ
●	 อายุแรกเกิด–7 วัน หากคลอดที่โรงพยาบาล
นอกจากการตรวจร่างกายทั่วไปแล้ว แพทย์จะ
ประเมินภาวะตัวเหลือง เจาะเลือดตรวจคัดกรอง
ภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์ ให้วัคซีนบีซีจีป้องกัน
วัณโรค และวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี ให้
ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการเลี้ยงดู การกินนมแม่ และ
การป้องกันอุบัติเหตุ
●	 อายุ 0-6 เดือน ควรได้รับการตรวจประเมิน
การได้ยิน 1 ครั้ง
●	 อายุ 6-12 เดือน
-	 ควรได้รับการตรวจกับบุคลากรทางทันตกรรม
1 ครั้ง (กรณีที่ยังไม่ได้ตรวจ แนะน�ำให้ไปตรวจ
ภายในช่วง 1-2 ปี)
37
-	 ตรวจคัดกรองภาวะตาเหล่ ตาเข ภาวะข้อสะโพก
หลุด และความผิดปกติของอวัยวะเพศ
-	 ควรได้รับการตรวจวัดระดับความเข้มข้นเลือด
(ฮีมาโทคริต/ฮีโมโกลบิน) เพื่อคัดกรองภาวะซีดจาก
การขาดธาตุเหล็ก อย่างน้อย 1 ครั้ง
●	 อายุ 2-4 ปี ควรได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ
1 ครั้ง
●	 อายุ 3-6 ปี ควรได้รับการตรวจวัดความดันโลหิต
และวัดสายตา 1 ครั้ง และควรได้รับการตรวจวัด
ระดับความเข้มข้นเลือด (ฮีมาโทคริต/ฮีโมโกลบิน)
เพื่อคัดกรองภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็กอีก
1 ครั้ง
●	 อายุ 8, 10 ปี และช่วงอายุ 11-14, 15-18 ปี
ควรได้รับการตรวจวัดความดันโลหิตและวัดสายตา
ช่วงอายุละ 1 ครั้ง
●	 อายุ 11-18 ปี ส�ำหรับผู้หญิง ควรได้รับการตรวจ
วัดระดับความเข้มข้นเลือด (ฮีมาโทคริต/ฮีโมโกลบิน)
เพื่อคัดกรองภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็กอีก 1 ครั้ง
38 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
●	 วัยเรียน ควรได้รับการประเมินและค�าแนะน�า ด้าน
การเรียน ความรับผิดชอบ การเล่น การใช้เวลาว่าง
และการปรับตัวในโรงเรียน
●	 วัยรุ่น ควรได้รับการประเมินพฤติกรรมเสี่ยง (เพศ
บุหรี่ สุรา ยาเสพติด) และค�าแนะน�าเรื่องเพศศึกษา
ความปลอดภัยในการเดินทาง และสร้างเสริมความ
สัมพันธ์ที่ดีระหว่างพ่อแม่และวัยรุ่น
39
13. กำรตรวจสุขภำพ
พื้น°ำนในกลุ่มวัยท�ำงำน
และกลุ่มวัยผู้สูงอำยุ
มีอะไรบ้ำง
40 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน
●	 การซักประวัติ และการตรวจร่างกายทั่วไป (ควร
ตรวจร่างกายทั่วไปปีละครั้งเมื่อมีโอกาสไปหาหมอ
ด้วยเรื่องอื่น)
●	 การชั่งน�้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดเส้นรอบเอว วัดความดัน
โลหิตเป็นประจ�ำ อาจตรวจวัดเองที่บ้านหรือ
ที่สถานพยาบาลเมื่อมีโอกาสไปหาหมอด้วยเรื่องอื่น
(เช่น ไม่สบาย วางแผนครอบครัว ฉีดวัคซีน)
●	 การตรวจสุขภาพช่องปากและฟันจากทันตแพทย์
หรือทันตาภิบาลเป็นประจ�ำทุกปี ปีละ 1 ครั้ง
●	 การตรวจการได้ยินด้วยการใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้
ถูกันเบาๆ ห่างจากรูหูประมาณ 1 นิ้ว ปีละ 1 ครั้ง
●	 แบบประเมินสภาวะสุขภาพ:
-	 ความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด
-	 ภาวะซึมเศร้า
-	 การติดนิโคตินในผู้สูบบุหรี่ (ถ้าไม่สูบบุหรี่ไม่ต้อง
ประเมิน)
41
- การดื่มแอลกอฮอล์ (ถ้าไม่ดื่มแอลกอฮอล์ไม่ต้อง
ประเมิน)
- การใช้ยาและสารเสพติด (ถ้าไม่ใช้ยาและสารเสพติด
ไม่ต้องประเมิน)
42 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
14. กลุ่มวัยท�ำงำน
(18-60 ป‚)
ควรได้รับกำรตรวจ
สุขภำพอย่ำงไร?
43
กล่าวโดยสังเขป การตรวจสุขภาพส�ำหรับ
กลุ่มวัยท�ำงานทั้งหญิงและชาย นอกจากการตรวจสุขภาพ
พื้นฐาน (ในข้อ 13) แล้ว ยังประกอบด้วย
●	 การตรวจตา โดยทีมจักษุแพทย์ ตั้งแต่อายุ 40 ปี
ขึ้นไป ควรได้รับการตรวจวัดสายตาและตรวจ
คัดกรองโรคต้อหิน/ภาวะความดันลูกตาสูง/ความ
ผิดปกติอื่นๆ อย่างน้อย 1 ครั้ง
●	 การตรวจอุจจาระ (Fecal occult blood test)
ตั้งแต่อายุ 50 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจอุจจาระ
เพื่อคัดกรองมะเร็งล�ำไส้ใหญ่และล�ำไส้ตรง ปีละ
1 ครั้ง
●	 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ แนะน�ำให้ตรวจเลือดดู
(1)	 อายุ 20 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจระดับ
ไขมันในเลือดทุก 5 ปี
(2) อายุ 35 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจระดับ
น�้ำตาลในเลือดทุก 3 ปี
(3)	 ความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) ตรวจ 1 ครั้ง
หากเคยตรวจพบว่าปกติ ไม่ต้องตรวจซ�้ำ
(4)	 ไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg) ตรวจครั้งเดียว
เฉพาะคนที่เกิดก่อน พ.ศ. 2535
44 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
ส�าหรับสตรี นอกจากการตรวจดังกล่าวข้างต้นแล้ว
ควรตรวจเพิ่มเติม ได้แก่
●	 การตรวจเต้านม อายุ 30-39 ปี ควรได้รับการตรวจ
เต้านมทุก 3 ปี จากแพทย์หรือบุคลากรสาธารณสุข
ที่ได้รับการฝึกอบรม และอายุ 40 ปีขึ้นไป ควรได้
รับการตรวจทุกปี
●	 การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก อายุ 30 ปี
ขึ้นไป ควรได้รับการตรวจคัดกรองด้วยวิธีการเก็บ
เซลล์โดยวิธีพื้นฐาน (conventional pap smear)
ทุก 3 ปี หรือวิธีป้ายหาความผิดปกติโดยใช้กรด
อะซิติก (VIA) ทุก 5 ปี จนถึงอายุ 55 ปีขึ้นไป
ควรตรวจด้วยวิธีการเก็บเซลล์โดยวิธีพื้นฐาน
(conventional pap smear) แทน
45
15.กลุ่มวัยสูงอำยุ
(อำยุ 60 ป‚ขÖ้นไป)
ควรได้รับกำรตรวจ
สุขภำพอย่ำงไร?
46 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน
กล่าวโดยสังเขป การตรวจสุขภาพส�ำหรับ
กลุ่มวัยสูงอายุทั้งหญิงและชาย นอกจากการตรวจสุขภาพ
พื้นฐาน (ในข้อ 13) แล้ว ยังประกอบด้วย
●	 การตรวจตา โดยทีมจักษุแพทย์ อายุ 60-64 ปี
ควรได้รับการตรวจทุก 2-4 ปี และตั้งแต่อายุ 65 ปี
ขึ้นไป ควรได้รับการตรวจทุก 1-2 ปี
●	 การตรวจอุจจาระ (Fecal occult blood test)
ตั้งแต่อายุ 60 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจอุจจาระ
เพื่อคัดกรองมะเร็งล�ำไส้ใหญ่และล�ำไส้ตรงปีละ
1 ครั้ง
●	 การประเมินสภาวะสุขภาพ : ภาวะโภชนาการ
ความเสี่ยงภาวะกระดูกพรุน การท�ำกิจวัตรประจ�ำ
วันพื้นฐาน และอายุ 65 ปีขึ้นไป ควรได้รับประเมิน
สมรรถภาพสมองเพิ่มเติม
●	 การตรวจทางห้องปฏิบัติการ แนะน�ำให้ตรวจ
(1)	 ระดับไขมันในเลือดทุก 5 ปี
(2)	 ระดับน�้ำตาลในเลือดทุกปี
(3)	 ระดับครีอะทินีน (creatinine) ในเลือดทุกปี
เพื่อประเมินภาวะการท�ำงานของไต
47
(4) ปัสสาวะทุกปี
(5) อายุ 70 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจความ
สมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) ทุกปี
ส�าหรับสตรี นอกจากการตรวจดังกล่าวข้างต้นแล้ว
ควรตรวจเพิ่มเติม ได้แก่
●	 การตรวจเต้านม อายุ 60-69 ปี ควรได้รับการตรวจ
เต้านมทุกปี จากแพทย์หรือบุคลากรสาธารณสุข
ที่ได้รับการฝึกอบรม และอายุตั้งแต่ 70 ปีขึ้นไป
ควรตรวจตามความเหมาะสม
●	 การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก อายุ 60-64 ปี
ควรได้รับการตรวจคัดกรองด้วยวิธีการเก็บเซลล์โดย
วิธีพื้นฐาน (conventional pap smear) ทุก 3 ปี
และอายุ 65 ปีขึ้นไป ควรตรวจตามความเหมาะสม
48 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
16.กำรตรวจวัด
ควำมดันโลหิต
ระดับน�้ำตำล
และไขมันในเลือด
มีควำมส�ำคัญอย่ำงไร?
และควรเริ่มตรวจเมื่อไร?
49
เนื่องจากโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และ
ไขมันในเลือดสูงหรือผิดปกติ ส่วนใหญ่มักไม่แสดงอาการ ผู้ที่
เป็นโรคกลุ่มนี้จะรู้สึกแข็งแรงสบายดี หากปล่อยปละละเลย
ด้วยความไม่รู้นาน 5-10 ปีขึ้นไป ก็อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน
เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ อัมพฤกษ์ อัมพาต ไตเสื่อม ตามัว
ตาบอด เป็นต้น จึงจ�ำเป็นต้องมีการตรวจคัดกรองโรคกลุ่มนี้
ด้วยการตรวจวัดความดันโลหิต ระดับน�้ำตาลและไขมันในเลือด
ในคนปกติทั่วไป เพื่อค้นหาโรคที่ซ่อนเร้นอยู่ในตัว และได้รับ
การดูแลรักษาเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าว
●	 อายุ 3-6 ปี ควรได้รับการตรวจวัดความดันโลหิต
อย่างน้อย 1 ครั้ง และวัดซ�้ำเมื่ออายุ 8, 10 ปี และ
ช่วงอายุ 11-14, 15-18 ปี
●	 อายุ 18 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจวัดความดัน
โลหิต อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
●	 อายุ 20 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจระดับไขมัน
ในเลือดทุก 5 ปี
●	 อายุ 35 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจระดับน�้ำตาล
ในเลือดทุก 3 ปี และเมื่ออายุ 60 ปีขึ้นไป ควรได้รับ
การตรวจทุกปี
50 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
17. กำรตรวจสุขภำพ
ช่องปำก ตำ และหู
มีควำมส�ำคัญอย่ำงไร
และควรเริ่มตรวจ
เมื่อไหร่?
51
17.1 สุขภาพช่องปากสุขภาพช่องปาก
ที่ไม่ดี เช่น โรคฟันและเหงือก การติดเชื้อในช่องปากยังอาจ
ส่งผลให้เกิดการแพร่เชื้อไปส่วนอื่นๆ ของร่างกาย เช่น ปอด
อักเสบ โรคหัวใจ ได้อีกด้วย
●	 อายุ 6 เดือนหรือฟันซี่แรกขึ้น เริ่มตรวจสุขภาพ
ช่องปาก โดยทันตแพทย์หรือทันตาภิบาลเรื่องฟันผุ
แผ่นคราบฟัน สีของฟัน สุขภาพเหงือกและภาวะ
เหงือกอักเสบหรือไม่
●	 ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ควรได้รับการตรวจสุขภาพ
ช่องปากและฟันเป็นประจ�ำทุกปี ปีละ 1 ครั้ง
17.2 ตาและการมองเห็น ในเด็กเล็กอาจมีความ
ผิดปกติของตาที่พ่อแม่อาจไม่ได้สังเกต หากปล่อยปละละเลย
อาจท�ำให้สายตาพิการได้ ในเด็กโตอาจมีปัญหาสายตาสั้น
สายตายาว หรือสายตาเอียง ส่งผลต่อการเรียนได้ ส่วนผู้ใหญ่
ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป อาจมีปัญหาสายตายาว ซึ่งจ�ำเป็นต้อง
ใส่แว่นตาเวลาอ่านหนังสือหรือท�ำงานที่ต้องใช้สายตาในระยะ
ใกล้ตา และอาจมีความดันลูกตาสูงซ่อนเร้น ซึ่งอาจกลายเป็น
โรคต้อหินท�ำให้สายตาพิการได้
●	 อายุ 6 เดือนขึ้นไป ควรได้รับการตรวจตา ดูตาเหล่
ตาเข
52 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน
●	 อายุ 3-6 ปี ควรได้รับการตรวจวัดสายตาอย่างน้อย
1 ครั้ง และติดตามเป็นระยะที่อายุ 8, 10 ปี และ
ช่วงอายุ 11-14, 15-18 ปี ช่วงอายุละ 1 ครั้ง
●	 อายุ 40 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจตาโดยทีม
จักษุแพทย์อย่างน้อย 1 ครั้ง
17.3 การได้ยิน ในทุกกลุ่มอายุตั้งแต่แรกเกิด อาจมี
ความผิดปกติของการได้ยินซ่อนเร้นอยู่โดยผู้ที่มีความผิดปกติ
ไม่ได้สังเกต ท�ำให้มีผลต่อพัฒนาการ การสื่อสาร การเรียน
การท�ำงาน และการเข้าสังคมได้
●	 อายุ 0-6 เดือน ควรได้รับการตรวจการได้ยิน 1 ครั้ง
●	 อายุ 3 ปีขึ้นไป ควรได้รับการทดสอบการได้ยินโดย
วิธีการใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ถูกันเบาๆ ห่างจาก
รูหูประมาณ 1 นิ้ว ปีละ 1 ครั้ง
53
18.ในกำรตรวจสุขภำพ
จ�ำเป็นต้องตรวจป˜สสำวะ
หรือไม่
อย่ำงไร?
54 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
●	 อายุ 60 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจปัสสาวะปีละ
1 ครั้ง เพื่อตรวจคัดกรองหาความผิดปกติของระบบ
ทางเดินปัสสาวะที่แฝงอยู่
●	 ประชาชนทั่วไปที่ไม่มีอาการผิดปกติอะไร ไม่มีความ
จ�าเป็นต้องตรวจปัสสาวะ ยกเว้นผู้ที่เป็นโรคเรื้อรัง
เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
55
19. ในกำรตรวจสุขภำพ
จ�ำเป็นต้องตรวจ
อุจจำระหรือไม่
อย่ำงไร?
●		 อายุ 50 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจอุจจาระ
(Fecal occult blood test) เพื่อตรวจคัดกรอง
มะเร็งล�าไส้ใหญ่และล�าไส้ตรง ปีละ 1 ครั้ง
56 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
20.
กำรตรวจคัดกรอง
โรคมะเรçง
มีควำมจ�ำเป็น
ในกร³ีใดบ้ำง?
57
ปัจจุบันทางการแพทย์ในประเทศไทยมีความเห็นว่า
มีมะเร็ง 3 ชนิด ที่มีความจ�ำเป็นในการตรวจคัดกรองค้นหาโรค
ตั้งแต่ในระยะแรกๆ ส�ำหรับคนทั่วไปที่ไม่มีอาการ ดังนี้
●	 มะเร็งปากมดลูก สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป ควรได้รับ
การตรวจคัดกรองเพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี
การเก็บเซลล์โดยวิธีพื้นฐาน (conventional pap
smear) ทุก 3 ปี หรือ วิธีป้ายหาความผิดปกติโดย
