SlideShare a Scribd company logo
การประเมินและติดตามอาการแพ้ยา
ADR assessment and monitoring

      Rachanont Hiranwong
          1st may 2012
ความหมาย


Adverse drug reaction (ADR) หมายถึง การ
ตอบสนองต่อยาที่เป็นอันตราย และไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้น
ซึ่งเกิดขึ้นในขนาดการใช้ตามปกติในมนุษย์ โดยไม่
รวมถึงการได้รับยาเกินขนาด หรือการจงใจใช้ยาในทาง
ที่ผิดจนเกิดอันตราย
ความหมาย


Drug allergy หมายถึงปฏิกิริยาที่เกิดจากภูมิคุ้มกัน
ของร่างกายต่อต้านยาที่ได้รับเข้าไป
ความหมาย


Side effect หมายถึง ผลใดๆ ที่ไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้น
จากเภสัชภัณฑ์ (pharmaceutical product) ซึ่ง
เกิดขึ้นในขนาดการใช้ตามปกติในมนุษย์ และสัมพันธ์
กับคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาของยา
ประเภทของ ADR


Type A (Augmented) ADR
Type B (Bizarre) ADR
Type A VS Type B
                   Type A                                        Type B
เป็นผลจากฤทธิ์เภสัชวิทยาของยาหรือเมตาบอไลท์ ไม่สัมพันธ์กับฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาตามปกติของยา
                    ของยา
    ไม่มีความจาเพาะในการเกิดกับคนบางกลุ่ม    เป็นปฏิกิริยาตอบสนองเฉพาะสาหรับบางคนจะ
                                                     เกิดขึ้นกับผู้ที่มีความไวต่อยานั้น
 ความรุนแรงของอาการที่เกิดมีความสัมพันธ์กับ        ไม่สัมพันธ์กับขนาดยา ได้รับยาเพียงเล็กน้อยก็อาจ
                   ขนาดยา                                         เกิดอันตรายถึงชีวิต
 ส่วนใหญ่พบตั้งแต่ขั้นตอนการทดลองยาในสัตว์                ไม่พบในขั้นตอนการทดลองยาในสัตว์
 มีอุบัติการณ์เกิดสูง แต่มีอัตราการเสียชีวิตน้อย     มีอุบัติการณ์การเกิดต่า แต่ทาให้เสียชีวิตได้สูง
       สามารถรักษาได้โดยการลดขนาดยา                           การรักษาทาได้โดยหยุดใช้ยา
Sedation (Type A)




    Antihistamines
Bleeding (Type A)




      Warfarin
Urticaria (Type B)
True allergy VS Pseudo allergy


                  True allergy                         Pseudo allergy
เกิดอาการเมื่อรับยานานพอจนสามารถกระตุ้น         เกิดอาการได้ตั้งแต่ครั้งแรกที่รับยา
 ภูมิคุ้มกันให้เกิดการตอบสนองได้ โดยใช้เวลา
ประมาณ 1 - 2 สัปดาห์ (ในการได้ยาครั้งแรก)
              ไม่สัมพันธ์กับขนาดยา            สัมพันธ์กับขนาดยาหรืออัตราเร็วในการ
                                                              ให้ยา
           แก้ไขโดยการหยุดยา                  แก้ไขโดยลดขนาดยา ลดอัตราเร็วในการ
                                                      ให้ยา หรือให้ยาป้องกัน
Red man syndrome


                ผื่นบริเวณใบหน้า ลาคอ ลาตัว และแขน
                อาจรุนแรงจนถึง แน่นหน้าอก หายใจไม่ออก
                เกิดขึ้นภายใน 4 – 10 นาทีหรือทันทีหลังให้ยาเสร็จ
                เกิดจากยาความเข้มข้นสูงเกินไปหรือให้ยาเร็วเกินไป
                แก้ไขโดยเจือจางยาให้มีความเข้มข้นสูงสุดไม่เกิน 5
                 mg/ml และให้ยาในอัตราที่ช้าลงกว่าเดิม คือนาน
                 อย่างน้อย 60 นาที
Vancomycin
กลไกการแพ้ยา


