SlideShare a Scribd company logo
การวัด : วิธีวัดและประเมินผล และประเมินผล
วิธีวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผลเป็นกระบวนการ ที่เป็นระบบ มีขั้นตอนดังนี้ 1.  กำหนดวัตถุประสงค์ 2.  กำหนดคุณลักษณะที่จะวัด 3.  กำหนดเครื่องมือหรือวิธีการวัด 4.  สร้างเครื่องมือ 5.  ตรวจคุณภาพเครื่องมือ 6.  จัดทำเครื่องมือ 7.  ดำเนินการวัด 8.  ตรวจให้คะแนน 9.  ประเมินผล 10.  ใช้ผลการวัดและการประเมิน
1.  การกำหนดวัตถุประสงค์ เพื่อการประเมินผล การเรียนรายวิชา  (Evaluation) เพื่อประเมินผลรวบยอด (Comprehensive Exam) ทั้งหลักสูตร เพื่อคัดเลือก   (Selection) เพื่อสำรวจศักยภาพหรือสมรรถภาพ  (Proficiency Exam) ทักษะความสามารถ เพื่อประเมินความก้าวหน้า (Assessment)  ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาในช่วงเวลา ที่กำหนด 1 2 3 4 5
ด้านพุทธิพิสัย  (Cognitive Domain) เป็นพฤติกรรมด้านการเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาต่าง ๆ  เป็นความสามารถทางสมอง เกี่ยวข้องกับการคิด (Thinking)  พฤติกรรมด้านนี้แบ่งออกเป็น  6  ด้าน คือ ด้านความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่า 2.  การกำหนดคุณลักษณะที่จะวัด ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) เป็นพฤติกรรมด้านความรู้สึก อันเป็น ลักษณะทางจิตใจนิสัยต่าง ๆ ของผู้เรียน แบ่งเป็น 5  ด้าน คือ การรับรู้ การตอบสนอง การเห็นคุณค่า การจัดระบบหรือสร้างความเชื่อ และการสร้างนิสัยหรือค่านิยม ด้านทักษะพิสัย  (Psychomotor Domain) เป็นพฤติกรรมด้านการกระทำ  ซึ่งเป็นการนำความรู้สู่ด้านการปฏิบัติ จนเกิดความชำนาญ เช่นจาก การทำเลียนแบบ การทำตามแบบ การทำตามเงื่อนไข และการทำอย่างสร้างสรรค์ 1 2 3
วิธีดำเนินการวัดและประเมินผลด้านการเรียนรู้ กำหนดคุณลักษณะที่ต้องการวัด โดยพิจารณารายวิชาว่า ควรจะวัดพฤติกรรมด้านใดบ้าง กำหนดเนื้อหาที่จะวัด โดยวิเคราะห์เนื้อหาว่ามีอะไรบ้าง ที่ต้องการวัดและประเมินผล กำหนดกรอบการวัดและประเมินผล   โดยพิจารณาหัวข้อว่า ควรมุ่งเน้นการวัดพฤติกรรม ความสามารถด้านใดบ้าง 1 2 3
3.  การกำหนดเครื่องมือหรือวิธีการวัด การสังเกต เป็นการใช้ตรวจสอบพฤติกรรม การแสดงออก ความร่วมมือ ความตั้งใจ   ความสามารถผู้เรียน การทำรายงาน เป็นวิธีการวัดและประเมิน เกี่ยวกับศักยภาพในการค้นคว้า ประมวล   การบูรณาการ   และแก้ปัญหา การปฏิบัติ เป็นวิธีการวัดที่มุ่งให้ผู้เรียน ได้ปฏิบัติจริง ข้อสอบ เป็นเครื่องมือหลักที่ใช้วัด ความรู้ในเนื้อหาวิชา การวัดและประเมินต้องใช้เครื่องมือประเภทต่างๆ   ได้แก่ 1 2 3 4
