SlideShare a Scribd company logo
นพ. ปรัชญา ศรีสว่าง
แบบฟอร์มการทบทวน 12 กิจกรรม
15-Aug-14 1
การทบทวน 12 กิจกรรม
• เป้ าหมายของการทบทวน คือ การปรับปรุงระบบให้มั่นใจว่าจะไม่ให้เกิด
เหตุการณ์ในลักษณะนั้นซ้าขึ้นอีก มีหลักคิดง่าย ๆ ในการทบทวน ดังนี้
–ระบุขั้นตอนที่ผิดพลาด ผิดจากมาตรฐาน พิจารณาจุดเปลี่ยนที่เปไนไปได
–รับความคิดเหไนของคนหนางาน ดูสถานการณ์จริง
–ออกแบบกระบวนการทางานใหม่ โดยใชความคิดสรางสรรค์ และหลัก
Hamun factor engineering (ออกแบบระบบเพื่อแกไข
ขอจากัดของคน
15-Aug-14 2
15-Aug-14 3
15-Aug-14 4
15-Aug-14 5
15-Aug-14 6
15-Aug-14 7
15-Aug-14 8
15-Aug-14 9
15-Aug-14 10
15-Aug-14 11
15-Aug-14 12
15-Aug-14 13
15-Aug-14 14
15-Aug-14 15
ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน
• เล่าสรุปเรื่อง/ เหตุการณ์
–ผู้ป่ วยชายไทย 63 ปี ได้รับการตรวจจาก OPD ด้วยอาการจุกแน่น
หน้าอก 30 นาที พบแพทย์แล้วส่ง ER เพื่อทา EKG ผู้ป่ วยเดินมา
นอนเตียงรอทา EKG นอนหายใจเสียงดัง เกร็งตาค้าง และหยุด
หายใจ แพทย์ ER ทา CPR EKG เป็น VF defibrillation 200 j. 1
ครั้ง CPR 10 นาที ( ใส่ ET- tube ไม่ได้ hold face mask ) ผู้ป่ วย
เริ่มรู้สึกตัว EKG 12 lead มี St elevate V1-V3 refer รพ. Admit
รอดชีวิตเป็นปกติ
15-Aug-14 16
ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน
• ประเด็นสาคัญที่เป็นสาเหตุ
1.การคัดกรองผิดพลาด/ ผู้ป่ วยควรจะได้รับการตรวจวินิจฉัย
ได้เร็วกว่านี้
2. EKG ที่เป็น VF ไม่ได้ print ไว้เป็นหลักฐาน กรณีแพทย์
ไม่ได้ดู EKGขณะนั้น และการ defibrillation เป็นความ
รับผิดชอบของแพทย์
3. แพทย์ รพ. ที่ refer ขอดู EKG ขณะเป็น VF (ไม่มีให้)
15-Aug-14 17
ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน
• วิธีการดาเนินการป้ องกัน/แก้ไข ( RCA)
1.จัดระบบการคัดกรองและมีการคัดกรองในช่วงบ่าย ผู้ป่ วยที่มาด้วย
อาการเจ็บหน้าอกควรส่งเข้า ER ทันที
2. ขณะ monitor EKG ถ้าพบความผิดปกติ print ไว้
3.เมื่อ refer ส่ง EKG ให้ รพ. refer (case นี้เป็นกรณีฉุกเฉินดู EKG
จากการวาง paddle แล้ว defibrillation เลย ไม่ได้ print EKG ไว้)
• ผู้ร่วมทบทวน/ แพทย์
–เจ้าหน้าที่ ER
15-Aug-14 18
ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน
• เล่าสรุปเรื่อง/ เหตุการณ์
–เนื่องจากมีผู้ป่ วย AUB มานอนโรงพยาบาล แพทย์มีแผนการ
รักษา Currttage on ketalar on call โดยเขียน Order เวลา
15.00น. แต่แนวทางปฏิบัติเดิมผู้ป่ วยทีส่ง Currttage ทุกราย
ส่งห้อง Currttage ไม่ต้องส่งใบ Set โดยในเวลาราชการ
