SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
บทที่ 1
สมบัติของเลขยกกําลัง (14 ชั่วโมง)
1.1 สมบัติของเลขยกกําลัง (2 ชั่วโมง)
1.2 การดําเนินการของเลขยกกําลัง (8 ชั่วโมง)
1.3 สมบัติอื่น ๆ ของเลขยกกําลัง (4 ชั่วโมง)
การเสนอเนื้อหาเรื่องเลขยกกําลังในบทนี้ เริ่มจากทบทวนบทนิยามของเลขยกกําลัง สมบัติของ
การคูณและสมบัติของการหารเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนใด ๆ และเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวกจาก
นั้นจึงใชบทนิยามและสมบัติที่นักเรียนเคยทราบมาแลว แสดงใหเห็นผลการคูณและผลการหารที่เปนไป
ตามสมบัติของการคูณและสมบัติของการหารเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม นอกจากนี้ยังได
กลาวถึงสมบัติของเลขยกกําลังที่มีฐานเปนเลขยกกําลัง ฐานอยูในรูปการคูณของจํานวนหลาย ๆ จํานวน
และฐานอยูในรูปการหารของจํานวนหลาย ๆ จํานวน
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในบทนี้ ครูควรใหนักเรียนทํากิจกรรมที่สอดแทรกความรูสึก
เชิงจํานวนเกี่ยวกับเลขยกกําลัง เชน การเพิ่มขึ้นหรือลดลงอยางรวดเร็วของจํานวนที่อยูในรูปเลขยกกําลัง
ตามตัวอยาง การหาเงินรวมเมื่อคิดดอกเบี้ยทบตน สําหรับหัวขอ 1.3 ถาครูเห็นวานักเรียนยังไมพรอมหรือ
มีเวลาไมพอ ก็อาจไมนํามาสอนก็ได
ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป
1. คูณและหารจํานวนที่เขียนอยูในรูปเลขยกกําลัง ที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มโดยใชบทนิยาม
และสมบัติของเลขยกกําลังและนําไปใชแกปญหาได
2. คํานวณและใชเลขยกกําลังในการเขียนแสดงจํานวนที่มีคานอย ๆ หรือมาก ๆ ในรูป
สัญกรณวิทยาศาสตรได
3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
2
แนวทางในการจัดการเรียนรู
1.1 สมบัติของเลขยกกําลัง (2 ชั่วโมง)
จุดประสงค เพื่อทบทวนความรูในเรื่องตอไปนี้
1. หาผลคูณและผลหารของเลขยกกําลัง เมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวก
2. ใชสมบัติของเลขยกกําลังในการแกปญหา
3. เขียนแสดงจํานวนทีมีคานอย ๆ หรือมาก ๆ ในรูป A × 10n
เมื่อ 1 ≤ A < 10 และ n
แทนจํานวนเต็ม
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 1.1
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูทบทวนความหมายและสมบัติของเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนใด ๆ และเลขชี้กําลังเปน
จํานวนเต็มบวก โดยย้ําวา เลขยกกําลังเปนจํานวนจึงสามารถบวก ลบ คูณและหาร เชนเดียวกับจํานวน
ครูอาจใหนักเรียนทําแบบฝกหัดเพิ่มเติม 1.1 เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับเลขยกกําลังที่
เคยเรียนแลว
2. สําหรับตัวอยางที่ 1 ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวา (-3)8
= 38
จึงเขียน 38
แทน (-3)8
ได
ทั้งนี้เพราะจํานวนลบคูณจํานวนลบมีผลลัพธเปนจํานวนบวก
สําหรับตัวอยางที่ 5 เปนโจทยปญหาที่ใชขอมูลจริงเกี่ยวกับพื้นที่และจํานวนประชากรของ
ประเทศไทย ครูอาจบูรณาการความรูโดยใหนักเรียนหาขอมูลเกี่ยวกับพื้นที่และจํานวนประชากรในจังหวัด
ของนักเรียน เพื่อหาจํานวนประชากรเฉลี่ยตอพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร
สําหรับแบบฝกหัด 1.1 ขอ 4 ครูควรสนทนาเพิ่มเติมใหนักเรียนรูจักพจนานุกรมและ
ประโยชนของพจนานุกรม เพื่อเชื่อมโยงความรูซึ่งเปนการสงเสริมการอานและการคนควา
สําหรับแบบฝกหัด 1.1 ขอ 7 ครูอาจนํามาอภิปรายในชั้นเรียนดวยการยกตัวอยางมาวิเคราะห
เพื่อสรุปวิธีพิจารณาจํานวนบวกที่เขียนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร วาจํานวนใดมากกวา
3. สําหรับกรอบความรู “คํานําหนาหนวย” เจตนาเพื่อใหเห็นประโยชนของเลขยกกําลังในการ
กําหนดหนวยการวัดที่ใชกันในทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
3
1.2 การดําเนินการของเลขยกกําลัง (8 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. หาผลคูณและผลหารของเลขยกกําลัง เมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มได
2. ใชสมบัติของเลขยกกําลังในการแกปญหาได
3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก และ 1.2 ข
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. ครูอาจทบทวนการบวกและลบจํานวนเต็ม เพื่อตรวจสอบความรูพื้นฐาน ดูความพรอมกอนที่
จะเรียนเรื่องเลขยกกําลังเมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม ครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก ใหนักเรียนได
ลงมือปฏิบัติ ไดสังเกตแบบรูปของความสัมพันธของเลขชี้กําลังของตัวตั้ง ตัวคูณ และผลคูณของเลขยกกําลังที่
มีฐานเปนจํานวนเดียวกัน เพื่อนําไปสูการเรียนเกี่ยวกับสมบัติของการคูณเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปน
จํานวนเต็ม
2. แบบฝกหัด 1.2 ขอ 4 ตองการใหนักเรียนหาคําตอบโดยวิธีลองแทนคาตัวแปร ประกอบกับ
การใชสมบัติของเลขยกกําลัง
3. ในการทํากิจกรรม “นารู” ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นแบบรูปของปริมาณยาที่เหลือในรางกาย
ที่มีลักษณะเปนเลขยกกําลังในรูป
n
2
1




 × 100 เมื่อ n แทนจํานวนครั้งที่ลดทุก 6 ชั่วโมง ครูควรเชื่อมโยง
ความรูเกี่ยวกับการใชยา วายาทุกชนิดมีผลขางเคียงที่เกิดจากยาตกคางไมมากก็นอย ซึ่งอาจเปนอันตรายตอ
รางกายได การใชยาทุกชนิดจึงตองปฏิบัติตามคําแนะนําของแพทย เภสัชกร หรือเอกสารกํากับยาอยาง
เครงครัด
4. ครูอาจใหนักเรียนทํากิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ข และดําเนินการสอนเชนเดียวกับการคูณ
เลขยกกําลังเมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม
5. การสอนเพื่อนําไปสูขอสรุป
เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ ที่ไมใชศูนย และ n แทนจํานวนเต็ม
a-n
= n
a
1
และ an
= n-
a
1
ครูควรยกตัวอยางประกอบดวยการแทน a และ n ดวยจํานวนตาง ๆ ใหนักเรียนเห็นจริงเปน
กรณี ๆ กอน
4
1.3 สมบัติอื่น ๆ ของเลขยกกําลัง (4 ชั่วโมง)
จุดประสงค นักเรียนสามารถ
1. เขียนเลขยกกําลัง
(am
)n
ใหอยูในรูป anm
(ab)n
ใหอยูในรูป an
bn
n
b
a




