SlideShare a Scribd company logo
เทคนิคการสอน
เทคนิคการสอน “ พฤติกรรมการสอนของผู้สอนโดยใช้กลวิธี ในการสอนบทเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนเรียนด้วยความตั้งใจและสนุกสนาน  เทคนิคการสอนเป็นศิลป์และศาสตร์ ผู้สอนต้องเรียนรู้ และมีประสบการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมการสอนอย่างดี แล้วยังต้องมีความสามารถในการเลือกวิธีสอน และใช้สื่อการสอนที่กระตุ้นให้ผู้เรียนคิด และติดตามบทเรียนได้อย่างแนบเนียน”
เทคนิคการสอน อย่างมีประสิทธิภาพ เทคนิคการใช้วาจา   กิริยา   ท่าทาง เพื่อเสริมบุคลิกภาพ และสื่อความหมาย 1 เทคนิคการนำเข้าสู่บทเรียน 2 เทคนิคการใช้คำถาม 3 เทคนิคการเล่าเรื่อง 4 เทคนิคการอธิบาย 5 เทคนิคการเสริมกำลังใจ 6
เทคนิคการใช้วาจา กิริยา   ท่าทาง เสริมบุคลิกภาพ และสื่อความหมาย 1 “ ความสามารถในวิธีการพูด   น้ำเสียง   จังหวะ ประกอบกับการใช้กิริยา ท่าทาง   ชวนให้สนใจ สื่อความหมายให้เข้าใจได้กระจ่างชัด กระทำให้เหมาะสม   แนบเนียน มองดูไม่เคอะเขิน เหล่านี้เป็นเทคนิคที่ผู้สอนต้องฝึกฝน ให้เกิดความชำนาญ”
เทคนิคการใช้วาจา   กิริยา   ท่าทาง เสริมบุคลิกภาพ และสื่อความหมาย การใช้มือประกอบท่าทาง   ควรอยู่ในระดับสายตา และเอว การแสดงท่าทางควรใช้เพื่อให้ความหมาย สอดคล้องกับความรู้สึกนึกคิดเหมาะสมกับโอกาส เสียงที่พูดต้องให้เหมาะสมกับโอกาส   และวัย เสียงพูดที่ดีจะเน้นหนักเบาอย่างมีชีวิตชีวา พูดอักษรควบกล้ำ   อย่าพูดเสียงรัวเร็ว ได้แก่ ตัวงอ   หลังโก่ง   ท้องป่อง   ยืนไหล่ห่อ   เอียงคอ   หรือเอียงตัว   นั่งเขย่าเท้า เป็นต้น   ได้แก่ การยิ้มพร้อมพยักหน้ารับ   เมื่อผู้เรียน ทำความเคารพ   ขอโทษหรือขอบคุณ เป็นต้น เช่น   การหยุดนิ่งเมื่อผู้เรียนคุยกัน   การโน้มตัว ฟังคำตอบ   การเคลื่อนไหวเมื่ออธิบาย เป็นต้น การใช้มือและแขน การวางท่าทางหรือการทรงตัวที่ไม่ดี การแสดงออกทางสีหน้า การใช้น้ำเสียง การเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนอิริยาบถที่ดี
เทคนิคการนำเข้าสู่บทเรียน หมายถึง   วิธีที่ผู้สอนจะโน้มน้าวผู้เรียนให้สนใจในบทเรียนอย่างแนบเนียน 2 วิธีการนำเข้าสู่บทเรียนมีหลายวิธี   เช่น 1 ใช้อุปกรณ์   เช่น   ให้ดูของจริง   รูปภาพ ฉายภาพยนตร์ 2 การเล่าเรื่อง   เช่น   การเล่านิทาน   การเล่าเหตุการณ์ 3 การร้องเพลง 4 การสนทนาซักถาม 5 บททวนบทเรียนเดิมที่สัมพันธ์กับบทเรียนใหม่ 6 การสาธิต 7 การทายปัญหา 8 การแสดงบทบาท