4.  การสร้างเครื่องมือ พยายามสร้างเครื่องมือไม่ว่าจะเป็นชนิดใด เป็นไปตามพิมพ์เขียวกำหนดไว้ ควรกำหนดจำนวนข้อให้มีเพียงพอ ที่จะทำให้การวัดและประเมินเกิดความเชื่อมั่น ควรรอบคอบในการใช้ภาษา   ให้กระชับ ถูกต้อง   เพื่อให้สื่อความหมายได้ตรงกัน ข้อคำถาม   (Item)  ต้องใช้วัดพฤติกรรม ที่กำหนดได้เพื่อให้เครื่องมือมีความเที่ยงตรง ข้อคำถามต้องมีประเด็น มีเงื่อนไข และข้อมูลประกอบ ข้อคำถามที่ใช้ควรถามประเด็นสำคัญ สะท้อนถึงความสามารถ คำนึงถึงความถูกต้องตามหลักวิชา และสามารถหาคำตอบที่ถูกต้องตามหลักวิชาได้ ข้อคำถามที่ใช้ต้องระวังการการถามนำ หรือการถามตอบกันเอง   0 เครื่องมือที่สร้างควรเน้นการส่งเสริม ความถูกต้อง   ดีงาม   เป็นแบบอย่างได้ เครื่องมือควรสะดวกในการใช้   เหมาะสม กับเวลา   และกลุ่มเป้าหมาย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
5.  การตรวจคุณภาพเครื่องมือ มีวิธีดำเนินการ  2  วิธีคือ ตรวจคุณภาพเครื่องมือ   โดยการพิจารณาความเหมาะสมโดยใช้ดุลยพินิจพิจารณาความถูกต้องตามหลักการ ประเด็นหลักที่พิจารณา   คือ พิจารณาข้อคำถามรายข้อ และพิจารณารวมทั้งหมด ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยการทดลองใช้     วิเคราะห์ตรวจคุณภาพดังนี้ 2.1  วิเคราะห์คุณภาพรายข้อ โดยคำนวณค่าความยากค่าอำนาจจำแนกและค่าความเที่ยงตรง 2.2  วิเคราะห์คุณภาพทั้งฉบับ ได้แก่   ค่าความยาก   ค่าความเชื่อมั่นและค่าความเที่ยงตรง แต่การทดลองใช้เครื่องมือไม่ควรใช้กับข้อสอบวัดผล การเรียนในรายวิชาต่างๆเพราะปัญหาเรื่องความลับของข้อสอบ 1 2
6.  การจัดทำเครื่องมือ ควรลดข้อผิดพลาดต่าง ๆ ในการจัดทำเครื่องมือ โดยให้เครื่องมือมีความสมบูรณ์ มากที่สุด   ให้ปัญหาหรือ ความคลาดเคลื่อนมีน้อยที่สุด ควรออกแบบเครื่องมือ ด้วยความประณีตมีรูปแบบที่ดึงดูด ควรมีคำอธิบายการทำ หรือการตอบ อาจเป็น คำชี้แจงทั่วไปที่มีในหน้าแรก หรือคำชี้แจงเฉพาะที่แทรก อยู่ในบางตอนของเครื่องมือ ควรถี่ถ้วนในคุณภาพการพิมพ์ ความถูกต้องของถ้อยคำ การเว้นวรรคตอน และความสมบูรณ์ของข้อความ ควรจัดหมวดหมู่ข้อคำถาม ตามลำดับเนื้อหาที่จะวัด 1 2 3 4 5