 ใหอยูในรูป n
n
b
a
2. หาผลคูณและผลหารของเลขยกกําลังที่มีฐานอยูในรูปการคูณหรือการหารของจํานวน
หลาย ๆ จํานวนได
3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.3
ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
1. การเขียนเลขยกกําลัง เมื่อฐานเปนเลขยกกําลังและเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม ใหครูย้ําวาควร
เขียนฐานซึ่งเปนเลขยกกําลังไวในวงเล็บ เพื่อใหเกิดความชัดเจน ในการสื่อสารและสื่อความหมาย เชน
เมื่อฐานเปน 52
ถาเขียนเปนเลขยกกําลังที่มี 3 เปนเลขชี้กําลังใหเขียน (52
)3
2. สําหรับแบบฝกหัด 1.3 ขอ 3 ตองการใหนักเรียนหาคําตอบโดยวิธีลองแทนคาตัวแปร
ประกอบกับความรูเรื่องการแยกตัวประกอบและสมบัติของเลขยกกําลัง
3. แบบฝกหัด 1.3 ขอ 4 และขอ 5 เปนโจทยเชื่อมโยงความรูทางวิทยาศาสตร มุงใหนักเรียน
ฝกทักษะการคูณและการหารเลขยกกําลัง โดยการแทนคาตัวแปรตามที่โจทยกําหนด
4. กิจกรรม “เปนจริงหรือไม” มีคําถามสวนใหญที่สามารถตอบไดโดยใชความรูสึกเชิงจํานวน
เกี่ยวกับเลขยกกําลัง มีคําถามเพียงบางขอที่อาจตองใชการคํานวณและการใหเหตุผลประกอบ ถานักเรียน
ไมเขาใจ ครูตองยกตัวอยางเปนจํานวนมาประกอบคําอธิบายเพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนเห็นจริงในแตละกรณี
5. กิจกรรม “ดอกเบี้ยทบตน” แสดงใหเห็นการนําเลขยกกําลังไปใชในชีวิตประจําวัน ครูควร
ดําเนินการสอนตามลําดับที่เสนอไวในกิจกรรม ไมควรใหสูตรทันที ทั้งนี้เพื่อใหนักเรียนไดสังเกตแบบรูป
ของความสัมพันธที่นําไปสูสูตรการหาเงินรวม
กราฟของความสัมพันธที่นําเสนอในหนา 30 แสดงใหเห็นวาในชวงแรก ๆ เงินรวมจะเพิ่มขึ้น
อยางชา ๆ แตเมื่อเวลาผานไประยะหนึ่ง เงินรวมจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว หากเปนการกูเงินยอมแสดงวาใน
ระยะยาว เราตองจายดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วเชนกัน
5
6. กิจกรรม “คิดเปนลานลาน” แสดงใหเห็นการใชเลขยกกําลัง ไปชวยในการเขียนหนวยเปน
ลานลาน ซึ่งจะพบมากในดานสังคมศาสตร ทั้งมีการบวกและการลบเลขยกกําลังที่อยูในรูป A × 10n
เมื่อ
n แทนจํานวนเต็มบวกโดยใชสมบัติการแจกแจง
7. สําหรับกิจกรรม “ไมเทากัน” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนตระหนักและไดหลักการเขียนเลขยกกําลัง
ที่ถูกตอง ครูอาจยกตัวอยางอื่น ๆ เพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนเกิดความเขาใจยิ่งขึ้น การหาคําตอบในกิจกรรมนี้
ไมจําเปนตองหาผลตางเปนจํานวนเต็ม อาจตอบในรูปของเลขยกกําลังก็ได
8. ในการทํากิจกรรม “ยิ้มญาติเยอะ” ครูอาจนํากิจกรรมปญหา “ชวนคิด” ทายหัวขอ 3.1 ใน
หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานคณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 มาเปรียบเทียบใหเห็น
แบบรูปของการหาคําตอบที่เปนการบวกเลขยกกําลังในลักษณะทํานองเดียวกัน
คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม
คําตอบแบบฝกหัด 1.1
1.
1) 27
2) (–5)3
3) (0.5)6
หรือ
6
2
1




 4) (–3)2
หรือ 32
5) (–2)7
6)
2
5
2





7) 10-1
8) 2-4
9) 104
10) 100
11) a2
12) 2n
2.
1) (–4)4
หรือ 256 2) (–2)2
หรือ 4
3) 3 4) 1
5)
3
2
6 6) 0.0007
7) 4000 8) 30
9) a4
10) 2a3
b
11) 53n
12) 22n + 1
6
3
1) 2.9 × 1011
2) 7.3 × 10–9
3) 1.25 × 10–8
4) 4.251 × 104
5) 3 × 10-5
6) 5.22 × 10–3
7) 6.17 × 10–3
8) 4.7 × 10–9
9) 5.16 × 108
10) 5.78 × 109
11) 9.7 × 1010
12) 2.5 × 1013
4. ประมาณ 7.5 × 10-3
เซนติเมตร
5. ประมาณ 6.42252 × 1023
กิโลกรัม
6. ประมาณ 9.45 × 1012
กิโลเมตร
7. เมื่อเขียนจํานวนบวกสองจํานวนในรูป A × 10n
เมื่อ 1 < A < 10 และ n แทนจํานวนเต็ม
การพิจารณาวาจํานวนใดมากกวา ใหพิจารณาดังนี้
1) ถาเลขชี้กําลังของ 10 ตางกัน จํานวนที่มีเลขชี้กําลังของ 10 มากกวา จะเปนจํานวนที่
มากกวา
2) ถาเลขชี้กําลังของ 10 เปน n เทากัน จํานวนที่มีตัวคูณของ 10n
มากกวา จะเปนจํานวน
ที่มากกวา
คําตอบปญหา “มีหรือไม”
มี คือ 2 เพราะ (2 – 2)2 – 3
= 0-1
และ 0-1
ไมมีความหมายทางคณิตศาสตร
คําตอบแบบฝกหัด 1.2 ก
1.
1) 412
2) 21
3) 3-2
4) (–2)0
5) 30
6) (0.5)-1
หรือ
-1
2
1





7) (0.5)-1
8) (-4)0
9) (-7)-2
10) (-3a)3
11) (-2)3n + 3
12) a2n
7
2.
1) 2.4 × 109
2) 4.8 × 100
3) 1 × 10-6
4) 6 × 101
3.
1) 4a-2
หรือ 2
a
4 2) (4a)-1
หรือ
4a
1
3) 3y 4) 6b3
5) 3a 6) 10
4.
1) 25
2) 0.25 × 10-2
5. ประมาณ 4 ลานลานบาท
6. ประมาณ 40 ปแสง
7. ประมาณ 4.75 × 10-2
เมตร
คําตอบปญหา “นารู”
6.25 มิลลิกรัม
แนวคิด เมื่อครบ 24 ชั่วโมง จะมียาเหลืออยู
4
2
1