วิธีปฏิบัติสำหรับ การนำเข้าสู่บทเรียน การนำเข้าสู่บทเรียนควรใช้เวลาสั้น   ๆ   ประมาณ  5-15  นาที   สิ่งที่จะใช้นำเข้าสู่บทเรียน   ต้องสอดคล้องกับบทเรียน   การจูงใจเพื่อนำเข้าสู่บทเรียน   ต้องกระทำให้กระชับพอเหมาะ   ผู้สอนควรการนำเข้าสู่บทเรียน   โดยใช้วิธีใหม่ๆ   และเหมาะสม พยายามศึกษาความต้องการ   ความสนใจของผู้เรียน     ผู้สอนต้องศึกษาเทคนิค   การนำเข้าสู่บทเรียนแต่ละวิธีให้เข้าใจ   และฝึกฝนจนเกิดความชำนาญ 1 2 3 4 5 6
เทคนิคการตั้งคำถาม ลักษณะคำถามที่ดี   ควรเป็นคำถามที่ชัดเจน   กะทัดรัด   เข้าใจง่าย ทำให้เกิดความคิด   และอยากตอบ   ควรหลีกเลี่ยงคำถามประเภท   ใช่หรือไม่ใช่   แต่ควรถามเร้าให้ผู้เรียน   ตอบอย่างมีเหตุผล   คำถามไม่ควรเน้นถามเฉพาะ   ความจำ   ควรเน้นให้คิดอย่างลึกซึ้ง “ ความสามารถในการตั้งคำถาม และวิธีถามเพื่อให้ผู้เรียนตอบ โดยใช้การสังเกต   ความคิดเห็น เหตุผล   และอื่นๆ   ที่ใช้ความสามารถ ในระดับสูงกว่าความจำ” 3 1 2 3
ประเภทของคำถาม โดยทั่วไปคำถามมีอยู่  3  ประเภท คำถามที่ใช้ความคิดพื้นฐาน เป็นคำถามง่าย   ๆ   เป็นคำถามประเภท ความจำหรือประสบการณ์ของผู้เรียน   เช่น   ถามเกี่ยวกับคำศัพท์ กฎ   ลำดับขั้น   วิธีการ   การจัดประเภท การยกตัวอย่าง   การอธิบายเกี่ยวกับ รูปร่างลักษณะ   เป็นต้น 1 คำถามเพื่อการคิดค้น เป็นคำถามที่ผู้ถามต้องใช้ความคิด มากกว่าคำถามประเภทที่หนึ่ง 2 คำถามที่ขยายความคิด คำถามประเภทนี้ส่งเสริมความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ผู้ตอบ ต้องใช้ความคิดเห็นมากที่สุด ซึ่งมีอยู่หลายลักษณะ 3
ข้อปฏิบัติในการใช้คำถาม ? ใช้ภาษาง่ายๆ   ชัดเจน   เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน 1 เตรียมคำถามไว้ล่วงหน้า จัดลำดับคำถามก่อน 2 ควรใช้คำถามให้กลมกลืนกันไป กับกิจกรรม 3 เมื่อถามไปแล้ว เว้นระยะให้คิด ไม่ควรเร่งรัดเอาคำตอบ 4 การถามควรให้ผู้เรียนทุกคน มีโอกาสตอบ 5 ผู้สอนควรตั้งคำถามก่อน ที่จะกำหนดให้ใครตอบ 6 ควรชื่นชมคำตอบที่ถูก   ไม่เยาะเย้ยให้เสียใจในคำตอบที่ผิด 7 ผู้สอนต้องเลือกใช้คำถามง่ายๆ ไปจนถึงคำถามที่ต้องคิดซับซ้อน 8 การใช้ท่าทาง   น้ำเสียงประกอบ ในการถาม เพื่อสร้างบรรยากาศ 9 ถามรุกเพื่อล้วงเอาความรู้ และขยายแนวความคิดนิสิต 10
เทคนิคการเล่าเรื่อง 4 ควรทำให้ผู้ฟังมองเห็นภาพ   เลือกจุดสนใจ ให้ได้ ตัดรายละเอียดที่ไม่จำเป็นออก ตอนเริ่มต้น   1 ต้องใช้ดุลยพินิจในการเลือกสถานที่ เกิดของเรื่อง   ควรเลือกที่ที่ผู้ฟังคุ้นเคย สถานที่เกิดของเรื่อง 2 ตัวละครที่กำหนดควรเน้นที่บทบาท ไม่ควรเน้นลักษณะของตัวละคร ตัวละคร 3 การแสดงท่าทางเหมาะสมกับเรื่อง ท่าทางประกอบการเล่า 4 ผู้เล่าต้องพยายามใช้ภาษาง่ายๆ   สั้นๆ   ใช้ภาษา ภาษาที่ใช้เล่า 5 ควรทำให้ผู้ฟังตื่นเต้น   ใช้คำพูดให้สมบทบาท   มีการสรุปเรื่องที่เล่าให้สอดคล้องกับบทเรียน ตอนจบเรื่อง   6