ใช้กรดอะซิติก (VIA) ทุก 5 ปี จนถึงอายุ 55 ปีขึ้นไป
แล้วตรวจด้วยวิธีการเก็บเซลล์โดยวิธีพื้นฐาน
(conventional pap smear) แทน
●	 มะเร็งเต้านม สตรีอายุ 30-39 ปี ควรได้รับ
การตรวจเต้านมทุก 3 ปี โดยแพทย์หรือบุคลากร
สาธารณสุขที่ได้รับการฝึกอบรม และอายุ 40 ปีขึ้นไป
ควรได้รับการตรวจเต้านมทุกปี
	 	 ส่วนการตรวจด้วยการถ่ายภาพรังสีเต้านม หรือ
แมมโมแกรม (mammogram) ควรเป็นดุลพินิจของ
แพทย์พิจารณาตามความเหมาะสมเป็นรายบุคคล
58 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
●	 มะเร็งล�าไส้ใหญ่และล�าไส้ตรง อายุ 50 ปีขึ้นไป
ควรได้รับการตรวจอุจจาระ (Fecal occult blood
test) ปีละ 1 ครั้ง เพื่อคัดกรองมะเร็งล�าไส้ใหญ่และ
ล�าไส้ตรง
ส่วนการตรวจด้วยวิธีการส่องกล้องตรวจ
ล�าไส้ใหญ่ (colonoscopy) นั้น ควรเป็นดุลพินิจของ
แพทย์พิจารณาตามความเหมาะสมเป็นรายบุคคลแพทย์พิจารณาตามความเหมาะสมเป็นรายบุคคล
59
แนะน�าให้ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป พบแพทย์
หรือบุคลากรสาธารณสุข เพื่อท�าการประเมินความเสี่ยงของ
ภาวะกระดูกพรุนด้วยการใช้แบบประเมินภาวะกระดูกพรุน
21. กำรตรวจคัดกรอง
ภำวะกระดูกพรุน
มีควำมจ�ำเป็น
ในกร³ีใด?
60 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
22.
กำรตรวจสุขภำพ
ที่ไม่แนะน�ำหรือ
ไม่จ�ำเป็นมีอะไรบ้ำง?
1. กำรตรวจสุขภำพ
ด้วยกำร¶่ำยภำพรังสี
(เอก«เรย) ปอด
2. กำรตรวจคัดกรองโรค
มะเรçงต่อมลูกหมำก
ด้วยกำรตรวจระดับ
สำรพีเอสเอในเลือด
3. กำรตรวจระดับกรด
ยูริกในเลือดในคน
ป ก ติ ทั่ ว ไ ป ไ ม่ มี
ประโยชน
ÏลÏ
61
เท่าที่มีหลักฐานทางวิชาการในปัจจุบัน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ไม่แนะน�ำหรือไม่จ�ำเป็นมีดังต่อไปนี้
22.1 การตรวจสุขภาพด้วยการถ่ายภาพรังสี
(เอกซเรย์) ปอด
ที่ผ่านมานิยมตรวจเอกซเรย์ปอดในการตรวจสุขภาพ
ผู้ที่เข้าเรียนหรือเข้าท�ำงานใหม่ที่ไม่มีอาการไม่สบายแต่อย่างใด
ซึ่งมุ่งเน้นไปที่การตรวจหาวัณโรคปอด และในช่วงหลังก็มีการ
เอกซเรย์ เพื่อตรวจหามะเร็งปอด โดยเฉพาะอย่างยิ่งส�ำหรับ
ผู้ที่สูบบุหรี่จัด
มีหลักฐานในทางวิชาการ พบว่าการเอกซเรย์ปอดเพื่อ
ตรวจสุขภาพในคนปกติทั่วไปนั้น ไม่มีประโยชน์ในการตรวจ
คัดกรองหาวัณโรคปอดและมะเร็งปอด
การเอกซเรย์ปอดในคนที่แข็งแรงดี ไม่มีอาการอะไร
นอกจากจะตรวจพบโรคได้น้อยมากแล้ว ยังให้ผลบวกลวงสูง
คือ ให้ผลบอกว่าเป็นวัณโรคทั้งที่ความจริงไม่ได้เป็น ท�ำให้ผู้ที่
รับการตรวจเกิดความวิตกกังวล และสิ้นเปลืองในการต้อง
ท�ำการตรวจยืนยันเพิ่มเติม
อ
?
62 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน
ส�ำหรับการเอกซเรย์ตรวจหามะเร็งปอดในคนปกติ
ทั่วไป ให้ประโยชน์ที่ไม่คุ้มค่า เพราะหากตรวจเอกซเรย์พบ
ก็มักจะเป็นมะเร็งปอดในระยะท้ายๆ ไม่เกิดประโยชน์ในการ
รักษาในการลดอัตราการเสียชีวิต เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับ
การตรวจคัดกรองด้วยการเอกซเรย์ปอด
ดังนั้น การเอกซเรย์ปอดจึงควรท�ำในกรณีที่มีความ
จ�ำเป็นเท่านั้น เช่น ในคนที่ไอเรื้อรัง เจ็บหน้าอก หรือมีอาการ
ที่สงสัยว่าป่วยเป็นวัณโรคหรือมะเร็งปอด
คนทั่วไปควรหลีกเลี่ยงการเอกซเรย์ปอดโดยไม่จ�ำเป็น
นอกจากไม่ได้ประโยชน์แล้ว ยังเพิ่มความเสี่ยงจากการได้รับ
รังสี ซึ่งหากมีการสัมผัสรังสีบ่อยๆ ก็อาจก่อให้เกิดมะเร็งได้
22.2 การตรวจคัดกรองโรคมะเร็งต่อมลูกหมากด้วย
การตรวจระดับสารพีเอสเอในเลือด
จากหลักฐานการศึกษาในต่างประเทศพบว่า การตรวจ
คัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมากด้วยการตรวจระดับสารพีเอสเอ
(PSA - ซึ่งเป็นสารส่อมะเร็งต่อมลูกหมาก) ในเลือดในคนที่ยัง
สบายดี ไม่มีอาการนั้น ไม่มีประโยชน์ คือไม่ได้ช่วยลดอัตรา
การเสียชีวิตเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับการตรวจคัดกรอง
63
นอกจากนี้ การตรวจด้วยวิธีนี้ยังให้ผลบวกลวงสูง คือ ผลการ
ตรวจเป็นบวกอาจเกิดจากสาเหตุที่ไม่ร้ายแรง (เช่น ต่อม
ลูกหมากโต) ไม่จ�ำเป็นต้องเกิดจากมะเร็งต่อมลูกหมากเสมอไป
แต่เมื่อตรวจพบผลเป็นบวก แพทย์จ�ำเป็นต้องท�ำการตรวจ
เพิ่มเติมด้วยวิธีที่ซับซ้อน (เช่น การตัดชิ้นเนื้อพิสูจน์) ต่อไป
ซึ่งอาจท�ำให้เกิดผลข้างเคียงที่อาจมีอันตราย (เช่น เลือดออก
ติดเชื้อ) ตามมาได้
ดังนั้น ในปัจจุบันจึงไม่แนะน�ำให้ผู้ชายที่ยังไม่มีอาการ
ของต่อมลูกหมากโตรับการตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมาก
ด้วยการตรวจระดับสารพีเอสเอในเลือด แต่แพทย์จะพิจารณา
ตรวจสารนี้ส�ำหรับผู้ที่มีอาการปัสสาวะล�ำบากหรือไม่คล่องจาก
ภาวะต่อมลูกหมากโต ซึ่งสงสัยว่าอาจเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก
22.3 การตรวจระดับกรดยูริกในเลือด ในคนปกติ
ทั่วไปไม่มีประโยชน์
เนื่องเพราะแม้จะตรวจพบมีระดับกรดยูริกในเลือดสูง
โดยที่ไม่มีอาการ ส่วนใหญ่จะไม่กลายเป็น โรคเกาต์ (มีอาการ
ปวดข้อ ข้ออักเสบ ข้อพิการ) หรือนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
นอกจากนี้ บางคนที่มีภาวะยูริกในเลือดสูงอาจได้รับยาลด
กรดยูริก – ยาอัลโลพูรินอล (allopurinol) เกินจ�ำเป็น ซึ่งมี
64 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน
ความเสี่ยงต่อการแพ้ยารุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ ดังนั้น จึงไม่
แนะน�ำให้ตรวจกรดยูริกในเลือดส�ำหรับคนปกติทั่วไป แต่จะ
ตรวจส�ำหรับผู้ที่มีอาการที่สงสัยว่าเป็นโรคเกาต์
22.4 การตรวจระดับบียูเอ็น (BUN) ในเลือด ไม่มี
ประโยชน์ในการตรวจคัดกรองภาวะไตเสื่อม
การตรวจคัดกรองภาวะไตเสื่อมในคนปกติทั่วไป
แนะน�ำให้ท�ำการตรวจระดับครีอะทินีน (creatinine) ในเลือด
ทุกปี ส�ำหรับผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป
22.5 การตรวจเอนไซม์ตับดูความผิดปกติของตับ
จากข้อมูลในปัจจุบันยังไม่พบประโยชน์ในการตรวจ
คัดกรองความผิดปกติของตับด้วยการตรวจระดับเอนไซม์ตับ
ในเลือด (ได้แก่ SGOT, SGPT และ ALP) ส�ำหรับคนปกติทั่วไป
22.6 การตรวจระดับไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride)
ในเลือด ส�ำหรับการประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและ
หลอดเลือดนั้นมีประโยชน์น้อยมาก
65
การตรวจที่มีประโยชน์ คือ ระดับคอเลสเตอรอลรวม
(total cholesterol) แอลดีแอล (LDL cholesterol) และ
เอชดีแอล (HDL cholesterol) ซึ่งสามารถน�ำมาค�ำนวณค่า
“คอเลสเตอรอลที่หักแอลดีแอล (non–HDL cholesterol)”
ทางการแพทย์พบว่าไตรกลีเซอไรด์มีประโยชน์ต่อการประเมิน
ความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มจาก “คอเลสเตอ-
รอลที่หักแอลดีแอล” น้อยมาก
22.7 การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) ไม่แนะน�ำให้
ตรวจคัดกรองโรคหัวใจในคนปกติทั่วไปที่ไม่มีอาการและไม่มี
โรคเรื้อรังประจ�ำตัว (เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) เนื่อง
เพราะมี “ผลบวกลวง” (ผลการตรวจบอกว่าผิดปกติ/เป็นโรค
ทั้งที่ความจริงไม่มีความผิดปกติ/ไม่เป็นโรค) และ “ผลลบลวง”
(ผลการตรวจบอกว่าปกติ/ไม่เป็นโรคทั้งที่ความจริงมีความ
ผิดปกติ/เป็นโรค) ค่อนข้างสูง
66 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
แพทย์จะท�าการตรวจคลื่นหัวใจส�าหรับผู้ที่เป็นโรค
เรื้อรัง (ที่ส�าคัญ คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) หรือมีอาการ
สงสัยเป็นโรคหัวใจ
22.8 การตรวจสารบ่งชี้มะเร็ง (tumor markers)
ในเลือด อาทิ
●	 สารซีอีเอ (CEA, carcinoembryonic antigen)
เพราะให้ผลบวกลวงสูง ทางแพทย์จะใช้ในการ
ติดตามผลการรักษาและการกลับเป็นซ�้าของโรค
มะเร็งล�าไส้ใหญ่และล�าไส้ตรง
●	 สารเอเอฟพี (AFP, alpha - fetoprotein) ทาง
แพทย์จะใช้ตรวจส�าหรับผู้มีความเสี่ยงต่อการเกิด
มะเร็งตับ เช่น เป็นโรคตับอักเสบเรื้อรัง หรือเป็น
พาหะของไวรัสตับอักเสบบีหรือซี ไม่แนะน�าให้
ตรวจคัดกรองมะเร็งตับส�าหรับคนปกติทั่วไปตรวจคัดกรองมะเร็งตับส�าหรับคนปกติทั่วไป
67
ภำคผนวก
กร³ีตัวอย่ำงกำรตรวจสุขภำพ
ส�ำหรับกลุ่มคนปกติทั่วไป
ที่ไม่มีอำกำร
68 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
กรณีที่ 1 หญิงอายุ 16 ปี มีสุขภาพแข็งแรงดี
ไม่มีอาการผิดปกติอะไร ควรได้รับการตรวจ
สุขภาพอย่างไร?
ค�าตอบ การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสม
ส�าหรับกรณีนี้ ได้แก่
●	 การทบทวนความเจ็บป่วยที่ผ่านมา การเรียน การ
ด�าเนินชีวิต การคบเพื่อน ความสัมพันธ์กับพ่อแม่
พี่น้องและครู สอบถามอาการตามระบบ การเจริญ
เติบโตและพัฒนาการตามวัย การเปลี่ยนแปลงของ
ร่างกาย ความคิด จิตใจ และการเปลี่ยนแปลง
ในครอบครัว สอบถามพฤติกรรมสุขภาพ เช่น
อาหารการกิน การออกก�าลังกาย การบริโภคสุรา
ยาสูบ สารเสพติด การติดเกม พฤติกรรมทางเพศ
พฤติกรรมที่ชอบใช้ความรุนแรง เป็นต้น
69
●	 การชั่งน�้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต
●	 การตรวจร่างกายตามระบบ และประเมินความเป็น
สาว ดูร่องรอยสิว รอยสัก รอยเจาะ ร่องรอยการถูก
ท�ำร้าย รอยด�ำด้านหลังคอในเด็กที่อ้วน (มีความ
เสี่ยงการเป็นโรคเบาหวาน)
●	 การตรวจค่าความเข้มข้นเลือด (ฮีโมโกลบิน)
●	 การดูการเปลี่ยนแปลงเมื่อย่างเข้าสู่วัยรุ่น
●	 การตรวจวัดสายตาด้วยแผ่นสเนลเลน (Snellen
chart)
●	 การตรวจการได้ยินโดยใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ถูกัน
เบาๆ ห่างจากหูประมาณ 1 นิ้ว
●	 การทบทวนประวัติการให้วัคซีน และให้วัคซีนเสริม
ตามความจ�ำเป็น
●	 การให้ค�ำแนะน�ำเรื่องสุขนิสัยและพฤติกรรมสุขภาพ
และการลดพฤติกรรมเสี่ยง
สมมุติตรวจแล้วพบว่า
1. มีภาวะน�้ำหนักเกิน หมอก็จะแนะน�ำให้ควบคุม
อาหารและออกก�ำลังกายมากขึ้น แล้วติดตามผลเป็นระยะ
70 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน
2. วัคซีนป้องกันบาดทะยักเข็มสุดท้ายฉีดมานานเกิน
10 ปี หมอก็จะฉีดวัคซีนชนิดนี้กระตุ้น 1 เข็ม
3. ค่าความเข้มข้นเลือด ต�่ากว่าปกติเล็กน้อย หมอจะ
แนะน�าให้กินอาหารที่มีธาตุเหล็กมากขึ้น และติดตามผลเป็น
ระยะ
กรณีที่ 2 หญิงอายุ 42 ปี แต่งงานแล้ว มีบุตร
ชาย 2 คน มีอาชีพเปนครูสอนหนังสือ สุขภาพ
แข็งแรงดี ควรได้รับตรวจสุขภาพอย่างไร?
ค�าตอบ การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสม
ส�าหรับกรณีนี้ ได้แก่
●	 การซักประวัติ : โรค/ความผิดปกติที่เคยเป็น การ
รักษาพยาบาลที่เคยได้รับ ประวัติการฉีดวัคซีน
บาดทะยักเข็มสุดท้าย ประวัติประจ�าเดือน
71
พฤติกรรมสุขภาพ (การบริโภคอาหาร การออกก�ำลัง
กาย การจัดการกับความเครียด การสูบบุหรี่ การดื่ม
สุรา) ประวัติครอบครัว การท�ำงานและสภาวะ
แวดล้อม งานอดิเรก เป็นต้น
●	 การตรวจร่างกายทั่วไป ชั่งน�้ำหนัก วัดส่วนสูง
วัดเส้นรอบเอว ตรวจวัดความดันโลหิตและชีพจร
●	 แบบประเมินสภาวะสุขภาพ ความเสี่ยงโรคหัวใจ
และหลอดเลือด และภาวะซึมเศร้า
●	 การตรวจช่องปากและฟันจากทันตแพทย์หรือ
ทันตาภิบาล ถ้าไม่ได้ตรวจมานานเกิน 6 เดือน
●	 การได้ยินด้วยการใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ถูกันเบาๆ
ห่างจากรูหูประมาณ 1 นิ้ว ถ้าไม่ได้ตรวจมานาน
เกิน 1 ปี
●	 การตรวจตาโดยทีมจักษุแพทย์ ถ้าไม่เคยตรวจ
มาก่อน
●	 การตรวจเต้านม โดยแพทย์หรือบุคลากรสาธารณสุข
ที่ได้รับการฝึกอบรม ถ้าไม่ได้ตรวจมานานเกิน 1 ปี
72 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน
●	 การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีการเก็บ
เซลล์โดยวิธีพื้นฐาน (conventional pap smear)
ถ้าไม่ได้ตรวจมานานเกิน 3 ปี หรือวิธีป้ายหาความ
ผิดปกติโดยใช้กรดอะซิติก (VIA) ถ้าไม่ได้ตรวจมา
นานเกิน 5 ปี
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
(1)	 ระดับไขมันในเลือด ถ้าไม่ได้ตรวจมานานเกิน 5 ปี
(2)	 ระดับน�้ำตาลในเลือด ถ้าไม่ได้ตรวจมานานเกิน
3 ปี
(3)	 ความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) ถ้าไม่เคยตรวจ
มาก่อน
(4)	 ไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg) ถ้าไม่เคยตรวจมาก่อน
สมมุติตรวจแล้วพบว่า
1.	มีน�้ำหนักเกินและลงพุง หมอจะแนะน�ำให้ควบคุม
อาหารและออกก�ำลังกายมากขึ้น และนัดมาติดตามผลเป็น
ระยะ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ

More Related Content

What's hot

12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
Suradet Sriangkoon
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
Sakarin Habusaya
 
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
Ballista Pg
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
pueniiz
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
Dbeat Dong
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
Utai Sukviwatsirikul
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
nhs0
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวานjinchuta7
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
noppadolbunnum
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
Kanti Bkk
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Aphisit Aunbusdumberdor
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.pptสอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
พรพจน์ แสงแก้ว
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
Utai Sukviwatsirikul
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
Chutchavarn Wongsaree
 

What's hot (20)

Ppt.DLP
Ppt.DLPPpt.DLP
Ppt.DLP
 
12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน12 กิจกรรมทบทวน
12 กิจกรรมทบทวน
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
ทันตสุขภาพผู้สูงอายุ
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
 
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชนวิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
วิธีการดูแลเท้าในผู้ป่วยเบาหวานในชุมชน
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
โรคเบาหวาน
โรคเบาหวานโรคเบาหวาน
โรคเบาหวาน
 
โภชนบำบัด
โภชนบำบัดโภชนบำบัด
โภชนบำบัด
 
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวชเรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
เรื่องที่ 1 การประเมินทางจิตเวช
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
สอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.pptสอนยาเสพติด.ppt
สอนยาเสพติด.ppt
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 

Similar to ความรู้การตรวจสุขภาพ

แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
Vorawut Wongumpornpinit
 
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
karan boobpahom
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตsivapong klongpanich
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
Utai Sukviwatsirikul
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรtaem
 
CPG warfarin use Thailand
CPG warfarin use ThailandCPG warfarin use Thailand
CPG warfarin use Thailand
Thorsang Chayovan
 
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic strokeClinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Utai Sukviwatsirikul
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
DMS Library
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
guestd1493f
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5taem
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
Surasak Tumthong
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
Utai Sukviwatsirikul
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Utai Sukviwatsirikul
 
Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560
Utai Sukviwatsirikul
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
taem
 
Dm thai guideline
Dm thai guidelineDm thai guideline
Dm thai guideline
Nittida Pattarateerakun
 

Similar to ความรู้การตรวจสุขภาพ (20)

แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14ประชุมวิชาการครั้งที่14
ประชุมวิชาการครั้งที่14
 
คู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสตคู่มือให้บริการ รพสต
คู่มือให้บริการ รพสต
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
แนวทางเวชปฏิบัติสำหรับโรคเบาหวาน 2557
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
CPG warfarin use Thailand
CPG warfarin use ThailandCPG warfarin use Thailand
CPG warfarin use Thailand
 
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
Clinical Practice Guidelines for Hemorrhagic Stroke 2013
 
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic strokeClinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัยพัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
พัฒนาระบบดูแลผู้สูงวัย
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทยโครงสร้างสาธารณสุขไทย
โครงสร้างสาธารณสุขไทย
 
Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy Clinical practice guidelines for epilepsy
Clinical practice guidelines for epilepsy
 
Rdu book
Rdu bookRdu book
Rdu book
 
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU PharmacyRational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
Rational Drug Use in Community Pharmacy: RDU Pharmacy
 
Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560Rdu drug store 2560
Rdu drug store 2560
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
Dm thai guideline
Dm thai guidelineDm thai guideline
Dm thai guideline
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
Utai Sukviwatsirikul
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
Utai Sukviwatsirikul
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
Utai Sukviwatsirikul
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Utai Sukviwatsirikul
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
Utai Sukviwatsirikul
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Utai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
Utai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
Utai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