 × 100 มิลลิกรัม
คําตอบแบบฝกหัด 1.2 ข
1
1) 56
2) 3-3
3) 2–7
4) 7-1
5) 11–8
6) 130
7) (-10)4
หรือ 104
8) (0.2)-4
9) a5
10) 65n
8
2.
1) 5× 10-4
2) 7.1 × 10-13
3) 9 × 10-9
4) 6.4 × 10-1
3.
1) 223
2) 3-8
หรือ 8
3
1
3) -37.5 4) 7-n
หรือ n
7
1
5) 4a2
b3
6) 13a5
b4
c–1
หรือ
c
b13a 45
4. ประมาณ 3,780 ลานคน
5. ประมาณ 1.5433728 × 108
ตารางกิโลเมตร
6. ประมาณ 30.48 เมตร
7. ประมาณ 167 เมตร
8. ประมาณ 20,478 บีทียู
คําตอบแบบฝกหัด 1.3
1.
1) 1 2) 1
3) 56
4) 352
5)
81
4 6) 25
หรือ 32
7) 34
หรือ 81 8) 108
9) 4a-2
หรือ 2
a
4 10)
8
a-12
หรือ 12
8a
1
2.
1) 228
2) 81 × 222
3) 1 4) 404
5) 3 6) 1
7) a3
b-3
หรือ 3
3
b
a 8)
90
ab
9) 63m
10)
n
2
7






หรือ n
n
2
7
9
3.
1) แทน m ดวย 1 และแทน n ดวย 3
2) แทน m ดวย 0 แทน n ดวย -5 และแทน p ดวย 5
4. ประมาณ 4.97 × 102
วินาที
5. ประมาณ 3.62 × 10-28
จูล
คําตอบปญหา “คิด”
คําตอบคือ 64 และ 15,625
แนวคิด 1,000,000 = 106
= (2 × 5)6
= 26
× 56
= 64 × 15,625
คําตอบปญหา “เปนจริงหรือไม”
1. เปนจริง เพราะ จํานวนใด ๆ ที่ไมใชศูนย เมื่อยกกําลังศูนยจะเทากับ 1
2. ไมเปนจริง เพราะ ถา a = 0 แลว 00
ไมมีความหมายทางคณิตศาสตร
3. ไมเปนจริง เพราะ 10-5
= 5
10
1 ซึ่ง 5
10
1 > 0
4. ไมเปนจริง เพราะ -54
เปนจํานวนลบ แต (-5)4
เปนจํานวนบวก
5. เปนจริง เพราะ 2-2
= 2
2
1 =
2
2
1





 = (0.5)2
6. ไมเปนจริง เพราะ 10010
= (102
)10
= 1020
ซึ่ง 1020
< 10100
7. ไมเปนจริง เพราะ
-4
7
3





 = 4-
4-
7
3 = 4
4
3
7 =
4
3
7






8. เปนจริง เพราะ 210
> 102
ดังนั้น 2
10
10
2 > 10
2
2
10
9. ไมเปนจริง เพราะ 10a
+ 10a
= 2(10a
) ซึ่ง 2(10a
) ≠ 20a
10. ไมเปนจริง เพราะ มี 101
+ 100
= 10 + 1 = 11 ในขณะที่ 101 + 0
= 101
= 10
10
11. เปนจริง เพราะ a + b < 0 ดังนั้น 10a
× 10b
= 10a + b
< 100
และ 100
= 1
นั่นคือ 10a
× 10b
< 1
12. ไมเปนจริง เพราะ เมื่อแทน a ดวย 2 และแทน b ดวย -2 แลว
102
× 10-2
= 102 + (-2)
= 100
= 1
13. ไมเปนจริง เพราะ a10
× b10
= (a × b)10
ซึ่ง (a × b)10
≠ (a × b)20
14. ไมเปนจริง เพราะ เมื่อแทน a ดวย 0 แทน b ดวย 1 แลว a – b < 0 และ
100
÷101
=
10
1 < 1
15. ไมเปนจริง เพราะ มี 02
= 0
คําตอบกิจกรรม “ดอกเบี้ยทบตน”
1. ดอกเบี้ยเมื่อสิ้นปที่สาม ประมาณ 788.13 บาท
2. เงินรวมเมื่อสิ้นปที่สอง ประมาณ 8,324.83 บาท
คําตอบกิจกรรม “คิดเปนลานลาน”
1. 29,200 ลานบาท
2. 10,880 ลานบาท
3. 3.4 พันลานบาท
4. 13 หมื่นลานบาท
5. 1001 หมื่นลานบาท
11
คําตอบปญหา “ไมเทากัน”
316
– 38
หรือ 38
(38
– 1)
แนวคิด เนื่องจาก 32
= 32
= 316
และ ((32
)2
)2
= 32 ×2 ×2
= 38
ดังนั้น 316
– 38
= 38
(38
– 1)
คําตอบปญหา “ยิ้มญาติเยอะ”
จํานวนบรรพบุรุษเกาชั่วคน มีทั้งหมด 1,022 คน
แนวคิด
บรรพบุรุษ จํานวนคน
หนึ่งชั่วคน 2
สองชั่วคน 2 + 22
สามชั่วคน 2 + 22
+ 23
สี่ชั่วคน 2 + 22
+ 23
+ 24
เกาชั่วคน 2 + 22
+ 23
+ … + 29
ดังนั้น บรรพบุรุษเกาชั่วคนของยิ้มมี 2 + 22
+ 23
+ … + 29
= 2 + 4 + 8 + … + 512
= 1,022 คน
ใชสมบัติการแจกแจง
.
.
.
.
.
.
2
2 4
12
กิจกรรมเสนอแนะ แบบฝกหัดเพิ่มเติมและคําตอบ
13
แบบฝกหัดเพิ่มเติม 1.1
1. จงบอกฐานและเลขชี้กําลังของเลขยกกําลังตอไปนี้
1) 36
[3 เปนฐาน และ 6 เปนเลขชี้กําลัง]
2) (-7)2
[-7 เปนฐาน และ 2 เปนเลขชี้กําลัง]
3)
-5
3
2




 [
3
2 เปนฐาน และ -5 เปนเลขชี้กําลัง]
4) (3a)2
เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ [3a เปนฐาน และ 2 เปนเลขชี้กําลัง]
5) (-9y)-3
เมื่อ y ≠ 0 [-9y เปนฐาน และ -3 เปนเลขชี้กําลัง]
6)
-3
2
1






