SlideShare a Scribd company logo
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
2 
แบบทดสอบก่อนเรียน 
เรื่อง ต่อมไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์ กับฮอร์โมน 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง 
ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. สมดุลของแคลเซียมในเลือดเกิดจากควบคุมของฮอร์โมน ในข้อใด 
ก. พาราทอร์โมนเท่านั้น 
ข. ไทรอกซินและแคลซิโทนิน 
ค. ไทรอกซินและพาราทอร์โมน 
ง. แคลซิโทนินและพาราทอร์โมน 
2. ระดับแคลเซียมในเลือด ในภาวะปกติมีค่าเท่าใด 
ก. 9-11 กรัม/เลือด 100 มิลลิลิตร 
ข. 90 - 100 กรัม/เลือด 100 มิลลิลิตร 
ค. 9- 11 มิลลิกรัม/เลือด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 
ง. 90- 100 มิลลิกรัม/เลือด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 
3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ ทั้งหมด 
ก. ไทรอกซิน แคลซิโทนิน 
ข. ไทรอกซิน พาราทอร์โมน 
ค. แคลซิโทนิน พาราทอร์โมน 
ง. พาราทอร์โมน อัลโดสเทอโรน 
4. ฮอร์โมนที่มีความสัมพันธ์กับวิตามินดี คือข้อใด 
ก. ไทรอกซินและแคลซิโทนิน 
ข. ไทรอกซินและพาราทอร์โมน 
ค. แคลซิโทนินและพาราทอร์โมน 
ง. พาราทอร์โมนและโกรทฮอร์โมน 
5. ถ้าระดับแคลเซียมในเลือดมากกว่าในภาวะปกติ ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนชนิดใด 
ก. ไทรอกซิน 
ข. แคลซิโทนินน 
ค. พาราทอร์โมน 
ง. โกรทฮอร์โมน
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
3 
6. สิ่งที่เหมือนกันของคนที่เป็นโรค Cretinism และ Myxedema คือข้อใด 
ก. ขาดไอโอดีน 
ข. มีไอโอดีนมากเกินไป 
ค. ขาดฮอร์โมนไทรอกซิน 
ง. มีฮอร์โมนไทรอกซินมากเกินไป 
7. ถ้าขาดไทรอกซินในวัยเด็กจะทาให้เกิดโรคใด 
ก. โรคเอ่อ 
ข. มิกซีดีมา 
ค. ครีตินิซึม 
ง. เตี้ยแคระแกรน 
8. ฮอร์โมนใดทาให้เกิดเมเทมอร์โฟซิส ( metamorphosis ) ในลูกอ๊อด 
ก. ไทรอกซิน 
ข. แคลซิโทนิน 
ค. พาราทอร์โมน 
ง. ถูกทุกข้อ 
9. ข้อใดเป็นผลที่เกิดจากการที่ต่อมพาราไทรอยด์สร้างฮอร์โมนมากเกินไป 
ก. กระดูกบางและผุง่าย 
ข. ลาไส้ดูดแคลเซียมน้อยลง 
ค. แคลเซียมในเลือดลดลงมาก 
ง. หน่วยไตดึงแคลเซียมออกจากเลือด 
10. อาการเหนื่อยง่าย น้าหนักเพิ่ม ทนความหนาวไม่ได้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ผมและ ผิวหนังแห้ง เป็นอาการของโรคใด 
ก. ครีตินิซึม 
ข. มิกซีดีมา 
ค. คอพอกเป็นพิษ 
ง. ไฮเปอร์พาราไทรอยด์
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
4 
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 
เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
ข้อที่ 
คาตอบ 
1 
ง 
2 
ค 
3 
ก 
4 
ค 
5 
ข 
6 
ง 
7 
ค 
8 
ก 
9 
ก 
10 
ข 
ได้คะแนนน้อยอยู่ ไม่เป็นไรนะครับ เข้าไปศึกษาเนื้อหาในชุดการสอนด้วยกันครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
5 
จุดประสงค์การเรียนรู้ 
เพื่อให้นักเรียนสามารถ 
1. บอกลักษณะของต่อมไทรอยด์และพาราไทรอยด์ได้ 
2. บอกชนิดและหน้าที่ของฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์และ 
ต่อมพาราไทรอยด์ได้ 
3. บอกผลของความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมน 
จากต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ได้
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
6 
บัตรคาสั่งที่ 3.1 
ลักษณะของต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 3.1 ใช้เวลา 20 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 3.1 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 3.1 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
7 
บัตรเนื้อหาที่ 3.1 
ลักษณะของต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ 
ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ 
ที่มา:http:// vcharkarn.com 630 × 282 (25 มีนาคม 2555) 
พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าลักษณะของต่อมไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์เหมือนหรือต่างกัน อย่างไร อยากรู้ตามมาทางนี้นะครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
8 
บัตรเนื้อหาที่ 3.1 
ลักษณะของต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ 
ลักษณะของต่อมไทรอยด์(Thyroid gland) 
ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland) เป็นอวัยวะหนึ่งในระบบต่อมไร้ท่อ อยู่บริเวณ 
ด้านหน้าของลาคอ ในส่วนหน้าต่อลูกกระเดือก หรือกระดูกอ่อนไทรอยด์ (Thyroid cartilage) 
ด้านหน้าของกล่องเสียง ติดกับฐานของคอหอย มีรูปร่างคล้ายผีเสื้อ ประกอบด้วย 2 กลีบใหญ่ คือ กลีบด้านซ้าย และกลีบด้านขวา เป็นต่อมไร้ท่อที่มีขนาดใหญ่ที่สุด 
ในคนปกติมีน้าหนักประมาณ 25 กรัม แบ่งออกเป็น 2 พูและเชื่อมกันตรงกลาง 
ด้วยส่วนที่เรียกว่าคอคอดหรืออิสมัส (isthmus) 
ต่อมไทรอยด์ สร้างฮอร์โมน ที่สามารถดึงไอโอดีนจากกระแสเลือดเข้าสู่เซลล์ได้ 
ต่อมไทรอยด์ จะประกอบด้วยถุงหุ้มที่เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เรียกว่า ไทรอยด์ฟอลลิเคิล (thyroid follicle) ซึ่งเป็นแหล่งที่สร้างและหลั่ง ฮอร์โมนไทรอกซิน ( thyroxine ) ซึ่งมีไอโอดีนเป็นส่วนประกอบแล้วเก็บไว้ในของเหลว ที่อยู่ตรงกลางเรียกว่า คอลลอยด์ (colloid cell) 
นอกจากนั้นในต่อมไทรอยด์ ยังพบกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า เซลล์ซี (C-cell) 
หรือ เซลล์พาราฟอลลิคูลาร์ ( parafollicular cell ) เป็นเซลล์ที่แทรกอยู่ในระหว่างไทรอยด์ ฟอลลิเคิลของต่อมไทรอยด์ 
ภาพแสดงลักษณะของต่อมไทรอยด์ ที่มา : http://www.watchawan.blogspot.com 216 × 168 (25 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
9 
ลักษณะของต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid Gland) 
ต่อมพาราไทรอยด์ เป็นต่อมไร้ท่อประเภทที่จาเป็นต่อชีวิต 
(Essential endocrine gland) ขนาดเล็กเท่าเมล็ดถั่วเขียว ฝังอยู่ด้านหลัง 
ของต่อมไทรอยด์ด้านละ 2 ต่อม รวมเป็น 4 ต่อม ทาหน้าที่ผลิต และหลั่งฮอร์โมน 
พาราทอร์โมน (Parathormone) ซึ่งเป็นสารพอลิเพปไทด์ ประกอบด้วยกรดอะมิโน 
84 โมเลกุล ทาหน้าที่ร่วมกับแคลซิโทนิน และวิตามินดี 
ภาพแสดงลักษณะของต่อมพาราไทรอยด์ ที่มา : http://www.scimath.org 300 × 449 (25 มีนาคม 2555) ภาพแสดงลักษณะของต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ ที่มา : http://www.endocrinesyst.blogspot.com 460 × 300 (25 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
10 
บัตรคาถามที่ 3.1 
ลักษณะของต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกตัวอักษรหน้าข้อความทางด้านล่างมาวางลงใน 
ของข้อความทางด้านบนที่มีความสัมพันธ์กันให้ถูกต้อง 
(คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. เซลล์ซี (C-cell) 
2. อิสมัส (isthmus) 
3. ต่อมไร้ท่อ มีรูปร่างคล้ายผีเสื้อ 
4. ทาหน้าที่ผลิต และหลั่งฮอร์โมนพาราทอร์โมน 
5. เป็นสารพอลิเพปไทด์ ประกอบด้วยกรดอะมิโน 
ก. พาราทอร์โมน 
ข. ต่อมไทรอยด์ 
ค. ต่อมพาราไทรอยด์ 
ง. คอคอดทาหน้าที่เชื่อมต่อมไทรอยด์ 
จ. เป็นเซลล์ที่แทรกอยู่ในระหว่างไทรอยด์ฟอลลิเคิลของต่อมไทรอยด์
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
11 
บัตรเฉลยคาถามที่ 3.1 
ลักษณะของต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ 
9vตอ 
1. จ 
2. ง 
3. ข 
4. ค 
5. ก 
ตอบถูกหมดเลยใช่ไหมครับ 
เก่งที่สุดเลย
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
12 
บัตรคาสั่งที่ 3.2 
ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 3.2 ใช้เวลา 20 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 3.2 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 3.2 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย 
แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
13 
บัตรเนื้อหาที่ 3.2 
ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ 
ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ 
1. ฮอร์โมนไทรอกซิน (Thyroxin) สร้างจากไทรอยด์ฟอลลิเคิล 
หน้าที่ : ควบคุมเมแทบบอลิซึมต่างๆของร่างกาย เช่น ที่เกี่ยวกับ 
การเจริญเติบโต การใช้พลังงาน และ การสังเคราะห์สาร เป็นต้น 
แผนภาพแสดงการสร้างไทรอกซิน 
ที่มา : http://www. pibul.ac.th 406 × 590 (25 มีนาคม 2555) 
พี่ ๆ รู้หรือไม่ ต่อมไทรอยด์และ 
ต่อมพาราไทรอยด์สร้างฮอร์โมนชนิดใดบ้าง และฮอร์โมนแต่ละชนิดทาหน้าที่อะไร
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
14 
นอกจากนี้ไทรอกซินยังสามารถกระตุ้นเมทามอร์โฟซิสของสัตว์ 
สะเทินน้าสะเทินบก โดยมีผู้ศึกษาผลของฮอร์โมนไทรอกซินกับการเกิดเมทามอร์โฟซิส 
ของลูกอ๊อดดังภาพ 
ภาพแสดงลักษณะการเกิดเมทามอร์โฟซีสของลูกอ๊อด 
ที่มา : http://www.vcharkarn.com 600 × 293 (25 มีนาคม 2555) 
2. ฮอร์โมนแคลซิโทนิน (Calcitonin) สร้างจากเซลล์พาราฟอลลิ 
คิวลาร์หรือเซลล์ซี ส่งไปที่ กระดูก ท่อหน่วยไต และ ลาไส้เล็ก มีหน้าที่ ลดระดับแคลเซียม 
ในเลือดให้ต่าลงถ้าในเลือดมีระดับแคลเซียมสูงกว่าปกติ (ปกติแคลเซียมในเลือด 9- 11 
มิลลิกรัม/เลือด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร) ลดการดูดแคลเซียมกลับจากท่อหน่วยไต ลดการดูดซึมแคลเซียมที่ลาไส้เล็ก (เพื่อไม่ให้แคลเซียมถูกดูดเข้าสู่กระแสเลือด) 
ฮอร์โมนนี้ทางานร่วมกับฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์และวิตามินดี 
ภาพแสดงการสร้างแคลซิโทนิน 
ที่มา : http:// www3.ipst.ac.th 550 × 346 (25 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
15 
บัตรคาถามที่ 3.2 
ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง 
ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ฮอร์โมนไทรอกซินมีผลต่อลูกอ๊อด อย่างไร 
ก. ลดระดับแคลเซียม 
ข. เกิดการเลี่ยนแปลงรูปร่าง 
ค. ลูกอ๊อดมีการเพิ่มขนาดใหญ่ขึ้น 
ง. ลูกอ๊อดมีสีผิวที่เข้ม หรือ จาง มากกว่าปกติ 
2. ระดับแคลเซียมในเลือด ในภาวะปกติมีค่าเท่าใด 