7.  การดำเนินการวัด 1.  เตรียมความพร้อม เครื่องมืออุปกรณ์ที่จะใช้   เพื่อลดปัญหาที่อาจเกิดจาก ความไม่พร้อม ของการวัดและประเมินผล 2.  หากผู้ดำเนินการ มีหลายคน ต้องทำความเข้าใจ ในภาระงาน ของแต่ละคน 3.  ควรสร้างแรงจูงใจ ให้กับผู้เรียน เพื่อให้เกิด ความกระตือรือร้น และพร้อมที่จะปฏิบัติ อย่างเต็มที่ 4.  พยายามดำเนินการ ในเวลาที่เป็นสภาวะ ปกติที่สุด หลีกเลี่ยงช่วงเวลา ที่มีสถานการณ์ พิเศษเกิดขึ้น 5.  ผู้ใช้เครื่องมือ ควรลดการกระทำใด   ๆ ที่รบกวน   ทำลายสมาธิ หรือความตั้งใจในการคิด ของผู้เรียน หรือกลุ่มเป้าหมาย 1 2 3 4 5
ควรกำหนดคะแนนเต็ม สำหรับการวัด และประเมินผลแต่ละครั้ง 8.  การตรวจให้คะแนน มีแนวปฏิบัติดังนี้ ควรกำหนดเกณฑ์ การให้คะแนนอย่างชัดเจน การให้คะแนนควรพิจารณาตามเกณฑ์ ที่กำหนดเป็นหลักไม่ควรพิจารณาสิ่งอื่น นอกเหนือจากเกณฑ์อันจะก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรม การให้คะแนน ต้องมีลักษณะเป็นปรนัย คือ ชัดเจน แน่นอน ในกรณีที่การให้คะแนน ต้องใช้ดุลยพินิจเพื่อวินิจฉัยคำตอบ ควรใช้วิธีการกำหนดผู้ตรวจหลายคน 1 2 3 4 5
9.  การประเมินผล   ต้องอาศัยปัจจัยประกอบดังนี้ ผลการวัด   (Measurement) เกณฑ์   (Criteria) ดุลยพินิจ   (Judgment) เป็นรายละเอียดปริมาณที่ได้จากกระบวนการวัดด้วยเครื่องมือ ข้อมูลที่จะนำมาใช้จึงควรมีลักษณะ คือ ถูกต้องตามความเป็นจริง เชื่อถือได้   เพียงพอ   และทันการณ์ ใช้เป็นหลักวินิจฉัยข้อมูล และเป็นบรรทัดฐาน ในการตัดสินระดับสิ่งที่ประเมิน มีลักษณะชัดเจน ยุติธรรม   และครบถ้วน เป็นการนำข้อมูลที่ได้เปรียบเทียบกับเกณฑ์ ที่กำหนดไว้เพื่อนำไปสู่การตัดสินสรุป โดยต้องคำนึงถึงความเป็นธรรมไม่ลำเอียง ความรอบรู้   เงื่อนไข   นโยบาย  เป็นต้น 1 2 3
10. การใช้ผลการวัดและประเมิน 1 2 3 4 วินิจฉัยการเรียน ของผู้เรียน โดยพิจารณาผลการเรียน ของผู้เรียน และสำรวจผลการเรียน รายวิชาที่ผู้สอนรับผิดชอบ เพื่อสืบค้นว่าเด็กแต่ละคน เด่น - ด้อยในเรื่องใด ตรวจสอบ ประสิทธิภาพการสอน เป็นการตรวจสอบผู้เรียน โดยพิจารณาจากคะแนนเฉลี่ย ของผู้เรียน ประเมินคุณภาพ ของเครื่องมือ โดยการคำนวณค่าความยากง่าย ของเครื่องมืออำนาจเที่ยงตรง และค่าความเชื่อมั่น ของเครื่องมือ   เพื่อประโยชน์ ในพัฒนาเครื่องมือ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน ประเมินรายวิชา โดยพิจารณาวัตถุประสงค์ และเนื้อหาของ รายวิชาว่ามีความเหมาะสม สำหรับผู้เรียน   หรือไม่
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ติดต่อ  ศูนย์พัฒนาทรัพยากรการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม  โทรศัพท์  0-4375-4321-40  ต่อ  2060,2107 โทรสาร  0-4375-4318