เมื่อ y ≠ 0 [
2
1 เปนฐาน และ -3 เปนเลขชี้กําลัง]
2. จงหาผลคูณ
1) 34
× 37
[311
]
2) (-2)5
× (-2)0
× (-2)2
[(-2)7
]
3) (5a2
)(-3a4
) เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ [-15a6
]
4) 7a3
b × 2a5
b2
เมื่อ a และ b แทนจํานวนใด ๆ [14a8
b3
]
3. จงหาผลหาร
1) 2
7
3
3 [35
]
2) 3
5
(-2)
(-2) [(-2)2
หรือ 22
]
3) 6
4
7
7 [7-2
]
4) 2
5
(-8)
(-8) [(-8)3
]
5) 3n
2n
a
a เมื่อ a ≠ 0 และ n แทนจํานวนเต็มบวก [a-n
]
4. จงเขียนจํานวนตอไปนี้ในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร
1) 25,000,000 [2.5 × 107
]
2) 0.000073 [7.3 × 10-5
]
3) 58 × 106
[5.8 × 107
]
4) 23.9 × 10-3
[2.39 × 10-2
]
5) 0.0049 × 107
[4.9 × 104
]
6) 550 × 10-9
[5.5 × 10-7
]
yy
14
กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก
กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนพิจารณาและสังเกตความสัมพันธของเลขชี้กําลังของตัวตั้ง
ตัวคูณและผลคูณ เพื่อนําไปสูสมบัติของการคูณเลขยกกําลัง เมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม
ใหนักเรียนเติมขอความใหสมบูรณตามตัวอยางในตาราง
การคูณเลขยกกําลัง ผลคูณ
1. 20
× 23
= 1 × 23
23
หรือ 20 + 3
2. 30
× 3-2
= 1 × 2
3
1
3-2
หรือ 30 + (-2)
3. 4-5
× 40
= ………………… [ 5
4
1 × 1] ………………… [4-5
] หรือ [4-5 + 0
]
4. 52
× 5-3
= ………………… [52
× 3
5
1 ] ………………… [5-1
] หรือ [52 + (-3)
]
5. 6-2
× 65
= ………………… [ 2
6
1 × 65
] ………………… [63
] หรือ [6-2 + 5
]
6. 7-3
× 7-8
= ………………… [
8
7×
3
7
1 ] ………………… [7 - 11
] หรือ [7-3 + (-8)
]
15
กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ข
กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนพิจารณาและสังเกตความสัมพันธของเลขชี้กําลังของตัวตั้ง
ตัวหารและผลหาร เพื่อนําไปสูสมบัติของการหารเลขยกกําลัง เมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม
จงเติมขอความใหสมบูรณตามตัวอยางในตาราง
การหารของเลขยกกําลัง ผลหาร
1. 3
0
5
5 = 3
5
1
5-3
หรือ 50 – 3
2. 2-
0
4
4 =
2
4
1
1
42
หรือ 40 – (-2)
3. 0
5-
3
3 = ………………… [
1
35-
]
………………… [3-5
] หรือ [3-5 – 0
]
4. 3-
2
7
7 = ………………… [
3
2
7
1
7 ]
………………… [75
] หรือ [7 2 – (-3)
]
5. 5
3-
3
3 = ………………… [ 53
33
1
×
]
………………… [3-8
] หรือ [3-3 – 5
]
6. 4-
2-
5
5 = ………………… [5 -2
× 4-
5
1 ]
………………… [52
] หรือ [5 -2 – (-4)
]
16
กิจกรรมเสนอแนะ 1.3
กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนพิจารณาและสังเกตความสัมพันธของเลขชี้กําลังของฐานกับ
เลขชี้กําลังของเลขยกกําลัง
จงเติมขอความใหสมบูรณตามตัวอยางในตาราง
เลขยกกําลัง เขียนเลขยกกําลังในรูปกระจาย ผลคูณ
1. (32
)4
32
× 32
× 32
× 32
38
หรือ 32 × 4
2. (2-1
)2
……………..… [2-1
× 2-1
] ……………..… [2-2
] หรือ [2(-1)× 2
]
3. (5-2
)3
……………..… [5-2
× 5-2
× 5-2
] ……………..… [5-6
] หรือ [5(-2)× 3
]
4. ((-3)-2
)4
……………..… [(-3)-2
× (-3)-2
× (-3)-2
× (-3)-2
] ……………..… [(-3)-8
] หรือ [(-3)(-2)× 4
]
5. (54
)-3 ……………..… [ 444
555
1
××
] ……………..… [5-12
] หรือ [54 ×(-3)
]
6. (7-2
)-2 ……………..… [ 2-2-
77
1
×
] ……………..… [74
] หรือ [7(-2) ×(-2)
]

More Related Content

What's hot (16)

Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3Basic m4-1-chapter3
Basic m4-1-chapter3
 
Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat15603
 
Pat15603
Pat15603Pat15603
Pat15603
 
Pat157
Pat157Pat157
Pat157
 
Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1Add m5-1-chapter1
Add m5-1-chapter1
 
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physicsฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
ฟิสิกส์ 7 วิชาสามัญ โดย ideal physics
 
Pat15704
Pat15704Pat15704
Pat15704
 
Real number2555
Real number2555Real number2555
Real number2555
 
Pat15503
Pat15503Pat15503
Pat15503
 
เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)เวกเตอร์(สอน)
เวกเตอร์(สอน)
 
Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52Pat1 ปี 52
Pat1 ปี 52
 
Pat15703
Pat15703Pat15703
Pat15703
 
Pat56March
Pat56MarchPat56March
Pat56March
 
Pat1 55-10+key
Pat1 55-10+keyPat1 55-10+key
Pat1 55-10+key
 
Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2Basic m3-1-chapter2
Basic m3-1-chapter2
 
Pat1 56-03+key
Pat1 56-03+keyPat1 56-03+key
Pat1 56-03+key
 

Similar to Add m2-1-chapter1

บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์PumPui Oranuch
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์Thepsatri Rajabhat University
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนพิทักษ์ ทวี
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม Jirathorn Buenglee
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558ครู กรุณา
 
สิ่งที่ต้องทบทวน เรื่อง จำนวนจริง
สิ่งที่ต้องทบทวน เรื่อง จำนวนจริงสิ่งที่ต้องทบทวน เรื่อง จำนวนจริง
สิ่งที่ต้องทบทวน เรื่อง จำนวนจริงjirat thipprasert
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]Thepsatri Rajabhat University
 
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1ธนกฤต แม่นผล
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556Rungthaya
 
56มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 156มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 1aungdora57
 

Similar to Add m2-1-chapter1 (20)

บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วนชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
ชุดที่ 6 การแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอัตราส่วน
 
ชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วนชุดที่ 7 สัดส่วน
ชุดที่ 7 สัดส่วน
 
แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม แผน 5 นวัตกรรม
แผน 5 นวัตกรรม
 
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
เฉลยข้อสอบโอเน็ตคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2558
 
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ348 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
48 ตรีโกณมิติ ตอนที่5_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ3
 
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ146 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
46 ตรีโกณมิติ ตอนที่3_ฟังก์ชันตรีโกณมิติ1
 
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
07 การให้เหตุผลและตรรกศาสตร์ ตอนที่1_การให้เหตุผล
 
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
41 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่4_อสมการเลขชี้กำลัง
 
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
66 การนับและความน่าจะเป็น ตอนที่1_การนับเบื้องต้น
 
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
30 ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน ตอนที่1_ความสัมพันธ์
 
60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full60 vector 3 d-full
60 vector 3 d-full
 