ความรู้การตรวจสุขภาพ

  • 3. 2 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน ชุดควำมรู้ กำรตรวจสุขภำพที่จ�ำเป็นและเหมำะสม ส�ำหรับประชำชน ISBN 978-974-422-821-5 บรรณาธิการ แพทย์หญิงจิตสุดา บัวขาว ศาสตราจารย์คลินิกแพทย์หญิงวินัดดา ปิยะศิลป์ รองศาสตราจารย์เอกชัย โควาวิสารัช นายแพทย์อรรถสิทธิ์ ศรีสุบัติ จัดพิมพ์และเผยแพร่ สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ถ.ติวานนท์ อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทรศัพท์ 0 2590 6395 โทรสาร 0 2965 9844 www.dms.moph.go.th/imrta พิมพ์ครั้งที่ 1 ธันวาคม 2559 จ�านวน 28,000 เล่ม ออกแบบ/จัดพิมพ์ ส�านักพิมพ์หมอชาวบ้าน
  • 5. 4 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน ค�ำน�ำ การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมเป็นพื้นฐานส�ำคัญ ของระบบสาธารณสุข ในการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค รวม ทั้งช่วยให้สามารถตรวจพบอาการผิดปกติต่างๆ ในระยะเริ่มต้น ซึ่งจะ เป็นประโยชน์ในการรักษาให้ได้ผลดี ลดความรุนแรงและภาวะ แทรกซ้อนต่างๆ อย่างไรก็ตาม การตรวจสุขภาพที่เกินจ�ำเป็นและ ไม่สมเหตุผล ก่อให้เกิดผลกระทบในทางลบต่อสุขภาพกายและใจ อาทิ การรักษาที่ไม่จ�ำเป็น ความวิตกกังวล นอกจากนี้ยังส่งผลกระทบต่อ เศรษฐกิจและสังคม ในขณะเดียวกันประชาชนบางส่วนยังไม่ได้รับ การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็น เนื่องจากขาดความรู้ ความเข้าใจ หรือ เข้าไม่ถึงบริการ ท�ำให้เสียโอกาสในการรักษาอย่างทันท่วงที ดังนั้น เพื่อส่งเสริมสนับสนุนให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถเข้าถึงการบริการการตรวจสุขภาพได้ อย่างถูกต้องและเหมาะสมตามกลุ่มวัย กรมการแพทย์จึงร่วมกับ ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) จัดท�ำ ชุดความรู้ด้านการตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับ ประชาชน โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ประชาชน มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนักในการดูแลสุขภาพตนเองที่ถูกต้อง ขอขอบคุณ คณะกรรมการพัฒนาการตรวจสุขภาพที่ จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน กระทรวงสาธารณสุข และ ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนที่สนับสนุนและร่วมด�ำเนินการจัดท�ำ ชุดความรู้ด้านการตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับ ประชาชนฉบับนี้ กรมการแพทย์หวังเป็นอย่างยิ่งว่าชุดความรู้นี้จะเป็น ประโยชน์ต่อผู้อ่านและน�ำไปสู่การดูแลสุขภาพอย่างเหมาะสมต่อไป นายแพทย์ธีรพล โตพันธานนท์ อธิบดีกรมการแพทย์
  • 6. 5 สารบัญ 1. การตรวจสุขภาพ คืออะไร?...........................................8 2. ท�ำไมต้องมีการตรวจสุขภาพ?......................................10 3. การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสม เป็นอย่างไร?................................................................13 4. ใครบ้างที่ควรรับการตรวจสุขภาพ?.............................15 5. การตรวจสุขภาพแบบเหมารวม หรือตามแพ็กเกจ ดีไหม?.............................................17 6. การตรวจสุขภาพยิ่งบ่อยยิ่งดี ใช่หรือไม่?.....................19 7. การตรวจสุขภาพมีประโยชน์และโทษอย่างไร?............21 8. การตรวจสุขภาพมีขั้นตอนอย่างไร?.............................25 9. ประชาชนสามารถตรวจสุขภาพด้วยตัวเอง หรือไม่ อย่างไร?..........................................................27 10. เมื่อทราบผลการตรวจสุขภาพแล้ว ควรได้รับการดูแลต่อเนื่องอย่างไร?.............................29 11. กลุ่มหญิงมีครรภ์ควรได้รับการดูแลอย่างไร?................31 12. กลุ่มวัยเด็กและวัยรุ่น (0-18 ปี) ควรได้รับการตรวจสุขภาพอย่างไร?.............................35 13. การตรวจสุขภาพพื้นฐานในกลุ่มวัยท�ำงาน และกลุ่มวัยผู้สูงอายุมีอะไรบ้าง....................................39 14. กลุ่มวัยท�ำงาน (18-60 ปี) ควรได้รับการตรวจสุขภาพอย่างไร?.............................42
  • 7. 6 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน สารบัญ 15. กลุ่มวัยสูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) ควรได้รับการตรวจสุขภาพอย่างไร?.............................45 16. การตรวจวัดความดันโลหิต ระดับน�้ำตาล และไขมันในเลือดมีความส�ำคัญอย่างไร? และควรเริ่มตรวจเมื่อไร?.............................................48 17. การตรวจสุขภาพช่องปาก ตา และหู มีความส�ำคัญอย่างไร และควรเริ่มตรวจเมื่อไหร่?........50 18. ในการตรวจสุขภาพจ�ำเป็นต้องตรวจ ปัสสาวะหรือไม่ อย่างไร?.............................................53 19. ในการตรวจสุขภาพจ�ำเป็นต้องตรวจ อุจจาระหรือไม่ อย่างไร?.............................................55 20. การตรวจคัดกรองโรคมะเร็ง มีความจ�ำเป็นในกรณีใดบ้าง?......................................56 21. การตรวจคัดกรองภาวะกระดูกพรุน มีความจ�ำเป็นในกรณีใด?.............................................59 22. การตรวจสุขภาพที่ไม่แนะน�ำหรือไม่จ�ำเป็น มีอะไรบ้าง?..................................................................60 ภาคผนวก กรณีตัวอย่างการตรวจสุขภาพ ส�ำหรับกลุ่มคนปกติทั่วไปที่ไม่มีอาการ........................67 กรณีตัวอย่างการตรวจรักษาโรค.........................................78
  • 8. 7 รายชื่อผู้จัดท�ำ 1. แพทย์หญิงจิตสุดา บัวขาว ที่ปรึกษากรมการแพทย์ 2. ศาสตราจารย์คลินิกแพทย์หญิงวินัดดา ปิยะศิลป์ ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์วราภรณ์ แสงทวีสิน ราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย 4. รองศาสตราจารย์เอกชัย โควาวิสารัช ราชวิทยาลัยสูตินรีแพทย์แห่งประเทศไทย 5. ศาสตราจารย์วรพงศ์ ภู่พงศ์ คณะแพทยศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 6. แพทย์หญิงสุธาทิพย์ เอมเปรมศิลป์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 7. พันเอกนายแพทย์เพิ่มศักดิ์ สุเมฆศรี วิทยาลัยแพทยศาสตร์พระมงกุฎเกล้า 8. นายแพทย์ธีระ ศิวดุลย์ โรงพยาบาลชลบุรี 9. นายแพทย์จิรัตน์ ตั้งฐิตวงศ์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 13 กรมอนามัย 10. นายแพทย์สุรัตน์ สิรินนทกานต์ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ศูนย์อนามัยที่ 13 กรมอนามัย 11. แพทย์หญิงปิยะธิดา หาญสมบูรณ์ โรงพยาบาลราชวิถี 12. แพทย์หญิงจีรภัทร วงศ์ชินศรี โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี 13. นายแพทย์บุญส่ง ระหว่างบ้าน โรงพยาบาลนพรัตนราชธานี 14. นายแพทย์สุวรรณ ชัยสัมฤทธิ์ผล โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง) 15. นายแพทย์พิจัย ชุณหเสวี โรงพยาบาลเลิดสิน 16. นายแพทย์กฤษณพงศ์ มโนธรรม โรงพยาบาลเลิดสิน 17. แพทย์หญิงอาวีพรรณ กมลศรี โรงพยาบาลเลิดสิน 18. แพทย์หญิงนัยนา ณีศะนันท์ สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี 19. นายแพทย์สมชาย ธนะสิทธิชัย สถาบันมะเร็งแห่งชาติ 20. นายแพทย์อรรถสิทธิ์ ศรีสุบัติ สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ 21. นายแพทย์สุรศักดิ์ อำ�มาตย์โยธิน สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ 22. นายแพทย์ธนะรัตน์ อิ่มสุวรรณศรี สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ 23. นางสาวอมรรัตน์ วิจิตรลีลา สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ 24. นางอรุณี ไทยะกุล สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ 25. นางสาววรนุตร อรุณรัตนโชติ สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ 26. นางรัชนีบูลย์ อุดมชัยรัตน์ สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ 27. นางสุรีพร คนละเอียด สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ 28. นางสาวรติมา ศิลปสุวรรณ สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์ 29. นางสาวรัตติยากรณ์ อักษรศักดิ์ สถาบันวิจัยและประเมินเทคโนโลยีทางการแพทย์
  • 10. 9 ? การตรวจสุขภาพ คือ การตรวจเช็กสุขภาพ ในขณะที่ผู้รับการตรวจยังรู้สึกสบายดี ไม่มีอาการหรือความ ผิดปกติที่เกี่ยวข้องกับการตรวจนั้นแต่อย่างใด ส่วนคนที่ไปหาหมอเมื่อมีอาการเจ็บป่วยหรือรู้สึกมี ความผิดปกติแล้ว หรือคนที่ไปหาหมอเพื่อตรวจรักษาโรค หรือ ไปหาหมอตามนัดเพราะป่วยด้วยโรคเรื้อรัง (เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) นั้น ไม่เข้าข่ายว่าเป็นการตรวจสุขภาพ หากแต่เป็น การตรวจวินิจฉัยโรค หรือ การตรวจรักษาโรค ที่คนส่วนใหญ่รู้จักมักคุ้นและปฏิบัติกันอยู่แล้ว (ดูกรณีตัวอย่าง เพิ่มเติมในภาคผนวก)