More Related Content

What's hot

การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลAnny Hotelier
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะnwichunee
 
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาaumkpru45
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
Navie Bts
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลUltraman Taro
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้Bert Nangngam
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8josodaza
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
Chamada Rinzine
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงmickyindbsk
 
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
Wuttipong Tubkrathok
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7sangkom
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้poms0077
 
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา รักญาติ น้องเอื้อย
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา  รักญาติ น้องเอื้อยการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา  รักญาติ น้องเอื้อย
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา รักญาติ น้องเอื้อย
Alisa Rakyart
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลมะม่วงกระล่อน จริงๆ
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 

What's hot (17)

การวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผลการวัดและประเมิลผล
การวัดและประเมิลผล
 
งานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะงานเมย์บทที่8นะ
งานเมย์บทที่8นะ
 
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษาความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการวัด ประเมินผลการศึกษา
 
การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผลการวัดและประเมินผล
การวัดและประเมินผล
 
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูลการสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
การสร้างเครื่องมือและการเก็บข้อมูล
 
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
บทที่8การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผลเครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
เครื่องมือและเทคนิคที่ใช้ในการวัดผล
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
 
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา รักญาติ น้องเอื้อย
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา  รักญาติ น้องเอื้อยการสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา  รักญาติ น้องเอื้อย
การสร้างแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ นางสาวอลิศา รักญาติ น้องเอื้อย
 
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผลบทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
บทที่ 8 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดผลและประเมินผล
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 

Viewers also liked

Factors Affecting Tennis Racquet Selection
Factors Affecting Tennis Racquet SelectionFactors Affecting Tennis Racquet Selection
Factors Affecting Tennis Racquet Selection
The Tennis Ball Courts
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
NU
 
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51krupornpana55
 
การหาร ใบงาน
การหาร ใบงานการหาร ใบงาน
การหาร ใบงานNattapong Peenasa
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
Kruthai Kidsdee
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
Duangnapa Inyayot
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
Duangnapa Inyayot
 
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
ทับทิม เจริญตา
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆNaphachol Aon
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามสำเร็จ นางสีคุณ
 

Viewers also liked (14)

Factors Affecting Tennis Racquet Selection
Factors Affecting Tennis Racquet SelectionFactors Affecting Tennis Racquet Selection
Factors Affecting Tennis Racquet Selection
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
 
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
แนวทางการวัดผลประเมินผลหลักสูตร51
 
การหาร ใบงาน
การหาร ใบงานการหาร ใบงาน
การหาร ใบงาน
 
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรมตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
 
แบบฝึกเสริมทักษะป.6
แบบฝึกเสริมทักษะป.6แบบฝึกเสริมทักษะป.6
แบบฝึกเสริมทักษะป.6
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
 
แบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆแบบประเมินต่างๆ
แบบประเมินต่างๆ
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถามแบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
แบบสอบถามความพึงพอใจ แบบสอบถาม
 

Similar to teaching 8

สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
Tsheej Thoj
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
onnichabee
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8puyss
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8jujudy
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
ืnattakamon thongprung
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...AmAm543080
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงBenz_benz2534
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้aumkpru45
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
Curriculum to learn
Curriculum to learnCurriculum to learn
Curriculum to learn
XForeverx Panuwat
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 

Similar to teaching 8 (20)

สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 8 การวัดผลและประเมินการเรียนรู้
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้บทที่  2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
บทที่ 2 การสร้างและการใช้เครื่องมือและประเมินการเรียนรู้
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
Pptแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้น...
 
งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8งานนำเสนอ8
งานนำเสนอ8
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
การประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริงการประเมินผลตามสภาพจริง
การประเมินผลตามสภาพจริง
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลประเมินผลการเรียนรู้
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Scriven
ScrivenScriven
Scriven
 
Curriculum to learn
Curriculum to learnCurriculum to learn
Curriculum to learn
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 

More from sangkom

Happystudy
Happystudy  Happystudy
Happystudy
sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
sangkom
 
Happy Study
Happy StudyHappy Study
Happy Studysangkom
 
10 Years Of Technology Research Mahasarakham University Thailand B 2c05
10 Years Of Technology Research   Mahasarakham University Thailand B 2c0510 Years Of Technology Research   Mahasarakham University Thailand B 2c05
10 Years Of Technology Research Mahasarakham University Thailand B 2c05
sangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวsangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
teaching 6
teaching 6teaching 6
teaching 6sangkom
 
teaching 5
teaching 5teaching 5
teaching 5sangkom
 
teaqching 4
teaqching 4teaqching 4
teaqching 4sangkom
 
teaching 3
teaching 3teaching 3
teaching 3sangkom
 
teaching 2
teaching 2teaching 2
teaching 2sangkom
 
teaching
teachingteaching
teachingsangkom
 

More from sangkom (20)