OPD รับผิดชอบ ถ้านอกเวลาราชการ ER รับผิดชอบผู้ป่ วยท
ฉีด ketalar ทุกรายจะต้องส่งใบ Set เพื่อให้พยาบาลดมยา
รับทราบและเป็นผู้ฉีดยา
15-Aug-14 19
ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน
• เล่าสรุปเรื่อง/ เหตุการณ์
1. กาหนดผู้ป่ วยทีต้องส่งใบ set ผ่าตัด ดังนี้
– ผู้ป่ วย General Anesthesia ทุกราย
– ผู้ป่ วยทา Under Spinal Block
– ผู้ป่ วยให้ยาระงับความรู้สึกฉีดเข้าหลอดเลือดดา
Ketalar
15-Aug-14 20
ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน
• เล่าสรุปเรื่อง/ เหตุการณ์
–เมื่อถึงเวลา On call เจ้าหน้าที่ Ward ได้โทรแจ้ง ER ซึ่งเป็นนอก
เวลาราชการ แต่ ER โทรแจ้งพยาบาลดมยามาฉีด ketalar และ
พยาบาลดมยาได้โทรศัพท์แจ้ง Ward ว่าทาไมไม่ส่งใบ Set ขณะนั้น
แพทย์เจ้าของไข้มาตรวจเยี่ยมอาการผู้ป่ วยพอดีได้ สอบถามแพทย์
เจ้าของไข้ และรายงานเหตุการณ์ แพทย์เจ้าของไข้ต้องการให้
พยาบาล ER เป็นผู้ฉีดยา ketalar และแพทย์ได้สอบถามพยาบาล
Ward ว่าเคยปฏิบัติกันอย่างไร
15-Aug-14 21
ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน
• เล่าสรุปเรื่อง/ เหตุการณ์
–พยาบาล Ward ได้แจ้งว่าผู้ป่ วย Currttage แพทย์ใช้ D2P
และ Pethidine แพทย์เจ้าของไข้จึงเปลี่ยน Order เป็นฉีด
D2P และ Pethidine แทน พยาบาล Ward ได้โทรแจ้ง ER
อีกครั้งว่า OFF ฉีด ketalar
15-Aug-14 22
ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน
• ประเด็นสาคัญที่เป็นสาเหตุ
– ผู้ป่ วยที่ฉีด ketalar ทุกรายจะต้องส่งใบ Set เพื่อให้พยาบาล
ดมยารับทราบและเป็นผู้ฉีดยา
• วิธีการดาเนินการป้ องกัน/แก้ไข ( RCA)
1. กาหนดผู้ป่ วยที่ต้องส่งใบ set ผ่าตัดดังนี้
- ผู้ป่ วย General
- Anesthesia ทุกราย
- ผู้ป่ วยทา Under Spinal Block
15-Aug-14 23
ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน
• วิธีการดาเนินการป้ องกัน/แก้ไข ( RCA) (ต่อ)
– ผู้ป่ วยให้ยาระงับความรู้สึกฉีดเข้าหลอดเลือดดา Ketalar
– ผู้ป่ วยที่แพทย์สั่ง NPO ไว้ก่อนแต่ยังไม่ระบุว่าจะใช้ยาระงับความรู้สึก
อะไร
– ผู้ป่ วยที่แพทย์ทาผ่าตัดบริเวณช่องท้องและ Local Anesthesia
2. ส่งใบ Set ที่ OR ก่อนเวลาที่แพทย์ทา 30 นาที
3. กรณีผู้ป่ วย Elective Case ให้ส่งใบ Set ที่OR ในเวลาราชการ
4. กรณีผู้ป่ วย Emergency Case ให้ส่งใบ Set ทันทีและเจ้าหน้าที่ LR จะ
ตามทีมเอง
15-Aug-14 24
ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน
• ผู้ร่วมทบทวน/ แพทย์
–แพทย์ OR, LR, ER, OPD, ตึกผู้ป่ วยใน1
และตึกผู้ป่ วยใน 2
15-Aug-14 25
THANK YOU
15-Aug-14 26