Type I : IgE-Mediated Drug Hypersensitivity
Type II : IgG-Mediated Cytotoxicity
Type III : Immune Complex Deposition
Type IV : T-Cell-Mediated Drug Hypersensitivity
 (Hapten/Prohapten Concept, p-i Concept)
The Allergy Pathway
Tissues Affected In Allergic Inflammation
Type I : IgE-Mediated Drug Hypersensitivity




 ใช้เวลากระตุ้นครั้งแรก 7 – 14 วัน เมื่อได้รับยาอีกครั้งจะเกิดอาการภายใน หนึ่งชั่วโมง
Urticaria


      เป็นรอยนูนแดงขนาดเล็ก คันมาก
      ผื่นค่อยๆ ขยายออก มีขอบยกนูน
       รูปร่างเหมือนวงกลมแต่มักไม่ครบวง
      บางครั้งดูคล้ายแผนที่มีขอบหยักไป
       หยักมา ผื่นกระจายทั่วร่างกาย
Angioedema


      ผื่นลมพิษที่เกิดในชั้นผิวหนัง
       ส่วนลึกหรือชั้นไขมันใต้ผิวหนัง
      มักเกิดตามเยื่อบุ เช่นเปลือกตา
       ริมฝีปาก อวัยวะเพศ ซึ่งจะบวม
       นูนไม่มีขอบเขตชัดเจน
      ดีขึ้นภายใน 2 - 5 วัน
Anaphylactic shock


        Anaphylactic shock จัดเป็น Anaphylaxis
ชนิดรุนแรง ผู้ป่วยจะมีการลดลงของความดันโลหิต
อย่างรวดเร็ว ผลการตรวจร่างกายอาจวัด BP และคลา
pulse ไม่ได้ ผู้ป่วยจะมีอาการหมดสติ ช็อค หรือ
เสียชีวิตได้ ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที
Type II : IgG-Mediated Cytotoxicity

            ใช้เวลากระตุ้นครั้งแรก 7 – 14 วัน
            Hemolytic anemia: Penicillin, quinidine
            Neutropenia: anti – convulsants,
             sulfonamides, Phenothiazines
            Thrombocytopenia: Paracetamol,
             quinine, quinidine, sulfonamides
Hemolytic Disease of
   the Newborn
Type III : Immune Complex Deposition

                 ใช้เวลากระตุ้นครั้งแรก 7 – 14 วัน
                 Serum sickness: มีไข้, อ่อนเพลีย, ปวด
                  ข้อ, ผื่นคัน
                 หลอดเลือดอักเสบ
                 ต่อมน้าเหลืองโต
                 กรวยไตอักเสบ
                 Phenytoin, Penicillin, Sulfonamides,
                  Thiouracil
Type IV : T-Cell-Mediated Drug Hypersensitivity




 ใช้เวลากระตุ้นครั้งแรก 1 – 3 สัปดาห์ เกิดอาการภายใน 24 – 48 ชม.
Maculo - papular rash


           Macule หมายถึง ผื่นที่มี
            เฉพาะการเปลี่ยนแปลงสีผิว มี
            ขนาดใหญ่กว่า 1 ซม.
           Papule หมายถึง ตุ่มนูนที่
            ผิวหนัง
           มีอาการคันร่วมด้วย
Fixed drug eruption
         รูปร่างกลม ขอบชัด สีแดงจัด จนตรงกลาง
          ของผื่นอาจเปลี่ยนเป็นสีแดงคล้าหรือสีม่วง
          หรือพองเป็นตุ่มน้า
         ผื่นมักจะมีอาการแสบร้อนเจ็บๆคันๆ
         พบบ่อยที่บริเวณริมฝีปาก และเยื่อบุตาม
          ผิวหนังอื่นๆ
         เมื่อได้รับยาที่เป็นสาเหตุอีกในครั้งต่อมาจะ
          ปรากฏผื่นที่บริเวณเดิมทุกครั้ง
         มักเกิดหลังรับยาประมาณ 30 นาที แต่มักไม่
          นานเกิน 24 ชั่วโมง
Exfoliative dermatitis