Happystudy
Happystudy  Happystudy
Happystudy
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
 
Happy Study
Happy StudyHappy Study
Happy Study
 
10 Years Of Technology Research Mahasarakham University Thailand B 2c05
10 Years Of Technology Research   Mahasarakham University Thailand B 2c0510 Years Of Technology Research   Mahasarakham University Thailand B 2c05
10 Years Of Technology Research Mahasarakham University Thailand B 2c05
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
teaching 6
teaching 6teaching 6
teaching 6
 
teaching 5
teaching 5teaching 5
teaching 5
 
teaqching 4
teaqching 4teaqching 4
teaqching 4
 
teaching 3
teaching 3teaching 3
teaching 3
 
teaching 2
teaching 2teaching 2
teaching 2
 
teaching
teachingteaching
teaching
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

teaching 8

  • 2. วิธีวัดและประเมินผล การวัดและประเมินผลเป็นกระบวนการ ที่เป็นระบบ มีขั้นตอนดังนี้ 1. กำหนดวัตถุประสงค์ 2. กำหนดคุณลักษณะที่จะวัด 3. กำหนดเครื่องมือหรือวิธีการวัด 4. สร้างเครื่องมือ 5. ตรวจคุณภาพเครื่องมือ 6. จัดทำเครื่องมือ 7. ดำเนินการวัด 8. ตรวจให้คะแนน 9. ประเมินผล 10. ใช้ผลการวัดและการประเมิน
  • 3. 1. การกำหนดวัตถุประสงค์ เพื่อการประเมินผล การเรียนรายวิชา (Evaluation) เพื่อประเมินผลรวบยอด (Comprehensive Exam) ทั้งหลักสูตร เพื่อคัดเลือก (Selection) เพื่อสำรวจศักยภาพหรือสมรรถภาพ (Proficiency Exam) ทักษะความสามารถ เพื่อประเมินความก้าวหน้า (Assessment) ตรวจสอบการเปลี่ยนแปลงการพัฒนาในช่วงเวลา ที่กำหนด 1 2 3 4 5
  • 4. ด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เป็นพฤติกรรมด้านการเรียนรู้ในเนื้อหาวิชาต่าง ๆ เป็นความสามารถทางสมอง เกี่ยวข้องกับการคิด (Thinking) พฤติกรรมด้านนี้แบ่งออกเป็น 6 ด้าน คือ ด้านความจำ ความเข้าใจ การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การประเมินค่า 2. การกำหนดคุณลักษณะที่จะวัด ด้านจิตพิสัย (Affective Domain) เป็นพฤติกรรมด้านความรู้สึก อันเป็น ลักษณะทางจิตใจนิสัยต่าง ๆ ของผู้เรียน แบ่งเป็น 5 ด้าน คือ การรับรู้ การตอบสนอง การเห็นคุณค่า การจัดระบบหรือสร้างความเชื่อ และการสร้างนิสัยหรือค่านิยม ด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) เป็นพฤติกรรมด้านการกระทำ ซึ่งเป็นการนำความรู้สู่ด้านการปฏิบัติ จนเกิดความชำนาญ เช่นจาก การทำเลียนแบบ การทำตามแบบ การทำตามเงื่อนไข และการทำอย่างสร้างสรรค์ 1 2 3