ชนิดของการเล่าเรื่อง ชนิดของการเล่าเรื่อง มี  4  ประการ   คือ การเล่านิทาน ควรเป็นเรื่องที่ให้ข้อคิดและมีคติสอนใจ ควรคำนึงถึงเรื่องเกี่ยวกับบทเรียน ความเหมาะสมของเรื่องการใช้น้ำเสียง การใช้กิริยาท่าทางประกอบ ลำดับเนื้อหา อุปกรณ์ประกอบ การเล่าเรื่องต้องไม่ยาวเกินไป   1 การเล่าประวัติ ควรให้ผู้เรียนเข้าใจว่าเป็นใคร สำคัญอย่างไรชีวิตในปฐมวัย ผลงานหรือวีรกรรมในการเล่าประวัติส่วนตัวเพื่อแนะนำให้ผู้ฟังรู้จัก และเพิ่มความสนิทสนม 2 การเล่าเหตุการณ์สำคัญ ต้องจำเหตุการณ์ต่างๆ ได้แม่นและเรียงลำดับเหตุการณ์ ที่เกิดก่อนหรือหลังให้ถูกต้อง   3 การยกตัวอย่าง ประกอบจุดมุ่งหมาย ควรสอดแทรกตัวอย่าง ที่มีสาระเป็นการเสริม เรื่องที่เล่าอย่างสมเหตุสมผล 4
เทคนิคการอธิบาย “ วิธีในการอธิบายข้อความที่อธิบาย เพื่อเปรียบเทียบการอธิบายเพื่อขยายข้อความ กระบวนการวิธีการ” ประกอบด้วย 5 บุคลิกภาพของผู้อธิบาย   เป็นผู้ที่ยิ้มแย้ม เป็นกันเอง มีความรู้   มีความเชื่อมั่นต่อสิ่งที่อธิบาย   มีความน่าเลื่อมใส 1 ต้องรู้ระดับของผู้ฟัง เพื่อจะได้ใช้คำอธิบายและภาษาได้เหมาะสม 2 การจัดลำดับเรื่องที่จะอธิบาย  ต้องจัดลำดับเนื้อหาให้ดี 3 การอธิบาย   จะต้องคำนึงถึงระดับเสียง การเว้นระยะ   ความชัดเจน 4 การใช้ลีลาท่าทาง   มือ   แขน   ต้องใช้ท่าทางอย่างสมเหตุสมผล 5
เทคนิคการเสริมกำลังใจ เป็นศิลปะของครูที่จะทำให้ผู้เรียนมีนิสัยรักการเรียนเห็นคุณค่าการเรียน มีความกระตือรือร้นมีความพอใจและสร้างความมั่นใจแก่ผู้เรียน 6 หลักปฏิบัติในการเสริมกำลังใจ 2 เลือกวิธีเสริมกำลังใจให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน 4 เสริมกำลังใจในจังหวะที่เหมาะสม   เช่น   ให้เพื่อนปรบมือ 5 ไม่พูดหรือเสริมกำลังจนเกินไป   เช่น   ชมเชยเกินไป 6 ไม่ใช้คำพูดที่จำกัดอยู่ในวงแคบ   ไม่ใช้คำชมที่ชมซ้ำซาก 7 ไม่ควรเสริมกำลังใจวิธีเดียวบ่อยเกินไป   เช่น   ให้รางวัลเป็นสิ่งของทุกครั้ง 8 ควรเลือกวิธีเสริมกำลังใจหลาย   ๆ   วิธีให้เหมาะกับบุคคลและโอกาส 1 เสริมกำลังใจทันที   เมื่อผู้เรียนทำงานได้ถูกต้องหรือสำเร็จ 9 พยายามเสริมกำลังใจเด็กให้ทั่วถึง   และกระทำอย่างสม่ำเสมอ 3 เสริมกำลังใจย้อนหลังบ้าง เช่น ให้บอกคำตอบที่ถูกอีกครั้ง
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ติดต่อ  ศูนย์พัฒนาทรัพยากรการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม  โทรศัพท์  0-4375-4321-40  ต่อ  2060,2107 โทรสาร  0-4375-4318