          ผิวหนังจะแดงทั่วๆไปคล้าย MP rash
           แต่ไม่เกิดอย่างรวดเร็ว
          ไม่มีอาการแสบร้อน และไม่เกิดตุ่มน้าพอง
          ผิวหนังจะค่อยๆ ลอกเป็นขุยแห้งจนทั่ว
           ร่างกาย
          ฝ่ามือฝ่าเท้าจะหนาเป็นแผ่น กว่าจะหลุด
           ใช้เวลานาน
Erythema multiforme

       EM minor มีผื่นตามผิวหนัง
        ร่วมกับผื่นตามเยื่อบุ เช่น เยื่อบุ
        ตา เยื่อบุช่องปาก จมูก ทวาร
        อวัยวะเพศ อีก 1 แห่ง
       ลักษณะเหมือนเป้ายิงธนู
        (Target lesion)
Stevens Johnson Syndrome
Stevens Johnson Syndrome

 EM major หรือที่เรียกว่า Stevens Johnson syndrome จะมีผื่น
  ตามเยื่อบุมากกว่า 1 แห่ง
 มีอาการค่อนข้างรุนแรงกว่า อาการนาก่อนเกิดผื่น ผู้ป่วยจะมีอาการคล้าย
  ไข้หวัด คือมีไข้ อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามเนื้อตัว ปวดข้อ
 มักพบผื่นที่ฝ่ามือฝ่าเท้า แขนขา และเยื่อบุก่อน จากนั้นจะลามไปที่ลาตัว
 บริเวณเยื่อบุต่างๆ จะมีอาการมากกว่า โดยพบมีแผลที่เยื่อบุตา ช่องปาก
  จมูก อวัยวะเพศ
 มักเกิดอาการภายใน 1 – 4 สัปดาห์หลังได้รับยา
การประเมิน ADR อย่างเป็นระบบ
ขั้นตอนที่ 1 การวินิจฉัยผื่นแพ้ยา


ต้องอาศัยความร่วมมือของแพทย์ในการวินิจฉัย
 ผื่นแพ้ยา ชนิดของผื่นที่ถูกต้อง
ทาให้การสืบค้นข้อมูลเพื่อหายาที่สงสัยเป็นไปได้
 ง่ายยิ่งขึ้น
ขั้นตอนที่ 2 การหายาที่สงสัย


หาว่ายาชนิดใดบ้างที่ระยะเวลาทีได้รับยาเข้ากัน
                                ่
 ได้กับ onset ของการเกิดผื่นแพ้ยาดังกล่าว
ขั้นตอนที่ 3 หาสาเหตุอื่นที่อาจเป็นไปได้


ยาชนิดอื่นที่ผู้ป่วยได้รับร่วมด้วย
โรคประจาตัวที่ผู้ป่วยเป็นอยู่ หรือโรคร่วมอื่นๆ
สาเหตุอื่นๆ เช่น การแพ้อากาศ อาหาร สารเคมี
 อื่นๆ
ขั้นตอนที่ 4
        การประเมินโดยใช้ Algorithm


ที่นิยมใช้มี 3 algorithms คือ
Naranjo’s algorithm
Thai Algorithm
WHO’s criteria
Thai Algorithm




http://www.slideshare.net/elixer/thaialgorithm-slide-presentation
ขั้นตอนที่ 5 การสรุปผลการประเมิน