ก. 9-11 กรัม/เลือด 100 มิลลิลิตร 
ข. 90 - 100 กรัม/เลือด 100 มิลลิลิตร 
ค. 9- 11 มิลลิกรัม/เลือด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 
ง. 90- 100 มิลลิกรัม/เลือด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 
3. แคลซิโทนิน ทางานร่วมกับฮอร์โมนชนิดใด 
ก. พาราทอร์โมน 
ข. ไทรอกซิน 
ค. วิตามินดี 
ง. เมลาโทนิน 
4. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ ทั้งหมด 
ก. ไทรอกซิน แคลซิโทนิน 
ข. ไทรอกซิน พาราทอร์โมน 
ค. แคลซิโทนิน พาราทอร์โมน 
ง. พาราทอร์โมน อัลโดสเทอโรน 
5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่หน้าที่ของไทรอกซิน 
ก. ลดระดับแคลเซียม 
ข. กระตุ้นเมทามอร์โฟซิสของสัตว์ 
ค. ควบคุมเมแทบอลิซึมต่างๆของร่างกาย 
ง. ถูกทุกข้อ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
16 
บัตรเฉลยคาถามที่ 3.2 
ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ 
1.ข 
2.ค 
3.ก 
4.ง 
5.ก 
ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม เก่งมากครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
17 
บัตรคาสั่งที่ 3.3 
ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
๑. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
๒. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
๓. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 3.3 ใช้เวลา 20 นาที 
๔. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 3.3 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 
๕. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 3.3 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
๖. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย 
แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
18 
บัตรเนื้อหาที่ 3.3 
ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ 
ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ 
ต่อมพาราไทรอยด์ มีหน้าที่ผลิตพาราทอร์โมน (PTH) หรือ พาราไทรอยด์ฮอร์โมน 
ซึ่งช่วยรักษาสมดุลของแคลเซียม และฟอสฟอรัส ในเลือด และเนื้อเยื่อให้ปกติ โดยทางาน 
ร่วมกับวิตามินซี วิตามินดี และแคลซิโทนิน ซึ่งผลิตจากต่อมไทรอยด์ โดยหน้าที่สาคัญ 
ประกอบไปด้วย 
1. กระตุ้นการสร้างเซลล์ osteoclasts ที่ทาหน้าที่สลายกระดูก โดยวิตามินดี 
จะรวมกับพาราทอร์โมน ช่วยสลายแคลเซียมออกจากกระดูก เพื่อรักษาระดับปกติของ 
แคลเซียมในเลือด 
2. เพิ่มการดูดแคลเซียมกลับจากท่อหน่วยไตเข้าสู่เลือด ทาให้การขับถ่าย 
แคลเซียมไปกับปัสสาวะลดลง และมีระดับแคลเซียมในเลือดเพิ่มขึ้น 
3. กระตุ้นให้มีการสังเคราะห์วิตามินดีเพิ่มขึ้น เพื่อทาให้มีการดูดซึมแคลเซียม 
ที่ลาไส้เล็กเพิ่มขึ้น 
4. กระตุ้นการขับฟอสเฟตออกไปกับปัสสาวะ 
พี่ ๆ รู้หรือไม่ ต่อมพาราไทรอยด์สร้าง ฮอร์โมนชนิดใดบ้าง และฮอร์โมนแต่ละชนิด ทาหน้าที่อะไร
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
19 
การทางานของต่อมพาราไทรอยด์ 
ต่อมไทรอยด์พาราไทรอยด์จะทางานร่วมกันกับต่อมไทรอยด์ เพื่อควบคุม 
สมดุลปริมาณของแคลเซียมในเลือด ดังนี้ 
1. ถ้าแคลเซียมในเลือดสูง จะกระตุ้นให้ต่อมไทรอยด์หลั่งฮอร์โมนแคลซิโทนิน 
เพื่อลดระดับแคลเซียม 
2. ถ้าแคลเซียมในเลือดต่า จะกระตุ้นให้ต่อมพาราไทรอยด์หลั่งพาราทอร์โมน 
เพื่อเพิ่มระดับแคลเซียม 
แผนภาพแสดงการทางานของต่อมพาราไทรอยด์ 
ที่มา : http:// www3.ipst.ac.th 550 × 346 (25 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
20 
ภาพแสดงการทางานร่วมกันของแคลซิโทนินและพาราทอร์โมน 
ที่มา : http:// www3.ipst.ac.th 550 × 346 (25 มีนาคม 2555) 
ภาพแสดงการควบคุมสมดุลของแคลเซียม 
ที่มา : http://www.watchawan.blogspot.com 726 × 315 (25 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
21 
บัตรคาถามที่ 3.3 
ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง 
ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ฮอร์โมนที่มีความสัมพันธ์กับวิตามินดี คือข้อใด 
ก. ไทรอกซินและแคลซิโทนิน 
ข. ไทรอกซินและพาราทอร์โมน 
ค. แคลซิโทนินและพาราทอร์โมน 
ง. พาราทอร์โมนและโกรทฮอร์โมน 
2. ถ้าระดับแคลเซียมในเลือดมากกว่าในภาวะปกติ ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนชนิดใด 
ก. ไทรอกซิน 
ข. แคลซิโทนินน 
ค. พาราทอร์โมน 
ง. โกรทฮอร์โมน 
3. สมดุลของแคลเซียมในเลือดเกิดจากควบคุมของฮอร์โมน ในข้อใด 
ก. พาราทอร์โมนเท่านั้น 
ข. ไทรอกซินและแคลซิโทนิน 
ค. ไทรอกซินและพาราทอร์โมน 
ง. แคลซิโทนินและพาราทอร์โมน 
4. ข้อใดต่อไปนี้เป็นฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ 
ก. แคลซิโทนิน 
ข. ไทรอกซิน 
ค. พาราทอร์โมน 
ง. อัลโดสเทอโรน 
5. ข้อใดต่อไปนี้เป็นหน้าที่ของพาทอร์โมน 
ก. ลดระดับแคลเซียม 
ข. เพิ่มระดับแคลเซียม 
ค. ควบคุมเมแทบอลิซึมต่างๆของร่างกาย 
ง. ถูกทุกข้อ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
22 
บัตรเฉลยคาถามที่ 3.3 
ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ 
1.ค 
2.ข 
3.ง 
4.ค 
5.ข 
ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม เก่งมากครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
23 
บัตรคาสั่งที่ 3.4 
ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมน 
โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 
1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 
2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 
3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 3.4 ใช้เวลา 20 นาที 
4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 3.4 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 
5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 3.4 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 
6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย 
แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
24 
บัตรเนื้อหาที่ 3.4 
ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมน 
ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมนไทรอกซิน 
1. การขาดฮอร์โมนไทรอกซิน 
ในเด็ก : การขาดไทรอกซินในทารกแรกเกิดมีความสาคัญ 
ต่อการเจริญเติบโตมากโดยเฉพาะการเจริญเติบโตของสมองพัฒนาการ 
ทางด้านสติปัญญาด้อยมาก ปัญญาอ่อน แขน ขาสั้น หน้าและมือบวม ผิวหยาบแห้ง 
ผมบาง ไม่เจริญเติบโต รูปร่างเตี้ยแคระซึ่งแตกต่างจากเด็กที่ขาดโกรทฮอร์โมน เรียกกลุ่ม 
อาการนี้ว่า โรคเอ๋อ หรือ ครีทินิซึม (cretinism) 
ภาพแสดงลักษณะของเด็กเอ๋อ 
ที่มา : http://www.widemagazine.com 250 × 250 (25 มีนาคม 2555) 
พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าถ้าร่างกายขาดฮอร์โมน 
ไทรอกซิน และแคลซิโทนิน จะเป็นอย่างไร 
อยากรู้ตามมาทางนี้ครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
25 
ในผู้ใหญ่ : จะส่งผลให้อัตราเมแทบอลิซึมลดน้อยลง ทาให้อ่อนเพลีย 
เหนื่อยง่าย เซื่องซึม เคลื่อนไหวช้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง ร่างกายอ่อนแอ ติดเชื้อได้ง่าย 
หัวใจเต้นช้า ทนหนาวไม่ได้ มีคอเลสเทอรอลสูงผิวหนังบวมน้า หน้าบวม อ้วน 
ทาให้น้าหนักเพิ่ม ผมและผิวแห้ง สมองจะทางานช้าลง ปฏิกิริยาโต้ตอบช้า 
หรือถึงขั้นความจาเสื่อม ประจาเดือนผิดปกติ เรียกกลุ่มอาการดังกล่าวนี้ว่า มิกซีดีมา 
( myxedema ) 
ภาพแสดงลักษณะของคนเป็นโรคมิกซีดีมา 
ที่มา : http://www.pibul.ac.th 888 × 506 (25 มีนาคม 2555) 
ถ้าร่างกายได้รับไอโอดีนไม่เพียงพอจะส่งผลให้มีการผลิตไทรอกซินได้น้อย 
(hypothyroidism) ทาให้ต่อมใต้สมองส่วนหน้าหลั่งไทรอยด์สติมิวเลติงฮอร์โมน 
( TSH ) เพิ่มมากขึ้นเพื่อไปกระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้างฮอร์โมนไทรอกซินเพิ่มมากขึ้น 
จนต่อมไทรอยด์ทางานมากเกินไป ต่อมจะขยายขนาดโตขึ้นทาให้เกิดเป็น โรคคอพอก 
(simple goiter) 
ภาพแสดงลักษณะของคนเป็นโรคคอพอก 
ที่มา : http://www.thaigoodview.com 226 × 306 (25 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
26 
2. ถ้ามีฮอร์โมนไทรอกซินมากเกินไป 
ในผู้ใหญ่ : ถ้าฮอร์โมนไทรอกซินผลิตออกมามากเกินไป 
( hyperthyroidism) จะทาให้เกิดอาการที่เรียกว่าไทรอยด์เป็นพิษหรือโรคคอพอก 
เป็นพิษ (toxic goiter) จะทาให้ร่างกายมีอัตราการเกิดเมแทบอลิซึมสูงกว่าปกติ 
อาการเหมือนมีการสร้างพลังงานหรือกระตุ้นประสาทซิมพาเทติกทางานมากเกินไป 
ได้แก่ หงุดหงิด นอนไม่หลับ ตื่นเต้นง่าย มีการเผาผลาญโปรตีนมากทาให้อ่อนเพลีย 
เนื่องจากมีอัตราการเผาผลาญมากจึงทาให้มีเส้นเลือดไปเลี้ยงที่ผิวหนังมากเพื่อลดอุณหภูมิ 
ของร่างกาย ทาให้กินจุ น้าหนักลด มีการเคลื่อนไหวของลาไส้มาก ตัวอุ่นชื้นเนื่องจาก 
เส้นเลือดแดงคลายตัว อาจมีอาการคอพอกแต่ไม่มากและตาโปน เนื่องจากเนื้อเยื่อ 
เกี่ยวพันหลังลูกตาอ่อนกาลังลง 
ภาพแสดงลักษณะของคนเป็นไทรอยด์เป็นพิษ 
ที่มา : http://www.medicthai.net 250 × 205 (25 มีนาคม 2555) 
การรักษา : ทาได้โดย กินยายับยั้งการสร้างฮอร์โมน ผ่าตัดเอาบางส่วน 
ของต่อมออก กินไอโอดีนที่เป็นสารกัมมันตรังสีเพื่อทาลายเซลล์ที่สร้างฮอร์โมน
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
27 
ผลของฮอร์โมนไทรอกซินในสัตว์ ทาให้มีการเจริญเติบโตของสัตว์ 
เช่น กบ จะเจริญจากลูกอ๊อดเจริญไปเป็นกบโตเต็มวัยได้ตามปกติ 
ถ้าขาดฮอร์โมนไทรอกซินจะทาให้ลูกอ๊อดไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างกลายเป็นกบโตเต็มวัย 
ถ้ามีมากเกินไปก็จะเจริญไปเป็นกบอย่างรวดเร็ว 
ภาพแสดงผลของฮอร์โมนไทรอกซินที่มีต่อการเจริญเติบโตของกบ 
ที่มา : http://www.myfirstbrain.com 500 × 281 (25 มีนาคม 2555) 
ความผิดปกติของฮอร์โมนแคลซิโทนิน 
แคลซิโทนิน (Calcitonin) มีหน้าที่ ลดระดับแคลเซียมในเลือดให้ต่าลง 
ลดการดูดแคลเซียมกลับจากท่อหน่วยไต (ขับแคลเซียมทิ้งทางน้าปัสสาวะ) ลดการดูดซึม 
แคลเซียมที่ลาไส้เล็ก (เพื่อไม่ให้แคลเซียมถูกดูดเข้าสู่กระแสเลือด) 