  • 12. 11 เพราะคนเราอาจมีโรค/ภาวะเสี่ยงต่อการเกิดโรค ที่ซ่อนอยู่ในตัว ซึ่งพบได้ในทุกกลุ่มวัยตั้งแต่แรกเกิดจนถึง วัยผู้สูงอายุ ความผิดปกติที่ซ่อนอยู่นี้จะไม่แสดงอาการในระยะแรก หรือระยะที่มีความรุนแรงน้อย ท�ำให้คนเหล่านี้ไม่ได้ไปรับการ ตรวจสุขภาพ และปล่อยไว้นานเข้า (ซึ่งอาจกินเวลาเป็นแรมปี หรือนับสิบๆ ปี) โรค/ภาวะเสี่ยงที่ซ่อนอยู่นั้นก็จะกลายเป็น โรคที่ก�ำเริบหนักและเกิดภาวะแทรกซ้อนร้ายแรงตามมา ในที่สุด ดังนั้น การตรวจสุขภาพจึงท�ำเพื่อ (1) ค้นหาโรคที่ซ่อนอยู่ในตัวโดยที่ยังไม่มีอาการ ผิดปกติให้เห็น ซึ่งถือว่าเป็น “ภัยเงียบ” เช่น โรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง มะเร็งเต้านมในระยะแรก มะเร็งปากมดลูกในระยะแรก เป็นต้น ซึ่งตามหลักการรักษาแล้ว การตรวจพบโรคตั้งแต่ระยะแรกหรือระยะที่มีความรุนแรงน้อย จะรักษาโรคได้ทัน ไม่ลุกลาม ลดภาวะแทรกซ้อน บางโรคอาจ รักษาให้หายขาดได้
  • 13. 12 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน (2) หาปัจจัยหรือพฤติกรรมเสี่ยงที่ท�าให้เกิดโรค ซึ่ง เจ้าตัวอาจไม่รู้สึกว่าเป็นปัญหา เช่น กรรมพันธุ์ ดื่มเหล้า สูบบุหรี่ บริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม ขาดการออกก�าลังกาย การมีอารมณ์เครียด ภาวะน�้าหนักเกินหรือลงพุง สภาพแวดล้อม หรือการท�างานที่เสี่ยงต่อการเจ็บป่วย หรือความผิดปกติ ที่ซ่อนอยู่ในตัว (เช่น ความดันลูกตาสูง ซึ่งท�าให้เกิดโรคต้อหิน ไวรัสตับอักเสบบีในเลือดซึ่งท�าให้เกิดโรคตับอักเสบเรื้อรังและ มะเร็งตับ) เมื่อพบว่ามีปัจจัยหรือพฤติกรรมเสี่ยงอะไร หมอที่ ตรวจก็จะให้การดูแลและให้ค�าแนะน�าการปฏิบัติตัวป้องกัน ไม่ให้เกิดโรคตามมา ที่ส�าคัญผู้ที่มีภาวะเสี่ยงควรแจ้งให้แพทย์ ทราบด้วย
  • 15. 14 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน เป็นการตรวจสุขภาพตามหลักวิชาการ โดยแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข เน้นการซักถามประวัติ สุขภาพและการตรวจร่างกายเป็นหลัก ส่วนการตรวจ ทางห้องปฏิบัติการหรือการตรวจแล็บ จะท�าเฉพาะในรายที่มี ข้อมูลหลักฐานบ่งชี้แล้วว่ามีความจ�าเป็นเท่านั้น ทั้งนี้เพื่อค้นหา โรคและปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดโรค และน�าไปสู่การป้องกัน การส่งเสริมสุขภาพ และการบ�าบัดรักษาอย่างถูกต้อง การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมไม่จ�าเป็นต้อง มีการตรวจทางห้องปฏิบัติการเสมอไป
  • 16. 15 4. ใครบ้ำงที่ควร สุขภำพ? รับกำรตรวจ อำยุ 0-18 ป‚ อำยุ 18-60 ป‚ อำยุ 60 ป‚ขÖ้นไป หญิงมีครรภ
  • 17. 16 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน ทุกคนตั้งแต่แรกเกิดจนถึงวัยชราควรได้รับ การตรวจสุขภาพ ซึ่งคณะกรรมการพัฒนาการตรวจสุขภาพ ที่จ�าเป็นและเหมาะสม กระทรวงสาธารณสุข ได้แบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มวัยเด็กและวัยรุ่น (อายุ 0-18 ปี) กลุ่มวัย ท�างาน (อายุ18-60 ปี) กลุ่มวัยผู้สูงอายุ (อายุ 60 ปีขึ้นไป) และกลุ่มหญิงมีครรภ์ แต่ละกลุ่มมีแนวทางการตรวจสุขภาพ ที่แตกต่างกัน
  • 19. 18 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน การตรวจสุขภาพควรตรวจตามความจ�าเป็น และให้เหมาะสมส�าหรับแต่ละบุคคล ซึ่งขึ้นอยู่กับอายุ เพศ และปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ไม่ใช่ตรวจเหมารวมแบบเดียวกันหมด ทุกคนและทุกครั้ง การตรวจแบบเหมารวมเป็นการตรวจเกิน ความจ�าเป็น นอกจากท�าให้สิ้นเปลืองแล้วยังมีความเสี่ยงต่อ การเกิดผลข้างเคียงจากวิธีตรวจบางอย่างได้อีกด้วย
  • 21. 20 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน ไม่ใช่ ร่างกายเราไม่ใช่เครื่องยนต์ จึงไม่จ�ำเป็นต้อง ตรวจทุกปี แต่ควรตรวจตามระยะเวลาและความจ�ำเป็น ซึ่งขึ้น อยู่กับอายุ เพศ และโอกาสเสี่ยงต่อการเจ็บป่วย อาทิ ● ระดับน�้ำตาลและไขมันในเลือด ไม่แนะน�ำให้ตรวจ ในเด็กทุกคน ยกเว้นเด็กที่อ้วน หรือในผู้ใหญ่ที่เคย ตรวจแล้วไม่ได้เป็นเบาหวาน/ไขมันในเลือดปกติ ก็ไม่จ�ำเป็นต้องตรวจทุกปี ส�ำหรับน�้ำตาลในเลือด สามารถเว้นไปตรวจทุก 3 ปี (ยกเว้นอายุมากกว่า 60 ปี ควรตรวจทุกปี) และส�ำหรับไขมันในเลือด ตรวจทุก 5 ปี ● สตรีที่เคยตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีที่ เรียกว่า “การเก็บเซลล์โดยวิธีพื้นฐาน (conventional pap smear)” แล้วพบว่าปกติ ก็สามารถเว้นไป ตรวจทุก 3 ปี
  • 23. 22 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน การตรวจสุขภาพหากท�ำอย่างถูกต้องตาม หลักการ จะท�ำให้อาจค้นพบโรคที่ซ่อนอยู่ และยังช่วยหา ปัจจัยเสี่ยงที่อาจท�ำให้เกิดโรค ท�ำให้สามารถหาทางป้องกัน และรักษาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม และทันท่วงที แต่ถ้าการตรวจสุขภาพนั้นท�ำอย่างไม่ถูกต้องเหมาะสม นอกจากท�ำให้สิ้นเปลืองโดยไม่จ�ำเป็นแล้ว ยังอาจก่อให้เกิดผล ข้างเคียงจากการตรวจได้อีกด้วย การตรวจหลายชนิดที่ใช้กันในปัจจุบันยังขาดความ ถูกต้องแม่นย�ำ 100 เปอร์เซ็นต์ ผลการตรวจที่ได้อาจไม่ตรง กับความจริง ท�ำให้เกิดผลเสียใน 2 ลักษณะ ดังนี้ 1. ผลการตรวจบอกว่าผิดปกติ/เป็นโรค ทั้งที่ความจริง ไม่มีความผิดปกติ/ไม่เป็นโรค ซึ่งทางแพทย์เรียกว่า “ผลบวก ลวง” อาทิ ● ผลการตรวจเลือดหาโรคเอดส์บอกว่าเป็นเอดส์ (ให้ผลเป็นบวก) ทั้งที่ความจริงไม่ได้เป็น ท�ำให้ผู้รับ การตรวจเกิดความเครียด กลัว กังวลใจ ถูกรังเกียจ บางรายถึงคิดฆ่าตัวตาย
  • 24. 23 ● ผลการตรวจหาระดับสารพีเอสเอ (PSA) ในเลือด ส�ำหรับตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมาก พบว่ามี ค่าสูงผิดปกติ (ให้ผลเป็นบวก) ทั้งที่ความจริงไม่ได้ เป็นโรคนี้ แต่เมื่อผลเป็นบวก ตามหลักทางแพทย์ ก็จ�ำเป็นต้องท�ำการตรวจยืนยันให้แน่ชัดด้วยวิธีที่ ซับซ้อนขึ้น (เช่น การตัดชิ้นเนื้อพิสูจน์) ต่อไป ซึ่งอาจ ท�ำให้เกิดผลข้างเคียงที่มีอันตราย (เช่น เลือดออก ติดเชื้อ) ตามมาได้ (ดูเพิ่มเติมในข้อ 22.2) 2. ผลการตรวจบอกว่าปกติ/ไม่ได้เป็นโรค ทั้งที่ความ จริงมีความผิดปกติ/เป็นโรค ซึ่งทางแพทย์เรียกว่า “ผลลบลวง” อาทิ ● ผลการตรวจคัดกรองเลือดหาการติดเชื้อเอชไอวี (เชื้อก่อเกิดโรคเอดส์) บอกว่าเป็นปกติ (ให้ผลเป็น ลบ) ทั้งที่ความจริงเป็นโรคนี้ ท�ำให้ผู้รับการตรวจ ไม่ได้รับการบ�ำบัดรักษา เกิดความประมาทและ แพร่โรคให้คนอื่นต่อไป
  • 25. 24 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน ● ผลการตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจบอกว่าปกติ (ให้ผล เป็นลบ) ทั้งที่ความจริงเป็นโรคหัวใจ ท�าให้ผู้รับ การตรวจไม่ได้รับการบ�าบัดรักษา จนโรคลุกลาม รุนแรงถึงขั้นเป็นอันตรายได้ นอกจากนี้ การตรวจที่ไม่จ�าเป็นเพราะไม่ได้ประโยชน์ ในการค้นหาโรคที่ซ่อนอยู่ เช่น การถ่ายภาพรังสีปอด หรือ เอกซเรย์ปอด หากคนที่สูบบุหรี่จัดไปตรวจเอกซเรย์ปอด แล้วไม่พบเป็นโรคมะเร็งปอดและถุงลมปอดโป่งพอง ซึ่งเป็น โรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ ก็จะเกิดความประมาทและยัง สูบบุหรี่ต่อไป ซึ่งในระยะยาวอาจเกิดโรคจากพิษบุหรี่ตามมา ได้ เช่น มะเร็งปอด ถุงลมปอดโป่งพอง โรคหลอดเลือด หัวใจตีบ เป็นต้น
  • 27. 26 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน ปัจจุบันการตรวจสุขภาพที่มักให้ความส�ำคัญกับ การตรวจทางห้องปฏิบัติการหรือการตรวจแล็บ ท�ำให้คนทั่วไป เมื่อต้องการตรวจสุขภาพ มักคิดมุ่งไปที่การตรวจเลือดหรือ การตรวจพิเศษชนิดต่างๆ เลย เพราะเข้าใจว่าการตรวจสุขภาพ ต้องมีการตรวจทางห้องปฏิบัติการหรือแล็บควบคู่กันไปด้วย แต่ความจริงแล้วการตรวจสุขภาพจะมีล�ำดับขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 การประเมินหาความเสี่ยงต่างๆ จากการ ซักประวัติ ทั้งประวัติครอบครัว กรรมพันธุ์ พฤติกรรม (เช่น สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ไม่ออกก�ำลังกาย บริโภคอาหารที่ไม่เหมาะสม) รวมทั้งอาชีพที่ท�ำ (เนื่องเพราะคนที่มีอาชีพต่างกัน เช่น คนท�ำงานส�ำนักงาน คนท�ำงานโรงงาน เกษตรกร ย่อมมีความเสี่ยง ต่อสุขภาพต่างกัน) ขั้นตอนที่ 2 การตรวจร่างกายเบื้องต้น เช่น ชั่งน�้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดเส้นรอบเอว ความดันโลหิต ชีพจร และตรวจดู ระบบต่างๆ ของร่างกาย เช่น ผิวหนัง ตา หู คอ ช่องปาก ปอด หัวใจ ท้อง เป็นต้น ขั้นตอนที่ 3 การตรวจทางห้องปฏิบัติการหรือห้องแล็บ หากมีความจ�ำเป็น โดยน�ำข้อมูลที่ได้จากข้อ 1 และ 2 มาประเมินการตรวจเพิ่มเติม
  • 29. 28 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน ประชาชนทั่วไปสามารถตรวจสุขภาพง่ายๆ ด้วยตัวเองได้ เช่น ชั่งน�้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดเส้นรอบเอว วัดความดันโลหิต (ถ้ามีเครื่องวัด) การเช็กประวัติครอบครัว ว่ามีโรคทางกรรมพันธุ์อะไรบ้าง (เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ อัมพาต อัมพฤกษ์ เป็นต้น) หรือตัวเองมีพฤติกรรมสุขภาพใดที่ไม่เหมาะสมบ้าง (เช่น สูบบุหรี่ ดื่มสุรา ไม่ออกก�ำลังกาย เป็นต้น) ข้อส�ำคัญ คือ นอกเหนือจากการตรวจสุขภาพแล้ว เราต้องรู้จักดูแลตัวเองด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพ ที่เหมาะสม เพราะจุดมุ่งหมายของการตรวจสุขภาพนั้น ต้องการเน้นให้เราหันมาส่งเสริมสุขภาพตัวเอง ไม่มุ่งแต่พึ่งหมอ อย่างเดียว