More Related Content

What's hot

กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
ทศพล พรหมภักดี
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณี
Orapan Jantong
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยArm Watcharin
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนananphar
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
Kobwit Piriyawat
 
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยAekapong Hemathulin
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
Parichart Ampon
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอนFern's Supakyada
 
วิธีสอนโดยใช้การสาธิต
วิธีสอนโดยใช้การสาธิตวิธีสอนโดยใช้การสาธิต
วิธีสอนโดยใช้การสาธิต
sakonrat fai
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
Kiingz Phanumas
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยาย
Taweesak Poochai
 
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
ทศพล พรหมภักดี
 
สังเกตการสอน1
สังเกตการสอน1สังเกตการสอน1
สังเกตการสอน1Chanaaun Ying
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
guest68e3471
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
โทษฐาน ที่รู้จักกัน
 

What's hot (18)

กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ม.1 ม.3
 
วิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณีวิธีสอนแบบวรรณี
วิธีสอนแบบวรรณี
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอนการจัดการเรียนการสอน
การจัดการเรียนการสอน
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
 
ตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอนตัวอย่างแผนการสอน
ตัวอย่างแผนการสอน
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอน
 
วิธีสอนโดยใช้การสาธิต
วิธีสอนโดยใช้การสาธิตวิธีสอนโดยใช้การสาธิต
วิธีสอนโดยใช้การสาธิต
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยาย
 
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
คู่มือกิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
สังเกตการสอน1
สังเกตการสอน1สังเกตการสอน1
สังเกตการสอน1
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
แนวทางลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้
 
สื่อการเรียนสอน
สื่อการเรียนสอนสื่อการเรียนสอน
สื่อการเรียนสอน
 

Similar to teaqching 4

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการArpaporn Mapun
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
นางสาวอัมพร แสงมณี
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการRatchada Kaewwongta
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการVachii Ra
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูพรรณภา ดาวตก
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยBeeby Bicky
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการArpaporn Mapun
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยPitsiri Lumphaopun
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
Korakob Noi
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านKanjana Pothinam
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Pitsiri Lumphaopun
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
การวิเคราะห์แนวทาง การจัดการเรียนรู้และการใช้สื่อการเรียนรู้
การวิเคราะห์แนวทาง การจัดการเรียนรู้และการใช้สื่อการเรียนรู้การวิเคราะห์แนวทาง การจัดการเรียนรู้และการใช้สื่อการเรียนรู้
การวิเคราะห์แนวทาง การจัดการเรียนรู้และการใช้สื่อการเรียนรู้
Phutt Phutt
 

Similar to teaqching 4 (20)

ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
อาชีพครู
อาชีพครูอาชีพครู
อาชีพครู
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8แผนบริหารการสอนประจำบทที่  8
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 8
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการ
 