ถ้าขาดแคลซิโทนิน จะทาให้ในเลือดมีระดับแคลเซียมสูง ในกระดูกจะมี 
แคลเซียมต่า ทาให้เป็นโรคกระดูกพรุน หรือกระดูกผุง่าย รวมทั้งฟันผุด้วย และส่งผลให้ 
พาราทอร์โมนทางานผิดปกติด้วย
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
28 
ความผิดปกติที่เกิดจากต่อมพาราไทรอยด์ 
ความผิดปกติของต่อมพาราไทรอยด์ มีทั้งที่ทางานมากและทางานน้อย 
ผิดปกติ ซึ่งที่พบบ่อยคือพาราไทรอยด์ทางานมากผิดปกติ รวมทั้งอาการต่อมพาราไทรอยด์ 
โตด้วย จากสาเหตุดังกล่าว ทาให้เกิดอาการผิดปกติดังนี้ 
1. ไฮเปอร์พาราไทรอยด์ (Hyperparathyroidism) เป็นภาวะที่ต่อม 
พาราไทรอยด์ผลิตฮอร์โมนสูงผิดปกติ โดยไปกระตุ้นให้มีการละลายแคลเซียมและฟอสเฟต 
ออกจากกระดูกและฟัน แล้วเข้าสู่กระแสเลือดมากกว่าปกติ ทาให้แคลเซียมสูง 
(Hypercalcimia) แต่ฟอสเฟตต่า (Hypophosphatemia) ดังนั้นจึงมีแคลเซียม 
ปนออกมาในปัสสาวะ การที่แคลเซียมที่ถูกดึงออกมาจากกระดูกและฟัน จะทาให้กระดูก 
เปราะบาง ฟันผุ ฟันหักได้ง่าย อาจทาให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง เปลี้ย ประสาทตอบสนอง 
ได้น้อย และอาจเกิดการสะสมแคลเซียมที่ไตมากเกินไป จนทาให้เป็นนิ่วในไตได้ 
นอกจากนี้ภาวะที่ต่อมพาราไทรอยด์ทางานมากผิดปกติ อาจเกิดได้จากเนื้องอก 
ที่ต่อมพาราไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์โตขึ้นเอง 
2. ไฮโปพาราไทรอยด์ (Hypoparathyroidism) เป็นภาวะที่มีการหลั่ง 
พาราทอร์โมนออกมาน้อยกว่าปกติ มักเกิดจากการตัดต่อมไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์ 
ออกด้วย ส่งผลให้การดูดแคลเซียมกลับที่ท่อหน่วยไตลดน้อยลง แคลเซียมสูญเสียออกไป 
กับน้าปัสสาวะ ทาให้ระดับแคลเซียมในเลือดลดลง ฟอสเฟตสูงขึ้น ดังนั้นเมื่อมีบาดแผล 
จะทาให้เลือดไหลไม่หยุด ระบบประสาทและกล้ามเนื้อไวต่อสิ่งเร้า มีอาการชาตามมือ 
ตามเท้า เป็นตะคริว ชักกระตุก กล้ามเนื้อเกร็งที่เรียกว่า Tetany หรืออาจถึงขั้นปอด 
ทางานไม่ได้ จนเสียชีวิตได้ 
เมื่อกล้ามเนื้อขาดแคลเซียมไปเลี้ยงจะเกิดอาการเกร็ง มือกระตุกงอ 
(carpal spasm) ภายใน 3 นาที เรียกอาการนี้ว่า อาการของทรูโซ (Trousseau's sign) 
ทั้งนี้ สามารถแก้ความผิดปกตินี้ได้ด้วยการลดอาหารที่มีฟอสเฟตสูง ๆ 
และเสริมแคลเซียม หรือวิตามินดีเข้าสู่ร่างกาย หรือฉีด "พาราทอร์โมน" และให้วิตามินดี 
ควบคู่กันไปด้วย เพราะวิตามินดี จะช่วยเรื่องการดูดซึมแคลเซียมที่ลาไส้เล็กให้ดีขึ้น 
ทาให้พาราทอร์โมนทางานได้ดีขึ้น
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
29 
3. ต่อมพาราไทรอยด์โต เกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ โดยกลุ่มเสี่ยง 
คือ ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ไม่ได้รับการฟอกไตอย่างเพียงพอ ทาให้ร่างกายขาดวิตามินดี 
และมีสารฟอสฟอรัสคั่งอยู่มาก ต่อมพาราไทรอยด์จึงต้องทางานหนักและโตขึ้นในที่สุด 
มีโอกาสเป็นเนื้องอกในต่อมเดี่ยว 85 เปอร์เซ็นต์ และมีโอกาสเป็นทั้ง 4 ต่อม 15 เปอร์เซ็นต์ 
ภาพแสดงลักษณะต่อมพาราไทรอยด์โตผิดปกติ 
ที่มา : http://www.med-ed.psu.ac.th 500 × 175 (25 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
30 
บัตรคาถามที่ 3.4 
ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมน 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง 
ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. สิ่งที่เหมือนกันของคนที่เป็นโรค Cretinism และ Myxedema คือข้อใด 
ก. ขาดไอโอดีน 
ข. มีไอโอดีนมากเกินไป 
ค. ขาดฮอร์โมนไทรอกซิน 
ง. มีฮอร์โมนไทรอกซินมากเกินไป 
2. ถ้าขาดไทรอกซินในวัยเด็กจะทาให้เกิดโรคใด 
ก. โรคเอ่อ 
ข. มิกซีดีมา 
ค. ครีตินิซึม 
ง. เตี้ยแคระแกรน 
3. อาการเหนื่อยง่าย น้าหนักเพิ่ม ทนความหนาวไม่ได้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ผมและ ผิวหนังแห้ง เป็นอาการของโรคใด 
ก. ครีตินิซึม 
ข. มิกซีดีมา 
ค. คอพอกเป็นพิษ 
ง. ไฮเปอร์พาราไทรอยด์ 
4. ฮอร์โมนใดทาให้เกิดเมเทมอร์โฟซิส ( metamorphosis ) ในลูกอ๊อด 
ก. ไทรอกซิน 
ข. แคลซิโทนิน 
ค. พาราทอร์โมน 
ง. ถูกทุกข้อ 
5. ข้อใดเป็นผลที่เกิดจากการที่ต่อมพาราไทรอยด์สร้างฮอร์โมนมากเกินไป 
ก. กระดูกบางและผุง่าย 
ข. ลาไส้ดูดแคลเซียมน้อยลง 
ค. แคลเซียมในเลือดลดลงมาก 
ง. หน่วยไตดึงแคลเซียมออกจากเลือด
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
31 
บัตรเฉลยคาถามที่ 3.4 
ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมน 
1.ค 
2.ค 
3.ข 
4.ก 
5.ก 
เก่งมาก ๆ 
ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
32 
แบบทดสอบหลังเรียน 
เรื่อง ต่อมไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์ กับฮอร์โมน 
คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง 
ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 
1. ระดับแคลเซียมในเลือด ในภาวะปกติมีค่าเท่าใด 
ก. 9-11 กรัม/เลือด 100 มิลลิลิตร 
ข. 90 - 100 กรัม/เลือด 100 มิลลิลิตร 
ค. 9- 11 มิลลิกรัม/เลือด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 
ง. 90- 100 มิลลิกรัม/เลือด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 
2. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ ทั้งหมด 
ก. ไทรอกซิน แคลซิโทนิน 
ข. ไทรอกซิน พาราทอร์โมน 
ค. แคลซิโทนิน พาราทอร์โมน 
ง. พาราทอร์โมน อัลโดสเทอโรน 
3. ฮอร์โมนที่มีความสัมพันธ์กับวิตามินดี คือข้อใด 
ก. ไทรอกซินและแคลซิโทนิน 
ข. ไทรอกซินและพาราทอร์โมน 
ค. แคลซิโทนินและพาราทอร์โมน 
ง. พาราทอร์โมนและโกรทฮอร์โมน 
4. ถ้าระดับแคลเซียมในเลือดมากกว่าในภาวะปกติ ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนชนิดใด 
ก. ไทรอกซิน 
ข. แคลซิโทนินน 
ค. พาราทอร์โมน 
ง. โกรทฮอร์โมน 
5. สมดุลของแคลเซียมในเลือดเกิดจากควบคุมของฮอร์โมน ในข้อใด 
ก. พาราทอร์โมนเท่านั้น 
ข. ไทรอกซินและแคลซิโทนิน 
ค. ไทรอกซินและพาราทอร์โมน 
ง. แคลซิโทนินและพาราทอร์โมน
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
33 
6. สิ่งที่เหมือนกันของคนที่เป็นโรค Cretinism และ Myxedema คือข้อใด 
ก. ขาดไอโอดีน 
ข. มีไอโอดีนมากเกินไป 
ค. ขาดฮอร์โมนไทรอกซิน 
ง. มีฮอร์โมนไทรอกซินมากเกินไป 
7. ถ้าขาดไทรอกซินในวัยเด็กจะทาให้เกิดโรคใด 
ก. โรคเอ่อ 
ข. มิกซีดีมา 
ค. ครีตินิซึม 
ง. เตี้ยแคระแกรน 
8. อาการเหนื่อยง่าย น้าหนักเพิ่ม ทนความหนาวไม่ได้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ผมและ ผิวหนังแห้ง เป็นอาการของโรคใด 
ก. ครีตินิซึม 
ข. มิกซีดีมา 
ค. คอพอกเป็นพิษ 
ง. ไฮเปอร์พาราไทรอยด์ 
9. ฮอร์โมนใดทาให้เกิดเมเทมอร์โฟซิส ( metamorphosis ) ในลูกอ๊อด 
ก. ไทรอกซิน 
ข. แคลซิโทนิน 
ค. พาราทอร์โมน 
ง. ถูกทุกข้อ 
10. ข้อใดเป็นผลที่เกิดจากการที่ต่อมพาราไทรอยด์สร้างฮอร์โมนมากเกินไป 
ก. กระดูกบางและผุง่าย 
ข. ลาไส้ดูดแคลเซียมน้อยลง 
ค. แคลเซียมในเลือดลดลงมาก 
ง. หน่วยไตดึงแคลเซียมออกจากเลือด
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
34 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 
เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
ข้อที่ 
คาตอบ 
1 
ค 
2 
ก 
3 
ค 
4 
ข 
5 
ง 
6 
ง 
7 
ค 
8 
ข 
9 
ก 
10 
ก 
ถูกหมดเลย เก่งมากครับ 
ศึกษาชุดต่อไปเลยครับ
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
35 
บรรณานุกรม 
เกษม ศรีพงษ์ และคณะ. ชีววิทยา. กรุงเทพฯ : ชมรมบัณฑิตแนะแนว, 2540. 
____________. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4- ม.6). กรุงเทพฯ : 
ภูมิบัณฑิตการพิมพ์, 2537. 
ธนะชัย ทองศรีนุช และคณะ. คู่มือชีววิทยา 6 ว 044. กรุงเทพ ฯ : ประสานมิตร, 2533. 
นันทิยา บุญเคลือบ และคณะ. พจนานุกรมวิทยาศาสตร์ ฉบับภาพประกอบ. กรุงเทพ ฯ : 
โปรดัคทีฟ บุ๊ค , 2541. 
ประพันธ์ พนธารา. สรุปเข้มชีววิทยาพื้นฐานและเพิ่มเติมใหม่ . กรุงเทพ ฯ : 
ซีแอนด์เอ็นบุ๊ค. แม็ค, 2552. 
ปรีชา สุวรรณพินิจ และ นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. ชีววิทยา ม.6 เล่ม 5. กรุงเทพฯ: 
เจริญดีการพิมพ์, 2536. 
สมาน แก้วไวยุทธ. คู่มือเตรียมสอบชีววิทยา ม.4 – 5 – 6 . กรุงเทพฯ : ไทเนรมิต 
อินเตอร์โปรเกรสซีฟ. 2537. 
สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน, โครงการ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่ม 10. 
กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2531. 
สมใจ รักษาศรี. ชีววิทยา Essential Atlas of Biology. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2547. 
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ . 
หนังสือเรียนชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548 
____________. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548. 
____________. หนังสือเรียนวิชาชีววิทยา ว044 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 . กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2536. 
http://www. vcharkarn.com 630 × 282 (25 มีนาคม 2555) 
http://www. watchawan.blogspot.com 216 × 168 (25 มีนาคม 2555) 
http://www.scimath.org 300 × 449 (25 มีนาคม 2555) 
http://www.endocrinesyst.blogspot.com 460 × 300 (25 มีนาคม 2555) 
http://www. pibul.ac.th 406 × 590 (25 มีนาคม 2555) 
http://www. vcharkarn.com 600 × 293 (25 มีนาคม 2555) 
http:// www3.ipst.ac.th 550 × 346 (25 มีนาคม 2555)
ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 
ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 
36 
http://www. watchawan.blogspot.com 726 × 315 (25 มีนาคม 2555) 
http://www. widemagazine.com 250 × 250 (25 มีนาคม 2555) 
http://www.pibul.ac.th 888 × 506 (25 มีนาคม 2555) 
http://www. thaigoodview.com 226 × 306 (25 มีนาคม 2555) 
http://www. medicthai.net 250 × 205 (25 มีนาคม 2555) 
http://www. myfirstbrain.com 500 × 281 (25 มีนาคม 2555) 
http://www. med-ed.psu.ac.th 500 × 175 (25 มีนาคม 2555)