  • 31. 30 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน เมื่อทราบผลการตรวจสุขภาพ หากพบ ความผิดปกติ ก็จ�ำเป็นต้องท�ำการตรวจเพิ่มเติมด้วยวิธีที่มี ความแม่นย�ำมากขึ้นในการวินิจฉัยโรค ได้รับค�ำแนะน�ำและ การดูแลที่ถูกต้องเหมาะสมและต่อเนื่องโดยแพทย์/บุคลากร สาธารณสุข เพื่อการรักษาและควบคุมโรคไม่ให้ลุกลามหรือ เกิดภาวะแทรกซ้อนตามมา แต่ถ้าหากไม่พบความผิดปกติใดๆ ก็ไม่ควรประมาท หรือปล่อยปละละเลยเรื่องสุขภาพ หากแต่ควรดูแลสุขภาพ ของตัวเอง ลดละพฤติกรรมสุขภาพที่ไม่เหมาะสม (เช่น สูบบุหรี่ ดื่มสุรา) เพื่อป้องกันและลดความเสี่ยงของการเกิดโรค
  • 33. 32 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน หญิงมีครรภ์ควรได้รับการดูแลจากแพทย์หรือ บุคลากรสาธารณสุขตั้งแต่แรกที่ทราบหรือสงสัยว่าตั้งครรภ์ หรือตั้งแต่อายุครรภ์ 5 สัปดาห์ และควรไปตรวจตามนัด เป็นระยะและปฏิบัติตามค�ำแนะน�ำอย่างจริงจัง โดยทั่วไป แพทย์/บุคลากรสาธารณสุขจะนัดให้หญิงมีครรภ์ มาตรวจสุขภาพที่คลินิกฝากครรภ์อย่างน้อย 5 ครั้ง เมื่อ อายุครรภ์ 5-12, 13-18, 19-26, 27-32 และ 33-38 สัปดาห์ กล่าวโดยสังเขป การตรวจสุขภาพส�ำหรับหญิงมีครรภ์ ในแต่ละครั้งมีรายละเอียดและจุดเน้นที่ต่างกัน โดยรวมๆ ประกอบด้วยกระบวนการ ดังต่อไปนี้ ● การซักประวัติ : ข้อมูลส่วนบุคคลและสภาวะ แวดล้อม ประวัติการเจ็บป่วย (โรค/ภาวะผิดปกติที่ เคยเป็น ประวัติการใช้ยาและการผ่าตัด ประวัติ การให้เลือด ฯลฯ) ประวัติทางสูติกรรม (จ�ำนวนครั้ง ที่เคยตั้งครรภ์ ประวัติการคลอด ภาวะแทรกซ้อน ของการตั้งครรภ์และการคลอด ประวัติการเป็น เบาหวานขณะตั้งครรภ์ ประวัติการตั้งครรภ์ใน ปัจจุบัน ฯลฯ) พฤติกรรมสุขภาพ (การสูบบุหรี่ การดื่มสุรา การใช้ยาและสารเสพติด)
  • 34. 33 ● การตรวจร่างกาย : ชั่งน�้าหนัก วัดส่วนสูง วัด ความดันโลหิต ตรวจชีพจร ตรวจการหายใจ และ ฟังเสียงหัวใจของหญิงมีครรภ์ ตรวจดูภาวะซีดและ อาการผิดปกติอื่นๆ ตรวจสุขภาพช่องปากและฟัน ตรวจลักษณะหัวนมและลานนม เพื่อดูความพร้อม ในการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ● การตรวจครรภ์ : ตรวจ ภายใน วัดความสูงของยอด มดลูก ฟังเสียงหัวใจทารก ● การประเมินสภาวะสุขภาพ : ประเมินความเครียดและ ภาวะซึมเศร้า ตรวจคัดกรอง การสูบบุหรี่ ดื่มสุรา การใช้ยา และสารเสพติด ● การตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ตรวจเลือด (ตรวจ หาหมู่เลือด ความเข้มข้นของเลือด คัดกรองโรค เบาหวาน) ตรวจปัสสาวะ (ตรวจคัดกรองการติดเชื้อ ในทางเดินปัสสาวะ สารโปรตีนในปัสสาวะ)
  • 35. 34 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน ● การตรวจคัดกรองการติดเชื้อ/ภาวะผิดปกติที่ ถ่ายทอดจากแม่สู่ลูก : ตรวจคัดกรองโรคธาลัสซีเมีย (โรคโลหิตจางเนื่องจากการสร้างเม็ดเลือดแดง ที่ผิดปกติ ซึ่งถ่ายทอดทางพันธุกรรม) การติดเชื้อ ไวรัสตับอักเสบบี/เอชไอวี/ซิฟิลิส ● การตรวจอัลตราซาวด์ : เพื่อช่วยค�ำนวณอายุครรภ์ ครรภ์แฝด ภาวะพิการและความผิดปกติบางอย่าง ของทารก ● การให้ยาเสริม : ยาโฟลิก ไอโอดีน ธาตุเหล็ก บ�ำรุงเลือด แคลเซียม ● การให้วัคซีน : การป้องกันคอตีบ-บาดทะยัก ไข้หวัดใหญ่ ● การให้ความรู้ : เรื่องทันตสุขภาพ การใช้ยา พัฒนาการของทารก โภชนาการ การออกก�ำลังกาย การนวดกระชับความผูกพัน การดูแลสุขภาพแม่ และลูกในครรภ์ การเตรียมตัวก่อนคลอด การคลอด และการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ ● การตรวจหลังคลอด : แนะน�ำให้มาตรวจหลังคลอด เมื่อครบ 6 สัปดาห์
  • 37. 36 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน กล่าวโดยสังเขป การตรวจสุขภาพส�ำหรับ กลุ่มวัยเด็กและวัยรุ่น โดยการนัดเด็กมาตรวจสุขภาพเป็นระยะ เพื่อตรวจร่างกายทั่วไป ประเมินการเจริญเติบโต และติดตาม เฝ้าระวังด้านพัฒนาการเป็นระยะๆ ตามแนวทางในคู่มือ สมุดบันทึกสุขภาพแม่และเด็กเล่มสีชมพู ค้นหาและป้องกัน ภาวะซีด ให้วัคซีนต่างๆ ตามก�ำหนดเวลา แนะน�ำการเลี้ยงดู การส่งเสริมทักษะส�ำคัญและสุขนิสัยที่ดี การป้องกันอุบัติเหตุ ● อายุแรกเกิด–7 วัน หากคลอดที่โรงพยาบาล นอกจากการตรวจร่างกายทั่วไปแล้ว แพทย์จะ ประเมินภาวะตัวเหลือง เจาะเลือดตรวจคัดกรอง ภาวะพร่องฮอร์โมนไทรอยด์ ให้วัคซีนบีซีจีป้องกัน วัณโรค และวัคซีนป้องกันไวรัสตับอักเสบบี ให้ ค�ำแนะน�ำเกี่ยวกับการเลี้ยงดู การกินนมแม่ และ การป้องกันอุบัติเหตุ ● อายุ 0-6 เดือน ควรได้รับการตรวจประเมิน การได้ยิน 1 ครั้ง ● อายุ 6-12 เดือน - ควรได้รับการตรวจกับบุคลากรทางทันตกรรม 1 ครั้ง (กรณีที่ยังไม่ได้ตรวจ แนะน�ำให้ไปตรวจ ภายในช่วง 1-2 ปี)
  • 38. 37 - ตรวจคัดกรองภาวะตาเหล่ ตาเข ภาวะข้อสะโพก หลุด และความผิดปกติของอวัยวะเพศ - ควรได้รับการตรวจวัดระดับความเข้มข้นเลือด (ฮีมาโทคริต/ฮีโมโกลบิน) เพื่อคัดกรองภาวะซีดจาก การขาดธาตุเหล็ก อย่างน้อย 1 ครั้ง ● อายุ 2-4 ปี ควรได้รับการตรวจคัดกรองพัฒนาการ 1 ครั้ง ● อายุ 3-6 ปี ควรได้รับการตรวจวัดความดันโลหิต และวัดสายตา 1 ครั้ง และควรได้รับการตรวจวัด ระดับความเข้มข้นเลือด (ฮีมาโทคริต/ฮีโมโกลบิน) เพื่อคัดกรองภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็กอีก 1 ครั้ง ● อายุ 8, 10 ปี และช่วงอายุ 11-14, 15-18 ปี ควรได้รับการตรวจวัดความดันโลหิตและวัดสายตา ช่วงอายุละ 1 ครั้ง ● อายุ 11-18 ปี ส�ำหรับผู้หญิง ควรได้รับการตรวจ วัดระดับความเข้มข้นเลือด (ฮีมาโทคริต/ฮีโมโกลบิน) เพื่อคัดกรองภาวะซีดจากการขาดธาตุเหล็กอีก 1 ครั้ง
  • 39. 38 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน ● วัยเรียน ควรได้รับการประเมินและค�าแนะน�า ด้าน การเรียน ความรับผิดชอบ การเล่น การใช้เวลาว่าง และการปรับตัวในโรงเรียน ● วัยรุ่น ควรได้รับการประเมินพฤติกรรมเสี่ยง (เพศ บุหรี่ สุรา ยาเสพติด) และค�าแนะน�าเรื่องเพศศึกษา ความปลอดภัยในการเดินทาง และสร้างเสริมความ สัมพันธ์ที่ดีระหว่างพ่อแม่และวัยรุ่น
  • 41. 40 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน ● การซักประวัติ และการตรวจร่างกายทั่วไป (ควร ตรวจร่างกายทั่วไปปีละครั้งเมื่อมีโอกาสไปหาหมอ ด้วยเรื่องอื่น) ● การชั่งน�้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดเส้นรอบเอว วัดความดัน โลหิตเป็นประจ�ำ อาจตรวจวัดเองที่บ้านหรือ ที่สถานพยาบาลเมื่อมีโอกาสไปหาหมอด้วยเรื่องอื่น (เช่น ไม่สบาย วางแผนครอบครัว ฉีดวัคซีน) ● การตรวจสุขภาพช่องปากและฟันจากทันตแพทย์ หรือทันตาภิบาลเป็นประจ�ำทุกปี ปีละ 1 ครั้ง ● การตรวจการได้ยินด้วยการใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ ถูกันเบาๆ ห่างจากรูหูประมาณ 1 นิ้ว ปีละ 1 ครั้ง ● แบบประเมินสภาวะสุขภาพ: - ความเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด - ภาวะซึมเศร้า - การติดนิโคตินในผู้สูบบุหรี่ (ถ้าไม่สูบบุหรี่ไม่ต้อง ประเมิน)
  • 42. 41 - การดื่มแอลกอฮอล์ (ถ้าไม่ดื่มแอลกอฮอล์ไม่ต้อง ประเมิน) - การใช้ยาและสารเสพติด (ถ้าไม่ใช้ยาและสารเสพติด ไม่ต้องประเมิน)
  • 44. 43 กล่าวโดยสังเขป การตรวจสุขภาพส�ำหรับ กลุ่มวัยท�ำงานทั้งหญิงและชาย นอกจากการตรวจสุขภาพ พื้นฐาน (ในข้อ 13) แล้ว ยังประกอบด้วย ● การตรวจตา โดยทีมจักษุแพทย์ ตั้งแต่อายุ 40 ปี ขึ้นไป ควรได้รับการตรวจวัดสายตาและตรวจ คัดกรองโรคต้อหิน/ภาวะความดันลูกตาสูง/ความ ผิดปกติอื่นๆ อย่างน้อย 1 ครั้ง ● การตรวจอุจจาระ (Fecal occult blood test) ตั้งแต่อายุ 50 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจอุจจาระ เพื่อคัดกรองมะเร็งล�ำไส้ใหญ่และล�ำไส้ตรง ปีละ 1 ครั้ง ● การตรวจทางห้องปฏิบัติการ แนะน�ำให้ตรวจเลือดดู (1) อายุ 20 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจระดับ ไขมันในเลือดทุก 5 ปี (2) อายุ 35 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจระดับ น�้ำตาลในเลือดทุก 3 ปี (3) ความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) ตรวจ 1 ครั้ง หากเคยตรวจพบว่าปกติ ไม่ต้องตรวจซ�้ำ (4) ไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg) ตรวจครั้งเดียว เฉพาะคนที่เกิดก่อน พ.ศ. 2535
  • 45. 44 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน ส�าหรับสตรี นอกจากการตรวจดังกล่าวข้างต้นแล้ว ควรตรวจเพิ่มเติม ได้แก่ ● การตรวจเต้านม อายุ 30-39 ปี ควรได้รับการตรวจ เต้านมทุก 3 ปี จากแพทย์หรือบุคลากรสาธารณสุข ที่ได้รับการฝึกอบรม และอายุ 40 ปีขึ้นไป ควรได้ รับการตรวจทุกปี ● การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก อายุ 30 ปี ขึ้นไป ควรได้รับการตรวจคัดกรองด้วยวิธีการเก็บ เซลล์โดยวิธีพื้นฐาน (conventional pap smear) ทุก 3 ปี หรือวิธีป้ายหาความผิดปกติโดยใช้กรด อะซิติก (VIA) ทุก 5 ปี จนถึงอายุ 55 ปีขึ้นไป ควรตรวจด้วยวิธีการเก็บเซลล์โดยวิธีพื้นฐาน (conventional pap smear) แทน