สิ่งที่ต้องทบทวน เรื่อง จำนวนจริง
สิ่งที่ต้องทบทวน เรื่อง จำนวนจริงสิ่งที่ต้องทบทวน เรื่อง จำนวนจริง
สิ่งที่ต้องทบทวน เรื่อง จำนวนจริง
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
 
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่  1
คู่มือครูวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ม.1 บทที่ 1
 
ทฤษฎีจำนวน
ทฤษฎีจำนวนทฤษฎีจำนวน
ทฤษฎีจำนวน
 
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
ข้อสอบ Pat1-รอบ-22556-สอบ-มีนาคม-2556
 
56มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 156มีนาคม pat 1
56มีนาคม pat 1
 

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์

More from กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนอุตรดิตถ์ (20)

Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1Basic m2-2-chapter1
Basic m2-2-chapter1
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2Basic m5-2-chapter2
Basic m5-2-chapter2
 
Basic m5-2-link
Basic m5-2-linkBasic m5-2-link
Basic m5-2-link
 
Basic m5-1-link
Basic m5-1-linkBasic m5-1-link
Basic m5-1-link
 
Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1Basic m5-1-chapter1
Basic m5-1-chapter1
 
Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2Basic m5-1-chapter2
Basic m5-1-chapter2
 
Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1Basic m5-2-chapter1
Basic m5-2-chapter1
 
Basic m4-2-link
Basic m4-2-linkBasic m4-2-link
Basic m4-2-link
 
Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2Basic m4-2-chapter2
Basic m4-2-chapter2
 
Basic m4-1-link
Basic m4-1-linkBasic m4-1-link
Basic m4-1-link
 
Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1Basic m4-2-chapter1
Basic m4-2-chapter1
 
Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2Basic m4-1-chapter2
Basic m4-1-chapter2
 
Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4Basic m4-1-chapter4
Basic m4-1-chapter4
 
Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2Basic m3-2-chapter2
Basic m3-2-chapter2
 
Basic m3-2-link
Basic m3-2-linkBasic m3-2-link
Basic m3-2-link
 
Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1Basic m4-1-chapter1
Basic m4-1-chapter1
 
Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4Basic m3-2-chapter4
Basic m3-2-chapter4
 
Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3Basic m3-2-chapter3
Basic m3-2-chapter3
 
Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1Basic m3-2-chapter1
Basic m3-2-chapter1
 