More Related Content

What's hot

คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางSuradet Sriangkoon
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
Nickson Butsriwong
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
กรรณิกา ปัญญาอมรวัฒน์
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
Suradet Sriangkoon
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
Suradet Sriangkoon
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Aphisit Aunbusdumberdor
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
Prachaya Sriswang
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
Utai Sukviwatsirikul
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
Suradet Sriangkoon
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
Sutthiluck Kaewboonrurn
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
piyarat wongnai
 
การจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนการจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียน
Suradet Sriangkoon
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงแนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
Suradet Sriangkoon
 

What's hot (20)

คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉางคู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
คู่มือ Trigger tool โรงพยาบาลท่าฉาง
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157แบบฟอร์ม หน้า 155 157
แบบฟอร์ม หน้า 155 157
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sriการบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ   Suradet sri
การบริหารจัดการความเสี่ยงจากมาตรฐานสู่การปฏิบัติ Suradet sri
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
RCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิวRCA แบบ ชิว ชิว
RCA แบบ ชิว ชิว
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
Ppt.trigger tool
Ppt.trigger toolPpt.trigger tool
Ppt.trigger tool
 
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoonหลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
หลักคิดสำคัญการทบทวนเวชระเบียนคุณภาพและความปลอดภัย -Suradet sriangkoon
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoonการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
การบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับน้องๆหน้างาน - Suradet Sriangkoon
 
4.ภาระงาน
4.ภาระงาน4.ภาระงาน
4.ภาระงาน
 
กฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาลกฏหมายกับพยาบาล
กฏหมายกับพยาบาล
 
Prachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage ScalePrachinburi Triage Scale
Prachinburi Triage Scale
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
การจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียนการจัดการข้อร้องเรียน
การจัดการข้อร้องเรียน
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยงแนวทางการรายงานความเสี่ยง
แนวทางการรายงานความเสี่ยง
 

More from Prachaya Sriswang

ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
Prachaya Sriswang
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
Prachaya Sriswang
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
Prachaya Sriswang
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
Prachaya Sriswang
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
Prachaya Sriswang
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
Prachaya Sriswang
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
Prachaya Sriswang
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1Prachaya Sriswang
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
Prachaya Sriswang
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
Prachaya Sriswang
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
Prachaya Sriswang
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
Prachaya Sriswang
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
Prachaya Sriswang
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
Prachaya Sriswang
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
Prachaya Sriswang
 

More from Prachaya Sriswang (20)

Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ppt.ha
Ppt.haPpt.ha
Ppt.ha
 
Ppt influenza
Ppt influenzaPpt influenza
Ppt influenza
 
Ppt.clinical tracer
Ppt.clinical tracerPpt.clinical tracer
Ppt.clinical tracer
 
Ppt. service profile
Ppt. service profilePpt. service profile
Ppt. service profile
 
Ppt rm
Ppt rmPpt rm
Ppt rm
 
โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1โรคอุบัติใหม่ 1
โรคอุบัติใหม่ 1
 
Presentation2
Presentation2Presentation2
Presentation2
 
Ppt.ht
Ppt.htPpt.ht
Ppt.ht
 
Ppt.dlp
Ppt.dlpPpt.dlp
Ppt.dlp
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
Ppt. patient safety goal
Ppt. patient safety goalPpt. patient safety goal
Ppt. patient safety goal
 
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
การเตรียมพร้อมก่อนวัยเกษียณอย่างมีความสุข.1
 
Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)Ppt. influenza (25.8.57)
Ppt. influenza (25.8.57)
 