  • 5. วิธีดำเนินการวัดและประเมินผลด้านการเรียนรู้ กำหนดคุณลักษณะที่ต้องการวัด โดยพิจารณารายวิชาว่า ควรจะวัดพฤติกรรมด้านใดบ้าง กำหนดเนื้อหาที่จะวัด โดยวิเคราะห์เนื้อหาว่ามีอะไรบ้าง ที่ต้องการวัดและประเมินผล กำหนดกรอบการวัดและประเมินผล โดยพิจารณาหัวข้อว่า ควรมุ่งเน้นการวัดพฤติกรรม ความสามารถด้านใดบ้าง 1 2 3
  • 6. 3. การกำหนดเครื่องมือหรือวิธีการวัด การสังเกต เป็นการใช้ตรวจสอบพฤติกรรม การแสดงออก ความร่วมมือ ความตั้งใจ ความสามารถผู้เรียน การทำรายงาน เป็นวิธีการวัดและประเมิน เกี่ยวกับศักยภาพในการค้นคว้า ประมวล การบูรณาการ และแก้ปัญหา การปฏิบัติ เป็นวิธีการวัดที่มุ่งให้ผู้เรียน ได้ปฏิบัติจริง ข้อสอบ เป็นเครื่องมือหลักที่ใช้วัด ความรู้ในเนื้อหาวิชา การวัดและประเมินต้องใช้เครื่องมือประเภทต่างๆ ได้แก่ 1 2 3 4
  • 7. 4. การสร้างเครื่องมือ พยายามสร้างเครื่องมือไม่ว่าจะเป็นชนิดใด เป็นไปตามพิมพ์เขียวกำหนดไว้ ควรกำหนดจำนวนข้อให้มีเพียงพอ ที่จะทำให้การวัดและประเมินเกิดความเชื่อมั่น ควรรอบคอบในการใช้ภาษา ให้กระชับ ถูกต้อง เพื่อให้สื่อความหมายได้ตรงกัน ข้อคำถาม (Item) ต้องใช้วัดพฤติกรรม ที่กำหนดได้เพื่อให้เครื่องมือมีความเที่ยงตรง ข้อคำถามต้องมีประเด็น มีเงื่อนไข และข้อมูลประกอบ ข้อคำถามที่ใช้ควรถามประเด็นสำคัญ สะท้อนถึงความสามารถ คำนึงถึงความถูกต้องตามหลักวิชา และสามารถหาคำตอบที่ถูกต้องตามหลักวิชาได้ ข้อคำถามที่ใช้ต้องระวังการการถามนำ หรือการถามตอบกันเอง 0 เครื่องมือที่สร้างควรเน้นการส่งเสริม ความถูกต้อง ดีงาม เป็นแบบอย่างได้ เครื่องมือควรสะดวกในการใช้ เหมาะสม กับเวลา และกลุ่มเป้าหมาย 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
  • 8. 5. การตรวจคุณภาพเครื่องมือ มีวิธีดำเนินการ 2 วิธีคือ ตรวจคุณภาพเครื่องมือ โดยการพิจารณาความเหมาะสมโดยใช้ดุลยพินิจพิจารณาความถูกต้องตามหลักการ ประเด็นหลักที่พิจารณา คือ พิจารณาข้อคำถามรายข้อ และพิจารณารวมทั้งหมด ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยการทดลองใช้ วิเคราะห์ตรวจคุณภาพดังนี้ 2.1 วิเคราะห์คุณภาพรายข้อ โดยคำนวณค่าความยากค่าอำนาจจำแนกและค่าความเที่ยงตรง 2.2 วิเคราะห์คุณภาพทั้งฉบับ ได้แก่ ค่าความยาก ค่าความเชื่อมั่นและค่าความเที่ยงตรง แต่การทดลองใช้เครื่องมือไม่ควรใช้กับข้อสอบวัดผล การเรียนในรายวิชาต่างๆเพราะปัญหาเรื่องความลับของข้อสอบ 1 2
  • 9. 6. การจัดทำเครื่องมือ ควรลดข้อผิดพลาดต่าง ๆ ในการจัดทำเครื่องมือ โดยให้เครื่องมือมีความสมบูรณ์ มากที่สุด ให้ปัญหาหรือ ความคลาดเคลื่อนมีน้อยที่สุด ควรออกแบบเครื่องมือ ด้วยความประณีตมีรูปแบบที่ดึงดูด ควรมีคำอธิบายการทำ หรือการตอบ อาจเป็น คำชี้แจงทั่วไปที่มีในหน้าแรก หรือคำชี้แจงเฉพาะที่แทรก อยู่ในบางตอนของเครื่องมือ ควรถี่ถ้วนในคุณภาพการพิมพ์ ความถูกต้องของถ้อยคำ การเว้นวรรคตอน และความสมบูรณ์ของข้อความ ควรจัดหมวดหมู่ข้อคำถาม ตามลำดับเนื้อหาที่จะวัด 1 2 3 4 5