 ออกบัตรแพ้ยา
 ส่งต่อข้อมูล
 ให้คาแนะนาแก่ผู้ป่วยและญาติ
การเขียนบัตรแพ้ยา
การส่งต่อข้อมูล
Thank You
for Attention

More Related Content

What's hot

การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
Rachanont Hiranwong
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
Pa'rig Prig
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
Rachanont Hiranwong
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
AuMi Pharmaza
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
Prachaya Sriswang
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
Utai Sukviwatsirikul
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
Utai Sukviwatsirikul
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Cpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usageCpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usage
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
Utai Sukviwatsirikul
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
โรงพยาบาลสารภี
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
Utai Sukviwatsirikul
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
Pa'rig Prig
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัดsaowaluk2556
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
การให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยาการให้บัตรแพ้ยา
การให้บัตรแพ้ยา
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยาการจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
การจัดการผู้ป่วยแจ้งประวัติแพ้ยา
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
ร้านยาคุณภาพ โดย ชวิการ์ ทับบุญ
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
Cpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usageCpg topical steroid usage
Cpg topical steroid usage
 
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
คู่มือ fatal DI&ยาจิตเวช
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
แนวทางการรกัษาไวรัสตับอกัเสบบีในผู้ใหญ่ รศ.นพ.พิศาล ไม้เรียง
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัด
 
Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital Pediatric dose from angthong hospital
Pediatric dose from angthong hospital
 

Viewers also liked

การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
Tuanthon Boonlue
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
Prachaya Sriswang
 
Thaialgorithm Slide
Thaialgorithm SlideThaialgorithm Slide
Thaialgorithm Slide
Rachanont Hiranwong
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...MedicineAndHealth
 
Lesions of skin
Lesions of skinLesions of skin
Lesions of skin
Gurjot Marwah
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
Utai Sukviwatsirikul
 
Antibiotics Smart Use Program
Antibiotics Smart Use ProgramAntibiotics Smart Use Program
Antibiotics Smart Use Program
Sagar Nama
 
Angioedema
AngioedemaAngioedema
Cpg psoriasis 2011
Cpg psoriasis 2011Cpg psoriasis 2011
Cpg psoriasis 2011
Utai Sukviwatsirikul
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
Lek Suthida
 
ชุดที่2 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนร...
ชุดที่2 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนร...ชุดที่2 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนร...
ชุดที่2 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนร...Napadon Yingyongsakul
 
Skin part 2
Skin part 2Skin part 2
Skin part 2
Or Chid
 
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
Utai Sukviwatsirikul
 
Cpg psoriasis institue of derm
Cpg psoriasis institue of dermCpg psoriasis institue of derm
Cpg psoriasis institue of derm
Utai Sukviwatsirikul
 
Psoriatic arthritis
Psoriatic arthritisPsoriatic arthritis
Psoriatic arthritis
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
Utai Sukviwatsirikul
 
Thai hypertension guideline 2015
Thai hypertension guideline 2015Thai hypertension guideline 2015
Thai hypertension guideline 2015
Utai Sukviwatsirikul
 
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
Utai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (20)

การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆการติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
การติดตามอาการไม่พึงประสงค์จากยาตามระบบต่างๆ
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
Thaialgorithm Slide
Thaialgorithm SlideThaialgorithm Slide
Thaialgorithm Slide
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
 
Lesions of skin
Lesions of skinLesions of skin
Lesions of skin
 
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรียคู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
คู่มือการรักษาโรคติดเชื้อแบคทีเรีย
 
Antibiotics Smart Use Program
Antibiotics Smart Use ProgramAntibiotics Smart Use Program
Antibiotics Smart Use Program
 
Angioedema
AngioedemaAngioedema
Angioedema
 
Cpg psoriasis 2011
Cpg psoriasis 2011Cpg psoriasis 2011
Cpg psoriasis 2011
 
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
 
Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)Slide ยา had (1)
Slide ยา had (1)
 
ชุดที่2 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนร...
ชุดที่2 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนร...ชุดที่2 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนร...
ชุดที่2 เล่ม3 เทคนิค วิธีการและสื่อสำหรับนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนร...
 