Add m2-1-chapter1

  • 1. บทที่ 1 สมบัติของเลขยกกําลัง (14 ชั่วโมง) 1.1 สมบัติของเลขยกกําลัง (2 ชั่วโมง) 1.2 การดําเนินการของเลขยกกําลัง (8 ชั่วโมง) 1.3 สมบัติอื่น ๆ ของเลขยกกําลัง (4 ชั่วโมง) การเสนอเนื้อหาเรื่องเลขยกกําลังในบทนี้ เริ่มจากทบทวนบทนิยามของเลขยกกําลัง สมบัติของ การคูณและสมบัติของการหารเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนใด ๆ และเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวกจาก นั้นจึงใชบทนิยามและสมบัติที่นักเรียนเคยทราบมาแลว แสดงใหเห็นผลการคูณและผลการหารที่เปนไป ตามสมบัติของการคูณและสมบัติของการหารเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม นอกจากนี้ยังได กลาวถึงสมบัติของเลขยกกําลังที่มีฐานเปนเลขยกกําลัง ฐานอยูในรูปการคูณของจํานวนหลาย ๆ จํานวน และฐานอยูในรูปการหารของจํานวนหลาย ๆ จํานวน ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในบทนี้ ครูควรใหนักเรียนทํากิจกรรมที่สอดแทรกความรูสึก เชิงจํานวนเกี่ยวกับเลขยกกําลัง เชน การเพิ่มขึ้นหรือลดลงอยางรวดเร็วของจํานวนที่อยูในรูปเลขยกกําลัง ตามตัวอยาง การหาเงินรวมเมื่อคิดดอกเบี้ยทบตน สําหรับหัวขอ 1.3 ถาครูเห็นวานักเรียนยังไมพรอมหรือ มีเวลาไมพอ ก็อาจไมนํามาสอนก็ได ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายป 1. คูณและหารจํานวนที่เขียนอยูในรูปเลขยกกําลัง ที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มโดยใชบทนิยาม และสมบัติของเลขยกกําลังและนําไปใชแกปญหาได 2. คํานวณและใชเลขยกกําลังในการเขียนแสดงจํานวนที่มีคานอย ๆ หรือมาก ๆ ในรูป สัญกรณวิทยาศาสตรได 3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได
  • 2. 2 แนวทางในการจัดการเรียนรู 1.1 สมบัติของเลขยกกําลัง (2 ชั่วโมง) จุดประสงค เพื่อทบทวนความรูในเรื่องตอไปนี้ 1. หาผลคูณและผลหารของเลขยกกําลัง เมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มบวก 2. ใชสมบัติของเลขยกกําลังในการแกปญหา 3. เขียนแสดงจํานวนทีมีคานอย ๆ หรือมาก ๆ ในรูป A × 10n เมื่อ 1 ≤ A < 10 และ n แทนจํานวนเต็ม เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม แบบฝกหัดเพิ่มเติม 1.1 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูทบทวนความหมายและสมบัติของเลขยกกําลังที่มีฐานเปนจํานวนใด ๆ และเลขชี้กําลังเปน จํานวนเต็มบวก โดยย้ําวา เลขยกกําลังเปนจํานวนจึงสามารถบวก ลบ คูณและหาร เชนเดียวกับจํานวน ครูอาจใหนักเรียนทําแบบฝกหัดเพิ่มเติม 1.1 เพื่อตรวจสอบความเขาใจของนักเรียนเกี่ยวกับเลขยกกําลังที่ เคยเรียนแลว 2. สําหรับตัวอยางที่ 1 ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นวา (-3)8 = 38 จึงเขียน 38 แทน (-3)8 ได ทั้งนี้เพราะจํานวนลบคูณจํานวนลบมีผลลัพธเปนจํานวนบวก สําหรับตัวอยางที่ 5 เปนโจทยปญหาที่ใชขอมูลจริงเกี่ยวกับพื้นที่และจํานวนประชากรของ ประเทศไทย ครูอาจบูรณาการความรูโดยใหนักเรียนหาขอมูลเกี่ยวกับพื้นที่และจํานวนประชากรในจังหวัด ของนักเรียน เพื่อหาจํานวนประชากรเฉลี่ยตอพื้นที่ 1 ตารางกิโลเมตร สําหรับแบบฝกหัด 1.1 ขอ 4 ครูควรสนทนาเพิ่มเติมใหนักเรียนรูจักพจนานุกรมและ ประโยชนของพจนานุกรม เพื่อเชื่อมโยงความรูซึ่งเปนการสงเสริมการอานและการคนควา สําหรับแบบฝกหัด 1.1 ขอ 7 ครูอาจนํามาอภิปรายในชั้นเรียนดวยการยกตัวอยางมาวิเคราะห เพื่อสรุปวิธีพิจารณาจํานวนบวกที่เขียนในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร วาจํานวนใดมากกวา 3. สําหรับกรอบความรู “คํานําหนาหนวย” เจตนาเพื่อใหเห็นประโยชนของเลขยกกําลังในการ กําหนดหนวยการวัดที่ใชกันในทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
  • 3. 3 1.2 การดําเนินการของเลขยกกําลัง (8 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. หาผลคูณและผลหารของเลขยกกําลัง เมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็มได 2. ใชสมบัติของเลขยกกําลังในการแกปญหาได 3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก และ 1.2 ข ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. ครูอาจทบทวนการบวกและลบจํานวนเต็ม เพื่อตรวจสอบความรูพื้นฐาน ดูความพรอมกอนที่ จะเรียนเรื่องเลขยกกําลังเมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม ครูอาจใชกิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก ใหนักเรียนได ลงมือปฏิบัติ ไดสังเกตแบบรูปของความสัมพันธของเลขชี้กําลังของตัวตั้ง ตัวคูณ และผลคูณของเลขยกกําลังที่ มีฐานเปนจํานวนเดียวกัน เพื่อนําไปสูการเรียนเกี่ยวกับสมบัติของการคูณเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปน จํานวนเต็ม 2. แบบฝกหัด 1.2 ขอ 4 ตองการใหนักเรียนหาคําตอบโดยวิธีลองแทนคาตัวแปร ประกอบกับ การใชสมบัติของเลขยกกําลัง 3. ในการทํากิจกรรม “นารู” ครูควรชี้ใหนักเรียนเห็นแบบรูปของปริมาณยาที่เหลือในรางกาย ที่มีลักษณะเปนเลขยกกําลังในรูป n 2 1      × 100 เมื่อ n แทนจํานวนครั้งที่ลดทุก 6 ชั่วโมง ครูควรเชื่อมโยง ความรูเกี่ยวกับการใชยา วายาทุกชนิดมีผลขางเคียงที่เกิดจากยาตกคางไมมากก็นอย ซึ่งอาจเปนอันตรายตอ รางกายได การใชยาทุกชนิดจึงตองปฏิบัติตามคําแนะนําของแพทย เภสัชกร หรือเอกสารกํากับยาอยาง เครงครัด 4. ครูอาจใหนักเรียนทํากิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ข และดําเนินการสอนเชนเดียวกับการคูณ เลขยกกําลังเมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม 5. การสอนเพื่อนําไปสูขอสรุป เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ ที่ไมใชศูนย และ n แทนจํานวนเต็ม a-n = n a 1 และ an = n- a 1 ครูควรยกตัวอยางประกอบดวยการแทน a และ n ดวยจํานวนตาง ๆ ใหนักเรียนเห็นจริงเปน กรณี ๆ กอน