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครูจรรยาบรรณในวิชาชีพครู
จรรยาบรรณในวิชาชีพครู
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่านบทที่ 2วิจัยการอ่าน
บทที่ 2วิจัยการอ่าน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
การวิเคราะห์แนวทาง การจัดการเรียนรู้และการใช้สื่อการเรียนรู้
การวิเคราะห์แนวทาง การจัดการเรียนรู้และการใช้สื่อการเรียนรู้การวิเคราะห์แนวทาง การจัดการเรียนรู้และการใช้สื่อการเรียนรู้
การวิเคราะห์แนวทาง การจัดการเรียนรู้และการใช้สื่อการเรียนรู้
 

More from sangkom

Happystudy
Happystudy  Happystudy
Happystudy
sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
sangkom
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
sangkom
 
Happy Study
Happy StudyHappy Study
Happy Studysangkom
 
10 Years Of Technology Research Mahasarakham University Thailand B 2c05
10 Years Of Technology Research   Mahasarakham University Thailand B 2c0510 Years Of Technology Research   Mahasarakham University Thailand B 2c05
10 Years Of Technology Research Mahasarakham University Thailand B 2c05
sangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวsangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222sangkom
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7sangkom
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8sangkom
 
teaching 6
teaching 6teaching 6
teaching 6sangkom
 
teaching 5
teaching 5teaching 5
teaching 5sangkom
 
teaching 3
teaching 3teaching 3
teaching 3sangkom
 
teaching 2
teaching 2teaching 2
teaching 2sangkom
 

More from sangkom (20)

Happystudy
Happystudy  Happystudy
Happystudy
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
หน่วยการเรียนรู้ที่ 16
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
หน่วยการเรียนรู้ที่ 15
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
หน่วยการเรียนรู้ที่ 17
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
หน่วยการเรียนรู้ที่ 14
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
หน่วยการเรียนรู้ที่ 13
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
หน่วยการเรียนรู้ที่ 12
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
หน่วยการเรียนรู้ที่ 11
 
Happy Study
Happy StudyHappy Study
Happy Study
 
10 Years Of Technology Research Mahasarakham University Thailand B 2c05
10 Years Of Technology Research   Mahasarakham University Thailand B 2c0510 Years Of Technology Research   Mahasarakham University Thailand B 2c05
10 Years Of Technology Research Mahasarakham University Thailand B 2c05
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
แผ่นดินไหว
แผ่นดินไหวแผ่นดินไหว
แผ่นดินไหว
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
โลกร้อน222
โลกร้อน222โลกร้อน222
โลกร้อน222
 