Skin part 2
Skin part 2Skin part 2
Skin part 2
 
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
รายงานสถานการณ์ระบบสุขภาพปี 2557
 
Cpg psoriasis institue of derm
Cpg psoriasis institue of dermCpg psoriasis institue of derm
Cpg psoriasis institue of derm
 
Psoriatic arthritis
Psoriatic arthritisPsoriatic arthritis
Psoriatic arthritis
 
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้นคู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
คู่มือการตรวจสอบเฝ้าระวังโฆษณาผลิตภัณฑ์สุขภาพเบื้องต้น
 
Thai hypertension guideline 2015
Thai hypertension guideline 2015Thai hypertension guideline 2015
Thai hypertension guideline 2015
 
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula Pharmacy Guide Pharmacy  of Chula
Pharmacy Guide Pharmacy of Chula
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 

Similar to Adr assessment and monitoring

Zoonosis
ZoonosisZoonosis
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนPawat Logessathien
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
Utai Sukviwatsirikul
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in children
Thorsang Chayovan
 
Skin topic
Skin topicSkin topic
Skin topic
Akaitori Xjapan
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
praphan khunti
 
n2735_f67a4ee06ad870896761117c663442c2_article_20200227150642.pdf
n2735_f67a4ee06ad870896761117c663442c2_article_20200227150642.pdfn2735_f67a4ee06ad870896761117c663442c2_article_20200227150642.pdf
n2735_f67a4ee06ad870896761117c663442c2_article_20200227150642.pdf
SomchaiPt
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zosterAimmary
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
Napisa22
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
Utai Sukviwatsirikul
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงWan Ngamwongwan
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 

Similar to Adr assessment and monitoring (20)

Zoonosis
ZoonosisZoonosis
Zoonosis
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
 
1409adr
1409adr1409adr
1409adr
 
Allergic rhinitis
Allergic rhinitisAllergic rhinitis
Allergic rhinitis
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
Exanthematous fever in children
Exanthematous fever in childrenExanthematous fever in children
Exanthematous fever in children
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
Skin topic
Skin topicSkin topic
Skin topic
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
 
n2735_f67a4ee06ad870896761117c663442c2_article_20200227150642.pdf
n2735_f67a4ee06ad870896761117c663442c2_article_20200227150642.pdfn2735_f67a4ee06ad870896761117c663442c2_article_20200227150642.pdf
n2735_f67a4ee06ad870896761117c663442c2_article_20200227150642.pdf
 
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ดูแลผู้ป่วยหวัด 2009
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
แนวทางการรักษาไข้มาลาเรีย ประเทศไทย 2558
 
มะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียงมะเร็งกล่องเสียง
มะเร็งกล่องเสียง
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 

More from Rachanont Hiranwong

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
Rachanont Hiranwong
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
Rachanont Hiranwong
 
RDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung HospitalRDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung Hospital
Rachanont Hiranwong
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
Rachanont Hiranwong
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
Rachanont Hiranwong
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558
Rachanont Hiranwong
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
Rachanont Hiranwong
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
Rachanont Hiranwong
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานRachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
Rachanont Hiranwong
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...Rachanont Hiranwong
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง Rachanont Hiranwong
 
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดนำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดRachanont Hiranwong
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
Rachanont Hiranwong
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลRachanont Hiranwong
 

More from Rachanont Hiranwong (20)

การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับการดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
การดูแลการใช้ยาในผู้ป่วยโรคตับ
 
Pharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patientPharmcare in TB/HIV patient
Pharmcare in TB/HIV patient
 
RDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung HospitalRDU in Banglamung Hospital
RDU in Banglamung Hospital
 
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุงการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
การดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังในโรงพยาบาลบางละมุง
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenal do...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลงRenaldos...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
ค่าใช้จ่ายที่ประหยัดได้จากการให้ข้อมูลขนาดยาที่เหมาะสมในผู้ป่วยที่มีการทำงานข...
 
การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558การพัฒนาระบบยา 2558
การพัฒนาระบบยา 2558
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรมผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
ผลลัพธ์ต่อการควบคุมโรคหืดหลังจากได้รับการบริบาลทางเภสัชกรรม
 
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงานหลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
หลักเกณฑ์ และแนวทาง การเปิดเผยราคากลางของหน่วยงาน
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบา...
 
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยาเทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
การเฝ้าระวังผลต่อไตจากการใช้ยา เทโนโฟเวียร์ในผู้ป่วยติดเชื้อเอชไอวีโรงพยาบาลบ...
 
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
การพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดยาในผู้ป่วยในที่มีการทำงานของไตลดลง
 
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาดนำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
นำเสนอการพัฒนาระบบติดตามและให้ข้อมูลขนาด
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
Medication reconciliation slide
Medication reconciliation slideMedication reconciliation slide
Medication reconciliation slide
 
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาลการเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
การเตรียมน้ำเกลือที่มีความเข้มข้นแตกต่างจากที่มีในบัญชีโรงพยาบาล
 

Adr assessment and monitoring

  • 2. ความหมาย Adverse drug reaction (ADR) หมายถึง การ ตอบสนองต่อยาที่เป็นอันตราย และไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้น ซึ่งเกิดขึ้นในขนาดการใช้ตามปกติในมนุษย์ โดยไม่ รวมถึงการได้รับยาเกินขนาด หรือการจงใจใช้ยาในทาง ที่ผิดจนเกิดอันตราย
  • 4. ความหมาย Side effect หมายถึง ผลใดๆ ที่ไม่ได้จงใจให้เกิดขึ้น จากเภสัชภัณฑ์ (pharmaceutical product) ซึ่ง เกิดขึ้นในขนาดการใช้ตามปกติในมนุษย์ และสัมพันธ์ กับคุณสมบัติทางเภสัชวิทยาของยา
  • 5. ประเภทของ ADR Type A (Augmented) ADR Type B (Bizarre) ADR
  • 6. Type A VS Type B Type A Type B เป็นผลจากฤทธิ์เภสัชวิทยาของยาหรือเมตาบอไลท์ ไม่สัมพันธ์กับฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาตามปกติของยา ของยา ไม่มีความจาเพาะในการเกิดกับคนบางกลุ่ม เป็นปฏิกิริยาตอบสนองเฉพาะสาหรับบางคนจะ เกิดขึ้นกับผู้ที่มีความไวต่อยานั้น ความรุนแรงของอาการที่เกิดมีความสัมพันธ์กับ ไม่สัมพันธ์กับขนาดยา ได้รับยาเพียงเล็กน้อยก็อาจ ขนาดยา เกิดอันตรายถึงชีวิต ส่วนใหญ่พบตั้งแต่ขั้นตอนการทดลองยาในสัตว์ ไม่พบในขั้นตอนการทดลองยาในสัตว์ มีอุบัติการณ์เกิดสูง แต่มีอัตราการเสียชีวิตน้อย มีอุบัติการณ์การเกิดต่า แต่ทาให้เสียชีวิตได้สูง สามารถรักษาได้โดยการลดขนาดยา การรักษาทาได้โดยหยุดใช้ยา