  • 4. 4 1.3 สมบัติอื่น ๆ ของเลขยกกําลัง (4 ชั่วโมง) จุดประสงค นักเรียนสามารถ 1. เขียนเลขยกกําลัง (am )n ใหอยูในรูป anm (ab)n ใหอยูในรูป an bn n b a      ใหอยูในรูป n n b a 2. หาผลคูณและผลหารของเลขยกกําลังที่มีฐานอยูในรูปการคูณหรือการหารของจํานวน หลาย ๆ จํานวนได 3. ตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคําตอบที่ได เอกสารแนะนําการจัดกิจกรรม กิจกรรมเสนอแนะ 1.3 ขอเสนอแนะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน 1. การเขียนเลขยกกําลัง เมื่อฐานเปนเลขยกกําลังและเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม ใหครูย้ําวาควร เขียนฐานซึ่งเปนเลขยกกําลังไวในวงเล็บ เพื่อใหเกิดความชัดเจน ในการสื่อสารและสื่อความหมาย เชน เมื่อฐานเปน 52 ถาเขียนเปนเลขยกกําลังที่มี 3 เปนเลขชี้กําลังใหเขียน (52 )3 2. สําหรับแบบฝกหัด 1.3 ขอ 3 ตองการใหนักเรียนหาคําตอบโดยวิธีลองแทนคาตัวแปร ประกอบกับความรูเรื่องการแยกตัวประกอบและสมบัติของเลขยกกําลัง 3. แบบฝกหัด 1.3 ขอ 4 และขอ 5 เปนโจทยเชื่อมโยงความรูทางวิทยาศาสตร มุงใหนักเรียน ฝกทักษะการคูณและการหารเลขยกกําลัง โดยการแทนคาตัวแปรตามที่โจทยกําหนด 4. กิจกรรม “เปนจริงหรือไม” มีคําถามสวนใหญที่สามารถตอบไดโดยใชความรูสึกเชิงจํานวน เกี่ยวกับเลขยกกําลัง มีคําถามเพียงบางขอที่อาจตองใชการคํานวณและการใหเหตุผลประกอบ ถานักเรียน ไมเขาใจ ครูตองยกตัวอยางเปนจํานวนมาประกอบคําอธิบายเพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนเห็นจริงในแตละกรณี 5. กิจกรรม “ดอกเบี้ยทบตน” แสดงใหเห็นการนําเลขยกกําลังไปใชในชีวิตประจําวัน ครูควร ดําเนินการสอนตามลําดับที่เสนอไวในกิจกรรม ไมควรใหสูตรทันที ทั้งนี้เพื่อใหนักเรียนไดสังเกตแบบรูป ของความสัมพันธที่นําไปสูสูตรการหาเงินรวม กราฟของความสัมพันธที่นําเสนอในหนา 30 แสดงใหเห็นวาในชวงแรก ๆ เงินรวมจะเพิ่มขึ้น อยางชา ๆ แตเมื่อเวลาผานไประยะหนึ่ง เงินรวมจะเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว หากเปนการกูเงินยอมแสดงวาใน ระยะยาว เราตองจายดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วเชนกัน
  • 5. 5 6. กิจกรรม “คิดเปนลานลาน” แสดงใหเห็นการใชเลขยกกําลัง ไปชวยในการเขียนหนวยเปน ลานลาน ซึ่งจะพบมากในดานสังคมศาสตร ทั้งมีการบวกและการลบเลขยกกําลังที่อยูในรูป A × 10n เมื่อ n แทนจํานวนเต็มบวกโดยใชสมบัติการแจกแจง 7. สําหรับกิจกรรม “ไมเทากัน” มีเจตนาเพื่อใหนักเรียนตระหนักและไดหลักการเขียนเลขยกกําลัง ที่ถูกตอง ครูอาจยกตัวอยางอื่น ๆ เพิ่มเติม เพื่อใหนักเรียนเกิดความเขาใจยิ่งขึ้น การหาคําตอบในกิจกรรมนี้ ไมจําเปนตองหาผลตางเปนจํานวนเต็ม อาจตอบในรูปของเลขยกกําลังก็ได 8. ในการทํากิจกรรม “ยิ้มญาติเยอะ” ครูอาจนํากิจกรรมปญหา “ชวนคิด” ทายหัวขอ 3.1 ใน หนังสือเรียนสาระการเรียนรูพื้นฐานคณิตศาสตร เลม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 มาเปรียบเทียบใหเห็น แบบรูปของการหาคําตอบที่เปนการบวกเลขยกกําลังในลักษณะทํานองเดียวกัน คําตอบแบบฝกหัดและคําตอบกิจกรรม คําตอบแบบฝกหัด 1.1 1. 1) 27 2) (–5)3 3) (0.5)6 หรือ 6 2 1      4) (–3)2 หรือ 32 5) (–2)7 6) 2 5 2      7) 10-1 8) 2-4 9) 104 10) 100 11) a2 12) 2n 2. 1) (–4)4 หรือ 256 2) (–2)2 หรือ 4 3) 3 4) 1 5) 3 2 6 6) 0.0007 7) 4000 8) 30 9) a4 10) 2a3 b 11) 53n 12) 22n + 1
  • 6. 6 3 1) 2.9 × 1011 2) 7.3 × 10–9 3) 1.25 × 10–8 4) 4.251 × 104 5) 3 × 10-5 6) 5.22 × 10–3 7) 6.17 × 10–3 8) 4.7 × 10–9 9) 5.16 × 108 10) 5.78 × 109 11) 9.7 × 1010 12) 2.5 × 1013 4. ประมาณ 7.5 × 10-3 เซนติเมตร 5. ประมาณ 6.42252 × 1023 กิโลกรัม 6. ประมาณ 9.45 × 1012 กิโลเมตร 7. เมื่อเขียนจํานวนบวกสองจํานวนในรูป A × 10n เมื่อ 1 < A < 10 และ n แทนจํานวนเต็ม การพิจารณาวาจํานวนใดมากกวา ใหพิจารณาดังนี้ 1) ถาเลขชี้กําลังของ 10 ตางกัน จํานวนที่มีเลขชี้กําลังของ 10 มากกวา จะเปนจํานวนที่ มากกวา 2) ถาเลขชี้กําลังของ 10 เปน n เทากัน จํานวนที่มีตัวคูณของ 10n มากกวา จะเปนจํานวน ที่มากกวา คําตอบปญหา “มีหรือไม” มี คือ 2 เพราะ (2 – 2)2 – 3 = 0-1 และ 0-1 ไมมีความหมายทางคณิตศาสตร คําตอบแบบฝกหัด 1.2 ก 1. 1) 412 2) 21 3) 3-2 4) (–2)0 5) 30 6) (0.5)-1 หรือ -1 2 1      7) (0.5)-1 8) (-4)0 9) (-7)-2 10) (-3a)3 11) (-2)3n + 3 12) a2n
  • 7. 7 2. 1) 2.4 × 109 2) 4.8 × 100 3) 1 × 10-6 4) 6 × 101 3. 1) 4a-2 หรือ 2 a 4 2) (4a)-1 หรือ 4a 1 3) 3y 4) 6b3 5) 3a 6) 10 4. 1) 25 2) 0.25 × 10-2 5. ประมาณ 4 ลานลานบาท 6. ประมาณ 40 ปแสง 7. ประมาณ 4.75 × 10-2 เมตร คําตอบปญหา “นารู” 6.25 มิลลิกรัม แนวคิด เมื่อครบ 24 ชั่วโมง จะมียาเหลืออยู 4 2 1      × 100 มิลลิกรัม คําตอบแบบฝกหัด 1.2 ข 1 1) 56 2) 3-3 3) 2–7 4) 7-1 5) 11–8 6) 130 7) (-10)4 หรือ 104 8) (0.2)-4 9) a5 10) 65n
  • 8. 8 2. 1) 5× 10-4 2) 7.1 × 10-13 3) 9 × 10-9 4) 6.4 × 10-1 3. 1) 223 2) 3-8 หรือ 8 3 1 3) -37.5 4) 7-n หรือ n 7 1 5) 4a2 b3 6) 13a5 b4 c–1 หรือ c b13a 45 4. ประมาณ 3,780 ลานคน 5. ประมาณ 1.5433728 × 108 ตารางกิโลเมตร 6. ประมาณ 30.48 เมตร 7. ประมาณ 167 เมตร 8. ประมาณ 20,478 บีทียู คําตอบแบบฝกหัด 1.3 1. 1) 1 2) 1 3) 56 4) 352 5) 81 4 6) 25 หรือ 32 7) 34 หรือ 81 8) 108 9) 4a-2 หรือ 2 a 4 10) 8 a-12 หรือ 12 8a 1 2. 1) 228 2) 81 × 222 3) 1 4) 404 5) 3 6) 1 7) a3 b-3 หรือ 3 3 b a 8) 90 ab 9) 63m 10) n 2 7       หรือ n n 2 7