  • 47. 46 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน กล่าวโดยสังเขป การตรวจสุขภาพส�ำหรับ กลุ่มวัยสูงอายุทั้งหญิงและชาย นอกจากการตรวจสุขภาพ พื้นฐาน (ในข้อ 13) แล้ว ยังประกอบด้วย ● การตรวจตา โดยทีมจักษุแพทย์ อายุ 60-64 ปี ควรได้รับการตรวจทุก 2-4 ปี และตั้งแต่อายุ 65 ปี ขึ้นไป ควรได้รับการตรวจทุก 1-2 ปี ● การตรวจอุจจาระ (Fecal occult blood test) ตั้งแต่อายุ 60 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจอุจจาระ เพื่อคัดกรองมะเร็งล�ำไส้ใหญ่และล�ำไส้ตรงปีละ 1 ครั้ง ● การประเมินสภาวะสุขภาพ : ภาวะโภชนาการ ความเสี่ยงภาวะกระดูกพรุน การท�ำกิจวัตรประจ�ำ วันพื้นฐาน และอายุ 65 ปีขึ้นไป ควรได้รับประเมิน สมรรถภาพสมองเพิ่มเติม ● การตรวจทางห้องปฏิบัติการ แนะน�ำให้ตรวจ (1) ระดับไขมันในเลือดทุก 5 ปี (2) ระดับน�้ำตาลในเลือดทุกปี (3) ระดับครีอะทินีน (creatinine) ในเลือดทุกปี เพื่อประเมินภาวะการท�ำงานของไต
  • 48. 47 (4) ปัสสาวะทุกปี (5) อายุ 70 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจความ สมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) ทุกปี ส�าหรับสตรี นอกจากการตรวจดังกล่าวข้างต้นแล้ว ควรตรวจเพิ่มเติม ได้แก่ ● การตรวจเต้านม อายุ 60-69 ปี ควรได้รับการตรวจ เต้านมทุกปี จากแพทย์หรือบุคลากรสาธารณสุข ที่ได้รับการฝึกอบรม และอายุตั้งแต่ 70 ปีขึ้นไป ควรตรวจตามความเหมาะสม ● การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก อายุ 60-64 ปี ควรได้รับการตรวจคัดกรองด้วยวิธีการเก็บเซลล์โดย วิธีพื้นฐาน (conventional pap smear) ทุก 3 ปี และอายุ 65 ปีขึ้นไป ควรตรวจตามความเหมาะสม
  • 50. 49 เนื่องจากโรคความดันโลหิตสูง เบาหวาน และ ไขมันในเลือดสูงหรือผิดปกติ ส่วนใหญ่มักไม่แสดงอาการ ผู้ที่ เป็นโรคกลุ่มนี้จะรู้สึกแข็งแรงสบายดี หากปล่อยปละละเลย ด้วยความไม่รู้นาน 5-10 ปีขึ้นไป ก็อาจเกิดภาวะแทรกซ้อน เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ อัมพฤกษ์ อัมพาต ไตเสื่อม ตามัว ตาบอด เป็นต้น จึงจ�ำเป็นต้องมีการตรวจคัดกรองโรคกลุ่มนี้ ด้วยการตรวจวัดความดันโลหิต ระดับน�้ำตาลและไขมันในเลือด ในคนปกติทั่วไป เพื่อค้นหาโรคที่ซ่อนเร้นอยู่ในตัว และได้รับ การดูแลรักษาเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อนดังกล่าว ● อายุ 3-6 ปี ควรได้รับการตรวจวัดความดันโลหิต อย่างน้อย 1 ครั้ง และวัดซ�้ำเมื่ออายุ 8, 10 ปี และ ช่วงอายุ 11-14, 15-18 ปี ● อายุ 18 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจวัดความดัน โลหิต อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง ● อายุ 20 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจระดับไขมัน ในเลือดทุก 5 ปี ● อายุ 35 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจระดับน�้ำตาล ในเลือดทุก 3 ปี และเมื่ออายุ 60 ปีขึ้นไป ควรได้รับ การตรวจทุกปี
  • 52. 51 17.1 สุขภาพช่องปากสุขภาพช่องปาก ที่ไม่ดี เช่น โรคฟันและเหงือก การติดเชื้อในช่องปากยังอาจ ส่งผลให้เกิดการแพร่เชื้อไปส่วนอื่นๆ ของร่างกาย เช่น ปอด อักเสบ โรคหัวใจ ได้อีกด้วย ● อายุ 6 เดือนหรือฟันซี่แรกขึ้น เริ่มตรวจสุขภาพ ช่องปาก โดยทันตแพทย์หรือทันตาภิบาลเรื่องฟันผุ แผ่นคราบฟัน สีของฟัน สุขภาพเหงือกและภาวะ เหงือกอักเสบหรือไม่ ● ผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ ควรได้รับการตรวจสุขภาพ ช่องปากและฟันเป็นประจ�ำทุกปี ปีละ 1 ครั้ง 17.2 ตาและการมองเห็น ในเด็กเล็กอาจมีความ ผิดปกติของตาที่พ่อแม่อาจไม่ได้สังเกต หากปล่อยปละละเลย อาจท�ำให้สายตาพิการได้ ในเด็กโตอาจมีปัญหาสายตาสั้น สายตายาว หรือสายตาเอียง ส่งผลต่อการเรียนได้ ส่วนผู้ใหญ่ ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป อาจมีปัญหาสายตายาว ซึ่งจ�ำเป็นต้อง ใส่แว่นตาเวลาอ่านหนังสือหรือท�ำงานที่ต้องใช้สายตาในระยะ ใกล้ตา และอาจมีความดันลูกตาสูงซ่อนเร้น ซึ่งอาจกลายเป็น โรคต้อหินท�ำให้สายตาพิการได้ ● อายุ 6 เดือนขึ้นไป ควรได้รับการตรวจตา ดูตาเหล่ ตาเข
  • 53. 52 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน ● อายุ 3-6 ปี ควรได้รับการตรวจวัดสายตาอย่างน้อย 1 ครั้ง และติดตามเป็นระยะที่อายุ 8, 10 ปี และ ช่วงอายุ 11-14, 15-18 ปี ช่วงอายุละ 1 ครั้ง ● อายุ 40 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจตาโดยทีม จักษุแพทย์อย่างน้อย 1 ครั้ง 17.3 การได้ยิน ในทุกกลุ่มอายุตั้งแต่แรกเกิด อาจมี ความผิดปกติของการได้ยินซ่อนเร้นอยู่โดยผู้ที่มีความผิดปกติ ไม่ได้สังเกต ท�ำให้มีผลต่อพัฒนาการ การสื่อสาร การเรียน การท�ำงาน และการเข้าสังคมได้ ● อายุ 0-6 เดือน ควรได้รับการตรวจการได้ยิน 1 ครั้ง ● อายุ 3 ปีขึ้นไป ควรได้รับการทดสอบการได้ยินโดย วิธีการใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ถูกันเบาๆ ห่างจาก รูหูประมาณ 1 นิ้ว ปีละ 1 ครั้ง
  • 55. 54 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน ● อายุ 60 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจปัสสาวะปีละ 1 ครั้ง เพื่อตรวจคัดกรองหาความผิดปกติของระบบ ทางเดินปัสสาวะที่แฝงอยู่ ● ประชาชนทั่วไปที่ไม่มีอาการผิดปกติอะไร ไม่มีความ จ�าเป็นต้องตรวจปัสสาวะ ยกเว้นผู้ที่เป็นโรคเรื้อรัง เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง
  • 56. 55 19. ในกำรตรวจสุขภำพ จ�ำเป็นต้องตรวจ อุจจำระหรือไม่ อย่ำงไร? ● อายุ 50 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจอุจจาระ (Fecal occult blood test) เพื่อตรวจคัดกรอง มะเร็งล�าไส้ใหญ่และล�าไส้ตรง ปีละ 1 ครั้ง
  • 58. 57 ปัจจุบันทางการแพทย์ในประเทศไทยมีความเห็นว่า มีมะเร็ง 3 ชนิด ที่มีความจ�ำเป็นในการตรวจคัดกรองค้นหาโรค ตั้งแต่ในระยะแรกๆ ส�ำหรับคนทั่วไปที่ไม่มีอาการ ดังนี้ ● มะเร็งปากมดลูก สตรีอายุ 30 ปีขึ้นไป ควรได้รับ การตรวจคัดกรองเพื่อค้นหามะเร็งปากมดลูกด้วยวิธี การเก็บเซลล์โดยวิธีพื้นฐาน (conventional pap smear) ทุก 3 ปี หรือ วิธีป้ายหาความผิดปกติโดย ใช้กรดอะซิติก (VIA) ทุก 5 ปี จนถึงอายุ 55 ปีขึ้นไป แล้วตรวจด้วยวิธีการเก็บเซลล์โดยวิธีพื้นฐาน (conventional pap smear) แทน ● มะเร็งเต้านม สตรีอายุ 30-39 ปี ควรได้รับ การตรวจเต้านมทุก 3 ปี โดยแพทย์หรือบุคลากร สาธารณสุขที่ได้รับการฝึกอบรม และอายุ 40 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจเต้านมทุกปี ส่วนการตรวจด้วยการถ่ายภาพรังสีเต้านม หรือ แมมโมแกรม (mammogram) ควรเป็นดุลพินิจของ แพทย์พิจารณาตามความเหมาะสมเป็นรายบุคคล
  • 59. 58 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน ● มะเร็งล�าไส้ใหญ่และล�าไส้ตรง อายุ 50 ปีขึ้นไป ควรได้รับการตรวจอุจจาระ (Fecal occult blood test) ปีละ 1 ครั้ง เพื่อคัดกรองมะเร็งล�าไส้ใหญ่และ ล�าไส้ตรง ส่วนการตรวจด้วยวิธีการส่องกล้องตรวจ ล�าไส้ใหญ่ (colonoscopy) นั้น ควรเป็นดุลพินิจของ แพทย์พิจารณาตามความเหมาะสมเป็นรายบุคคลแพทย์พิจารณาตามความเหมาะสมเป็นรายบุคคล
  • 60. 59 แนะน�าให้ผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป พบแพทย์ หรือบุคลากรสาธารณสุข เพื่อท�าการประเมินความเสี่ยงของ ภาวะกระดูกพรุนด้วยการใช้แบบประเมินภาวะกระดูกพรุน 21. กำรตรวจคัดกรอง ภำวะกระดูกพรุน มีควำมจ�ำเป็น ในกร³ีใด?
  • 61. 60 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน 22. กำรตรวจสุขภำพ ที่ไม่แนะน�ำหรือ ไม่จ�ำเป็นมีอะไรบ้ำง? 1. กำรตรวจสุขภำพ ด้วยกำร¶่ำยภำพรังสี (เอก«เรย) ปอด 2. กำรตรวจคัดกรองโรค มะเรçงต่อมลูกหมำก ด้วยกำรตรวจระดับ สำรพีเอสเอในเลือด 3. กำรตรวจระดับกรด ยูริกในเลือดในคน ป ก ติ ทั่ ว ไ ป ไ ม่ มี ประโยชน ÏลÏ
  • 62. 61 เท่าที่มีหลักฐานทางวิชาการในปัจจุบัน การตรวจทางห้องปฏิบัติการที่ไม่แนะน�ำหรือไม่จ�ำเป็นมีดังต่อไปนี้ 22.1 การตรวจสุขภาพด้วยการถ่ายภาพรังสี (เอกซเรย์) ปอด ที่ผ่านมานิยมตรวจเอกซเรย์ปอดในการตรวจสุขภาพ ผู้ที่เข้าเรียนหรือเข้าท�ำงานใหม่ที่ไม่มีอาการไม่สบายแต่อย่างใด ซึ่งมุ่งเน้นไปที่การตรวจหาวัณโรคปอด และในช่วงหลังก็มีการ เอกซเรย์ เพื่อตรวจหามะเร็งปอด โดยเฉพาะอย่างยิ่งส�ำหรับ ผู้ที่สูบบุหรี่จัด มีหลักฐานในทางวิชาการ พบว่าการเอกซเรย์ปอดเพื่อ ตรวจสุขภาพในคนปกติทั่วไปนั้น ไม่มีประโยชน์ในการตรวจ คัดกรองหาวัณโรคปอดและมะเร็งปอด การเอกซเรย์ปอดในคนที่แข็งแรงดี ไม่มีอาการอะไร นอกจากจะตรวจพบโรคได้น้อยมากแล้ว ยังให้ผลบวกลวงสูง คือ ให้ผลบอกว่าเป็นวัณโรคทั้งที่ความจริงไม่ได้เป็น ท�ำให้ผู้ที่ รับการตรวจเกิดความวิตกกังวล และสิ้นเปลืองในการต้อง ท�ำการตรวจยืนยันเพิ่มเติม อ ?