teaching 7
teaching 7teaching 7
teaching 7
 
teaching 8
teaching 8teaching 8
teaching 8
 
teaching 6
teaching 6teaching 6
teaching 6
 
teaching 5
teaching 5teaching 5
teaching 5
 
teaching 3
teaching 3teaching 3
teaching 3
 
teaching 2
teaching 2teaching 2
teaching 2
 

teaqching 4

  • 2. เทคนิคการสอน “ พฤติกรรมการสอนของผู้สอนโดยใช้กลวิธี ในการสอนบทเรียนอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้เรียนเรียนด้วยความตั้งใจและสนุกสนาน เทคนิคการสอนเป็นศิลป์และศาสตร์ ผู้สอนต้องเรียนรู้ และมีประสบการณ์เกี่ยวกับพฤติกรรมการสอนอย่างดี แล้วยังต้องมีความสามารถในการเลือกวิธีสอน และใช้สื่อการสอนที่กระตุ้นให้ผู้เรียนคิด และติดตามบทเรียนได้อย่างแนบเนียน”
  • 3. เทคนิคการสอน อย่างมีประสิทธิภาพ เทคนิคการใช้วาจา กิริยา ท่าทาง เพื่อเสริมบุคลิกภาพ และสื่อความหมาย 1 เทคนิคการนำเข้าสู่บทเรียน 2 เทคนิคการใช้คำถาม 3 เทคนิคการเล่าเรื่อง 4 เทคนิคการอธิบาย 5 เทคนิคการเสริมกำลังใจ 6
  • 4. เทคนิคการใช้วาจา กิริยา ท่าทาง เสริมบุคลิกภาพ และสื่อความหมาย 1 “ ความสามารถในวิธีการพูด น้ำเสียง จังหวะ ประกอบกับการใช้กิริยา ท่าทาง ชวนให้สนใจ สื่อความหมายให้เข้าใจได้กระจ่างชัด กระทำให้เหมาะสม แนบเนียน มองดูไม่เคอะเขิน เหล่านี้เป็นเทคนิคที่ผู้สอนต้องฝึกฝน ให้เกิดความชำนาญ”
  • 5. เทคนิคการใช้วาจา กิริยา ท่าทาง เสริมบุคลิกภาพ และสื่อความหมาย การใช้มือประกอบท่าทาง ควรอยู่ในระดับสายตา และเอว การแสดงท่าทางควรใช้เพื่อให้ความหมาย สอดคล้องกับความรู้สึกนึกคิดเหมาะสมกับโอกาส เสียงที่พูดต้องให้เหมาะสมกับโอกาส และวัย เสียงพูดที่ดีจะเน้นหนักเบาอย่างมีชีวิตชีวา พูดอักษรควบกล้ำ อย่าพูดเสียงรัวเร็ว ได้แก่ ตัวงอ หลังโก่ง ท้องป่อง ยืนไหล่ห่อ เอียงคอ หรือเอียงตัว นั่งเขย่าเท้า เป็นต้น ได้แก่ การยิ้มพร้อมพยักหน้ารับ เมื่อผู้เรียน ทำความเคารพ ขอโทษหรือขอบคุณ เป็นต้น เช่น การหยุดนิ่งเมื่อผู้เรียนคุยกัน การโน้มตัว ฟังคำตอบ การเคลื่อนไหวเมื่ออธิบาย เป็นต้น การใช้มือและแขน การวางท่าทางหรือการทรงตัวที่ไม่ดี การแสดงออกทางสีหน้า การใช้น้ำเสียง การเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนอิริยาบถที่ดี
  • 6. เทคนิคการนำเข้าสู่บทเรียน หมายถึง วิธีที่ผู้สอนจะโน้มน้าวผู้เรียนให้สนใจในบทเรียนอย่างแนบเนียน 2 วิธีการนำเข้าสู่บทเรียนมีหลายวิธี เช่น 1 ใช้อุปกรณ์ เช่น ให้ดูของจริง รูปภาพ ฉายภาพยนตร์ 2 การเล่าเรื่อง เช่น การเล่านิทาน การเล่าเหตุการณ์ 3 การร้องเพลง 4 การสนทนาซักถาม 5 บททวนบทเรียนเดิมที่สัมพันธ์กับบทเรียนใหม่ 6 การสาธิต 7 การทายปัญหา 8 การแสดงบทบาท