  • 9. 9 3. 1) แทน m ดวย 1 และแทน n ดวย 3 2) แทน m ดวย 0 แทน n ดวย -5 และแทน p ดวย 5 4. ประมาณ 4.97 × 102 วินาที 5. ประมาณ 3.62 × 10-28 จูล คําตอบปญหา “คิด” คําตอบคือ 64 และ 15,625 แนวคิด 1,000,000 = 106 = (2 × 5)6 = 26 × 56 = 64 × 15,625 คําตอบปญหา “เปนจริงหรือไม” 1. เปนจริง เพราะ จํานวนใด ๆ ที่ไมใชศูนย เมื่อยกกําลังศูนยจะเทากับ 1 2. ไมเปนจริง เพราะ ถา a = 0 แลว 00 ไมมีความหมายทางคณิตศาสตร 3. ไมเปนจริง เพราะ 10-5 = 5 10 1 ซึ่ง 5 10 1 > 0 4. ไมเปนจริง เพราะ -54 เปนจํานวนลบ แต (-5)4 เปนจํานวนบวก 5. เปนจริง เพราะ 2-2 = 2 2 1 = 2 2 1       = (0.5)2 6. ไมเปนจริง เพราะ 10010 = (102 )10 = 1020 ซึ่ง 1020 < 10100 7. ไมเปนจริง เพราะ -4 7 3       = 4- 4- 7 3 = 4 4 3 7 = 4 3 7       8. เปนจริง เพราะ 210 > 102 ดังนั้น 2 10 10 2 > 10 2 2 10 9. ไมเปนจริง เพราะ 10a + 10a = 2(10a ) ซึ่ง 2(10a ) ≠ 20a 10. ไมเปนจริง เพราะ มี 101 + 100 = 10 + 1 = 11 ในขณะที่ 101 + 0 = 101 = 10
  • 10. 10 11. เปนจริง เพราะ a + b < 0 ดังนั้น 10a × 10b = 10a + b < 100 และ 100 = 1 นั่นคือ 10a × 10b < 1 12. ไมเปนจริง เพราะ เมื่อแทน a ดวย 2 และแทน b ดวย -2 แลว 102 × 10-2 = 102 + (-2) = 100 = 1 13. ไมเปนจริง เพราะ a10 × b10 = (a × b)10 ซึ่ง (a × b)10 ≠ (a × b)20 14. ไมเปนจริง เพราะ เมื่อแทน a ดวย 0 แทน b ดวย 1 แลว a – b < 0 และ 100 ÷101 = 10 1 < 1 15. ไมเปนจริง เพราะ มี 02 = 0 คําตอบกิจกรรม “ดอกเบี้ยทบตน” 1. ดอกเบี้ยเมื่อสิ้นปที่สาม ประมาณ 788.13 บาท 2. เงินรวมเมื่อสิ้นปที่สอง ประมาณ 8,324.83 บาท คําตอบกิจกรรม “คิดเปนลานลาน” 1. 29,200 ลานบาท 2. 10,880 ลานบาท 3. 3.4 พันลานบาท 4. 13 หมื่นลานบาท 5. 1001 หมื่นลานบาท
  • 11. 11 คําตอบปญหา “ไมเทากัน” 316 – 38 หรือ 38 (38 – 1) แนวคิด เนื่องจาก 32 = 32 = 316 และ ((32 )2 )2 = 32 ×2 ×2 = 38 ดังนั้น 316 – 38 = 38 (38 – 1) คําตอบปญหา “ยิ้มญาติเยอะ” จํานวนบรรพบุรุษเกาชั่วคน มีทั้งหมด 1,022 คน แนวคิด บรรพบุรุษ จํานวนคน หนึ่งชั่วคน 2 สองชั่วคน 2 + 22 สามชั่วคน 2 + 22 + 23 สี่ชั่วคน 2 + 22 + 23 + 24 เกาชั่วคน 2 + 22 + 23 + … + 29 ดังนั้น บรรพบุรุษเกาชั่วคนของยิ้มมี 2 + 22 + 23 + … + 29 = 2 + 4 + 8 + … + 512 = 1,022 คน ใชสมบัติการแจกแจง . . . . . . 2 2 4
  • 13. 13 แบบฝกหัดเพิ่มเติม 1.1 1. จงบอกฐานและเลขชี้กําลังของเลขยกกําลังตอไปนี้ 1) 36 [3 เปนฐาน และ 6 เปนเลขชี้กําลัง] 2) (-7)2 [-7 เปนฐาน และ 2 เปนเลขชี้กําลัง] 3) -5 3 2      [ 3 2 เปนฐาน และ -5 เปนเลขชี้กําลัง] 4) (3a)2 เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ [3a เปนฐาน และ 2 เปนเลขชี้กําลัง] 5) (-9y)-3 เมื่อ y ≠ 0 [-9y เปนฐาน และ -3 เปนเลขชี้กําลัง] 6) -3 2 1       เมื่อ y ≠ 0 [ 2 1 เปนฐาน และ -3 เปนเลขชี้กําลัง] 2. จงหาผลคูณ 1) 34 × 37 [311 ] 2) (-2)5 × (-2)0 × (-2)2 [(-2)7 ] 3) (5a2 )(-3a4 ) เมื่อ a แทนจํานวนใด ๆ [-15a6 ] 4) 7a3 b × 2a5 b2 เมื่อ a และ b แทนจํานวนใด ๆ [14a8 b3 ] 3. จงหาผลหาร 1) 2 7 3 3 [35 ] 2) 3 5 (-2) (-2) [(-2)2 หรือ 22 ] 3) 6 4 7 7 [7-2 ] 4) 2 5 (-8) (-8) [(-8)3 ] 5) 3n 2n a a เมื่อ a ≠ 0 และ n แทนจํานวนเต็มบวก [a-n ] 4. จงเขียนจํานวนตอไปนี้ในรูปสัญกรณวิทยาศาสตร 1) 25,000,000 [2.5 × 107 ] 2) 0.000073 [7.3 × 10-5 ] 3) 58 × 106 [5.8 × 107 ] 4) 23.9 × 10-3 [2.39 × 10-2 ] 5) 0.0049 × 107 [4.9 × 104 ] 6) 550 × 10-9 [5.5 × 10-7 ] yy
  • 14. 14 กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ก กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนพิจารณาและสังเกตความสัมพันธของเลขชี้กําลังของตัวตั้ง ตัวคูณและผลคูณ เพื่อนําไปสูสมบัติของการคูณเลขยกกําลัง เมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม ใหนักเรียนเติมขอความใหสมบูรณตามตัวอยางในตาราง การคูณเลขยกกําลัง ผลคูณ 1. 20 × 23 = 1 × 23 23 หรือ 20 + 3 2. 30 × 3-2 = 1 × 2 3 1 3-2 หรือ 30 + (-2) 3. 4-5 × 40 = ………………… [ 5 4 1 × 1] ………………… [4-5 ] หรือ [4-5 + 0 ] 4. 52 × 5-3 = ………………… [52 × 3 5 1 ] ………………… [5-1 ] หรือ [52 + (-3) ] 5. 6-2 × 65 = ………………… [ 2 6 1 × 65 ] ………………… [63 ] หรือ [6-2 + 5 ] 6. 7-3 × 7-8 = ………………… [ 8 7× 3 7 1 ] ………………… [7 - 11 ] หรือ [7-3 + (-8) ]
  • 15. 15 กิจกรรมเสนอแนะ 1.2 ข กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนพิจารณาและสังเกตความสัมพันธของเลขชี้กําลังของตัวตั้ง ตัวหารและผลหาร เพื่อนําไปสูสมบัติของการหารเลขยกกําลัง เมื่อเลขชี้กําลังเปนจํานวนเต็ม จงเติมขอความใหสมบูรณตามตัวอยางในตาราง การหารของเลขยกกําลัง ผลหาร 1. 3 0 5 5 = 3 5 1 5-3 หรือ 50 – 3 2. 2- 0 4 4 = 2 4 1 1 42 หรือ 40 – (-2) 3. 0 5- 3 3 = ………………… [ 1 35- ] ………………… [3-5 ] หรือ [3-5 – 0 ] 4. 3- 2 7 7 = ………………… [ 3 2 7 1 7 ] ………………… [75 ] หรือ [7 2 – (-3) ] 5. 5 3- 3 3 = ………………… [ 53 33 1 × ] ………………… [3-8 ] หรือ [3-3 – 5 ] 6. 4- 2- 5 5 = ………………… [5 -2 × 4- 5 1 ] ………………… [52 ] หรือ [5 -2 – (-4) ]
  • 16. 16 กิจกรรมเสนอแนะ 1.3 กิจกรรมนี้ตองการใหนักเรียนพิจารณาและสังเกตความสัมพันธของเลขชี้กําลังของฐานกับ เลขชี้กําลังของเลขยกกําลัง จงเติมขอความใหสมบูรณตามตัวอยางในตาราง เลขยกกําลัง เขียนเลขยกกําลังในรูปกระจาย ผลคูณ 1. (32 )4 32 × 32 × 32 × 32 38 หรือ 32 × 4 2. (2-1 )2 ……………..… [2-1 × 2-1 ] ……………..… [2-2 ] หรือ [2(-1)× 2 ] 3. (5-2 )3 ……………..… [5-2 × 5-2 × 5-2 ] ……………..… [5-6 ] หรือ [5(-2)× 3 ] 4. ((-3)-2 )4 ……………..… [(-3)-2 × (-3)-2 × (-3)-2 × (-3)-2 ] ……………..… [(-3)-8 ] หรือ [(-3)(-2)× 4 ] 5. (54 )-3 ……………..… [ 444 555 1 ×× ] ……………..… [5-12 ] หรือ [54 ×(-3) ] 6. (7-2 )-2 ……………..… [ 2-2- 77 1 × ] ……………..… [74 ] หรือ [7(-2) ×(-2) ]