More Related Content

What's hot

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
Thanyamon Chat.
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
flimgold
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
website22556
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
Nattapong Boonpong
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
Aomiko Wipaporn
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
Nattapong Boonpong
 

What's hot (20)

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
ชุดการสอนที่ 4 ตับอ่อน (อาบ)
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarnข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
ข้อสอบวิชาชีววิทยา+เฉลย By: Meriya Lertsirikarn
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บกคู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
แบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่มแบบทดสอบพันเพิ่ม
แบบทดสอบพันเพิ่ม
 
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
ข้อสอบปลายภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2555 ชั้น ม.6
 
Hormone
HormoneHormone
Hormone
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
บทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือดบทที่  2  ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์   หมุนเวียนเลือด
บทที่ 2 ระบบต่างๆในร่างกายมนุษย์ หมุนเวียนเลือด
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
ข้อสอบกลางภาค ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2553 ชั้น ม.6
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)ระบบหายใจ (Respiratory System)
ระบบหายใจ (Respiratory System)
 
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
Mindmap การลำเลียงสารผ่านเข้าออกเซลล์
 
การสืบพันธ์
การสืบพันธ์การสืบพันธ์
การสืบพันธ์
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 

Viewers also liked

เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนเฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
Wan Ngamwongwan
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
kasidid20309
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
supreechafkk
 
ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3
Aomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืชใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
Aomiko Wipaporn
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
Aomiko Wipaporn
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
konfunglum
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
civicton
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
Aomiko Wipaporn
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
Aom S
 

Viewers also liked (20)

ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
ชุดการสอนที่ 7 ต่อมไทมัสและเนื้อเยื่ออื่นๆ
 
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมนเฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
เฉลยแบบฝึกหัดเรื่องฮอร์โมน
 
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมนชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
ชุดการสอนที่ 8 ฟีโรโมน
 
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โทแบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
แบบคำร้องขอสำเร็จการศึกษา ป.โท
 
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormoneเรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อ hormone
 
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone systemระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
ระบบต่อมไร้ท่อ (ฮอร์โมน) - Hormone system
 
ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3ใบกิจกรรมที่ 3
ใบกิจกรรมที่ 3
 
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืชใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
ใบกิจกรรมที่ 4 เรื่องการรักษาดุลยภาพของพืช
 
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างเซลล์
 
แบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียนแบบทดสอบหมุนเวียน
แบบทดสอบหมุนเวียน
 
แบบทดสอบกระดูก
แบบทดสอบกระดูกแบบทดสอบกระดูก
แบบทดสอบกระดูก
 
แบบทดสอบการหายใจ
แบบทดสอบการหายใจแบบทดสอบการหายใจ
แบบทดสอบการหายใจ
 
แบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่ายแบบทดสอบขับถ่าย
แบบทดสอบขับถ่าย
 
แบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมนแบบทดสอบฮอร์โมน
แบบทดสอบฮอร์โมน
 
เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)เฉลย (ชุดที่ 1)
เฉลย (ชุดที่ 1)
 
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศแบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกายใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 5การรักษาดุลยภาพของน้ำและสารต่างๆ ของร่างกาย
 