  • 7. Sedation (Type A) Antihistamines
  • 8. Bleeding (Type A) Warfarin
  • 10. True allergy VS Pseudo allergy True allergy Pseudo allergy เกิดอาการเมื่อรับยานานพอจนสามารถกระตุ้น เกิดอาการได้ตั้งแต่ครั้งแรกที่รับยา ภูมิคุ้มกันให้เกิดการตอบสนองได้ โดยใช้เวลา ประมาณ 1 - 2 สัปดาห์ (ในการได้ยาครั้งแรก) ไม่สัมพันธ์กับขนาดยา สัมพันธ์กับขนาดยาหรืออัตราเร็วในการ ให้ยา แก้ไขโดยการหยุดยา แก้ไขโดยลดขนาดยา ลดอัตราเร็วในการ ให้ยา หรือให้ยาป้องกัน
  • 11. Red man syndrome  ผื่นบริเวณใบหน้า ลาคอ ลาตัว และแขน  อาจรุนแรงจนถึง แน่นหน้าอก หายใจไม่ออก  เกิดขึ้นภายใน 4 – 10 นาทีหรือทันทีหลังให้ยาเสร็จ  เกิดจากยาความเข้มข้นสูงเกินไปหรือให้ยาเร็วเกินไป  แก้ไขโดยเจือจางยาให้มีความเข้มข้นสูงสุดไม่เกิน 5 mg/ml และให้ยาในอัตราที่ช้าลงกว่าเดิม คือนาน อย่างน้อย 60 นาที Vancomycin
  • 12. กลไกการแพ้ยา Type I : IgE-Mediated Drug Hypersensitivity Type II : IgG-Mediated Cytotoxicity Type III : Immune Complex Deposition Type IV : T-Cell-Mediated Drug Hypersensitivity (Hapten/Prohapten Concept, p-i Concept)
  • 13.
  • 15. Tissues Affected In Allergic Inflammation
  • 16. Type I : IgE-Mediated Drug Hypersensitivity  ใช้เวลากระตุ้นครั้งแรก 7 – 14 วัน เมื่อได้รับยาอีกครั้งจะเกิดอาการภายใน หนึ่งชั่วโมง
  • 17. Urticaria  เป็นรอยนูนแดงขนาดเล็ก คันมาก  ผื่นค่อยๆ ขยายออก มีขอบยกนูน รูปร่างเหมือนวงกลมแต่มักไม่ครบวง  บางครั้งดูคล้ายแผนที่มีขอบหยักไป หยักมา ผื่นกระจายทั่วร่างกาย
  • 18. Angioedema  ผื่นลมพิษที่เกิดในชั้นผิวหนัง ส่วนลึกหรือชั้นไขมันใต้ผิวหนัง  มักเกิดตามเยื่อบุ เช่นเปลือกตา ริมฝีปาก อวัยวะเพศ ซึ่งจะบวม นูนไม่มีขอบเขตชัดเจน  ดีขึ้นภายใน 2 - 5 วัน
  • 19. Anaphylactic shock Anaphylactic shock จัดเป็น Anaphylaxis ชนิดรุนแรง ผู้ป่วยจะมีการลดลงของความดันโลหิต อย่างรวดเร็ว ผลการตรวจร่างกายอาจวัด BP และคลา pulse ไม่ได้ ผู้ป่วยจะมีอาการหมดสติ ช็อค หรือ เสียชีวิตได้ ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลืออย่างทันท่วงที
  • 20. Type II : IgG-Mediated Cytotoxicity  ใช้เวลากระตุ้นครั้งแรก 7 – 14 วัน  Hemolytic anemia: Penicillin, quinidine  Neutropenia: anti – convulsants, sulfonamides, Phenothiazines  Thrombocytopenia: Paracetamol, quinine, quinidine, sulfonamides