Ha overview.1
Ha overview.1Ha overview.1
Ha overview.1
 

Ppt. ตัวอย่าง 12 กิจกรรมทบทวน

  • 2. การทบทวน 12 กิจกรรม • เป้ าหมายของการทบทวน คือ การปรับปรุงระบบให้มั่นใจว่าจะไม่ให้เกิด เหตุการณ์ในลักษณะนั้นซ้าขึ้นอีก มีหลักคิดง่าย ๆ ในการทบทวน ดังนี้ –ระบุขั้นตอนที่ผิดพลาด ผิดจากมาตรฐาน พิจารณาจุดเปลี่ยนที่เปไนไปได –รับความคิดเหไนของคนหนางาน ดูสถานการณ์จริง –ออกแบบกระบวนการทางานใหม่ โดยใชความคิดสรางสรรค์ และหลัก Hamun factor engineering (ออกแบบระบบเพื่อแกไข ขอจากัดของคน 15-Aug-14 2
  • 16. ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน • เล่าสรุปเรื่อง/ เหตุการณ์ –ผู้ป่ วยชายไทย 63 ปี ได้รับการตรวจจาก OPD ด้วยอาการจุกแน่น หน้าอก 30 นาที พบแพทย์แล้วส่ง ER เพื่อทา EKG ผู้ป่ วยเดินมา นอนเตียงรอทา EKG นอนหายใจเสียงดัง เกร็งตาค้าง และหยุด หายใจ แพทย์ ER ทา CPR EKG เป็น VF defibrillation 200 j. 1 ครั้ง CPR 10 นาที ( ใส่ ET- tube ไม่ได้ hold face mask ) ผู้ป่ วย เริ่มรู้สึกตัว EKG 12 lead มี St elevate V1-V3 refer รพ. Admit รอดชีวิตเป็นปกติ 15-Aug-14 16
  • 17. ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน • ประเด็นสาคัญที่เป็นสาเหตุ 1.การคัดกรองผิดพลาด/ ผู้ป่ วยควรจะได้รับการตรวจวินิจฉัย ได้เร็วกว่านี้ 2. EKG ที่เป็น VF ไม่ได้ print ไว้เป็นหลักฐาน กรณีแพทย์ ไม่ได้ดู EKGขณะนั้น และการ defibrillation เป็นความ รับผิดชอบของแพทย์ 3. แพทย์ รพ. ที่ refer ขอดู EKG ขณะเป็น VF (ไม่มีให้) 15-Aug-14 17
  • 18. ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน • วิธีการดาเนินการป้ องกัน/แก้ไข ( RCA) 1.จัดระบบการคัดกรองและมีการคัดกรองในช่วงบ่าย ผู้ป่ วยที่มาด้วย อาการเจ็บหน้าอกควรส่งเข้า ER ทันที 2. ขณะ monitor EKG ถ้าพบความผิดปกติ print ไว้ 3.เมื่อ refer ส่ง EKG ให้ รพ. refer (case นี้เป็นกรณีฉุกเฉินดู EKG จากการวาง paddle แล้ว defibrillation เลย ไม่ได้ print EKG ไว้) • ผู้ร่วมทบทวน/ แพทย์ –เจ้าหน้าที่ ER 15-Aug-14 18
  • 19. ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน • เล่าสรุปเรื่อง/ เหตุการณ์ –เนื่องจากมีผู้ป่ วย AUB มานอนโรงพยาบาล แพทย์มีแผนการ รักษา Currttage on ketalar on call โดยเขียน Order เวลา 15.00น. แต่แนวทางปฏิบัติเดิมผู้ป่ วยทีส่ง Currttage ทุกราย ส่งห้อง Currttage ไม่ต้องส่งใบ Set โดยในเวลาราชการ OPD รับผิดชอบ ถ้านอกเวลาราชการ ER รับผิดชอบผู้ป่ วยท ฉีด ketalar ทุกรายจะต้องส่งใบ Set เพื่อให้พยาบาลดมยา รับทราบและเป็นผู้ฉีดยา 15-Aug-14 19