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายในชุดการสอนที่ 3  มุมภายนอกกับมุมภายใน
ชุดการสอนที่ 3 มุมภายนอกกับมุมภายใน
 
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
ข้อสอบกายวิภาคศาสตร์ (บันทึกอัตโนมัติ)
 

Similar to ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)

4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
เลิกเสี่ยง. ป่าน
 
วิชาชีววิทยา
วิชาชีววิทยาวิชาชีววิทยา
วิชาชีววิทยา
Unity' Toey
 
607.เลขที่14.40
607.เลขที่14.40607.เลขที่14.40
607.เลขที่14.40
nabdowsj13
 
Pre o-net sci6
Pre o-net sci6Pre o-net sci6
Pre o-net sci6
Parnkeaw
 
เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48
Unity' Aing
 
ข้อสอบPre o-net sci6
ข้อสอบPre o-net sci6ข้อสอบPre o-net sci6
ข้อสอบPre o-net sci6
fahsudarrat
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
CUPress
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
Wichai Likitponrak
 
Pat2 52 72
Pat2 52 72Pat2 52 72
Pat2 52 72
june41
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
Lupin F'n
 

Similar to ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ) (20)

4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
4.ข้อสอบ a net วิชาชีววิทยา ปีการศึกษา 2549 new
 
วิชาชีววิทยา
วิชาชีววิทยาวิชาชีววิทยา
วิชาชีววิทยา
 
607.เลขที่14.40
607.เลขที่14.40607.เลขที่14.40
607.เลขที่14.40
 
Pre o-net sci6
Pre o-net sci6Pre o-net sci6
Pre o-net sci6
 
เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48เฉลย ชีวะ Ent48
เฉลย ชีวะ Ent48
 
ข้อสอบPre o-net sci6
ข้อสอบPre o-net sci6ข้อสอบPre o-net sci6
ข้อสอบPre o-net sci6
 
Pre o-net sci6
Pre o-net sci6Pre o-net sci6
Pre o-net sci6
 
9789740330530
97897403305309789740330530
9789740330530
 
4
44
4
 
ยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซมยีนและโครโมโซม
ยีนและโครโมโซม
 
Dna
DnaDna
Dna
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
Protein
ProteinProtein
Protein
 
Pat2 52 72
Pat2 52 72Pat2 52 72
Pat2 52 72
 
Pat2 2552
Pat2 2552Pat2 2552
Pat2 2552
 
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
ข้อสอบ Pat 2 (ฟิสิกส์ เคมี ชีวะ)
 

ชุดการสอนที่ 3 ต่อมไทรอยด์ (อาบ)