  • 7. วิธีปฏิบัติสำหรับ การนำเข้าสู่บทเรียน การนำเข้าสู่บทเรียนควรใช้เวลาสั้น ๆ ประมาณ 5-15 นาที สิ่งที่จะใช้นำเข้าสู่บทเรียน ต้องสอดคล้องกับบทเรียน การจูงใจเพื่อนำเข้าสู่บทเรียน ต้องกระทำให้กระชับพอเหมาะ ผู้สอนควรการนำเข้าสู่บทเรียน โดยใช้วิธีใหม่ๆ และเหมาะสม พยายามศึกษาความต้องการ ความสนใจของผู้เรียน ผู้สอนต้องศึกษาเทคนิค การนำเข้าสู่บทเรียนแต่ละวิธีให้เข้าใจ และฝึกฝนจนเกิดความชำนาญ 1 2 3 4 5 6
  • 8. เทคนิคการตั้งคำถาม ลักษณะคำถามที่ดี ควรเป็นคำถามที่ชัดเจน กะทัดรัด เข้าใจง่าย ทำให้เกิดความคิด และอยากตอบ ควรหลีกเลี่ยงคำถามประเภท ใช่หรือไม่ใช่ แต่ควรถามเร้าให้ผู้เรียน ตอบอย่างมีเหตุผล คำถามไม่ควรเน้นถามเฉพาะ ความจำ ควรเน้นให้คิดอย่างลึกซึ้ง “ ความสามารถในการตั้งคำถาม และวิธีถามเพื่อให้ผู้เรียนตอบ โดยใช้การสังเกต ความคิดเห็น เหตุผล และอื่นๆ ที่ใช้ความสามารถ ในระดับสูงกว่าความจำ” 3 1 2 3
  • 9. ประเภทของคำถาม โดยทั่วไปคำถามมีอยู่ 3 ประเภท คำถามที่ใช้ความคิดพื้นฐาน เป็นคำถามง่าย ๆ เป็นคำถามประเภท ความจำหรือประสบการณ์ของผู้เรียน เช่น ถามเกี่ยวกับคำศัพท์ กฎ ลำดับขั้น วิธีการ การจัดประเภท การยกตัวอย่าง การอธิบายเกี่ยวกับ รูปร่างลักษณะ เป็นต้น 1 คำถามเพื่อการคิดค้น เป็นคำถามที่ผู้ถามต้องใช้ความคิด มากกว่าคำถามประเภทที่หนึ่ง 2 คำถามที่ขยายความคิด คำถามประเภทนี้ส่งเสริมความคิด ริเริ่มสร้างสรรค์ผู้ตอบ ต้องใช้ความคิดเห็นมากที่สุด ซึ่งมีอยู่หลายลักษณะ 3
  • 10. ข้อปฏิบัติในการใช้คำถาม ? ใช้ภาษาง่ายๆ ชัดเจน เหมาะสมกับความสามารถของผู้เรียน 1 เตรียมคำถามไว้ล่วงหน้า จัดลำดับคำถามก่อน 2 ควรใช้คำถามให้กลมกลืนกันไป กับกิจกรรม 3 เมื่อถามไปแล้ว เว้นระยะให้คิด ไม่ควรเร่งรัดเอาคำตอบ 4 การถามควรให้ผู้เรียนทุกคน มีโอกาสตอบ 5 ผู้สอนควรตั้งคำถามก่อน ที่จะกำหนดให้ใครตอบ 6 ควรชื่นชมคำตอบที่ถูก ไม่เยาะเย้ยให้เสียใจในคำตอบที่ผิด 7 ผู้สอนต้องเลือกใช้คำถามง่ายๆ ไปจนถึงคำถามที่ต้องคิดซับซ้อน 8 การใช้ท่าทาง น้ำเสียงประกอบ ในการถาม เพื่อสร้างบรรยากาศ 9 ถามรุกเพื่อล้วงเอาความรู้ และขยายแนวความคิดนิสิต 10