  • 20. ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน • เล่าสรุปเรื่อง/ เหตุการณ์ 1. กาหนดผู้ป่ วยทีต้องส่งใบ set ผ่าตัด ดังนี้ – ผู้ป่ วย General Anesthesia ทุกราย – ผู้ป่ วยทา Under Spinal Block – ผู้ป่ วยให้ยาระงับความรู้สึกฉีดเข้าหลอดเลือดดา Ketalar 15-Aug-14 20
  • 21. ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน • เล่าสรุปเรื่อง/ เหตุการณ์ –เมื่อถึงเวลา On call เจ้าหน้าที่ Ward ได้โทรแจ้ง ER ซึ่งเป็นนอก เวลาราชการ แต่ ER โทรแจ้งพยาบาลดมยามาฉีด ketalar และ พยาบาลดมยาได้โทรศัพท์แจ้ง Ward ว่าทาไมไม่ส่งใบ Set ขณะนั้น แพทย์เจ้าของไข้มาตรวจเยี่ยมอาการผู้ป่ วยพอดีได้ สอบถามแพทย์ เจ้าของไข้ และรายงานเหตุการณ์ แพทย์เจ้าของไข้ต้องการให้ พยาบาล ER เป็นผู้ฉีดยา ketalar และแพทย์ได้สอบถามพยาบาล Ward ว่าเคยปฏิบัติกันอย่างไร 15-Aug-14 21
  • 22. ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน • เล่าสรุปเรื่อง/ เหตุการณ์ –พยาบาล Ward ได้แจ้งว่าผู้ป่ วย Currttage แพทย์ใช้ D2P และ Pethidine แพทย์เจ้าของไข้จึงเปลี่ยน Order เป็นฉีด D2P และ Pethidine แทน พยาบาล Ward ได้โทรแจ้ง ER อีกครั้งว่า OFF ฉีด ketalar 15-Aug-14 22
  • 23. ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน • ประเด็นสาคัญที่เป็นสาเหตุ – ผู้ป่ วยที่ฉีด ketalar ทุกรายจะต้องส่งใบ Set เพื่อให้พยาบาล ดมยารับทราบและเป็นผู้ฉีดยา • วิธีการดาเนินการป้ องกัน/แก้ไข ( RCA) 1. กาหนดผู้ป่ วยที่ต้องส่งใบ set ผ่าตัดดังนี้ - ผู้ป่ วย General - Anesthesia ทุกราย - ผู้ป่ วยทา Under Spinal Block 15-Aug-14 23
  • 24. ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน • วิธีการดาเนินการป้ องกัน/แก้ไข ( RCA) (ต่อ) – ผู้ป่ วยให้ยาระงับความรู้สึกฉีดเข้าหลอดเลือดดา Ketalar – ผู้ป่ วยที่แพทย์สั่ง NPO ไว้ก่อนแต่ยังไม่ระบุว่าจะใช้ยาระงับความรู้สึก อะไร – ผู้ป่ วยที่แพทย์ทาผ่าตัดบริเวณช่องท้องและ Local Anesthesia 2. ส่งใบ Set ที่ OR ก่อนเวลาที่แพทย์ทา 30 นาที 3. กรณีผู้ป่ วย Elective Case ให้ส่งใบ Set ที่OR ในเวลาราชการ 4. กรณีผู้ป่ วย Emergency Case ให้ส่งใบ Set ทันทีและเจ้าหน้าที่ LR จะ ตามทีมเอง 15-Aug-14 24
  • 25. ตัวอย่างการเขียน 12 กิจกรรมทบทวน • ผู้ร่วมทบทวน/ แพทย์ –แพทย์ OR, LR, ER, OPD, ตึกผู้ป่ วยใน1 และตึกผู้ป่ วยใน 2 15-Aug-14 25