  • 1. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 2 แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ต่อมไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์ กับฮอร์โมน คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. สมดุลของแคลเซียมในเลือดเกิดจากควบคุมของฮอร์โมน ในข้อใด ก. พาราทอร์โมนเท่านั้น ข. ไทรอกซินและแคลซิโทนิน ค. ไทรอกซินและพาราทอร์โมน ง. แคลซิโทนินและพาราทอร์โมน 2. ระดับแคลเซียมในเลือด ในภาวะปกติมีค่าเท่าใด ก. 9-11 กรัม/เลือด 100 มิลลิลิตร ข. 90 - 100 กรัม/เลือด 100 มิลลิลิตร ค. 9- 11 มิลลิกรัม/เลือด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร ง. 90- 100 มิลลิกรัม/เลือด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 3. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ ทั้งหมด ก. ไทรอกซิน แคลซิโทนิน ข. ไทรอกซิน พาราทอร์โมน ค. แคลซิโทนิน พาราทอร์โมน ง. พาราทอร์โมน อัลโดสเทอโรน 4. ฮอร์โมนที่มีความสัมพันธ์กับวิตามินดี คือข้อใด ก. ไทรอกซินและแคลซิโทนิน ข. ไทรอกซินและพาราทอร์โมน ค. แคลซิโทนินและพาราทอร์โมน ง. พาราทอร์โมนและโกรทฮอร์โมน 5. ถ้าระดับแคลเซียมในเลือดมากกว่าในภาวะปกติ ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนชนิดใด ก. ไทรอกซิน ข. แคลซิโทนินน ค. พาราทอร์โมน ง. โกรทฮอร์โมน
  • 2. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 3 6. สิ่งที่เหมือนกันของคนที่เป็นโรค Cretinism และ Myxedema คือข้อใด ก. ขาดไอโอดีน ข. มีไอโอดีนมากเกินไป ค. ขาดฮอร์โมนไทรอกซิน ง. มีฮอร์โมนไทรอกซินมากเกินไป 7. ถ้าขาดไทรอกซินในวัยเด็กจะทาให้เกิดโรคใด ก. โรคเอ่อ ข. มิกซีดีมา ค. ครีตินิซึม ง. เตี้ยแคระแกรน 8. ฮอร์โมนใดทาให้เกิดเมเทมอร์โฟซิส ( metamorphosis ) ในลูกอ๊อด ก. ไทรอกซิน ข. แคลซิโทนิน ค. พาราทอร์โมน ง. ถูกทุกข้อ 9. ข้อใดเป็นผลที่เกิดจากการที่ต่อมพาราไทรอยด์สร้างฮอร์โมนมากเกินไป ก. กระดูกบางและผุง่าย ข. ลาไส้ดูดแคลเซียมน้อยลง ค. แคลเซียมในเลือดลดลงมาก ง. หน่วยไตดึงแคลเซียมออกจากเลือด 10. อาการเหนื่อยง่าย น้าหนักเพิ่ม ทนความหนาวไม่ได้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ผมและ ผิวหนังแห้ง เป็นอาการของโรคใด ก. ครีตินิซึม ข. มิกซีดีมา ค. คอพอกเป็นพิษ ง. ไฮเปอร์พาราไทรอยด์
  • 3. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 4 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน ข้อที่ คาตอบ 1 ง 2 ค 3 ก 4 ค 5 ข 6 ง 7 ค 8 ก 9 ก 10 ข ได้คะแนนน้อยอยู่ ไม่เป็นไรนะครับ เข้าไปศึกษาเนื้อหาในชุดการสอนด้วยกันครับ
  • 4. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 5 จุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้นักเรียนสามารถ 1. บอกลักษณะของต่อมไทรอยด์และพาราไทรอยด์ได้ 2. บอกชนิดและหน้าที่ของฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์และ ต่อมพาราไทรอยด์ได้ 3. บอกผลของความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมน จากต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ได้
  • 5. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 6 บัตรคาสั่งที่ 3.1 ลักษณะของต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 3.1 ใช้เวลา 20 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 3.1 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 3.1 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 6. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 7 บัตรเนื้อหาที่ 3.1 ลักษณะของต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ ที่มา:http:// vcharkarn.com 630 × 282 (25 มีนาคม 2555) พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าลักษณะของต่อมไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์เหมือนหรือต่างกัน อย่างไร อยากรู้ตามมาทางนี้นะครับ
  • 7. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 8 บัตรเนื้อหาที่ 3.1 ลักษณะของต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ ลักษณะของต่อมไทรอยด์(Thyroid gland) ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland) เป็นอวัยวะหนึ่งในระบบต่อมไร้ท่อ อยู่บริเวณ ด้านหน้าของลาคอ ในส่วนหน้าต่อลูกกระเดือก หรือกระดูกอ่อนไทรอยด์ (Thyroid cartilage) ด้านหน้าของกล่องเสียง ติดกับฐานของคอหอย มีรูปร่างคล้ายผีเสื้อ ประกอบด้วย 2 กลีบใหญ่ คือ กลีบด้านซ้าย และกลีบด้านขวา เป็นต่อมไร้ท่อที่มีขนาดใหญ่ที่สุด ในคนปกติมีน้าหนักประมาณ 25 กรัม แบ่งออกเป็น 2 พูและเชื่อมกันตรงกลาง ด้วยส่วนที่เรียกว่าคอคอดหรืออิสมัส (isthmus) ต่อมไทรอยด์ สร้างฮอร์โมน ที่สามารถดึงไอโอดีนจากกระแสเลือดเข้าสู่เซลล์ได้ ต่อมไทรอยด์ จะประกอบด้วยถุงหุ้มที่เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน เรียกว่า ไทรอยด์ฟอลลิเคิล (thyroid follicle) ซึ่งเป็นแหล่งที่สร้างและหลั่ง ฮอร์โมนไทรอกซิน ( thyroxine ) ซึ่งมีไอโอดีนเป็นส่วนประกอบแล้วเก็บไว้ในของเหลว ที่อยู่ตรงกลางเรียกว่า คอลลอยด์ (colloid cell) นอกจากนั้นในต่อมไทรอยด์ ยังพบกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า เซลล์ซี (C-cell) หรือ เซลล์พาราฟอลลิคูลาร์ ( parafollicular cell ) เป็นเซลล์ที่แทรกอยู่ในระหว่างไทรอยด์ ฟอลลิเคิลของต่อมไทรอยด์ ภาพแสดงลักษณะของต่อมไทรอยด์ ที่มา : http://www.watchawan.blogspot.com 216 × 168 (25 มีนาคม 2555)
  • 8. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 9 ลักษณะของต่อมพาราไทรอยด์ (Parathyroid Gland) ต่อมพาราไทรอยด์ เป็นต่อมไร้ท่อประเภทที่จาเป็นต่อชีวิต (Essential endocrine gland) ขนาดเล็กเท่าเมล็ดถั่วเขียว ฝังอยู่ด้านหลัง ของต่อมไทรอยด์ด้านละ 2 ต่อม รวมเป็น 4 ต่อม ทาหน้าที่ผลิต และหลั่งฮอร์โมน พาราทอร์โมน (Parathormone) ซึ่งเป็นสารพอลิเพปไทด์ ประกอบด้วยกรดอะมิโน 84 โมเลกุล ทาหน้าที่ร่วมกับแคลซิโทนิน และวิตามินดี ภาพแสดงลักษณะของต่อมพาราไทรอยด์ ที่มา : http://www.scimath.org 300 × 449 (25 มีนาคม 2555) ภาพแสดงลักษณะของต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ ที่มา : http://www.endocrinesyst.blogspot.com 460 × 300 (25 มีนาคม 2555)
  • 9. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 10 บัตรคาถามที่ 3.1 ลักษณะของต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกตัวอักษรหน้าข้อความทางด้านล่างมาวางลงใน ของข้อความทางด้านบนที่มีความสัมพันธ์กันให้ถูกต้อง (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. เซลล์ซี (C-cell) 2. อิสมัส (isthmus) 3. ต่อมไร้ท่อ มีรูปร่างคล้ายผีเสื้อ 4. ทาหน้าที่ผลิต และหลั่งฮอร์โมนพาราทอร์โมน 5. เป็นสารพอลิเพปไทด์ ประกอบด้วยกรดอะมิโน ก. พาราทอร์โมน ข. ต่อมไทรอยด์ ค. ต่อมพาราไทรอยด์ ง. คอคอดทาหน้าที่เชื่อมต่อมไทรอยด์ จ. เป็นเซลล์ที่แทรกอยู่ในระหว่างไทรอยด์ฟอลลิเคิลของต่อมไทรอยด์
  • 10. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 11 บัตรเฉลยคาถามที่ 3.1 ลักษณะของต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์ 9vตอ 1. จ 2. ง 3. ข 4. ค 5. ก ตอบถูกหมดเลยใช่ไหมครับ เก่งที่สุดเลย
  • 11. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 12 บัตรคาสั่งที่ 3.2 ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 3.2 ใช้เวลา 20 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 3.2 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 3.2 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 12. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 13 บัตรเนื้อหาที่ 3.2 ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ 1. ฮอร์โมนไทรอกซิน (Thyroxin) สร้างจากไทรอยด์ฟอลลิเคิล หน้าที่ : ควบคุมเมแทบบอลิซึมต่างๆของร่างกาย เช่น ที่เกี่ยวกับ การเจริญเติบโต การใช้พลังงาน และ การสังเคราะห์สาร เป็นต้น แผนภาพแสดงการสร้างไทรอกซิน ที่มา : http://www. pibul.ac.th 406 × 590 (25 มีนาคม 2555) พี่ ๆ รู้หรือไม่ ต่อมไทรอยด์และ ต่อมพาราไทรอยด์สร้างฮอร์โมนชนิดใดบ้าง และฮอร์โมนแต่ละชนิดทาหน้าที่อะไร
  • 13. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 14 นอกจากนี้ไทรอกซินยังสามารถกระตุ้นเมทามอร์โฟซิสของสัตว์ สะเทินน้าสะเทินบก โดยมีผู้ศึกษาผลของฮอร์โมนไทรอกซินกับการเกิดเมทามอร์โฟซิส ของลูกอ๊อดดังภาพ ภาพแสดงลักษณะการเกิดเมทามอร์โฟซีสของลูกอ๊อด ที่มา : http://www.vcharkarn.com 600 × 293 (25 มีนาคม 2555) 2. ฮอร์โมนแคลซิโทนิน (Calcitonin) สร้างจากเซลล์พาราฟอลลิ คิวลาร์หรือเซลล์ซี ส่งไปที่ กระดูก ท่อหน่วยไต และ ลาไส้เล็ก มีหน้าที่ ลดระดับแคลเซียม ในเลือดให้ต่าลงถ้าในเลือดมีระดับแคลเซียมสูงกว่าปกติ (ปกติแคลเซียมในเลือด 9- 11 มิลลิกรัม/เลือด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร) ลดการดูดแคลเซียมกลับจากท่อหน่วยไต ลดการดูดซึมแคลเซียมที่ลาไส้เล็ก (เพื่อไม่ให้แคลเซียมถูกดูดเข้าสู่กระแสเลือด) ฮอร์โมนนี้ทางานร่วมกับฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์และวิตามินดี ภาพแสดงการสร้างแคลซิโทนิน ที่มา : http:// www3.ipst.ac.th 550 × 346 (25 มีนาคม 2555)