  • 11. เทคนิคการเล่าเรื่อง 4 ควรทำให้ผู้ฟังมองเห็นภาพ เลือกจุดสนใจ ให้ได้ ตัดรายละเอียดที่ไม่จำเป็นออก ตอนเริ่มต้น 1 ต้องใช้ดุลยพินิจในการเลือกสถานที่ เกิดของเรื่อง ควรเลือกที่ที่ผู้ฟังคุ้นเคย สถานที่เกิดของเรื่อง 2 ตัวละครที่กำหนดควรเน้นที่บทบาท ไม่ควรเน้นลักษณะของตัวละคร ตัวละคร 3 การแสดงท่าทางเหมาะสมกับเรื่อง ท่าทางประกอบการเล่า 4 ผู้เล่าต้องพยายามใช้ภาษาง่ายๆ สั้นๆ ใช้ภาษา ภาษาที่ใช้เล่า 5 ควรทำให้ผู้ฟังตื่นเต้น ใช้คำพูดให้สมบทบาท มีการสรุปเรื่องที่เล่าให้สอดคล้องกับบทเรียน ตอนจบเรื่อง 6
  • 12. ชนิดของการเล่าเรื่อง ชนิดของการเล่าเรื่อง มี 4 ประการ คือ การเล่านิทาน ควรเป็นเรื่องที่ให้ข้อคิดและมีคติสอนใจ ควรคำนึงถึงเรื่องเกี่ยวกับบทเรียน ความเหมาะสมของเรื่องการใช้น้ำเสียง การใช้กิริยาท่าทางประกอบ ลำดับเนื้อหา อุปกรณ์ประกอบ การเล่าเรื่องต้องไม่ยาวเกินไป 1 การเล่าประวัติ ควรให้ผู้เรียนเข้าใจว่าเป็นใคร สำคัญอย่างไรชีวิตในปฐมวัย ผลงานหรือวีรกรรมในการเล่าประวัติส่วนตัวเพื่อแนะนำให้ผู้ฟังรู้จัก และเพิ่มความสนิทสนม 2 การเล่าเหตุการณ์สำคัญ ต้องจำเหตุการณ์ต่างๆ ได้แม่นและเรียงลำดับเหตุการณ์ ที่เกิดก่อนหรือหลังให้ถูกต้อง 3 การยกตัวอย่าง ประกอบจุดมุ่งหมาย ควรสอดแทรกตัวอย่าง ที่มีสาระเป็นการเสริม เรื่องที่เล่าอย่างสมเหตุสมผล 4
  • 13. เทคนิคการอธิบาย “ วิธีในการอธิบายข้อความที่อธิบาย เพื่อเปรียบเทียบการอธิบายเพื่อขยายข้อความ กระบวนการวิธีการ” ประกอบด้วย 5 บุคลิกภาพของผู้อธิบาย เป็นผู้ที่ยิ้มแย้ม เป็นกันเอง มีความรู้ มีความเชื่อมั่นต่อสิ่งที่อธิบาย มีความน่าเลื่อมใส 1 ต้องรู้ระดับของผู้ฟัง เพื่อจะได้ใช้คำอธิบายและภาษาได้เหมาะสม 2 การจัดลำดับเรื่องที่จะอธิบาย ต้องจัดลำดับเนื้อหาให้ดี 3 การอธิบาย จะต้องคำนึงถึงระดับเสียง การเว้นระยะ ความชัดเจน 4 การใช้ลีลาท่าทาง มือ แขน ต้องใช้ท่าทางอย่างสมเหตุสมผล 5
  • 14. เทคนิคการเสริมกำลังใจ เป็นศิลปะของครูที่จะทำให้ผู้เรียนมีนิสัยรักการเรียนเห็นคุณค่าการเรียน มีความกระตือรือร้นมีความพอใจและสร้างความมั่นใจแก่ผู้เรียน 6 หลักปฏิบัติในการเสริมกำลังใจ 2 เลือกวิธีเสริมกำลังใจให้เหมาะสมกับผู้เรียนแต่ละคน 4 เสริมกำลังใจในจังหวะที่เหมาะสม เช่น ให้เพื่อนปรบมือ 5 ไม่พูดหรือเสริมกำลังจนเกินไป เช่น ชมเชยเกินไป 6 ไม่ใช้คำพูดที่จำกัดอยู่ในวงแคบ ไม่ใช้คำชมที่ชมซ้ำซาก 7 ไม่ควรเสริมกำลังใจวิธีเดียวบ่อยเกินไป เช่น ให้รางวัลเป็นสิ่งของทุกครั้ง 8 ควรเลือกวิธีเสริมกำลังใจหลาย ๆ วิธีให้เหมาะกับบุคคลและโอกาส 1 เสริมกำลังใจทันที เมื่อผู้เรียนทำงานได้ถูกต้องหรือสำเร็จ 9 พยายามเสริมกำลังใจเด็กให้ทั่วถึง และกระทำอย่างสม่ำเสมอ 3 เสริมกำลังใจย้อนหลังบ้าง เช่น ให้บอกคำตอบที่ถูกอีกครั้ง
  • 15.