  • 10. 7. การดำเนินการวัด 1. เตรียมความพร้อม เครื่องมืออุปกรณ์ที่จะใช้ เพื่อลดปัญหาที่อาจเกิดจาก ความไม่พร้อม ของการวัดและประเมินผล 2. หากผู้ดำเนินการ มีหลายคน ต้องทำความเข้าใจ ในภาระงาน ของแต่ละคน 3. ควรสร้างแรงจูงใจ ให้กับผู้เรียน เพื่อให้เกิด ความกระตือรือร้น และพร้อมที่จะปฏิบัติ อย่างเต็มที่ 4. พยายามดำเนินการ ในเวลาที่เป็นสภาวะ ปกติที่สุด หลีกเลี่ยงช่วงเวลา ที่มีสถานการณ์ พิเศษเกิดขึ้น 5. ผู้ใช้เครื่องมือ ควรลดการกระทำใด ๆ ที่รบกวน ทำลายสมาธิ หรือความตั้งใจในการคิด ของผู้เรียน หรือกลุ่มเป้าหมาย 1 2 3 4 5
  • 11. ควรกำหนดคะแนนเต็ม สำหรับการวัด และประเมินผลแต่ละครั้ง 8. การตรวจให้คะแนน มีแนวปฏิบัติดังนี้ ควรกำหนดเกณฑ์ การให้คะแนนอย่างชัดเจน การให้คะแนนควรพิจารณาตามเกณฑ์ ที่กำหนดเป็นหลักไม่ควรพิจารณาสิ่งอื่น นอกเหนือจากเกณฑ์อันจะก่อให้เกิดความไม่เป็นธรรม การให้คะแนน ต้องมีลักษณะเป็นปรนัย คือ ชัดเจน แน่นอน ในกรณีที่การให้คะแนน ต้องใช้ดุลยพินิจเพื่อวินิจฉัยคำตอบ ควรใช้วิธีการกำหนดผู้ตรวจหลายคน 1 2 3 4 5
  • 12. 9. การประเมินผล ต้องอาศัยปัจจัยประกอบดังนี้ ผลการวัด (Measurement) เกณฑ์ (Criteria) ดุลยพินิจ (Judgment) เป็นรายละเอียดปริมาณที่ได้จากกระบวนการวัดด้วยเครื่องมือ ข้อมูลที่จะนำมาใช้จึงควรมีลักษณะ คือ ถูกต้องตามความเป็นจริง เชื่อถือได้ เพียงพอ และทันการณ์ ใช้เป็นหลักวินิจฉัยข้อมูล และเป็นบรรทัดฐาน ในการตัดสินระดับสิ่งที่ประเมิน มีลักษณะชัดเจน ยุติธรรม และครบถ้วน เป็นการนำข้อมูลที่ได้เปรียบเทียบกับเกณฑ์ ที่กำหนดไว้เพื่อนำไปสู่การตัดสินสรุป โดยต้องคำนึงถึงความเป็นธรรมไม่ลำเอียง ความรอบรู้ เงื่อนไข นโยบาย เป็นต้น 1 2 3
  • 13. 10. การใช้ผลการวัดและประเมิน 1 2 3 4 วินิจฉัยการเรียน ของผู้เรียน โดยพิจารณาผลการเรียน ของผู้เรียน และสำรวจผลการเรียน รายวิชาที่ผู้สอนรับผิดชอบ เพื่อสืบค้นว่าเด็กแต่ละคน เด่น - ด้อยในเรื่องใด ตรวจสอบ ประสิทธิภาพการสอน เป็นการตรวจสอบผู้เรียน โดยพิจารณาจากคะแนนเฉลี่ย ของผู้เรียน ประเมินคุณภาพ ของเครื่องมือ โดยการคำนวณค่าความยากง่าย ของเครื่องมืออำนาจเที่ยงตรง และค่าความเชื่อมั่น ของเครื่องมือ เพื่อประโยชน์ ในพัฒนาเครื่องมือ ให้มีคุณภาพมาตรฐาน ประเมินรายวิชา โดยพิจารณาวัตถุประสงค์ และเนื้อหาของ รายวิชาว่ามีความเหมาะสม สำหรับผู้เรียน หรือไม่
  • 14.