  • 14. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 15 บัตรคาถามที่ 3.2 ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ฮอร์โมนไทรอกซินมีผลต่อลูกอ๊อด อย่างไร ก. ลดระดับแคลเซียม ข. เกิดการเลี่ยนแปลงรูปร่าง ค. ลูกอ๊อดมีการเพิ่มขนาดใหญ่ขึ้น ง. ลูกอ๊อดมีสีผิวที่เข้ม หรือ จาง มากกว่าปกติ 2. ระดับแคลเซียมในเลือด ในภาวะปกติมีค่าเท่าใด ก. 9-11 กรัม/เลือด 100 มิลลิลิตร ข. 90 - 100 กรัม/เลือด 100 มิลลิลิตร ค. 9- 11 มิลลิกรัม/เลือด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร ง. 90- 100 มิลลิกรัม/เลือด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 3. แคลซิโทนิน ทางานร่วมกับฮอร์โมนชนิดใด ก. พาราทอร์โมน ข. ไทรอกซิน ค. วิตามินดี ง. เมลาโทนิน 4. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ ทั้งหมด ก. ไทรอกซิน แคลซิโทนิน ข. ไทรอกซิน พาราทอร์โมน ค. แคลซิโทนิน พาราทอร์โมน ง. พาราทอร์โมน อัลโดสเทอโรน 5. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่หน้าที่ของไทรอกซิน ก. ลดระดับแคลเซียม ข. กระตุ้นเมทามอร์โฟซิสของสัตว์ ค. ควบคุมเมแทบอลิซึมต่างๆของร่างกาย ง. ถูกทุกข้อ
  • 15. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 16 บัตรเฉลยคาถามที่ 3.2 ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ 1.ข 2.ค 3.ก 4.ง 5.ก ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม เก่งมากครับ
  • 16. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 17 บัตรคาสั่งที่ 3.3 ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ ๑. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย ๒. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง ๓. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 3.3 ใช้เวลา 20 นาที ๔. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 3.3 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที ๕. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 3.3 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที ๖. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 17. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 18 บัตรเนื้อหาที่ 3.3 ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ ต่อมพาราไทรอยด์ มีหน้าที่ผลิตพาราทอร์โมน (PTH) หรือ พาราไทรอยด์ฮอร์โมน ซึ่งช่วยรักษาสมดุลของแคลเซียม และฟอสฟอรัส ในเลือด และเนื้อเยื่อให้ปกติ โดยทางาน ร่วมกับวิตามินซี วิตามินดี และแคลซิโทนิน ซึ่งผลิตจากต่อมไทรอยด์ โดยหน้าที่สาคัญ ประกอบไปด้วย 1. กระตุ้นการสร้างเซลล์ osteoclasts ที่ทาหน้าที่สลายกระดูก โดยวิตามินดี จะรวมกับพาราทอร์โมน ช่วยสลายแคลเซียมออกจากกระดูก เพื่อรักษาระดับปกติของ แคลเซียมในเลือด 2. เพิ่มการดูดแคลเซียมกลับจากท่อหน่วยไตเข้าสู่เลือด ทาให้การขับถ่าย แคลเซียมไปกับปัสสาวะลดลง และมีระดับแคลเซียมในเลือดเพิ่มขึ้น 3. กระตุ้นให้มีการสังเคราะห์วิตามินดีเพิ่มขึ้น เพื่อทาให้มีการดูดซึมแคลเซียม ที่ลาไส้เล็กเพิ่มขึ้น 4. กระตุ้นการขับฟอสเฟตออกไปกับปัสสาวะ พี่ ๆ รู้หรือไม่ ต่อมพาราไทรอยด์สร้าง ฮอร์โมนชนิดใดบ้าง และฮอร์โมนแต่ละชนิด ทาหน้าที่อะไร
  • 18. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 19 การทางานของต่อมพาราไทรอยด์ ต่อมไทรอยด์พาราไทรอยด์จะทางานร่วมกันกับต่อมไทรอยด์ เพื่อควบคุม สมดุลปริมาณของแคลเซียมในเลือด ดังนี้ 1. ถ้าแคลเซียมในเลือดสูง จะกระตุ้นให้ต่อมไทรอยด์หลั่งฮอร์โมนแคลซิโทนิน เพื่อลดระดับแคลเซียม 2. ถ้าแคลเซียมในเลือดต่า จะกระตุ้นให้ต่อมพาราไทรอยด์หลั่งพาราทอร์โมน เพื่อเพิ่มระดับแคลเซียม แผนภาพแสดงการทางานของต่อมพาราไทรอยด์ ที่มา : http:// www3.ipst.ac.th 550 × 346 (25 มีนาคม 2555)
  • 19. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 20 ภาพแสดงการทางานร่วมกันของแคลซิโทนินและพาราทอร์โมน ที่มา : http:// www3.ipst.ac.th 550 × 346 (25 มีนาคม 2555) ภาพแสดงการควบคุมสมดุลของแคลเซียม ที่มา : http://www.watchawan.blogspot.com 726 × 315 (25 มีนาคม 2555)
  • 20. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 21 บัตรคาถามที่ 3.3 ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ฮอร์โมนที่มีความสัมพันธ์กับวิตามินดี คือข้อใด ก. ไทรอกซินและแคลซิโทนิน ข. ไทรอกซินและพาราทอร์โมน ค. แคลซิโทนินและพาราทอร์โมน ง. พาราทอร์โมนและโกรทฮอร์โมน 2. ถ้าระดับแคลเซียมในเลือดมากกว่าในภาวะปกติ ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนชนิดใด ก. ไทรอกซิน ข. แคลซิโทนินน ค. พาราทอร์โมน ง. โกรทฮอร์โมน 3. สมดุลของแคลเซียมในเลือดเกิดจากควบคุมของฮอร์โมน ในข้อใด ก. พาราทอร์โมนเท่านั้น ข. ไทรอกซินและแคลซิโทนิน ค. ไทรอกซินและพาราทอร์โมน ง. แคลซิโทนินและพาราทอร์โมน 4. ข้อใดต่อไปนี้เป็นฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ ก. แคลซิโทนิน ข. ไทรอกซิน ค. พาราทอร์โมน ง. อัลโดสเทอโรน 5. ข้อใดต่อไปนี้เป็นหน้าที่ของพาทอร์โมน ก. ลดระดับแคลเซียม ข. เพิ่มระดับแคลเซียม ค. ควบคุมเมแทบอลิซึมต่างๆของร่างกาย ง. ถูกทุกข้อ
  • 21. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 22 บัตรเฉลยคาถามที่ 3.3 ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์ 1.ค 2.ข 3.ง 4.ค 5.ข ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม เก่งมากครับ
  • 22. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 23 บัตรคาสั่งที่ 3.4 ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมน โปรดอ่านบัตรคาสั่งให้เข้าใจ แล้วปฏิบัติตามลาดับขั้นตอนด้วยความตั้งใจ 1. หัวหน้ากลุ่มแจกบัตรทั้งหมดให้สมาชิก ยกเว้นบัตรเฉลย 2. หัวหน้ากลุ่มให้สมาชิกอ่านบัตรคาสั่ง พร้อมกับปฏิบัติตามคาสั่ง 3. สมาชิกศึกษาบัตรเนื้อหาที่ 3.4 ใช้เวลา 20 นาที 4. สมาชิกอ่านบัตรคาถามที่ 3.4 แล้วตอบคาถามลงในสมุด ใช้เวลา 8 นาที 5. หัวหน้าอ่านบัตรเฉลยที่ 3.4 นักเรียนตรวจคาตอบพร้อมกัน ใช้เวลา 2 นาที 6. เวลาทากิจกรรมทั้งหมด ประมาณ 30 นาที เมื่อปฏิบัติกิจกรรมเรียบร้อย แล้วให้ทุกคนเก็บบัตรทุกใบใส่ในซองให้เรียบร้อยและถูกต้อง
  • 23. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 24 บัตรเนื้อหาที่ 3.4 ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมน ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมนไทรอกซิน 1. การขาดฮอร์โมนไทรอกซิน ในเด็ก : การขาดไทรอกซินในทารกแรกเกิดมีความสาคัญ ต่อการเจริญเติบโตมากโดยเฉพาะการเจริญเติบโตของสมองพัฒนาการ ทางด้านสติปัญญาด้อยมาก ปัญญาอ่อน แขน ขาสั้น หน้าและมือบวม ผิวหยาบแห้ง ผมบาง ไม่เจริญเติบโต รูปร่างเตี้ยแคระซึ่งแตกต่างจากเด็กที่ขาดโกรทฮอร์โมน เรียกกลุ่ม อาการนี้ว่า โรคเอ๋อ หรือ ครีทินิซึม (cretinism) ภาพแสดงลักษณะของเด็กเอ๋อ ที่มา : http://www.widemagazine.com 250 × 250 (25 มีนาคม 2555) พี่ ๆ รู้หรือไม่ว่าถ้าร่างกายขาดฮอร์โมน ไทรอกซิน และแคลซิโทนิน จะเป็นอย่างไร อยากรู้ตามมาทางนี้ครับ
  • 24. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 25 ในผู้ใหญ่ : จะส่งผลให้อัตราเมแทบอลิซึมลดน้อยลง ทาให้อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย เซื่องซึม เคลื่อนไหวช้า กล้ามเนื้ออ่อนแรง ร่างกายอ่อนแอ ติดเชื้อได้ง่าย หัวใจเต้นช้า ทนหนาวไม่ได้ มีคอเลสเทอรอลสูงผิวหนังบวมน้า หน้าบวม อ้วน ทาให้น้าหนักเพิ่ม ผมและผิวแห้ง สมองจะทางานช้าลง ปฏิกิริยาโต้ตอบช้า หรือถึงขั้นความจาเสื่อม ประจาเดือนผิดปกติ เรียกกลุ่มอาการดังกล่าวนี้ว่า มิกซีดีมา ( myxedema ) ภาพแสดงลักษณะของคนเป็นโรคมิกซีดีมา ที่มา : http://www.pibul.ac.th 888 × 506 (25 มีนาคม 2555) ถ้าร่างกายได้รับไอโอดีนไม่เพียงพอจะส่งผลให้มีการผลิตไทรอกซินได้น้อย (hypothyroidism) ทาให้ต่อมใต้สมองส่วนหน้าหลั่งไทรอยด์สติมิวเลติงฮอร์โมน ( TSH ) เพิ่มมากขึ้นเพื่อไปกระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้สร้างฮอร์โมนไทรอกซินเพิ่มมากขึ้น จนต่อมไทรอยด์ทางานมากเกินไป ต่อมจะขยายขนาดโตขึ้นทาให้เกิดเป็น โรคคอพอก (simple goiter) ภาพแสดงลักษณะของคนเป็นโรคคอพอก ที่มา : http://www.thaigoodview.com 226 × 306 (25 มีนาคม 2555)
  • 25. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 26 2. ถ้ามีฮอร์โมนไทรอกซินมากเกินไป ในผู้ใหญ่ : ถ้าฮอร์โมนไทรอกซินผลิตออกมามากเกินไป ( hyperthyroidism) จะทาให้เกิดอาการที่เรียกว่าไทรอยด์เป็นพิษหรือโรคคอพอก เป็นพิษ (toxic goiter) จะทาให้ร่างกายมีอัตราการเกิดเมแทบอลิซึมสูงกว่าปกติ อาการเหมือนมีการสร้างพลังงานหรือกระตุ้นประสาทซิมพาเทติกทางานมากเกินไป ได้แก่ หงุดหงิด นอนไม่หลับ ตื่นเต้นง่าย มีการเผาผลาญโปรตีนมากทาให้อ่อนเพลีย เนื่องจากมีอัตราการเผาผลาญมากจึงทาให้มีเส้นเลือดไปเลี้ยงที่ผิวหนังมากเพื่อลดอุณหภูมิ ของร่างกาย ทาให้กินจุ น้าหนักลด มีการเคลื่อนไหวของลาไส้มาก ตัวอุ่นชื้นเนื่องจาก เส้นเลือดแดงคลายตัว อาจมีอาการคอพอกแต่ไม่มากและตาโปน เนื่องจากเนื้อเยื่อ เกี่ยวพันหลังลูกตาอ่อนกาลังลง ภาพแสดงลักษณะของคนเป็นไทรอยด์เป็นพิษ ที่มา : http://www.medicthai.net 250 × 205 (25 มีนาคม 2555) การรักษา : ทาได้โดย กินยายับยั้งการสร้างฮอร์โมน ผ่าตัดเอาบางส่วน ของต่อมออก กินไอโอดีนที่เป็นสารกัมมันตรังสีเพื่อทาลายเซลล์ที่สร้างฮอร์โมน
  • 26. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 27 ผลของฮอร์โมนไทรอกซินในสัตว์ ทาให้มีการเจริญเติบโตของสัตว์ เช่น กบ จะเจริญจากลูกอ๊อดเจริญไปเป็นกบโตเต็มวัยได้ตามปกติ ถ้าขาดฮอร์โมนไทรอกซินจะทาให้ลูกอ๊อดไม่เปลี่ยนแปลงรูปร่างกลายเป็นกบโตเต็มวัย ถ้ามีมากเกินไปก็จะเจริญไปเป็นกบอย่างรวดเร็ว ภาพแสดงผลของฮอร์โมนไทรอกซินที่มีต่อการเจริญเติบโตของกบ ที่มา : http://www.myfirstbrain.com 500 × 281 (25 มีนาคม 2555) ความผิดปกติของฮอร์โมนแคลซิโทนิน แคลซิโทนิน (Calcitonin) มีหน้าที่ ลดระดับแคลเซียมในเลือดให้ต่าลง ลดการดูดแคลเซียมกลับจากท่อหน่วยไต (ขับแคลเซียมทิ้งทางน้าปัสสาวะ) ลดการดูดซึม แคลเซียมที่ลาไส้เล็ก (เพื่อไม่ให้แคลเซียมถูกดูดเข้าสู่กระแสเลือด) ถ้าขาดแคลซิโทนิน จะทาให้ในเลือดมีระดับแคลเซียมสูง ในกระดูกจะมี แคลเซียมต่า ทาให้เป็นโรคกระดูกพรุน หรือกระดูกผุง่าย รวมทั้งฟันผุด้วย และส่งผลให้ พาราทอร์โมนทางานผิดปกติด้วย