  • 21. Hemolytic Disease of the Newborn
  • 22. Type III : Immune Complex Deposition  ใช้เวลากระตุ้นครั้งแรก 7 – 14 วัน  Serum sickness: มีไข้, อ่อนเพลีย, ปวด ข้อ, ผื่นคัน  หลอดเลือดอักเสบ  ต่อมน้าเหลืองโต  กรวยไตอักเสบ  Phenytoin, Penicillin, Sulfonamides, Thiouracil
  • 23. Type IV : T-Cell-Mediated Drug Hypersensitivity  ใช้เวลากระตุ้นครั้งแรก 1 – 3 สัปดาห์ เกิดอาการภายใน 24 – 48 ชม.
  • 24. Maculo - papular rash  Macule หมายถึง ผื่นที่มี เฉพาะการเปลี่ยนแปลงสีผิว มี ขนาดใหญ่กว่า 1 ซม.  Papule หมายถึง ตุ่มนูนที่ ผิวหนัง  มีอาการคันร่วมด้วย
  • 25. Fixed drug eruption  รูปร่างกลม ขอบชัด สีแดงจัด จนตรงกลาง ของผื่นอาจเปลี่ยนเป็นสีแดงคล้าหรือสีม่วง หรือพองเป็นตุ่มน้า  ผื่นมักจะมีอาการแสบร้อนเจ็บๆคันๆ  พบบ่อยที่บริเวณริมฝีปาก และเยื่อบุตาม ผิวหนังอื่นๆ  เมื่อได้รับยาที่เป็นสาเหตุอีกในครั้งต่อมาจะ ปรากฏผื่นที่บริเวณเดิมทุกครั้ง  มักเกิดหลังรับยาประมาณ 30 นาที แต่มักไม่ นานเกิน 24 ชั่วโมง
  • 26. Exfoliative dermatitis  ผิวหนังจะแดงทั่วๆไปคล้าย MP rash แต่ไม่เกิดอย่างรวดเร็ว  ไม่มีอาการแสบร้อน และไม่เกิดตุ่มน้าพอง  ผิวหนังจะค่อยๆ ลอกเป็นขุยแห้งจนทั่ว ร่างกาย  ฝ่ามือฝ่าเท้าจะหนาเป็นแผ่น กว่าจะหลุด ใช้เวลานาน
  • 27. Erythema multiforme EM minor มีผื่นตามผิวหนัง ร่วมกับผื่นตามเยื่อบุ เช่น เยื่อบุ ตา เยื่อบุช่องปาก จมูก ทวาร อวัยวะเพศ อีก 1 แห่ง ลักษณะเหมือนเป้ายิงธนู (Target lesion)
  • 29. Stevens Johnson Syndrome  EM major หรือที่เรียกว่า Stevens Johnson syndrome จะมีผื่น ตามเยื่อบุมากกว่า 1 แห่ง  มีอาการค่อนข้างรุนแรงกว่า อาการนาก่อนเกิดผื่น ผู้ป่วยจะมีอาการคล้าย ไข้หวัด คือมีไข้ อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามเนื้อตัว ปวดข้อ  มักพบผื่นที่ฝ่ามือฝ่าเท้า แขนขา และเยื่อบุก่อน จากนั้นจะลามไปที่ลาตัว  บริเวณเยื่อบุต่างๆ จะมีอาการมากกว่า โดยพบมีแผลที่เยื่อบุตา ช่องปาก จมูก อวัยวะเพศ  มักเกิดอาการภายใน 1 – 4 สัปดาห์หลังได้รับยา
  • 31. ขั้นตอนที่ 1 การวินิจฉัยผื่นแพ้ยา ต้องอาศัยความร่วมมือของแพทย์ในการวินิจฉัย ผื่นแพ้ยา ชนิดของผื่นที่ถูกต้อง ทาให้การสืบค้นข้อมูลเพื่อหายาที่สงสัยเป็นไปได้ ง่ายยิ่งขึ้น
  • 34. ขั้นตอนที่ 4 การประเมินโดยใช้ Algorithm ที่นิยมใช้มี 3 algorithms คือ Naranjo’s algorithm Thai Algorithm WHO’s criteria
  • 36. ขั้นตอนที่ 5 การสรุปผลการประเมิน  ออกบัตรแพ้ยา  ส่งต่อข้อมูล  ให้คาแนะนาแก่ผู้ป่วยและญาติ