  • 63. 62 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน ส�ำหรับการเอกซเรย์ตรวจหามะเร็งปอดในคนปกติ ทั่วไป ให้ประโยชน์ที่ไม่คุ้มค่า เพราะหากตรวจเอกซเรย์พบ ก็มักจะเป็นมะเร็งปอดในระยะท้ายๆ ไม่เกิดประโยชน์ในการ รักษาในการลดอัตราการเสียชีวิต เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับ การตรวจคัดกรองด้วยการเอกซเรย์ปอด ดังนั้น การเอกซเรย์ปอดจึงควรท�ำในกรณีที่มีความ จ�ำเป็นเท่านั้น เช่น ในคนที่ไอเรื้อรัง เจ็บหน้าอก หรือมีอาการ ที่สงสัยว่าป่วยเป็นวัณโรคหรือมะเร็งปอด คนทั่วไปควรหลีกเลี่ยงการเอกซเรย์ปอดโดยไม่จ�ำเป็น นอกจากไม่ได้ประโยชน์แล้ว ยังเพิ่มความเสี่ยงจากการได้รับ รังสี ซึ่งหากมีการสัมผัสรังสีบ่อยๆ ก็อาจก่อให้เกิดมะเร็งได้ 22.2 การตรวจคัดกรองโรคมะเร็งต่อมลูกหมากด้วย การตรวจระดับสารพีเอสเอในเลือด จากหลักฐานการศึกษาในต่างประเทศพบว่า การตรวจ คัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมากด้วยการตรวจระดับสารพีเอสเอ (PSA - ซึ่งเป็นสารส่อมะเร็งต่อมลูกหมาก) ในเลือดในคนที่ยัง สบายดี ไม่มีอาการนั้น ไม่มีประโยชน์ คือไม่ได้ช่วยลดอัตรา การเสียชีวิตเมื่อเทียบกับกลุ่มที่ไม่ได้รับการตรวจคัดกรอง
  • 64. 63 นอกจากนี้ การตรวจด้วยวิธีนี้ยังให้ผลบวกลวงสูง คือ ผลการ ตรวจเป็นบวกอาจเกิดจากสาเหตุที่ไม่ร้ายแรง (เช่น ต่อม ลูกหมากโต) ไม่จ�ำเป็นต้องเกิดจากมะเร็งต่อมลูกหมากเสมอไป แต่เมื่อตรวจพบผลเป็นบวก แพทย์จ�ำเป็นต้องท�ำการตรวจ เพิ่มเติมด้วยวิธีที่ซับซ้อน (เช่น การตัดชิ้นเนื้อพิสูจน์) ต่อไป ซึ่งอาจท�ำให้เกิดผลข้างเคียงที่อาจมีอันตราย (เช่น เลือดออก ติดเชื้อ) ตามมาได้ ดังนั้น ในปัจจุบันจึงไม่แนะน�ำให้ผู้ชายที่ยังไม่มีอาการ ของต่อมลูกหมากโตรับการตรวจคัดกรองมะเร็งต่อมลูกหมาก ด้วยการตรวจระดับสารพีเอสเอในเลือด แต่แพทย์จะพิจารณา ตรวจสารนี้ส�ำหรับผู้ที่มีอาการปัสสาวะล�ำบากหรือไม่คล่องจาก ภาวะต่อมลูกหมากโต ซึ่งสงสัยว่าอาจเป็นมะเร็งต่อมลูกหมาก 22.3 การตรวจระดับกรดยูริกในเลือด ในคนปกติ ทั่วไปไม่มีประโยชน์ เนื่องเพราะแม้จะตรวจพบมีระดับกรดยูริกในเลือดสูง โดยที่ไม่มีอาการ ส่วนใหญ่จะไม่กลายเป็น โรคเกาต์ (มีอาการ ปวดข้อ ข้ออักเสบ ข้อพิการ) หรือนิ่วในทางเดินปัสสาวะ นอกจากนี้ บางคนที่มีภาวะยูริกในเลือดสูงอาจได้รับยาลด กรดยูริก – ยาอัลโลพูรินอล (allopurinol) เกินจ�ำเป็น ซึ่งมี
  • 65. 64 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน ความเสี่ยงต่อการแพ้ยารุนแรงถึงขั้นเสียชีวิตได้ ดังนั้น จึงไม่ แนะน�ำให้ตรวจกรดยูริกในเลือดส�ำหรับคนปกติทั่วไป แต่จะ ตรวจส�ำหรับผู้ที่มีอาการที่สงสัยว่าเป็นโรคเกาต์ 22.4 การตรวจระดับบียูเอ็น (BUN) ในเลือด ไม่มี ประโยชน์ในการตรวจคัดกรองภาวะไตเสื่อม การตรวจคัดกรองภาวะไตเสื่อมในคนปกติทั่วไป แนะน�ำให้ท�ำการตรวจระดับครีอะทินีน (creatinine) ในเลือด ทุกปี ส�ำหรับผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป 22.5 การตรวจเอนไซม์ตับดูความผิดปกติของตับ จากข้อมูลในปัจจุบันยังไม่พบประโยชน์ในการตรวจ คัดกรองความผิดปกติของตับด้วยการตรวจระดับเอนไซม์ตับ ในเลือด (ได้แก่ SGOT, SGPT และ ALP) ส�ำหรับคนปกติทั่วไป 22.6 การตรวจระดับไตรกลีเซอไรด์ (triglyceride) ในเลือด ส�ำหรับการประเมินความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและ หลอดเลือดนั้นมีประโยชน์น้อยมาก
  • 66. 65 การตรวจที่มีประโยชน์ คือ ระดับคอเลสเตอรอลรวม (total cholesterol) แอลดีแอล (LDL cholesterol) และ เอชดีแอล (HDL cholesterol) ซึ่งสามารถน�ำมาค�ำนวณค่า “คอเลสเตอรอลที่หักแอลดีแอล (non–HDL cholesterol)” ทางการแพทย์พบว่าไตรกลีเซอไรด์มีประโยชน์ต่อการประเมิน ความเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มจาก “คอเลสเตอ- รอลที่หักแอลดีแอล” น้อยมาก 22.7 การตรวจคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (EKG) ไม่แนะน�ำให้ ตรวจคัดกรองโรคหัวใจในคนปกติทั่วไปที่ไม่มีอาการและไม่มี โรคเรื้อรังประจ�ำตัว (เช่น เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) เนื่อง เพราะมี “ผลบวกลวง” (ผลการตรวจบอกว่าผิดปกติ/เป็นโรค ทั้งที่ความจริงไม่มีความผิดปกติ/ไม่เป็นโรค) และ “ผลลบลวง” (ผลการตรวจบอกว่าปกติ/ไม่เป็นโรคทั้งที่ความจริงมีความ ผิดปกติ/เป็นโรค) ค่อนข้างสูง
  • 67. 66 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน แพทย์จะท�าการตรวจคลื่นหัวใจส�าหรับผู้ที่เป็นโรค เรื้อรัง (ที่ส�าคัญ คือ เบาหวาน ความดันโลหิตสูง) หรือมีอาการ สงสัยเป็นโรคหัวใจ 22.8 การตรวจสารบ่งชี้มะเร็ง (tumor markers) ในเลือด อาทิ ● สารซีอีเอ (CEA, carcinoembryonic antigen) เพราะให้ผลบวกลวงสูง ทางแพทย์จะใช้ในการ ติดตามผลการรักษาและการกลับเป็นซ�้าของโรค มะเร็งล�าไส้ใหญ่และล�าไส้ตรง ● สารเอเอฟพี (AFP, alpha - fetoprotein) ทาง แพทย์จะใช้ตรวจส�าหรับผู้มีความเสี่ยงต่อการเกิด มะเร็งตับ เช่น เป็นโรคตับอักเสบเรื้อรัง หรือเป็น พาหะของไวรัสตับอักเสบบีหรือซี ไม่แนะน�าให้ ตรวจคัดกรองมะเร็งตับส�าหรับคนปกติทั่วไปตรวจคัดกรองมะเร็งตับส�าหรับคนปกติทั่วไป
  • 69. 68 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน กรณีที่ 1 หญิงอายุ 16 ปี มีสุขภาพแข็งแรงดี ไม่มีอาการผิดปกติอะไร ควรได้รับการตรวจ สุขภาพอย่างไร? ค�าตอบ การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสม ส�าหรับกรณีนี้ ได้แก่ ● การทบทวนความเจ็บป่วยที่ผ่านมา การเรียน การ ด�าเนินชีวิต การคบเพื่อน ความสัมพันธ์กับพ่อแม่ พี่น้องและครู สอบถามอาการตามระบบ การเจริญ เติบโตและพัฒนาการตามวัย การเปลี่ยนแปลงของ ร่างกาย ความคิด จิตใจ และการเปลี่ยนแปลง ในครอบครัว สอบถามพฤติกรรมสุขภาพ เช่น อาหารการกิน การออกก�าลังกาย การบริโภคสุรา ยาสูบ สารเสพติด การติดเกม พฤติกรรมทางเพศ พฤติกรรมที่ชอบใช้ความรุนแรง เป็นต้น
  • 70. 69 ● การชั่งน�้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดความดันโลหิต ● การตรวจร่างกายตามระบบ และประเมินความเป็น สาว ดูร่องรอยสิว รอยสัก รอยเจาะ ร่องรอยการถูก ท�ำร้าย รอยด�ำด้านหลังคอในเด็กที่อ้วน (มีความ เสี่ยงการเป็นโรคเบาหวาน) ● การตรวจค่าความเข้มข้นเลือด (ฮีโมโกลบิน) ● การดูการเปลี่ยนแปลงเมื่อย่างเข้าสู่วัยรุ่น ● การตรวจวัดสายตาด้วยแผ่นสเนลเลน (Snellen chart) ● การตรวจการได้ยินโดยใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ถูกัน เบาๆ ห่างจากหูประมาณ 1 นิ้ว ● การทบทวนประวัติการให้วัคซีน และให้วัคซีนเสริม ตามความจ�ำเป็น ● การให้ค�ำแนะน�ำเรื่องสุขนิสัยและพฤติกรรมสุขภาพ และการลดพฤติกรรมเสี่ยง สมมุติตรวจแล้วพบว่า 1. มีภาวะน�้ำหนักเกิน หมอก็จะแนะน�ำให้ควบคุม อาหารและออกก�ำลังกายมากขึ้น แล้วติดตามผลเป็นระยะ
  • 71. 70 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสมส�าหรับประชาชน 2. วัคซีนป้องกันบาดทะยักเข็มสุดท้ายฉีดมานานเกิน 10 ปี หมอก็จะฉีดวัคซีนชนิดนี้กระตุ้น 1 เข็ม 3. ค่าความเข้มข้นเลือด ต�่ากว่าปกติเล็กน้อย หมอจะ แนะน�าให้กินอาหารที่มีธาตุเหล็กมากขึ้น และติดตามผลเป็น ระยะ กรณีที่ 2 หญิงอายุ 42 ปี แต่งงานแล้ว มีบุตร ชาย 2 คน มีอาชีพเปนครูสอนหนังสือ สุขภาพ แข็งแรงดี ควรได้รับตรวจสุขภาพอย่างไร? ค�าตอบ การตรวจสุขภาพที่จ�าเป็นและเหมาะสม ส�าหรับกรณีนี้ ได้แก่ ● การซักประวัติ : โรค/ความผิดปกติที่เคยเป็น การ รักษาพยาบาลที่เคยได้รับ ประวัติการฉีดวัคซีน บาดทะยักเข็มสุดท้าย ประวัติประจ�าเดือน
  • 72. 71 พฤติกรรมสุขภาพ (การบริโภคอาหาร การออกก�ำลัง กาย การจัดการกับความเครียด การสูบบุหรี่ การดื่ม สุรา) ประวัติครอบครัว การท�ำงานและสภาวะ แวดล้อม งานอดิเรก เป็นต้น ● การตรวจร่างกายทั่วไป ชั่งน�้ำหนัก วัดส่วนสูง วัดเส้นรอบเอว ตรวจวัดความดันโลหิตและชีพจร ● แบบประเมินสภาวะสุขภาพ ความเสี่ยงโรคหัวใจ และหลอดเลือด และภาวะซึมเศร้า ● การตรวจช่องปากและฟันจากทันตแพทย์หรือ ทันตาภิบาล ถ้าไม่ได้ตรวจมานานเกิน 6 เดือน ● การได้ยินด้วยการใช้นิ้วหัวแม่มือและนิ้วชี้ถูกันเบาๆ ห่างจากรูหูประมาณ 1 นิ้ว ถ้าไม่ได้ตรวจมานาน เกิน 1 ปี ● การตรวจตาโดยทีมจักษุแพทย์ ถ้าไม่เคยตรวจ มาก่อน ● การตรวจเต้านม โดยแพทย์หรือบุคลากรสาธารณสุข ที่ได้รับการฝึกอบรม ถ้าไม่ได้ตรวจมานานเกิน 1 ปี
  • 73. 72 ชุดความรู้การตรวจสุขภาพที่จ�ำเป็นและเหมาะสมส�ำหรับประชาชน ● การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีการเก็บ เซลล์โดยวิธีพื้นฐาน (conventional pap smear) ถ้าไม่ได้ตรวจมานานเกิน 3 ปี หรือวิธีป้ายหาความ ผิดปกติโดยใช้กรดอะซิติก (VIA) ถ้าไม่ได้ตรวจมา นานเกิน 5 ปี การตรวจทางห้องปฏิบัติการ (1) ระดับไขมันในเลือด ถ้าไม่ได้ตรวจมานานเกิน 5 ปี (2) ระดับน�้ำตาลในเลือด ถ้าไม่ได้ตรวจมานานเกิน 3 ปี (3) ความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด (CBC) ถ้าไม่เคยตรวจ มาก่อน (4) ไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg) ถ้าไม่เคยตรวจมาก่อน สมมุติตรวจแล้วพบว่า 1. มีน�้ำหนักเกินและลงพุง หมอจะแนะน�ำให้ควบคุม อาหารและออกก�ำลังกายมากขึ้น และนัดมาติดตามผลเป็น ระยะ