  • 27. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 28 ความผิดปกติที่เกิดจากต่อมพาราไทรอยด์ ความผิดปกติของต่อมพาราไทรอยด์ มีทั้งที่ทางานมากและทางานน้อย ผิดปกติ ซึ่งที่พบบ่อยคือพาราไทรอยด์ทางานมากผิดปกติ รวมทั้งอาการต่อมพาราไทรอยด์ โตด้วย จากสาเหตุดังกล่าว ทาให้เกิดอาการผิดปกติดังนี้ 1. ไฮเปอร์พาราไทรอยด์ (Hyperparathyroidism) เป็นภาวะที่ต่อม พาราไทรอยด์ผลิตฮอร์โมนสูงผิดปกติ โดยไปกระตุ้นให้มีการละลายแคลเซียมและฟอสเฟต ออกจากกระดูกและฟัน แล้วเข้าสู่กระแสเลือดมากกว่าปกติ ทาให้แคลเซียมสูง (Hypercalcimia) แต่ฟอสเฟตต่า (Hypophosphatemia) ดังนั้นจึงมีแคลเซียม ปนออกมาในปัสสาวะ การที่แคลเซียมที่ถูกดึงออกมาจากกระดูกและฟัน จะทาให้กระดูก เปราะบาง ฟันผุ ฟันหักได้ง่าย อาจทาให้กล้ามเนื้ออ่อนแรง เปลี้ย ประสาทตอบสนอง ได้น้อย และอาจเกิดการสะสมแคลเซียมที่ไตมากเกินไป จนทาให้เป็นนิ่วในไตได้ นอกจากนี้ภาวะที่ต่อมพาราไทรอยด์ทางานมากผิดปกติ อาจเกิดได้จากเนื้องอก ที่ต่อมพาราไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์โตขึ้นเอง 2. ไฮโปพาราไทรอยด์ (Hypoparathyroidism) เป็นภาวะที่มีการหลั่ง พาราทอร์โมนออกมาน้อยกว่าปกติ มักเกิดจากการตัดต่อมไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์ ออกด้วย ส่งผลให้การดูดแคลเซียมกลับที่ท่อหน่วยไตลดน้อยลง แคลเซียมสูญเสียออกไป กับน้าปัสสาวะ ทาให้ระดับแคลเซียมในเลือดลดลง ฟอสเฟตสูงขึ้น ดังนั้นเมื่อมีบาดแผล จะทาให้เลือดไหลไม่หยุด ระบบประสาทและกล้ามเนื้อไวต่อสิ่งเร้า มีอาการชาตามมือ ตามเท้า เป็นตะคริว ชักกระตุก กล้ามเนื้อเกร็งที่เรียกว่า Tetany หรืออาจถึงขั้นปอด ทางานไม่ได้ จนเสียชีวิตได้ เมื่อกล้ามเนื้อขาดแคลเซียมไปเลี้ยงจะเกิดอาการเกร็ง มือกระตุกงอ (carpal spasm) ภายใน 3 นาที เรียกอาการนี้ว่า อาการของทรูโซ (Trousseau's sign) ทั้งนี้ สามารถแก้ความผิดปกตินี้ได้ด้วยการลดอาหารที่มีฟอสเฟตสูง ๆ และเสริมแคลเซียม หรือวิตามินดีเข้าสู่ร่างกาย หรือฉีด "พาราทอร์โมน" และให้วิตามินดี ควบคู่กันไปด้วย เพราะวิตามินดี จะช่วยเรื่องการดูดซึมแคลเซียมที่ลาไส้เล็กให้ดีขึ้น ทาให้พาราทอร์โมนทางานได้ดีขึ้น
  • 28. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 29 3. ต่อมพาราไทรอยด์โต เกิดขึ้นโดยไม่ทราบสาเหตุ โดยกลุ่มเสี่ยง คือ ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ไม่ได้รับการฟอกไตอย่างเพียงพอ ทาให้ร่างกายขาดวิตามินดี และมีสารฟอสฟอรัสคั่งอยู่มาก ต่อมพาราไทรอยด์จึงต้องทางานหนักและโตขึ้นในที่สุด มีโอกาสเป็นเนื้องอกในต่อมเดี่ยว 85 เปอร์เซ็นต์ และมีโอกาสเป็นทั้ง 4 ต่อม 15 เปอร์เซ็นต์ ภาพแสดงลักษณะต่อมพาราไทรอยด์โตผิดปกติ ที่มา : http://www.med-ed.psu.ac.th 500 × 175 (25 มีนาคม 2555)
  • 29. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 30 บัตรคาถามที่ 3.4 ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมน คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. สิ่งที่เหมือนกันของคนที่เป็นโรค Cretinism และ Myxedema คือข้อใด ก. ขาดไอโอดีน ข. มีไอโอดีนมากเกินไป ค. ขาดฮอร์โมนไทรอกซิน ง. มีฮอร์โมนไทรอกซินมากเกินไป 2. ถ้าขาดไทรอกซินในวัยเด็กจะทาให้เกิดโรคใด ก. โรคเอ่อ ข. มิกซีดีมา ค. ครีตินิซึม ง. เตี้ยแคระแกรน 3. อาการเหนื่อยง่าย น้าหนักเพิ่ม ทนความหนาวไม่ได้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ผมและ ผิวหนังแห้ง เป็นอาการของโรคใด ก. ครีตินิซึม ข. มิกซีดีมา ค. คอพอกเป็นพิษ ง. ไฮเปอร์พาราไทรอยด์ 4. ฮอร์โมนใดทาให้เกิดเมเทมอร์โฟซิส ( metamorphosis ) ในลูกอ๊อด ก. ไทรอกซิน ข. แคลซิโทนิน ค. พาราทอร์โมน ง. ถูกทุกข้อ 5. ข้อใดเป็นผลที่เกิดจากการที่ต่อมพาราไทรอยด์สร้างฮอร์โมนมากเกินไป ก. กระดูกบางและผุง่าย ข. ลาไส้ดูดแคลเซียมน้อยลง ค. แคลเซียมในเลือดลดลงมาก ง. หน่วยไตดึงแคลเซียมออกจากเลือด
  • 30. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 31 บัตรเฉลยคาถามที่ 3.4 ความผิดปกติที่เกิดจากฮอร์โมน 1.ค 2.ค 3.ข 4.ก 5.ก เก่งมาก ๆ ตอบถูกหมดเลยใช่ไหม
  • 31. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 32 แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ต่อมไทรอยด์ และต่อมพาราไทรอยด์ กับฮอร์โมน คาชี้แจง ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียวแล้วเขียนคาตอบ ก ข ค ง ลงในสมุด (คะแนนเต็ม 5 คะแนน ตอบถูกได้ 1 คะแนน ตอบผิดได้ 0 คะแนน) 1. ระดับแคลเซียมในเลือด ในภาวะปกติมีค่าเท่าใด ก. 9-11 กรัม/เลือด 100 มิลลิลิตร ข. 90 - 100 กรัม/เลือด 100 มิลลิลิตร ค. 9- 11 มิลลิกรัม/เลือด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร ง. 90- 100 มิลลิกรัม/เลือด 100 ลูกบาศก์เซนติเมตร 2. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์ ทั้งหมด ก. ไทรอกซิน แคลซิโทนิน ข. ไทรอกซิน พาราทอร์โมน ค. แคลซิโทนิน พาราทอร์โมน ง. พาราทอร์โมน อัลโดสเทอโรน 3. ฮอร์โมนที่มีความสัมพันธ์กับวิตามินดี คือข้อใด ก. ไทรอกซินและแคลซิโทนิน ข. ไทรอกซินและพาราทอร์โมน ค. แคลซิโทนินและพาราทอร์โมน ง. พาราทอร์โมนและโกรทฮอร์โมน 4. ถ้าระดับแคลเซียมในเลือดมากกว่าในภาวะปกติ ร่างกายจะหลั่งฮอร์โมนชนิดใด ก. ไทรอกซิน ข. แคลซิโทนินน ค. พาราทอร์โมน ง. โกรทฮอร์โมน 5. สมดุลของแคลเซียมในเลือดเกิดจากควบคุมของฮอร์โมน ในข้อใด ก. พาราทอร์โมนเท่านั้น ข. ไทรอกซินและแคลซิโทนิน ค. ไทรอกซินและพาราทอร์โมน ง. แคลซิโทนินและพาราทอร์โมน
  • 32. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 33 6. สิ่งที่เหมือนกันของคนที่เป็นโรค Cretinism และ Myxedema คือข้อใด ก. ขาดไอโอดีน ข. มีไอโอดีนมากเกินไป ค. ขาดฮอร์โมนไทรอกซิน ง. มีฮอร์โมนไทรอกซินมากเกินไป 7. ถ้าขาดไทรอกซินในวัยเด็กจะทาให้เกิดโรคใด ก. โรคเอ่อ ข. มิกซีดีมา ค. ครีตินิซึม ง. เตี้ยแคระแกรน 8. อาการเหนื่อยง่าย น้าหนักเพิ่ม ทนความหนาวไม่ได้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ผมและ ผิวหนังแห้ง เป็นอาการของโรคใด ก. ครีตินิซึม ข. มิกซีดีมา ค. คอพอกเป็นพิษ ง. ไฮเปอร์พาราไทรอยด์ 9. ฮอร์โมนใดทาให้เกิดเมเทมอร์โฟซิส ( metamorphosis ) ในลูกอ๊อด ก. ไทรอกซิน ข. แคลซิโทนิน ค. พาราทอร์โมน ง. ถูกทุกข้อ 10. ข้อใดเป็นผลที่เกิดจากการที่ต่อมพาราไทรอยด์สร้างฮอร์โมนมากเกินไป ก. กระดูกบางและผุง่าย ข. ลาไส้ดูดแคลเซียมน้อยลง ค. แคลเซียมในเลือดลดลงมาก ง. หน่วยไตดึงแคลเซียมออกจากเลือด
  • 33. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 34 เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน ข้อที่ คาตอบ 1 ค 2 ก 3 ค 4 ข 5 ง 6 ง 7 ค 8 ข 9 ก 10 ก ถูกหมดเลย เก่งมากครับ ศึกษาชุดต่อไปเลยครับ
  • 34. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 35 บรรณานุกรม เกษม ศรีพงษ์ และคณะ. ชีววิทยา. กรุงเทพฯ : ชมรมบัณฑิตแนะแนว, 2540. ____________. คู่มือเตรียมสอบ ชีววิทยา เล่ม 1 ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4- ม.6). กรุงเทพฯ : ภูมิบัณฑิตการพิมพ์, 2537. ธนะชัย ทองศรีนุช และคณะ. คู่มือชีววิทยา 6 ว 044. กรุงเทพ ฯ : ประสานมิตร, 2533. นันทิยา บุญเคลือบ และคณะ. พจนานุกรมวิทยาศาสตร์ ฉบับภาพประกอบ. กรุงเทพ ฯ : โปรดัคทีฟ บุ๊ค , 2541. ประพันธ์ พนธารา. สรุปเข้มชีววิทยาพื้นฐานและเพิ่มเติมใหม่ . กรุงเทพ ฯ : ซีแอนด์เอ็นบุ๊ค. แม็ค, 2552. ปรีชา สุวรรณพินิจ และ นงลักษณ์ สุวรรณพินิจ. ชีววิทยา ม.6 เล่ม 5. กรุงเทพฯ: เจริญดีการพิมพ์, 2536. สมาน แก้วไวยุทธ. คู่มือเตรียมสอบชีววิทยา ม.4 – 5 – 6 . กรุงเทพฯ : ไทเนรมิต อินเตอร์โปรเกรสซีฟ. 2537. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน, โครงการ. สารานุกรมไทยสาหรับเยาวชน เล่ม 10. กรุงเทพ ฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2531. สมใจ รักษาศรี. ชีววิทยา Essential Atlas of Biology. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น, 2547. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. กระทรวงศึกษาธิการ . หนังสือเรียนชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548 ____________. คู่มือครูชีววิทยา เล่ม 3. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2548. ____________. หนังสือเรียนวิชาชีววิทยา ว044 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2524 . กรุงเทพ ฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2536. http://www. vcharkarn.com 630 × 282 (25 มีนาคม 2555) http://www. watchawan.blogspot.com 216 × 168 (25 มีนาคม 2555) http://www.scimath.org 300 × 449 (25 มีนาคม 2555) http://www.endocrinesyst.blogspot.com 460 × 300 (25 มีนาคม 2555) http://www. pibul.ac.th 406 × 590 (25 มีนาคม 2555) http://www. vcharkarn.com 600 × 293 (25 มีนาคม 2555) http:// www3.ipst.ac.th 550 × 346 (25 มีนาคม 2555)
  • 35. ชุดการสอนวิชาชีววิทยา ว32241 เรื่อง ระบบต่อมไร้ท่อกับฮอร์โมน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ชุดการสอนที่ 3 เรื่อง ต่อมไทรอยด์และต่อมพาราไทรอยด์กับฮอร์โมน 36 http://www. watchawan.blogspot.com 726 × 315 (25 มีนาคม 2555) http://www. widemagazine.com 250 × 250 (25 มีนาคม 2555) http://www.pibul.ac.th 888 × 506 (25 มีนาคม 2555) http://www. thaigoodview.com 226 × 306 (25 มีนาคม 2555) http://www. medicthai.net 250 × 205 (25 มีนาคม 2555) http://www. myfirstbrain.com 500 × 281 (25 มีนาคม 2555) http://www. med-ed.psu.ac.th 500 × 175 (25 มีนาคม 2555)